Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 198

แคลคูลัส 1

วชิรารักษ โอรสรัมย

คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย
2560
(1)

คํานํา

เอกสารประกอบการสอนวิชาแคลคูลัสผูเขียนไดเรียบเรียงขึน้ เพื่อใชประกอบการสอนในรายวิชา
แคลคูลัส 1 รหัส 4091401 ซึ่งหัวขอเรือ่ งไดยึดหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต(วทบ.4ป) ของสาขาวิชา
คณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรรี มั ย (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2558) เปนหมวด
วิชาแกนของคณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรมั ย ซึ่งเนื้อหาในเลมนีป้ ระกอบไปดวย ลิมิตและ
ความตอเนื่องของฟงกชัน อนุพันธของฟงกชัน การประยุกตอนุพันธ ฟงกชั้นหลายตัวแปร อนุพันธยอย

ขาพเจาขอขอบพระคุณทานผูเรียบเรียงหนังสือและเอกสารที่ปรากฏอยูในเอกสารอางอิงเปน
อยางสูง ขาพเจาหวังเปนอยางยิง่ วาเอกสารประกอบการสอนวิชาแคลคูลัส 1 เลมนี้ คงเปนประโยชน
สําหรับนักศึกษา และผูส นใจทั่วไป

วชิรารักษ โอรสรัมย
สิงหาคม 2560
(2)

สารบัญ

เรื่อง หนา
คํานํา (1)
สารบัญ (2)
สารบัญรูปภาพ (4)
สารบัญตาราง (5)
บทที่ 1 ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน 1
1.1 บทนิยามของลิมิต 1
1.2 ทฤษฎีบทของลิมิต 14
1.3 ลิมิตที่เกี่ยวของกับอนันต 25
1.4 ความตอเนื่องของฟงกชัน 50
1.5 สรุปทายบทที่ 1 53
แบบฝกหัดทายบทที่ 1 54
บทที่ 2 อนุพันธของฟงกชัน 59
2.1 สวนเปลี่ยนแปลงและอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย 59
2.2 อนุพันธของฟงกชัน 60
2.3 การหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิต 67
2.4 การหาอนุพันธของฟงกชันประกอบ 75
2.5 การหาอนุพันธของฟงกชันตรีโกณมิติ 80
2.6 การหาอนุพันธของฟงกชันลอการิทึมและฟงกชันเลขชี้กาํ ลัง 89
2.7 การหาอนุพันธของฟงกชันตาง ๆ 96
2.8 การหาอนุพันธของฟงกชันโดยปริยาย 105
2.9 อนุพันธอันดับสูง 107
2.10 สรุปทายบทที่ 2 109
แบบฝกหัดทายบทที่ 2 110
บทที่ 3 การประยุกตอนุพันธ 115
3.1 ความเร็ว และความเรง 115
3.2 อัตราสัมพัทธ 119
3.3 สมการเสนสัมผัส และเสนปกติ 124
3.4 คาสูงสุดคาต่ําสุด และกราฟ 129
3.5 หลักเกณฑโลปตาล 143
3.6 สรุปทายบทที่ 3 147
(3)

สารบัญ(ตอ)

เรื่อง หนา
บทที่ 4 ฟงกชันหลายตัวแปรและอนุพันธยอย 151
4.1 ฟงกชันคาจริงของสองตัวแปรหรือมากกวา 151
4.2 ลิมิตของฟงกชันสองตัวแปร 155
4.3 ความตอเนื่องของฟงกชัน 2 ตัวแปร 164
4.4 อนุพันธยอย 166
4.4 กฎลูกโซของฟงกชันของตัวแปร 2 ตัว 172
4.5 อนุพันธยอยอันดับสูง 178
4.6 สรุปทายบทที่ 5 177
แบบฝกหัดทายบทที่4 148
บรรณานุกรม 187
(4)

สารบัญรูปภาพ

ภาพประกอบ หนา
ภาพประกอบ 1.1 กราฟของฟงกชัน f (x )  x  5 2
ภาพประกอบ 1.2 แสดง 0 และ   0 7
3x 2
ภาพประกอบ 1.3 กราฟของฟงกชัน f (x )  28
1  x2
x
ภาพประกอบ 1.4 กราฟของฟงกชัน f (x )  34
x 1
ภาพประกอบ 1.5 กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3 44
ภาพประกอบ 1.6 กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3  5x  1 50
ภาพประกอบ 2.1. กราฟแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงความชันของฟงกชัน f (x ) 60
ภาพประกอบ 2.2 วิธีการวัดมุม  80
ภาพประกอบ 2.3 มุม  และมุม  81
ภาพประกอบ 3.1 แสดงเสนปกติ และเสนสัมผัส 124
ภาพประกอบ 3.2 แสดงจุดสูงสุดสัมพัทธของฟงกชันบนชวง (x 1, x 2 ) 125
ภาพประกอบ 3.3 แสดงจุดต่ําสุดสัมพัทธของฟงกชันบนชวง (x 1, x 2 ) 125
ภาพประกอบ 3.4 แสดงจุดสูงสุดสัมพัทธโดยใชอนุพันธอันดับที่สองบนชวง x 1, x 2  134
ภาพประกอบ 3.5 แสดงจุดต่ําสุดสัมพัทธโดยใชอนุพันธอันดับที่สองบนชวง x 1, x 2  134
ภาพประกอบ 3.6 แสดงจุดเปลี่ยนเวาของฟงกชัน y  f x  136
ภาพประกอบ 3.6 แสดงเซต B (A; r ) 156
(5)

สารบัญตาราง

ตาราง หนา
ตาราง 1.1 แสดงกรณี x มีคาเขาใกล 2 ทางซาย ( x  2 และ x เขาใกล 2 ) 3
ตาราง 1.2 แสดงกรณี x มีคาเขาใกล 2 ทางขวามือ( x  2 และ x เขาใกล 2 ) 3
3x 2
ตาราง 1.3 คาของ f (x )  เมื่อ x มีคาเขาใกล  และ  27
1 x2
x
ตาราง 1.4 คาของ f (x )  เมื่อ x มีคาเขาใกล 1 35
x 1
ตาราง 1.5 คาของ f (x )  x 3 43
1

บทที่ 1
ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน
เนื้อหาสวนใหญในรายวิชากลาวไดวา แนวคิดหลักประการหนึ่งของแคลคูลสั ไดแก การศึกษา
วิเคราะหเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของฟงกชัน เชน อนุพันธที่ผูเรียนจะไดศึกษาในบทที่ 3 ซึ่งคือ อัตรา
การเปลี่ยน แปลงของฟงกชันที่จุดใดจุดหนึ่งในขณะที่ตัวแปรตนที่จุดนั้นเปลี่ยนไปนอยมาก ๆ นั่นเอง
นอกจากนีป้ ริพันธจํากัดเขต ซึ่งผูเ รียนจะไดศึกษาในบทที่ 5 จะเปนผลรวมของคาของฟงกชันใน
สวนยอย ๆ จํานวนมากมายนับไมถวน แลวไดผลลัพธเปนผลรวมของฟงกชันในสวนใหญ สวนหนึ่งจะ
เห็นไดวาทั้งอนุพันธและปริพันธจํากัดเขต ลวนเปนแนวคิดทีเ่ กี่ยวของกับคาของฟงกชันและปริมาณที่
นอยมาก ๆ หรือปริมาณที่ใหญมาก ๆ ดังนั้นเพื่อใหสามารถวิเคราะหคาของฟงกชันทีเ่ กี่ยวของกับ
ปริมาณดังกลาวไดอยางถี่ถวนและชัดเจนนักคณิตศาสตรจึงพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับลิมิตขึ้นมา อาจ
กลาวไดวา หากปราศจากแนวคิดเรื่องลิมิตแลว วิชาแคลคูลัสคงไมอาจเกิดขึ้นไดดังนั้นเนื้อหาที่จะได
ศึกษาในบทนี้จะประกอบดวยบทนิยามของลิมิตซึ่งจะแสดงใหรูวาลิมิตนัน้ คืออะไรพรอมทั้งแสดงการ
เขียนลิมิต ลิมิตทางซายและลิมิตทางขวา ตลอดจนทฤษฎีบทตางๆ ที่เกี่ยวของกับลิมิต เพื่อจะไดหาคา
ลิมิตไดอยางรวดเร็วและถูกตอง และบางครั้งการหาคาลิมิตของฟงกชันนั้นก็ไมจําเปนตองเปนจํานวน
จริงเสมอไปดังนั้นจึงจําเปนที่ตองศึกษาเรื่องลิมิตที่เกี่ยวของกับอนันตดวย

1.1 บทนิยามของลิมิต
ลิมิต ถาแปรตามพจนานุกรมศัพทคณิตศาสตรฉบับราชบัณฑิตยสถานศัพทแปลวา ขีดจํากัด
เมื่อใชศัพทเฉพาะ ในทางคณิตศาสตรแลวนั้นจะทําความเขาใจยากมากพอสมควร ดังนั้นในตอนแรกนี้
จะไดใหตัวอยางเพื่อเปนแนวคิดกับผูเ รียนวา เมือ่ ไรจะใชคําวาลิมิต และจะหาคาลิมิตนั้นโดยคราว ๆ
ไดอยางไร จากนั้นจึงจะนําเขาสูความหมายที่แทจริงของลิมติ ตอไป (ราชบัณฑิตยสถาน, 2553 : 351)

ตัวอยางเชน
รถยนตคันหนึ่งวิ่งจากเมือง ก ไปยังเมือง ข ซึ่งหางกัน 50 กิโลเมตร ใชเวลา 30 นาที ถาให s
แทนระยะทางทีร่ ถคันนี้วิ่งได หลังจากเวลาผานไป t นาที จะเห็นวาเมือ่ เวลา t เขาใกล 30 นาที (แต
ยังไมถึง 30 นาที) นั้นระยะทาง s ที่ไดจะเพิ่มขึ้นและมีคาเขาใกล 50 กิโลเมตร มากขึ้นลักษณะเชนนี้
จะกลาวไดวา “ลิมิตของระยะทาง (s) ” ที่รถยนตวิ่งไดเมื่อเวลา (t ) เขาใกล 30 นาที เทากับ 50
กิโลเมตร และเขียนขอความนี้ดวย tlim 30
s  50

ในการศึกษาเกี่ยวกับลิมิตของฟงกชันมีขอสังเกตวาคาลิมิตของฟงกชันนั้นแตกตางกับคาของ
ฟงกชันเชนกําหนดให f (x )  x  5 คาของฟงกชันที่ x  2 คือการแทนคา x  2 ลงใน
2

สมการที่กําหนดใหหรือคาของ f (2) นั่นเองนั่นคือ f (2)  2  5  7

แตสําหรับลิมิตของฟงกชันหมายถึงเมื่อ x เขาใกลคา ๆ หนึ่งแลว f (x ) มีคาเขาใกลคาคงตัว


คาหนึ่งคานั่นคือลิมิตของฟงกชัน f (x ) เชนจาก f (x )  x  5 เมื่อ x มีคาเขาใกล 2 คาลิมิตของ
ฟงกชันเขียนแทนดวย lim x 2
f (x ) หรือ lim(x  5) ดังรูป
x 2

ภาพประกอบ 1.1 กราฟของฟงกชัน f (x )  x  5

การพิจารณากรณีที่ x มีคาเขาใกล 2 จะพบวามีไดสองกรณีคือ กรณีที่ x เขาใกล 2 ทางที่


มากกวา 2 (ทางขวามือ) และกรณีที่ x เขาใกล 2 ทางนอยกวา 2 (ทางซายมือ) ซึ่งจะแสดงลักษณะการ
เขาใกลคาคงตัวคาหนึ่งของ f (x ) ดังตารางตอไปนี้ (พัฒนา สีมากุล, 2539 : 3)
3

ตาราง 1.1 แสดงกรณี x มีคาเขาใกล 2 ทางซาย ( x  2 และ x เขาใกล 2 )

x f (x )  x  5
1.5 6.5
1.9 6.9
1.99 6.99
1.999 6.999
1.9999 6.9999
1.99999 6.99999

ตาราง 1.2 แสดงกรณี x มีคาเขาใกล 2 ทางขวา ( x  2 และ x เขาใกล 2 )

x f (x )  x  5
2.5 7.5
2.1 7.1
2.01 7.01
2.001 7.001
2.0001 7.0001
2.00001 7.00001

ตัวอยาง 1.1 กําหนดให f (x )  x  1 จงหาคาของ lim f (x )


x 3

วิธีทํา แยกพิจารณาเปนสองกรณีดังตอไปนี้

กรณีที่ 1 x มีคาเขาใกล 3 ทางซาย กรณีที่ 2 x มีคาเขาใกล 3 ทางขวา

x f (x )  x  1 x f (x )  x  1

2.5 3.5 3.5 4.5


2.9 3.9 3.1 4.1
2.99 3.99 3.01 4.01
2.999 3.999 3.001 4.001
2.9999 3.9999 3.0001 4.0001
2.9999 3.99999 3.00001 4.00001
4

จากตารางจะไดวา
เมื่อ x มีคาเขาใกล 3 ทางซายแลว f (x ) มีคาเขาใกล 4
เมื่อ x มีคาเขาใกล 3 ทางขวาแลว f (x ) มีคาเขาใกล 4

ดังนั้น lim f (x )  4
x 3

x2  x  2
ตัวอยาง 1.2 กําหนดกําหนดให f (x )  จงหาคาของ lim f (x )
x 1 x 1

วิธีทํา สังเกตวา f (x ) ไมนิยามเมื่อ x  1 พิจารณา x มีคาเขาใกล 1


แยกพิจารณาเปนสองกรณีดังตอไปนี้

กรณีที่ 1 x มีคาเขาใกล 1 ทางซาย กรณีที่ 2 x มีคาเขาใกล 1 ทางขวา

x2  x  2 x2  x  2
x f (x )  x f (x ) 
x 1 x 1

0.9 2.9 1.1 3.1


0.99 2.99 1.01 3.01
0.999 2.999 1.001 3.001
0.9999 2.9999 1.0001 3.0001
0.99999 2.99999 1.00001 3.00001
0.999999 2.999999 1.000001 3.000001

จากตารางจะไดวา
เมื่อ x มีคาเขาใกล 1 ทางซายแลว f (x ) มีคาเขาใกล 3
เมื่อ x มีคาเขาใกล 1 ทางขวาแลว f (x ) มีคาเขาใกล 3

ดังนั้น lim f (x )  3
x 1

การหาคาของ lim f (x )
x a
เปนการดูพฤติกรรมของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a แต x  a
ในการหาลิมิตเมื่อ x เขาใกล a นั้นไมวาฟงกชัน f (x ) จะมีคาที่ x  a หรือไมก็ตามสิง่ ทีส่ นใจก็
คือคาของฟงกชัน f (x ) เมื่อ x เขาใกล a เปนอยางไรเทานั้น (กมล เอกไทยเจริญ, 2544 : 16)
5

x
ตัวอยาง 1.3 กําหนดให f x   จงหาคาของ lim f x 
x x 0

วิธีทํา แยกพิจารณาเปนสองกรณีดังตอไปนี้

กรณีที่ 1 x มีคาเขาใกล 0 ทางซาย กรณีที่2 x มีคาเขาใกล 0 ทางขวา

x x
x f x   x f x  
x x

-0.1 -1 0.1 1
-0.01 -1 0.01 1
-0.001 -1 0.001 1
-0.0001 -1 0.0001 1
-0.00001 -1 0.00001 1
-0.000001 -1 0.000001 1

จากตารางจะไดวา
เมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ทางซายแลว f (x ) มีคาเขาใกล -1
เมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ทางขวาแลว f (x ) มีคาเขาใกล 1
จะเห็นวาเมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ( โดยที่ x  0 ) แลว f (x ) จะมีคาเขาใกลคาคงตัวสองคา
คือ 1 และ -1 ในกรณีเชนนี้กลาวไดวาฟงกชัน f นี้ไมมีลิมิตทีจ่ ุด x  0 หรือ lim
x 0
f (x ) ไมมี

1
ตัวอยาง 1.4 กําหนดให f (x )  จงหาคาของ lim f (x )
x x 0

วิธีทํา แยกพิจารณาเปนสองกรณีดังตอไปนี้
กรณีที่ 1 x มีคาเขาใกล 0 ทางซาย กรณีที่2 x มีคาเขาใกล 0 ทางขวา

x 1 x 1
f (x )  f (x ) 
x x
-0.1 -10 0.1 10
-0.01 -100 0.01 100
-0.001 -1000 0.001 1000
-0.0001 -10000 0.0001 10000
-0.00001 -100000 0.00001 100000
-0.000001 -1000000 0.000001 1000000
6

จากตารางจะไดวา
เมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ทางซายแลว f (x ) มีคาลดลงอยางไมมีขอบเขต
เมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ทางขวาแลว f (x ) มีคาเพิ่มขึ้นอยางไมมีขอบเขต
จะเห็นวาเมื่อ x มีคาเขาใกล 0 ( โดยที่ x  0 ) แลว f (x ) ไมเขาใกลคาคงตัวใด ๆ เลย
1
ลักษณะนี้กลาววา f นี้ไมมีลิมิตที่จุด x  0 หรือ lim f (x )  lim
x 0 x 0 x
ไมมี

จากตัวอยางที่ไดกลาวมาทั้งหมดนั้น จะเห็นวาในการหาคา lim


x a
f (x ) นั้นเราพิจารณาคา

f (x ) สําหรับ x ที่อยูใกล ๆ a ทั้งทางซาย (x  a ) และทางขวา (x  a ) ของ a แตถาพิจารณา


คา f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a ทั้งทางซายและทางขวาเพียงทางเดียว แลว f (x ) มีคาเขาใกลคาคง
ตัวเพียงคาเดียวจะกลาววาฟงกชัน f มีลิมิตทางซายหรือทางขวาที่จุด x  a ตามลําดับ กลาวคือ
เมื่อ x มีคาเขาใกล a โดยที่ x  a แลว f (x ) มีคาเขาใกลคาคงตัว L โดยที่ L เปน
จํานวนจริงจะกลาวไดวา ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a ทั้งทางซายเทากับ L เขียนแทน
ดวย xlim
a
f (x )  L

ในทํานองเดียวกันเมื่อ x มีคาเขาใกล a โดยที่ x  a แลว f (x ) มีคาเขาใกลคาคงตัว


M โดยที่ M เปนจํานวนจริงจะกลาวไดวา ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a ทางขวาเทากับ
M เมื่อเขียนแทนดวย xlim
a
f (x )  R (อุษณีย ลีรวัฒน, 2552 : 21).

ใหสังเกตวา lim f (x )  L
x a
ก็ตอเมื่อ lim f (x )  lim f (x )  L
x a  x a

ในตัวอยาง 1.1 จะเห็นวา lim(x  1)  4


x 3
และ lim(x  1)  4  lim( x  1)
x 3 
x 3

x2  x  2
ในตัวอยาง 1.2 จะเห็นวา lim 3 และ
x 1 x 1

x2  x  2 x2  x  2
lim  3  lim
x 1 x 1 x 1 x 1

x x x
ในตัวอยาง 1.3 จะเห็นวา lim ไมมี แต lim  1 และ lim 1
x 0 x x 0 x x 0 x

1 1 1
และในตัวอยาง 1.4 จะเห็นวา lim ไมมี และ lim ไมมี และ lim ไมมี
x 0 x x  0 x x  0 x
7

จากที่กลาวมาทัง้ หมดผูเรียนไดทราบความหมายของ lim


x a
f (x )  L โดยที่ a และ L เปน

จํานวนจริง อยางคราว ๆ แลววา สําหรับ x  D f ซึ่ง x  a ถา x เขาใกล a แลว f (x ) จะเขา


ใกล L แตคําวาเขาใกลนั้นยังไมชัดเจนวาเขาใกลอยางไรเพียงใด ดังนั้นตอไปนี้จะไดกําหนด
ความหมายของลิมิตของฟงกชันใหถูกตองชัดเจนเพื่อใชอางอิงหรือนําไปพิสูจนลิมิตของฟงกชันตอไป

จากการสังเกตตัวอยางที่ผานมานั้น ถา lim f (x )  L


x a
แลวจะตองมีลกั ษณะที่สําคัญตอไปนี้
เสมอ คือ สําหรับแตละชวงเปดบนแกน y ที่มี L เปนจุดกึ่งกลางรัศมี   0 และเขียนแทนดวย
(L  , L  ) ที่กําหนดให จะตองมีชวงเปดบนแกน x ที่มี a เปนจุดกึง่ กลางรัศมี   0 เขียน
แทนดวย (a  ,a  ) อยางนอยหนึง่ ชวงเปดซึ่งมีคุณสมบัติวา ทุก ๆ คา   0 (ไมวาจะมาก
หรือนอยเพียงใดก็ตาม) ที่กําหนดให จะตองหาคา   0 ไดเสมอซึ่งมีคุณสมบิตวาถา x  D f และ
0  x a   แลว f (x )  L   พิจารณารูปดานลางประกอบ (Anton, Howard, 1995 :
81-83)

ภาพประกอบ 1.2 แสดง   0 และ   0


ที่มา : สมเกียรติ พานอย. 2543 : 8

เพื่อใหเห็นชัดยิ่งกวานั้นใหผเู รียนพิจารณาตัวอยาง 1.1 ประกอบดังนีจ้ ากตัวอยาง 1.1 ไดวา


lim f (x )  lim(x  1)  4 ในที่นี้ a  3 และ L  4
x 3 x 3
8

โดยลองกําหนดให   1 จะหาไดวามี   1 ( หรือ 0    1 ก็ได )


ซึ่งถา 0  x  3  1   แลว f (x )  L  (x  1)  4  x  3  1  
ลองกําหนดให   0.1 จะหาไดวามี   0.1 ( หรือ 0    0.1 ก็ได )
ซึ่งถา 0  x  3  0.1   แลว f (x )  L  (x  1)  4  x  3  0.1  
ดังนั้นถาสําหรับทุก 0 จะมี    ( หรือ 0 ก็ได )
ซึ่งถา 0  x 3     แลว (x  1)  4    

หรือพิจารณาจาก lim(3x  1)  5
x 2
ซึ่งมี f (x )  2x  1,a  2, L  5 จะเห็นวา
ให 3 จะหาไดวามี   1 ซึ่งถา 0  x 2    1

แลว f (x )  L  (3x  1)  5  3x  6  3 x  2  3  3(1)  3  


1 1
ให  จะหาไดวามี   1 ซึ่งถา 0  x 2   
3 9
1 1
แลว f (x )  L  (3x  1)  5  3x  6  3 x  2  3  3     
 9  3
1 1
ให  จะหาไดวามี   1 ซึ่งถา 0  x 2   
100 300
 1  1
แลว f (x )  L  (3x  1)  5  3x  6  3 x  2  3  3    
 300  100

ในกรณีทั่วไป ถาให 0 จะมี    ซึ่งถา 0  x 2   



2 3

แลว f (x )  L  3 x  2  3  3    
 3 

จากลักษณะดังกลาวมาขางตนนั้นจึงกําหนดบทนิยามของลิมิตของฟงกชันไวดังนี้
(เฟองฟา ศรีจันทพงศ และคณะ, 2553 : 13)

บทนิยาม 1.1
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันคาจริงของตัวแปรจริง และให a และ L
เปนคาคงตัวที่เปนจํานวนจริง จะกลาวา ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a เทากับ L
( เขียนเทนดวย limx a
f (x )  L ) ก็ตอเมื่อ สําหรับแตละ   0 ที่กําหนดใหจะตองมี

0 ซึ่งมีคุณสมบัติวา ถา x  D f และ 0  x a   แลว f (x )  L  

แลวจะกลาววา ฟงกชัน f มีลิมิตที่จุด x a


9

ในทํานองเดียวกัน ถาพิจารณาเฉพาะเมื่อ x  a หรือ x  a อยางใดอยางหนึ่งจะได


นิยามของลิมิตทางซายและลิมิตทางขวาดังนี้ (เลิศ สิทธิโกศล, 2541 : 28).

บทนิยาม 1.2
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันคาจริงของตัวแปรจริง และให a, M และ L
เปนคาคงตัวที่เปนจํานวนจริงจะกลาววา

ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a ทางซายเทากับ L ( เขียนเทนดวย


lim f (x )  L ) ก็ตอเมื่อ สําหรับแตละ   0 ที่กําหนดให จะตองมี   0
x a 

ซึ่งมีคุณสมบัติวา ถา x  D f และ a    x  a แลว f (x )  L   ในกรณี


ที่มี L  R ซึ่ง lim f (x )  L เราเรียก L วาเปนลิมิตทางซายของ f ที่ x a
x a 

ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x มีคาเขาใกล a ทางขวาเทากับ M ( เขียนเทนดวย


lim f (x )  M ) ก็ตอเมื่อ สําหรับแตละ   0 ที่กําหนดให จะตองมี   0
x a 

ซึ่งมีคุณสมบัติวา ถา x  D f และ a  x  a   แลว f (x )  L   ในกรณี


ที่มี M  R ซึ่ง lim f (x )  M เราเรียก M วาเปนลิมิตทางขวาของ f ที่ x  a
x a 

จากนิยามของลิมิต สามารถแสดงไดวา ทฤษฎีบท 1.1 เปนจริง

ทฤษฎีบท 1.1
ให y  f (x ) เปนฟงกชันคาจริงของตัวแปรจริงและให a และ L
เปนจํานวนจริงจะไดวา lim f x   L ก็ตอเมื่อ lim f x   lim f x   L
x a x a  x a 

เพื่อความเขาใจในบทนิยามของลิมิตของฟงกชันใหมากยิง่ ขีน้ ใหผูเรียนสังเกตวิธีการหา


0 ที่สอดคลองกับ   0 ตามนิยามของลิมิตในตัวอยางตอไปนี้
10

ตัวอยาง 1.5 กําหนดให lim 4x  7   5 และให   0.4 จงหา   0 ซึ่งสอดคลองกับ


x 3

นิยามของลิมิตนี้

วิธีทํา ให lim 4x  7   5 โดยนิยามของลิมิต


x 3

สําหรับทุก ๆ 0 ที่กําหนดให จะมี   0 ซึ่งถา 0  x 3  

แลว 4x  7  5 

ในที่นี้   0.4 จะไดวามี   0.1 ซึ่งมีคุณสมบัติวา ถา 0  x 3   แลวทําให


4x  7  5  4x  12
 4 x 3
 4(0.1)
 0.4

ดังนั้น   0.1 เปนคาทีส่ อดคลองกับนิยามของลิมิตนี้เมื่อ   0.4

ขอสังเกต 1.1
วิธีหาคา   0.1 ในตัวอยาง 1.5 ที่ผานมาอาจทําไดโดยการแยกตัวประกอบ x 3 ออก
จาก 4x  12 แลวพิจารณาวา x 3 ควรจะนอยกวาจํานวนจริงบวกคาใดจึงจะทําให 4x  12

นอยกวา   0.4 ดังนี้ 4x  7  5  4x  12  4 x  3 เนื่องจากตองการให


0.4
4 x  3  0.4 ดังนั้น x 3   0.1 เราจึงเลือกใชคา   0.1
4

ตัวอยาง 1.6 กําหนดให lim 3x  1  7 และ 0 จงหา   0 ซึ่งสอดคลอง


x 2

กับนิยามของลิมิตนี้

วิธีทํา ให lim 3x  1  7 โดยนิยามของลิมิต


x 2

สําหรับทุก ๆ 0 ที่กําหนดให จะมี   0 ซึ่งถา 0  x 2  

แลว 3x  1  7 

กําหนดให   0 จะมี   0 ซึ่งมีคุณสมบัติวา ถา 0  x 2   แลวทําให


3x  1  7  3x  6
11

 3 x 2
 3

 3  
 3 


ดังนั้น  เปนคาทีส่ อดคลองกับนิยามของลิมิตนี้เมื่อ   0
3

ตัวอยาง 1.7 จงพิสูจนวา lim


x 1
4x  7  3
วิธีทํา โดยนิยามของลิมิตเราตองการแสดงวา ทุก ๆ   0 จะมี   0 สําหรับทุก ๆ คา x
ถา 0  x  1   แลว 4x  7  3  
ให   0 เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ

เลือก 
4
ให 0  x 1  
พิจารณา 4x  7  3  4x  7  3
 4x  4
 4 x 1
 4

4
4

นั่นคือ 4x  7  3  
ดังนั้น โดยบทนิยามของลิมิต lim 4x  7   3 เปนจริง
x 1

ตัวอยาง 1.8 จงพิสจู นวา lim 2x  1  9


x 4

วิธีทํา โดยนิยามของลิมิตเราตองการแสดงวา ทุก ๆ   0 จะมี   0 สําหรับทุก ๆ คา x


ถา 0  x  4   แลว 2x  1  9  
ให   0 เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ

เลือก 
2
ให 0  x 4 

พิจาณา 2x  1  9  2x  1  9
12

 2x  8
 2 x 4
 2

2
2

นั่นคือ 2x  1  9 

ดังนั้น โดยบทนิยามของลิมิต lim 2x  1  9 เปนจริง


x 4

ตัวอยาง 1.9 จงพิสูจนวา lim 5x  3  7


x 2

วิธีทํา โดยนิยามของลิมิตเราตองการแสดงวาทุก ๆ   0 จะมี   0 สําหรับทุก ๆ คา x


ถา 0  x  2   แลว 5x  3  7  
ให 0 เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ

เลือก 
5
ให 0  x  2  

พิจารณา 5x  3  7  5x  3  7

 5x  10
 5 x 2
 5 x  2
 5

5
5

นั่นคือ 5x  3  7  

ดังนั้น โดยบทนิยามของลิมิต lim 5x  3  7 เปนจริง


x 2

ตัวอยาง 1.10 จงพิสจู นวา lim x 2  4


x 2

วิธีทํา เราตองการแสดงวา ทุก ๆ 0 จะมี   0 สําหรับทุก ๆ คา x ถา 0  x 2  

แลว x2  4   )

ให   0 เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ
13

เลือก   1
ให 0  x  2 

จะได 0  x 2  1
1  x  2  1
1  4  x  2  4  1  4 ]
3  x 2  5 ]
และ x 2 5

พิจารณา x 2  4  x  2x  2

 x  2 x  2

 5 ]
กรณี 5 จะมี   1 ซึ่ง 0  x  2   แลว x 2  4  

กรณี 5 จะมี    ซึ่ง 0  x  2 


  แลว x 2  4  5  
5 5

ดังนั้น โดยบทนิยามของลิมิต lim x 2  4


x 2
เปนจริง

8
ตัวอยาง 1.11 จงพิสจู นวา lim
x 7 x  3
2

วิธีทํา เราตองการแสดงวา ทุก ๆ   0 มี   0 สําหรับทุกคา x ถา 0  x 7  

8
แลว 2  
x 3
ให   0 เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ
เลือก   1
ให 0  x  7 

จะได 0 x 7 1

1  x 7 1
1  4  x  7  4  1  4 ]
3  x 3 5 ]
และ x 3  3
14

8 8 x  3
พิจารณา 2  2
x 3 x 3 x  3
8  2 x  3

x 3


2x  14
x 3
]
2
x 7
x 3
]

2
3
 ]
2 8
กรณี  จะมี   1 ซึ่ง 0  x 7   แลว 2  
3 x 3
2
กรณี  จะมี   3  ซึ่ง 0  x 7   แลว
3 2
8 x 7
2  2
x 3 x 3

2 3
   
 3  2
]
3

3
]
 ]
8
ดังนั้น โดยบทนิยามของลิมิต lim
x 7 x  3
2 เปนจริง

1.2 ทฤษฎีบทของลิมติ
ในหัวขอที่ผานมานั้นเรื่องความหมายและบทนิยามของลิมิตพรอมทั้งไดมีการพิสูจนลิมิตโดยใช
บทนิยามไปแลวนั้น สําหรับฟงกชันนั้นก็ไมเหมาะที่จะหาลิมติ แบบในหัวขอที่ผานมา เราจึงใชทฤษฎี
บทของลิมิตชวยในการหาคาลิมิตนั้นจะทําใหการหาคาลิมิตไดสะดวกรวดเร็วและงายขึ้นดังนั้นในหัวขอ
นี้จะกลาวถึงทฤษฎีบทของลิมิต และการนําทฤษฎีไปใชในการหาคาลิมิตตอไป สําหรับในหัวขอนี้นั้น
ฟงกชันที่กลาวถึงตอไปนี้เปนฟงกชันคาจริงของตัวแปรจริง นอกจากจะระบุเปนอยางอื่น (คณาจารย
ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542 : 32-41)
15

ทฤษฎีบท 1.2
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L1 และ L2 เปนจํานวนจริง
f เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   L1 และ
x a

lim f x   L2 แลว L1  L2
x a

ทฤษฎีบท 1.3
ถา a และ k เปนจํานวนจริงใด ๆ lim k  k
x a

ทฤษฎีบท 1.4
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L และ M เปนจํานวนจริง
f และ g เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   L
x a

และ lim g x   M แลว lim  f x   g x   lim f x   lim g x   L  M


x a x a   x a x a

ทฤษฎีบท 1.5
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , c และ L เปนจํานวนจริง
f เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   L
x a

แลว lim cf x   cL
x a

เราสามารถใชทฤษฎีบท 1.2 – ทฤษฎีบท 1.5 สามารถหาลิมิตไดดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 1.12 จงหาคา lim145


x 1

วิธีทํา lim145  145


x 1

ดังนั้น lim145  145


x 1
16

ตัวอยาง 1.13 จงหาคา lim 5x  8 


x 2

วิธีทํา lim 5x  8  lim 5x  lim 8


x 2 x 2 x 2

lim 5x  8  10  8
x 2

 18 ]
ดังนั้น lim 5x  8  8
x 2

ตัวอยาง 1.14 จงหาคา lim


x 2
3x  5
วิธีทํา lim 3x  5  3 lim x  lim 5
x 2 x 2 x 2

lim 3x  5  3 lim x  lim 5


x 2 x 2 x 2

 65 ]
1 ]
ดังนั้น lim 3x  5  1
x 2

ทฤษฎีบท 1.6
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L และ M เปนจํานวนจริง
f และ g เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   L และ
x a

lim g x   M แลว lim  f x  g x   lim f x  lim g x   LM


x a x a   x a x a

ตัวอยาง 1.15 จงหาคา lim


x 1
7x 2  5x  8
วิธีทํา  
lim 7x 2  5x  8  7(1)2  5(1)  8
x 1

lim 7x  5x  8  7  5  8
2
x 1

 4]

ดังนั้น 
lim 7x 2
x 1
 5x  8  4
17

ตัวอยาง 1.16 จงหาคา lim


x 0
2x  5x 2  2 x  1

วิธีทํา   
lim 2x  5x 2  2 x  1  lim 2x  5x 2  2 lim x  1
x 0 x 0
 x 0

lim 2x  5x 2
 2 x  1  (lim 2x  lim 5x  lim 2)(lim x  lim1)
2
x 0 x 0 x 0 x 0 x 0 x 0

 (2 lim x  5 lim x 2  lim 2)(lim x  lim1)


x 0 x 0 x 0 x 0 x 0
]
 (2)(1) ]
 2 ]
ดังนั้น 
lim 2x  5x 2  2 x  1  2
x 0

ทฤษฎีบท 1.7
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , M เปนจํานวนจริงใด ๆ ที่ M 0
f เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   M
x a

1 1
แลว lim 
x a f x  M

1
ตัวอยาง 1.17 จงหาคา lim
x 0 x 2
1 1
วิธีทํา lim 
x 0 x  2 lim x  2
x 0

1 1
lim 
x 0 x  2 2


1
2
]
1 1
ดังนั้น lim
x 0 x  2

2

ทฤษฎีบท 1.8
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L และ M เปนจํานวนจริงที่ M 0

f และ g เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a ถา lim f x   L


x a

f x  lim f x  L
และ lim g x   M แลว lim  x a

x a x a g x  lim g x  M
x a
18

ขอสังเกต 1.2
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L1, L2, L3,..., Ln และ k1, k2, k3,..., kn เปนจํานวน
จริงใด ๆ f1, f2, f3,..., fn เปนฟงกชันที่นิยามบน I แตอาจไมนิยามที่ a
1).ผลของทฤษฎีบท 1.4 สามารถขยายใชไดกับฟงกชันจํานวนจํากัดนั่นคือ
ถา lim f x   L1, lim f2 x   L2 , lim f3 x   L3, ..., lim fn x   Ln
x a 1 x a x a x a

แลว lim k f x   k f x     k f x   k L  k L    k L
x a  1 1 2 2 n n  1 1 2 2 n n

และ lim  f1 x  f2 x     fn x   L1  L2    Ln


x a  
2). เนื่องจาก lim x  a (ทฤษฎีบทบท 1.3)
x a

ดังนั้นถา P x   a x n    a x  a เปนฟงกชันพหุนามใด ๆ แลว


n 1 0

จากทฤษฎีบท 1.4 และ ทฤษฎีบท 1.3 จะไดวา lim P x   P a  x a

2
2x  5x 2
ตัวอยาง 1.18 จงหาคา lim
x 0 x 1

2x  5x 2  2 lim 
2x  5x 2  2 
วิธีทํา lim  x 0
x 0 x 1 lim x  1
x 0

2x  5x 2  2 2
l im 
x 0 x 1 1
 2 ]
2x  5x 2  2
ดังนั้น lim  2
x 0 x 1

บทแทรก 1.1
ถา f และ g เปนฟงกชัน ซึ่ง f (x )  g(x ) ทุก x ซึ่ง 0  x a  r

บางคา r  0 และ lim f (x )  L


x a
แลวจะไดวา lim g(x )  L
x a

และถาแทน x  a ดวย x  a  หรือ x  a  แลวบทแทรกนี้ยงั คงเปนจริง


19

2
2x  5x
ตัวอยาง 1.19 จงหาคา lim
x 0 x
2x  5x
2
x 2  5x 
วิธีทํา เพราะวา lim  lim
x 0 x x 0 x
2
2x  5x
lim  lim 2  5x 
x 0 x x 0

 2  5(0) ]
2 ]
2
2x  5x
ดังนั้น lim 2
x 0 x

2
x  7x  12
ตัวอยาง 1.20 จงหาคา lim
x 4 x 4
x 2
 7x  12 x  4x  3
วิธีทํา เพราะวา lim  lim
x 4 x 4 x 4 x 4
x 2  7x  12
lim  lim x  3
x 4 x 4 x 4

 43 ]
1 ]
x 2  7x  12
ดังนั้น lim 1
x 4 x 4

x3  8
ตัวอยาง 1.21 จงหาคา lim
x 2 x  2

3
x 8 x 3  23
วิธีทํา เพราะวา xlim  lim
2 x 2 x 2 x  2

x3  8 (x  2)(x 2  2x  4)
lim  lim
x 2 x  2 x 2 x 2

 lim (x 2  2x  4)
x 2
]
 (2)2  2(2)  4 ]
 12 ]
x3  8
ดังนั้น lim
x 2 x  2
 12
20

x2  4
ตัวอยาง 1.22 จงหาคา lim
x 2 x 3  8

2 2 2
x 4 x 2
วิธีทํา พิจารณา lim 3
 lim 3 3
x 2 x 2 x 8 x 2
x2  4 (x  2)(x  2)
lim 3
 lim
x 2 x 8 x 2 (x  2)(x 2  2x  4)

 lim
(x  2)
2
x 2 (x  2x  4)
]

22
22  2(2)  4
]

1
3
]
x2  4 1
ดังนั้น lim 3 
x 2 x  8 3

2x 2 , x  2
ตัวอยาง 1.23 จงหาคา lim f (x ) เมื่อกําหนด f (x )  
x 2 3  x , x  2

วิธีทํา หาคา lim f (x )
x 2
ตองแยกพิจารณาหาลิมิตซาย และลิมิตขวา
พิจารณา lim f (x )  lim 2x 2
x 2 x 2

 2(2)2
8 ]
ได lim f (x )  8
x 2

พิจารณา lim f (x )  lim(3  x)


x 2 
x 2

lim f x   3  2
x  2

1 ]
ได lim f (x )  1
x 2

เนื่องจาก lim f (x )  lim f (x )


x 2 x 2

ดังนั้น lim f (x )
x 2
ไมมีลิมิต
21

2x 2 , x  2
ตัวอยาง 1.24 จงหาคา lim f (x ) เมื่อกําหนด f (x )  
x 1 3  x , x  2

วิธีทํา หาคา lim
x 1
f (x ) แยกพิจารณาหาลิมิตซาย และลิมิตขวา

พิจารณา lim f (x )  lim 2x 2


x 1 x 1

lim f x   2(1)2
x  1

2 ]
ได lim f (x )  2
x 1

พิจารณา lim f (x )  lim 2x 2


x 1 x 1

lim f x   2(1)2
x 1

2 ]
ได lim f (x )  2
x 1

เนื่องจาก lim f (x )  lim f (x )


x 1 x 1

ดังนั้น lim f x   2
x 1

ตัวอยาง 1.25 จงหาคา lim



x x3  5 
x 0 x
 x , x 0
วิธีทํา พิจารณา x  

 x , x 0

ดังนั้น การหาคาลิมิตตองแยกพิจารณาหาลิมิตซาย และลิมติ ขวา

พิจารณา lim

x x3  5   lim x x 3
5
x  0 x x  0 x

lim

x x3  5   lim  (x 3
 5)
x 0 x x  0

 (03  5) ]
 5 ]
ได lim

x x3  5   5
x 0 x
22

พิจารณา lim

x x3  5   lim x x 3
5 
x 0 x x 0 x

lim
x x3  5   lim (x 3
 5)
x 0 x x 0 

 (03  5) ]
5 ]
ได lim

x x3  5 5
x 0 x

เนื่องจาก lim
x x3  5   lim x x 3
5 
x  0 x x  0 x

ดังนั้น lim

x x3  5  ไมมีลิมิต
x 0 x

ตัวอยาง 1.26 จงหาคา lim



x  2 x 2  3x  4 
x 2 x 2
 (x  2), x 2

วิธีทํา พิจารณา x  2  
(x  2),

x 2 ]
การหาคาลิมิตตองแยกพิจารณาหาลิมิตซายและลิมิตขาว

พิจารณา lim

x  2 x 2  3x  4   lim x  2x 2

 3x  4
x 2 x 2 x 2 x 2

lim

x  2 x 2  3x  4   lim  (x 2
 3x  4)
x 2 x  2 x  2

 (22  3(2)  4) ]
 2 ]
ได lim

x  2 x 2  3x  4   2
x 2 x 2
23

พิจารณา lim

x  2 x 2  3x  4   lim x  2x 2
 3x  4 
x 2 x 2 x 2 x 2

x  2 x 2  3x  4   lim
lim x 2
 3x  4 
x 2 x  2 x 2 

 (22  3(2)  4) ]
2 ]
ดังนั้น lim

x  2 x 2  3x  4 2
x 2 x 2

เนื่องจาก lim

x  2 x 2  3x  4   lim 
x  2 x 2  3x  4 
x 2 x 2 x 2 x 2

ดังนั้น lim

x  2 x 2  3x  4  ไมมีลิมิต
x 2 x 2

ตัวอยาง 1.27 จงหาคา lim



x  1 x 2  3x  4 
2
x 1 x  3x  2
 (x  1), x 1

วิธีทํา พิจารณา x  1  
(x  1),

x 1 ]
ดังนั้นการหาคาลิมิตตองแยกพิจารณาหาลิมิตซายและลิมิตขวา

พิจารณา lim

x  1 x 2  3x  4   lim (x  1)x 2
 3x  4 
2 2
x 1 x  3x  2 x 1 
x  3x  2

lim

x  1 x 2  3x  4   lim (x  1)x 2
 3x  4 
x 1
2
x  3x  2 x 1 
(x  2)(x  1)

 lim
x 1
(x 2  3x  4)
x 2
]
2 ]
ได lim

x  1 x 2  3x  4 2
x 1 x 2  3x  2
24

พิจารณา lim

x  1 x 2  3x  4   lim (x  1)x 2

 3x  4
x 1 x 2  3x  2 x 1 x 2  3x  2

lim

x  1 x 2  3x  4   lim (x  1)x 2
 3x  4 
x 1 x 2  3x  2 x 1 (x  2)(x  1)

 lim
x 1
(x 2  3x  4)
x 2
]
 2 ]
ได lim

x  1 x 2  3x  4   2
2
x 1 x  3x  2

เนื่องจาก lim

x  1 x 2  3x  4   lim x  1 x 2
 3x  4 
x 1 x 2  3x  2 x 1 x 2  3x  2

ดังนั้น lim

x  1 x 2  3x  4  ไมมีลิมิต
x 1 x 2  3x  2

x  12x 
ตัวอยาง 1.28 จงหาคา lim
x 1 x 2  3x  2
 x  1, x 1

วิธีทํา พิจารณา x  1  
 (x  1),

x 1 ]
 2x , x 0
และ 2x  
2x ,

x 0 ]
การหาคาลิมิตตองแยกพิจารณาหาลิมิตซายและลิมิตขวา
x  12x  x  1 2x
พิจารณา lim  lim
x 1 x 2  3x  2 x 1 x 2  3x  2
x  12x  (x  1)(2x )
lim  lim
x 1 x 2  3x  2 x 1 (x  2)(x  1)

 lim
x 1
(2x )
x 2
]
2 ]
25

(x  1)2x 
ได lim 2
x 1 x 2  3x  2

x  12x  x  1 2x
พิจารณา lim 2
 lim 2
x 1 x  3x  2 x 1 x  3x  2
x  12x  (x  1)(2x )
lim  lim
x 1
2
x  3x  2 x 1 (x  2)(x  1)

 lim
x 1
2x
x 2
]
2 ]
x  12x 
ได lim  2
x 1 x 2  3x  2
x  12x  x  12x 
เนื่องจาก lim  lim
x 1 x 2  3x  2 x 1 x 2  3x  2

x  12x 
ดังนั้น lim ไมมีลิมิต
x 1 x 2  3x  2

1.3 ลิมิตที่เกี่ยวของกับอนันต
กอนที่จะศึกษาลิมิตที่เกี่ยวของกับอนันคนั้นกอนอื่นตองรูจ ักความหมายของคําวา อนันต
เสียกอน อนันต แทนดวยสัญลักษณ  ไมใชจํานวนจริง แตใชแทนจํานวนที่มีคามากกวาทุกจํานวน
จริง กลาวคือสําหรับทุก ๆ r  R
r 

และในทางตรงกันขาม ลบอนันต แทนดวยสัญลักษณ  ก็จะใชแทนจํานวนที่นอยกวาทุก


ๆ จํานวนจริง กลาวคือทุก ๆ r  R
  r
ดังบทนิยามตอไปนี้ (สุรวิทย ตันแตงผล และอนุสรณ ชนวีรยุทธ, 2537 : 20-21).
26

บทนิยาม 1.3
จะกลาววาจํานวนจริง x เขาสูอนันต (เขียนแทนดวย x   )
ถา x  M ทุก ๆ จํานวนจิง M  0 (กลาวคือ x มีคาเพิ่มขึ้นอยางไมมีขอบเขต)
จะกลาววาจํานวนจริง x เขาสูล บอนันต (เขียนแทนดวย x   )
ถา x  M ทุก ๆ จํานวนจิง M  0 (กลาวคือ x มีคาลดลงอยางไมมีขอบเขต)

ในที่นี้จะแบงการกลาวถึงลิมิตทีเ่ กี่ยวของกับอนันตเปน 3 ประเภทดังตอไปนี้


1. ลิมิต (คาจริง) ทีจ่ ุดอนันต
ฟงกชัน f มีลิมิตที่  และคาลิมิตเปนจํานวนจริงมี 2 ลักษณะคือ
lim f (x )  L และ lim f (x )  L โดยที่ L เปนจํานวนจริง
x  x 

2. ลิมิตคาอนันตที่จุด x  a ( a เปนจํานวนจริง)
ให a เปนจํานวนจริงฟงกชัน f ไมมีลิมิตที่จุด x  a โดยที่ถา x เขาใกล a
แลวคา f (x ) เพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางไมจํากัด (นั่นคือ f (x )   หรือ f (x )   )
มี 6 ลักษณะคือ
lim f (x )   , lim f (x )  
x a  x a 

lim f (x )   , lim f (x )  
x a x a 

lim f (x )   , lim f (x )  
x a x a

3. ลิมิตคาอนันตที่จุดอนันต
ฟงกชัน f ไมมีลิมิตทีจ่ ุดอนันตโดยที่เมือ่ x   หรือ x   แลว
f (x )   หรือ f (x )   ) มี 4 ลักษณะคือ
lim f (x )  
x 

lim f (x )  
x 

lim f (x )  
x 

lim f (x )  
x 

กอนที่จะศึกษาลิมิตที่เกี่ยวของกับอนันตทั้ง 3 ประเภทอยางละเอียดนั้นจะขอ
กลาวถึงนิยามทีส่ ําคัญและจําเปนตองทราบกอนดังนี้ (ทัศนีย อารยะตระกูลลิขิต และคณะ, 2539 :
25)
27

บทนิยาม 1.4
ฟงกชัน f (x ) เปนฟงกชันซึ่งเมื่อ x เขาใกล a แลว f (x ) อยูในรูปแบบใด
รูปแบบหนึง่ ดังตอไปนี้ คือ 0 ,  , 0  ,   , 00, 0 หรือ 1 แลวจะไดวา lim f (x )
0  x a

มี รูปแบบที่ไมกําหนด ที่ x a

1.3.1 ลิมิต (คาจริง) ที่จุดอนันต


3x 2
พิจารณาฟงกชัน f (x )  ไดตารางดังตอไปนี้
1 x2

3x 2
ตาราง 1.3 คาของ f (x )  เมื่อ x มีคาเขาใกล  และ 
1 x2

3x 2 3x 2
x f (x )  x f (x ) 
1 x2 1 x2
1 3 1 3
2 2
10 300  10 300
101 101
100 30000  100 30000
10001 10001
1000 3000000  1000 3000000
1000001 1000001
… … … …

3x 2
พิจารณากราฟฟงกชัน f (x )  ดังตอไปนี้
1 x2
28

3x 2
ภาพประกอบ 1.3 กราฟของฟงกชัน f (x ) 
1  x2
3x 2
จากตารางหรือจากกราฟของฟงกชัน f (x )  จะเห็นวา เมือ่ x   แลว คา
1  x2
3x 2
ของฟงกชัน f (x ) มีคาเขาใกล 3 นั่นคือ lim
x  1  x 2
3 และในทํานองเดียวกัน เมื่อ
3x 2
x   แลว คาของฟงกชัน f (x ) มีคาเขาใกล 3 จะได lim
x  1  x 2
3

ในกรณีทั่วไป lim f (x )  L
x 
หมายความวา เมื่อ x มีคาเพิ่มขึ้นอยางไมจํากัดแลวคา
f (x ) มีคาเขาใกลจํานวนจริง L และในทํานองเดียวกัน xlim

f (x )  L หมายความวา เมื่อ x มี

คาลดลงอยางไมจํากัดแลวคา f (x ) เขาใกลจํานวนจริง L เขียนเปนบทนิยามไดดังนี้ (เฟองฟา ศรี


จันทพงศ และคณะ, 2553 : 26-27)

บทนิยาม 1.5
ให f เปนฟงกชันคาจริงที่นิยามบนบางชวงเปด (a, ) กําหนดให L
เปนจํานวนจริง xlim f x   L (อานวา ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาสู  เทากับ L )


ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวนจริง 0 จะมีจํานวนจริง M  0 ซึ่ง f x   L 

ทุก ๆ x  M ให เปนฟงกชันคาจริงทีน่ ิยามบนบางชวงเปด (,b)


f
lim f x   L (อานวา ลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาสู  เทากับ L )
x 

ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวนจริง 0 จะมีจํานวนจริง M 0 ซึ่ง f x   L 

ทุก ๆ x  M
29

ทฤษฎีบทตาง ๆ เกี่ยวกับการมีคาเดียวของลิมิต ลิมิตของฟงกชันคงตัว ลิมิต ผลบวก ผลคูณ


และผลหาร ของฟงกชันยังคงเปนจริงในกรณีที่ x มีคาเขาใกลอนันตดวย นอกจากนี้ยังพบความจริง
c c
ที่วาถาให c เปนจํานวนจริง แลว lim 0 และ lim 0 จากบทนิยามดังกลาวสามารถหา
x x x   x
คาลิมิตที่อนันตไดดังตัวอยางตอไปนี้
3x  2
ตัวอยาง 1.29 จงหาคา xlim
 5x  4
 2
x 3  
3x  2  x 
วิธีทํา lim  lim
x  
x  5x  4 4
x 5  
 x 
 
3  2 
3x  2  x 
lim  lim
x  5x  4 x   
5  4 
 x 



2
lim 3  
x   x 
4
lim 5  
x   x 
}
2
lim 3  lim

x  x x 

4
lim 5  lim
x  x  x

3x  2 30
lim 
x  5x  4 50


3
5
}
3x  2 3
ดังนั้น lim
x  5x  4

5
30

2x 2  7x  5
ตัวอยาง 1.30 จงหาคา xlim
 5x 3  2x  1


3 2 7 5 
x    
2x 2  7x  5  x x 2
x 3 
วิธีทํา xlim  lim

 5x 3  2x  1 x  2 1
x 3 5  2  3 
 x x 

3 2 7 5 
x    
2x 2  7x  5  x x 2 x 3 
lim  lim
x  5x 3  2x  1 x   2 1
x 3 5  2  3 
 x x 

 lim x x
x 
2 7
 2  3
2
5 2  3
x
1
5
}
x x


2

2
7
lim  lim 2  lim 3
x  x x  x x  x

lim 5  lim 2  lim 3


x  x  x x  x
1
}
5


000
5  0 1
}

0
5
}
0 }
2x 2  7x  5
ดังนั้น lim
x  5x 3  2x  1
0

สําหรับตัวอยาง 1.30 นั้นสามารถทําไดหลายวิธี ดังตอไปนี้


2
 7 5 
x  2   
2x 2  7x  5  x x 2 
วิธีทํา lim  lim

x  5x 3  2x  1 x  2 1
x 3 5  2  3 
 x x 
 
2  7  5 
2x 2  7x  5  x x 
2
lim  lim
x  5x 3  2x  1 x   2 1
x 5  2  3 
 x x 
31

}
 
 2  7  5  
 1    x x 2  
 lim   
x  
 x    2 1  
 5    
  x 2 x 3  

}
 
2  7  5 
 1 

 x x  2

 lim    lim
x   x  x   
5  2  1 
 
x 2 x 3 
 
2  7  5 
1  x x 2  2
เนื่องจาก lim    0 และ lim 
 x 
x   x   
5  2  1  5
 
x 2 x 3 
2x 2  7x  5
ดังนั้น lim
x  5x 3  2x  1
0

3x 6  6x 2  1
ตัวอยาง 1.31 จงหาคา xlim
 2x 3  x


6 6 1 
x  3   
3x 6  6x 2  1  x 4
x 6 
วิธีทํา lim  lim

x  2x 3  x x  1
x 3 2  2 
 x 

 
x3 3  6  1 

3x 6  6x 2  1  x 4 x 6 
lim  lim
x  2x 3  x x   1
x 3 2  2 
 x 

 lim
x 



x
6
x 3 3  4  6 

1
x 3 2  2 
 x 
1
x 
}
32


x  

 x
6

lim 2  2
x  x
1
1
lim 3  4  6 
x 
}

lim 3  lim
x  x  x
6

lim 2  lim 2
x 
4

x  x
1
}
 lim 6
x  x
1


300
20
}

2
}
3

3x 4  6x 2  1 3
ดังนั้น lim 2

x  2x  x 2

3x 6  6x 2  1
ตัวอยาง 1.32 จงหาคา x 
lim
2x 3  x
 6 1
x 6 3  4  6 
3x 6  6x 2  1  x x 
วิธีทํา lim  lim

x  2x 3  x x  1
x 3 2  2 
 x 
 
x3 3  6  1 
 
3x 6  6x 2  1 x 4 x 6 
lim  lim
x  2x 3  x x   1
x 3 2  2 
 x 

 lim
x 



x
6
x 3 3  4  6 

1
x 3 2  2 
 x 
1
x 
}
33

 lim
x 

x
6 1
 3  4  6 
 x 
1
2 2
x
}

 lim 3  lim
x  x
6
x 4

lim 2  lim 2
x 
 lim 6

x  x
1
x  x
1
}

 300
20
}

2
3
}
3x 4  6x 2  1 3
ดังนั้น lim  
x  2x 2  x 2

5x 5  2x 3  7
ตัวอยาง 1.33 จงหาคา xlim
 2x 3  1

6 5 2 7 
x    
5x 5  2x 3  7  x x 3
x 6 
วิธีทํา lim  lim

x  2x 3  1 x  1
x 3 2  3 
 x 
5 2 7
x 6   3  6 
5x 5  2x 3  7  x x x 
lim  li m
x  2x 3  1 x   1
x 3 2  3 
 x 

 lim
x 
x3
5
  2  7 

 1
x 3 2  3 
 x 
}

 x x 3 x 6 
34

 lim
x 
5
  2  7 

1
2 3
x

 x x 3 x 6 
}

lim
5
x  x x  x
2
 lim 3  lim 6

lim 2  lim 3
x  x  x
1
} 7
x  x


000
20
}
 }
0
2

0 }
5x 5  2x 3  7
ดังนั้น lim 0
x  2x 3  1

ขอสังเกต 1.3
จากตัวอยางทีผ่ านมาจะสังเกตไดวาถา P (x )  a 0  a1x    a n x n และ
Q (x )  b0  b1x    bm x m เปนฟงกชันพหุนามโดยที่ a n  0 และ bm  0 แลว
a a
P (x )  , n m P (x )  , n m
n n
lim
x  Q(x )
 bm

และ lim
x  Q (x )
 bm

0, n m 0, n m

1.3.2 ลิมิตคาอนันตที่จุด x a
x
พิจารณาฟงกชัน f (x )  ไดตารางดังตอไปนี้
x 1
35

x
ตาราง 1.4 คาของ f (x )  เมื่อ x มีคาเขาใกล 1
x 1
x x
x f (x )  x f (x ) 
x 1 x 1
0.5 -1 1.5 3
0.9 -9 1.1 11
0.99 -99 1.01 101
0.999 -999 1.001 1001
0.9999 -9999 1.0001 10001
… … … …

x
พิจารณากราฟฟงกชัน f (x )  ดังตอไปนี้
x 1

x
ภาพประกอบ 1.4 กราฟของฟงกชัน f (x ) 
x 1
36

x
จากตารางหรือจากกราฟของฟงกชัน f (x )  จะเห็นวา เมือ่ x เขาใกล 1 ทางขวา
x 1
(x  1) นั้น คาของ f (x ) เขาสู อนันต () และเมื่อ x เขาใกล 1 ทางซาย (x  1) นั้นคาของ
f (x ) เขาสู ลบอนันต () ในกรณีเชนนี้เราไดวา
x x
lim  และ lim  
x 1 x 1 x 1 x 1
ในทํานองเดียวกันจะไดวา
 x   x 
lim     และ lim    
x 1  x  1 x 1  x  1
และ
2 2
 x   x 
lim     และ lim    
x 1  x  1 x 1  x  1
ในกรณีทั่ว ๆ ไปถา lim f x    ( หรือ  ) และ lim f x    ( หรือ  ) มี
x a  x a 

ความหมายดังบทนิยามตอไปนี้ (สมเกียรติ พานอย และคณะ, 2543 : 31-33)

บทนิยาม 1.6
lim f x    (อานวาลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาใกล a ทางขวาเทากับ  )
x a 

ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา a  x  a   แลว f (x )  M


lim f x    (อานวาลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาใกล a ทางขวา
x a 

เทากับ  ) ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา a  x  a  


แลว f (x )  M
lim f x    (อานวาลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาใกล a ทางซายเทากับ  )
x a 

ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา a    x  a แลว f (x )  M


lim f x    (อานวาลิมิตของ f (x ) เมื่อ x เขาใกล a ทางซาย
x a 

เทากับ  ) ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา a    x  a


แลว f (x )  M
lim f x    ก็ตอเมื่อ lim f x   lim f x    หรือ ทุก ๆ
x a x a  x a 

จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา 0  x a   แลว f (x )  M


37

lim f x    ก็ตอเมื่อ lim f x   lim f x    หรือ ทุก ๆ


x a x a  x a

จํานวน M  0 จะมี   0 ซึ่งถา 0  x a   แลว f (x )  M

ทฤษฎีบท 1.9
1
1. lim 
x a (x  a)n

1 , เปนเลขคู
2. lim  

x a (x  a )n 
 , เปนเลขคี่

1
ตัวอยาง 1.34 จงหาคา lim
x  3 (x  3)2

1
วิธีทํา เนื่องจาก lim 
x 3 (x  3)2
1
และ lim 
x 3 (x  3)2
1
ดังนั้น lim
x  3 (x  3)2


1
ตัวอยาง 1.35 จงหาคา lim
x 2 (x  2)3
1
วิธีทํา เนื่องจาก lim  
x 2 (x  2)3
1
และ lim 
x 2 (x  2)3
1
ดังนั้น lim ไมมีลมิ ิต
x 2 (x  2)3

1
ตัวอยาง 1.36 จงหาคา lim
x 0 x
1
วิธีทํา เนื่องจาก lim  
x 0 x
1
และ lim 
x 0 x
38

1
ดังนั้น lim ไมมีลมิ ิต
x 0 x

ทฤษฎีบท 1.10
ให lim
x a
f (x )  L และ lim g (x )  I
x a
เมื่อ L  R และ
I   หรือ  จะไดวา

1. lim g (x )  f (x )  I


x a

I , L0

2. lim  f (x )  g(x )  , L0 และ
x a 
,

L0 และ
f (x )
 lim
x  g(x )
0 เมื่อ L  0

f (x )
3. lim 0
x a g(x )

I , เปนเลขคี่
4. lim n g (x )  
x a 
 , เปนเลขคู และ

I , เปนเลขคี่
5. lim g n (x )  
x a 
 , เปนเลขคู

ขอสังเกต 1.4
1. ทฤษฎีบท 1.10 ยังคงเปนจริงสําหรับกรณีลมิ ิตทางซาย และลิมิตทางขวาของ f และ g
2. ถา L  0 แลว lim
x a
f (x )  g(x ) อยูในรูปแบบไมกําหนด แลวลิมิตนีอ
้ าจจะหาคาไดหรือ
หาคาไมได ตัวอยางตอไปนี้

1
ตัวอยาง 1.37 จงหาคา lim f (x )  g(x ) เมื่อกําหนด f (x )  และ g(x)  x
x  0 x2
1
วิธีทํา พิจารณา lim f (x )  lim 2

x  0 x  0 x
39

และ lim g (x )  lim x  0


x  0 x 0

จะไดวา lim f (x )  g(x ) อยูในรูปแบบไมกําหนด (   0 )


x 0

x
แต lim f (x )  g (x )  lim
x 3 x 3 x2
1
 lim
x 0 x
 ]
ดังนั้น lim f (x )  g(x )  
x 0

1
ตัวอยาง 1.38 จงหาคา lim f (x )  g(x ) เมื่อกําหนด f (x )  และ g(x)  x
x 0 
x
1
วิธีทํา พิจารณา lim f (x )  lim 
x 0 
x 0 
x
และ lim g (x )  lim x  0
x  0 x 0

จะไดวา lim f (x )  g(x ) อยูในรูปแบบไมกําหนด (   0 )


x 0

x
แต lim f (x )  g(x )  lim
x 3 x 3 x
 lim 1
x 0

1 ]
ดังนั้น lim f (x )  g(x )  1
x 0

1
ตัวอยาง 1.39 จงหาคา lim f (x )  g(x ) เมื่อกําหนด f (x )  และ g (x )  (x  3)2
x  3 x 3
1
วิธีทํา พิจารณา lim f (x )  lim 
x 3 
x 3 
x 3
และ lim g (x )  lim(

x  3)2  0
x 3 x 3

จะไดวา lim f (x )  g(x ) อยูในรูปแบบไมกําหนด (   0 )


x 3

(x  3)2
แต lim f (x )  g(x )  lim
x 3 x 3 x 3
40

lim f (x )  g(x )  lim( x  3)


x  3 x 3

0 ]
ดังนั้น lim f (x )  g(x )  0
x 3

ดังนั้นการหาคาลิมิตนั้นไมมีหลักเกณฑตายตัวทั้งนี้ตองอาศัย นิยาม ทฤษฎีบทตาง ๆ รวมทั้ง


ขอสังเกตุเพือ่ จะตรวจสอบวาลิมิตนั้นหาคาไดหรือหาคาไมไดดังตัวอยางตอไปนี้ (Ross, F.L.
Maurice,.W.D. and Frank, G.R., 2001 : 46)

 1 
ตัวอยาง 1.40 จงหาคาของ lim   5
x  2  (x  2) 
3
 

 1  1
วิธีทํา จาก lim   5   lim  lim 5
x  2  (x  2)  x 2 (x  2)3 x 2
3
 
1
และ lim  , lim 5  5
x 2 (x  2)3 x 2

โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 1


 1 
ดังนั้น lim   5 
x  2  (x  2) 
3
 

1
ตัวอยาง 1.41 จงหาคาของ lim 2
x 1 x 1

1 1
วิธีทํา จาก lim  lim
x 1 x  1 x 1 (x  1)(x  1)
2

 1 1 
 lim  
x 1  (x  1) (x  1)

1 1
 lim  lim
x 1 (x  1) x 1 (x  1)

1 1 1
และ lim   , lim 
x 1 (x  1) x 1 (x  1) 2
โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 2

1
ดังนั้น lim 2
 
x 1 x 1
41

5
ตัวอยาง 1.42 จงหาคาของ lim 2
x 3 x  3x

5 5
วิธีทํา จาก lim  lim
x 3 x 2  3x x 3 x (x  3)
5 1 
 lim  
x 3  x x  3 

5 1
 lim  lim
x 3 x x 3 x  3

5 5 1
และ lim  , lim 
x 3 x 3 x 3 x 3

โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 2

5
ดังนั้น lim 2

x 3 x  3x

ตัวอยาง 1.43 จงหาคาของ xlim


2
5(x  2)2

5
วิธีทํา จาก lim 5(x  2)2  lim
x  2 x  2  1 
 
 (x  2)2 
 
5
 lim
x 2  1 
 
 (x  2)2 
 


lim
lim 5
x 2

1
]
x 2 (x  2)2

1
และ lim 5  5 ,
x 2
lim
x 2 (x  2)2


โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 3

ดังนั้น lim 5(x  2)2  0


x 2
42

1
ตัวอยาง 1.44 จงหาคา lim 2
x 3 x  7x  12
1 1
วิธีทํา จาก lim  lim
x 3 x  7x  12 x 3 (x  3)(x  4)
2

 1 1 
 lim  
x 3  (x  3) (x  4)

1 1
 lim  lim
x 3 (x  3) x 3 (x  4)

1 1
และ lim   , lim  1
x 3 (x  3) x 3 (x  4)

โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 2


1
ดังนั้น lim 2

x 3 x  7x  12

x 1
ตัวอยาง 1.45 จงหาคา lim
x 2 x 2
 1 

x 1   2 
วิธีทํา พิจารณา lim  lim  x
x 2 x  2 x 2  1 
 
 x  1 
1
lim
 x 2 x  2
1
lim
x 2 x  1

1 1 1
และ lim   , lim 
x 2 x 2 x 2 x 1 3

โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 2

x 1
ได lim  
x 2 x  2

 1 
 
x 1 x 2
พิจารณา lim  lim  
x 2 x  2 x 2  1 
 
 x  1 
43

1
lim
 x 2 x  2
1
lim
x 2 x  1

1 1 1
และ lim   , lim 
x 2 x 2 x 2 x  1 3

โดยทฤษฎีบท 1.10 ขอ 2

x 1
ได lim 
x 2 x 2
x 1 x 1
เนื่องจาก lim  lim
x 2 
x  2 x 2 x  2

x 1
ดังนั้น lim
x 2 x  2
ไมมีลิมิต

1.3.3 ลิมิตคาอนันตที่จุดอนันต

พิจารณาฟงกชัน f (x )  x 3 ไดตารางดังตอไปนี้

ตาราง 1.5 คาของ f (x )  x 3

x f (x )  x 3 x f (x )  x 3

1 1 -1 -1
2 8 -2 -8
3 27 -3 -27
4 64 -4 -64
5 125 -5 -125
10 1000 -10 -1000
… … … …
44

พิจารณากราฟฟงกชัน f (x )  x 3 ดังตอไปนี้

ภาพประกอบ 1.5 กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3

จากตารางและรูปภาพจะเห็นวาเมื่อ x   จะทําให f (x )  x 3   นั้นหมายความ


วา xlim

x 3   ในทํานองเดียวกัน x   จะทําให f (x )  x 3   ก็หมายความวา

lim x 3  
x 
ในกรณีทั่ว ๆ ไป ลิมิตคาอนันตที่จุดอนันต นั้นมีความหมายดังบทนิยามตอไปนี้
(เฟองฟา ศรีจันทพงศ และคณะ, 2553 : 35-40)

บทนิยาม 1.7
1. xlim

f (x )   ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ คา M  0 จะมีคา N  0

ซึ่งถา x  N แลว f (x )  M
2. xlim

f (x )   ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ คา M  0 จะมีคา N  0

ซึ่งถา x  N แลว f (x )  M
45

บทนิยาม 1.7(ตอ)
3. xlim

f (x )   ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ คา M  0 จะมีคา N  0

ซึ่งถา x  N แลว f (x )  M
4. xlim

f (x )   ก็ตอเมื่อ ทุก ๆ คา M  0 จะมีคา N  0

ซึ่งถา x  N แลว f (x )  M

ทฤษฎีบท 1.11
ให n  N จะไดวา

1. lim x n  
x 

, เปนเลขคี่
2. lim x n  
x  
 , เปนเลขคู

ตัวอยาง 1.46
lim x  
x 

lim x  
x 

lim x 2  
x 

lim x 5  
x 

lim x 4  
x 

ทฤษฎีบท 1.12
ให xlim

f (x )  L และ lim g(x )  I
x 
โดยที่ L  R
และ I  (หรือ )

1. lim g (x )  f (x )  I


x 
46

ทฤษฎีบท 1.12(ตอ)
2. ถา L  0 แลว
g (x ) I ,
2.1 lim  f (x )  g (x )  lim 
x  x  f (x ) 
 I ,
f (x )
2.2 lim 0
x  g(x )

I , เปนเลขคี่
3. lim g (x )  
x  
 , เปนเลขคู และ

I , เปนเลขคี่
4. lim g n (x )  
x  
 , เปนเลขคู

ทฤษฎีบท 1.13
ให xlim

f (x )  I และ lim g(x )  J
x 
โดยที่ I   (หรือ )
และ J   (หรือ ) จะไดวา
,
1. lim  f (x )  g (x )  
x    ,


, และ มีเครื่องหมายเหมือนกัน


2. lim  f (x )  g (x )  
x  
 , และ มีเครื่องหมายตางกัน

ทฤษฎีบท 1.14
ให P (x )  a 0  a1x    a n x n และ Q (x )  b0  b1x    bm x m
เปนฟงกชันพหุนามระดับขั้น n และ m ตามลําดับ ถา n  m แลวจะไดวา
P (x ) a 
lim  lim  n  x n m
x  Q(x ) x  b
 m 
47

หมายเหตุ
1. เมื่อเราแทน x   ดวย x   ในทฤษฎีบท 1.12, 1.13 และ 1.14 จะไดวา
ทฤษฎียังคงเปนจริง
f (x ) 
2. lim จะเรียกวาอยูในรูปแบบไมกําหนด และ lim  f (x )  g(x ) ซึ่ง
x  g (x )  x  
(x ) (x )

ถา I  J ก็อยูในรูปแบบไมกําหนด   ,    และในทฤษฎีบท 1.12 เมื่อ L  0


lim  f (x )  g(x ) อยูในรูปแบบไมกําหนด 0 , 0  ()
x   
(x  )

เมื่อเราทราบทฤษฎีบทตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับลิมิตที่จุดอนันตที่กลาวมาแลวเราสามารถหาคา
ลิมิตไดดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 1.47 จงหาคาของ lim(x 3  2)


x 

วิธีทํา จาก lim(x 3  2)  lim x 3  lim 2


x  x  x 

และ lim x 3   ,
x 
lim 2  2
x 

โดยทฤษฎีบท 1.12 ขอ 1

ดังนั้น lim(x 3  2)  
x 

ตัวอยาง 1.48 จงหาคาของ lim (x 3  5)


x 

วิธีทํา จาก lim (x 3  5)  lim x 3  lim 5


x  x  x 

และ lim x 3   , lim 5  5


x  x

โดยทฤษฎีบท 1.12 ขอ 1

ดังนั้น lim (x 3  5)  
x 
48

ตัวอยาง 1.49 จงหาคาของ lim (3  4x 2 )


x 

วิธีทํา จาก lim (3  4x 2 )  lim 3  lim (4x 2 )


x  x  x 

จากทฤฎีบท 1.12 ขอ 1.1 ได lim (4x 2 )  


x 

เพราะ xlim

x 2   และ lim  4  4
x

และ lim 3  3 ,
x

โดยทฤษฎีบท 1.12 ขอ 1

ดังนั้น lim (3  4x 2 )  
x 

2
ตัวอยาง 1.50 จงหาคาของ lim
x  x 3

2 lim 2
วิธีทํา จาก lim
x  x 3
 x 

lim x 3
x 

และ lim 2  2 ,
x
lim x 3  
x 

โดยทฤษฎีบท 1.12 ขอ 1.2


2
ดังนั้น lim 0
x  x3

ตัวอยาง 1.51 จงหาคาของ lim(3x 2  x  1)


x 

วิธีทํา จาก lim(3x 2  x  1)  lim 3x 2  lim x  lim 1


x  x  x  x 

และ lim 3x 2   ,
x 
lim x   ,
x 
lim 1  1
x

โดยทฤษฎีบท 1.13 ขอ 1 และ 1.12 ขอ 1

ดังนั้น lim(3x 2  x  1)  
x 
49

ตัวอยาง 1.52 จงหาคาของ lim (x 3  x )


x 

วิธีทํา จาก lim (x 3  x )  lim x 3  lim x


x  x  x 

และ lim x 3   , lim x  


x  x 

โดยทฤษฎีบท 1.13 ขอ 1

ดังนั้น lim (x 3  x )  
x 

ตัวอยาง 1.53 จงหาคาของ lim(x 2  x )


x 

วิธีทํา เนื่องจาก lim(x 2  x )


x 
อยูในรูปแบบไมกําหนด ทําไดดังตอไปนี้

lim(x 2  x )  lim x (x  1)  lim x  lim(x  1)


x  x  x  x 

และ xlim

x  , lim(x  1)  
x 

โดยทฤษฎีบท 1.13 ขอ 2

ดังนั้น lim(x 2  x )  
x 

ตัวอยาง 1.54 จงหาคาของ lim x 3 (1  x 2 )


x 

วิธีทํา จาก lim x 3 (1  x 2 )  lim x 3  lim (1  x 2 )


x  x  x 

และ lim x 3   , lim (1  x 2 )  


x  x 

โดยทฤษฎีบท 2.13 ขอ 2

ดังนั้น lim x 3 (1  x 2 )  
x 

3x 2  x  1
ตัวอยาง 1.55 จงหาคาของ lim
x  2x  1
3x 2  x  1
วิธีทํา เนื่องจาก lim อยูในรูปแบบไมกําหนด ทําไดดังตอไปนี้
x  2x  1
50

2
 1 1 
x   3   
3x 2  x  1  x x 2 
lim  lim
x  2x  1 x   1
x 2  
 x 
 1 1
x 3   2 
 x x 
 lim
x  1
2
x
1 1
3   2
 lim x  lim x x
x  x  1
2
x
1 1
3   2
และ xlim x  , lim x x  3 โดยทฤษฎีบท 1.12 ขอ 2
 x  1 2
2
x
3x 2  x  1
ดังนั้น lim  
x  2x  1

1.4 ความตอเนือ่ งของฟงกชนั


พิจารณากราฟฟงกชัน f (x )  x 3  5x  1

ภาพประกอบ 1.6 กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3  5x  1


51

จากภาพประกอบ 1.6 กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3  5x  1 นั้นไมมีการขาดตอน แต


ถาหากเราพิจารณาที่จุดหนึ่ง ๆ เชนพิจารณากรณีที่ x  2 ก็จะเห็นวา กราฟของฟงกชันนั้นก็ไมขาด
ตอนที่จุดดังกลาว ดังนั้นจึงกลาวไดวาฟงกชัน f (x ) ตอเนื่องที่จุด x  2 นั่นเอง แตถาหากเรา
ตองการตรวจสอบวา f (x ) นั้นตอเนื่องที่จุด x  100 หรือไม ก็เปนการยากที่เราจะสามารถเขียน
กราฟของฟงกชันเพื่อทีจ่ ะตรวจสอบจุดที่ตองการไดทุกจุด ดังนั้นการจะตรวจสอบวาฟงกชันตอเนื่อง
หรือไมตอเนื่องตรวจสอบเพื่อความงายสะดวกและรวดเร็วจะใชนิยามตอไปนี้ในการตรวจสอบ (ชัย
สงคราม เครือหงส, 2544 : 41-42)

บทนิยาม 1.8
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันคาจริงของตัวแปรจริง และ a  R
จะกลาววา f ตอเนื่องที่จุด x  a ก็ตอเมื่อ
1. f (a ) หาคาได
2. lim
x a
f (x ) หาคาได

3. f (a)  lim
x a
f (x)

ถา f ไมสอดคลองกับเงื่อนไขขอใดขอหนึง่ ขางบนนี้ ก็แสดงวา f ไมตออเนื่องทีจ่ ุด x  a

จากบทนิยาม 1.8 นั้นเราสามารถตรวจสอบฟงกชันวาตอเนือ่ งหรือไมตอเนื่องนั้นเปนการงาย


โดยเราไมตองวาดกราฟของฟงกชันใหเสียเวลา ดังตัวอยางตอไปนี้
ตัวอยาง 1.56 จงพิจารณาวาฟงกชัน f (x )  x 3  5x  1 ตอเนื่องที่ x  2 หรือไม
วิธีทํา เนื่องจาก f (2)  2 3  5(2)  1   1 หาคาได
และ lim(
x 2
x 3  5x  1)  1

ได lim(x 3  5x  1)  f (2)


x 2

ดังนั้น ฟงกชัน f (2)  x 3  5x  1 ตอเนื่องที่ x  2

ตัวอยาง 1.57 กําหนดให


x 2  4, x  2

f (x )   3
x ,

x 2 ]
จงตรวจสอบวา f (x ) ตอเนื่องที่ x 2 หรือไม
52

วิธีทํา 1. f (2)  23  8 หาคาได


2. lim
x 2
f (x )  8 เพราะวา

lim f (x )  lim x 3  4  8
x 2 x 2

lim f (x )  lim x 3  8
x 2 x 2

3. เนื่องจาก lim
x 2
f (x)  f (2)

ดังนั้น ฟงกชัน f (x ) ตอเนื่องที่ x 2

ตัวอยาง 1.58 กําหนดให


x 2  4, x 2


f (x )  5,

x 2 ]
x 3, x  2]


จงตรวจสอบวา f (x ) ตอเนื่องที่ x  2 หรือไม

วิธีทํา 1. f (2)  5 หาคาได


2. lim
x 2
f (x )  8 เพราะวา

lim f (x )  lim x 2  4  8
x 2 x 2

lim f (x )  lim x 3  8
x 2 x 2

3. เนื่องจาก lim
x 2
f (x)  f (2)

ดังนั้น ฟงกชัน f (x ) ตอเนื่องที่ x 2

ตัวอยาง 1.59 กําหนดให


x 2  x  20
f (x ) 
x 5
จงตรวจสอบวา f (x ) ตอเนื่องที่ x  5 หรือไม

(5)2  (5)  20 0
วิธีทํา เนื่องจาก f 5   หาคาไมได
(5  5) 0
53

จึงไมตองพิจารณาขอที่ 2 และ 3 ตอ

ดังนั้น ฟงกชัน f (x ) ไมตอเนื่องที่ x  5

ตัวอยาง 1.60 กําหนดให


x 2  3, x 3

f (x )  
2x  1,

x 3 ]
จงตรวจสอบวา f (x ) ตอเนื่องที่ x  3 หรือไม

วิธีทํา 1. f (3)  32  3  12
2. lim
x 3
f (x ) ไมมีลิมิตเพราะวา

lim f (x )  lim 2x  1  2(3)  1  5


x 3 x 3

lim f (x )  lim x 2  3  (3)2  3  12


x 3 x 3

ไมตองพิจารณาขอ 3 ตอ

ดังนั้น ฟงกชัน f (x ) ไมตอเนื่องที่ x 3

1.5 สรุปทายบทที่ 1
ลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชันนั้นเปนพื้นฐานทีส่ ําคัญอยางยิ่งในการศึกษาเนื้อหาตาง ๆ
ในบทถัดไป จากการที่ไดศึกษาเรื่องลิมิตนั้นทําใหเห็นถึงความหมายของลิมิตไดอยางชัดเจนมากยิ่งขึ้น
ดังนั้นเมื่อเราไดรูความหมายของลิมิตแลวนั้นเราก็จะสามารถพิสูจนลิมิตโดยใชบทนิยามของลิมิตได ซึ่ง
จะแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนวาลิมิตนั้นคืออะไร และทําใหสามารถแสดงการเขียนลิมิต พรอมทัง้
ตรวจสอบวาแตละฟงกชันนั้นมีหรือไมมีลมิ ิตก็ไดโดยใชทฤษฎีตาง ๆ ที่เกี่ยวของ โดยหลักทีส่ ําคัญตอง
พิจารณาการหาคาลิมิตนั้นก็คือตองพิจารณาลิมิตทางซายและลิมิตทางขวากอนเสมอ ยกเวนกรณีลิมิต
(คาจริง) ที่จุดอนันต และลิมิตคาอนันตที่จุดอนันต สวนการพิจารณาวาฟงกชันทีก่ ําหนดใหนั้นตอเนื่อง
หรือไมตอเนื่อง ณ จุดใด x  a หรือไมนั้น ก็ตรวจสอบแควา f (a)  lim x a
f (x) หรือไมถาเปนจริง

แสดงวาฟงกชัน f (x ) ตอเนื่องทีจ่ ุด x  a
54

แบบฝกหัดทายบทที่ 1

1. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)


1.1 lim
x 2
x  3 1.2 lim
x 5
x 2  5
1.3 lim
x2 1
1.4
x  2 x
lim
x 1 x  1 x 2 x 2

x  2 x
1.5 lim
x 0 x

2. จงใชบทนิยามพิสจู นลิมิตที่กําหนดใหตอไปนี้
2.1 lim
x 2
x  1  3 2.2 lim x  8  5
x 3

1 1
2.3 lim x 2  9 2.4 lim 
x 3 x 1 x 2 3

3. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)


3.1 lim x  3 3.2 lim x  3
x 2 x  2

3.3 
lim x 2  5
x 5
 3.4 
lim x 2  5
x 5

2 2
3.5 lim 3.6 lim
x 1 x 1 x 1 x 1
x x  2 x x  2
3.7 lim 2
3.8 lim
x 2 x x 2 x2

3.9 lim
x 2
 2x  3.10 lim
x 2
 2x 
x  0 x x  0 x

4. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)


4.1 lim
x 5
x  6 4.2 limx 3
x 2  3
x x  2 x x  2
4.3 lim 4.4 lim
x 1 x2 x 2 x
x x 2 x  1x 2

 2x  3
4.5 lim 4.6 lim
x 1 x x 1 x 12
55

x x 3
4.7 lim x  3 4.8 lim
x 3 x 7 x 1

4.9 lim

x  1 x 2  2x  3  4.10 lim
x 2
x 1 x2 1 x 2 x 2

4.11 lim
x 2 x 5
4.12 lim

x  2 x2 1 
x 2 x 2 x 1 x 1

x 2  3x  2 x 2  3x  2
4.13 lim 4.14 lim
x  1 x 1 x  1 x 1

2, x 0


5. กําหนดให f (x )   3,

x 0 ] จงหาคาลิมิตที่กําหนดใหตอไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)
 1, x  0]

1. xlim
1
f (x )

2. lim
x 0
f (x )

3. lim
x 3
f (x )

x 2  3, x 4

6. กําหนดให f (x )   จงหาคาลิมิตที่กําหนดใหตอไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)
3x  1,

x 4 ]
1 lim
x 3
f (x )

2 lim
x 4
f (x )

3 lim
x 5
f (x )
2x  3, x3


7. กําหนดให f (x )  x 2  1,

x 3 ]จงหาคาลิมิตที่กําหนดใหตอไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)
3x  2, x  3]

1 lim
x 1
f (x )

2 lim
x 3
f (x )

3 lim
x 5
f (x )
56

8. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)


1 x
8.1 lim 8.2 lim
x 3 x 3 x 2
x  2
2

1 x
8.3 lim 8.4 lim
x  3
x 3 2 2
x  3 x  3x

1 x
8.5 lim
x  7 x 2  5x  14
8.6 lim
x 2 x 2  5x  14

x 2  6x  7 x 2  6x  7
8.7 lim 8.8 lim
x 7
x  1
x 1 2 x 7

 1
 , x 1
1  x
9. จงหาคา lim f (x ) เมื่อกําหนดให f (x )   (ถาลิมิตหาคาได)
x 1  2

(x  1)
2
, x 1 ]
 1
 , x 7
 x 2  5x  14
f (x )  
]
10. จงหาคา lim
x 7
f (x ) เมื่อกําหนดให

(ถาลิมิตหาคาได)
 x 2
, x 7
 x  5x  14
2

11. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้ (ถาลิมิตหาคาได)


3 7x  3
11.1 lim 11.2 lim
x  x5 x  x 2
2x 4  3x 2  3 x 3  2x 2  8
11.3 lim
x  x 4  2x  1
11.4 lim
x  3x 4  x  5

2x 4  2x 2  7 2x  8
11.5 lim
x  3x 5  x  5
11.6 lim
x 
x2  x  3
2x  1 3x 2  1
11.7 lim
x 
11.8 lim
x2  x  3 x 
x4  x2  3
3x 2  1
11.9 lim
x  4 2
11.10 lim
x 
x 4  x2  3
x x 3
57

12. จงพิจารณาวาฟงกชันแตละขอตอไปนี้ตอเนื่องที่จุดทีก่ ําหนดหรือไม

12.1 f (x)  x  3 ที่ x 1

x 2  3, x  4

12.2 f (x )   ที่ x 4
3x  1, x  4

]
2, x 0


12.3 f (x )   3,

x 0 ] ที่ x 0
 1, x  0]


2x  3, x  3


12.4 f (x )  x 2  1, x  3

] ที่ x 3
3x  2, x  3

]
x 2  4, x  2


12.5 f (x )  5 ,

x 2 ] ที่ x 2
x  2, x  2

]
x 2  4, x  3


12.6 f (x )  5 ,

x  3 ] ที่ x  3
x  2, x  3

]
2x 2  2, x 4


12.7 f (x )  x ,

x 4 ] ที่ x 4
x  5, x  4]

58

x 2  1, x 1


13. กําหนด f (x )  2x  1,

1x 3 ]
x  2,

x 3 ]
จงพิจารณาวาฟงกชัน f x  ตอเนื่องที่จุดทีก่ ําหนดใหหรือไม
1 x 0
2 x 1
3 x 2
4 x 3
5 x 4
59

บทที่ 2
อนุพันธของฟงกชัน
คณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร 1 นั้นเปนสวนหนึ่งของวิชาที่เรียกวา แคลคูลัส ซึง่ แคลคูลสั
นั้นเปนคณิตศาสตรแขนงหนึ่งที่มี ไอแซก นิวตัน นักคณิตศาสตรชาวอังกฤษ และ กอตตฟรีด วิลเฮลม
ไลบนิตซ นักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน เปนผูใหกําเนิด ซึง่ มีประโยชนตอวิทยาการในสาขาตาง ๆ
มากมาย เชน ฟสิกส เคมี ชีววิทยา วิศวกรรมศาสตร ดาราศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา และ
พฤติกรรมทางจิตวิทยา ตลอดจนเปนพื่นฐานของการศึกษาคณิตศาสตรสาขาอื่น ๆ แทบทุกสาขา
ดังนั้นสําหรับเรือ่ งอนุพันธของฟงกชัน ก็เปนสวนหนึ่งของรายวิชาคณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร 1
เชนกัน โดยกลาวถึงอัตราการแปรคา อัตราการแปรคาชั่วขณะ สวนเปลี่ยนแปลงและอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเฉลี่ย ซึ่งมีประโยชนอยางกวางขวางในการแกปญ  หาตาง ๆ ซึง่ จะกลาวในบทที่ 4 เรื่อง
การประยุกตอนุพันธ และจากบทที่ 2 เรื่องลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชันที่ผเู รียนไดศึกษาผานมา
นั้นเปนการหาเฉพาะลิมิตของฟงกชันพีชคณิตเทานั้น สวนในบทนี้จะแบงการหาอนุพันธออกเปน 2
ประเภท คืออนุพันธของฟงกชันพีชคณิต และอนุพันธของฟงกชันอดิศัย กอนที่จะศึกษาอนุพันธของ
ฟงกชันนั้น เราจะศึกษาสวนเปลีย่ นแปลงและอัตราการเปลีย่ นแปลงเฉลี่ยของฟงกชันเพื่อนใหผเู รียนได
ศึกษาเรื่องอนุพันธไดเขาใจดียิ่งขึ้นน

2.1 สวนเปลี่ยนแปลงและอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ย
โดยทั่ว ๆ ไปสําหรับ y  f (x ) จะไดวาเมื่อ x มีคาเปลี่ยนไปคาของฟงกชัน f (x ) ก็
เปลี่ยนไปดวยคือเมื่อ x เปลี่ยนจาก x ไปเปน x  x คาของฟงกชันจะเปลี่ยนจาก f (x )
ไปเปน f (x  x ) ดังนั้นปริมาณการเปลี่ยนแปลงของฟงกชันนี้คือ f (x  x )  f (x ) ในขณะ
f (x   x )  f (x )
ที่ปริมาณเปลี่ยนแปลงของ x คือ  x และเรียกอัตราสวน วา อัตราการ
x
เปลี่ยนแปลงเฉลี่ย (เฟอ งฟา ศรีจันทพงศ และคณะ, 2553 : 53)
พิจารณา f (x )  x 2  1 ถา x เปลี่ยนจาก 2 ไปเปน 5 คา  x  3 จะไดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเฉลี่ยเทากับ 21 ถา x เปลี่ยนจาก 2 ไปเปน 3 คา  x  1 อัตราการเปลี่ยนแปลง
เฉลี่ยมีคาเทากับ 5 ถา x เปลี่ยนจาก 2 ไปเปน 2.1 คา  x  0.1 อัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยมี
คาเทากับ 4.1 และถา x เปลี่ยนจาก 2 ไปเปน 2.01 คา  x  0.01 จะไดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงเฉลี่ยเทากับ 4.01 ตอไปเรื่อย ๆ
60

จะเห็นไดวาอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยของ y  f (x ) ขึ้นอยูกับ  x ถาให  x มีคาเขา


ใกล 6 แลวอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยมีคาเขาใกลคา คงตัวคาหนึ่ง เราเรียกอัตราการเปลี่ยนแปลง
เฉลี่ยเมื่อ  x เขาใกลศูนยนี้วาอัตราการเปลี่ยนแปลงชั่วขณะ ของ y  f (x ) ในทางคณิตศาสตร
เราเรียกอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y  f (x ) ที่ x ใด ๆ วา อนุพันธ ของ y  f (x )

2.2 อนุพนั ธของฟงกชนั


เลิศ สิทธิโกศล (2541 : 32-33) ไดใหรายระเอียดไวดังตอไปนี้

กําหนดให y  f (x ) ซึ่งหมายถึง y เปนฟงกชันที่ขึ้นอยูกบั ตัวแปร x

y
y  f (x )

f (x 1  h )

f (x  h)  f (x )

f (x 1 )
h

0 x
x1 x1  h

ภาพประกอบ 2.1. กราฟแสดงอัตราการเปลี่ยนแปลงความชันของฟงกชัน f (x )


ที่มา : เลิศ สิทธิโกศล. 2541 : 32

ถา f (x ) มีความตอเนื่องทุก ๆ คาของ x อัตราการเปลี่ยนแปลงของ f (x ) ในชวง x1


f (x 1  h )  f (x 1 )
ถึง f (x 1  h ) คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงนี้เรียกวาความชัน กรณีที่กราฟเปน
h
เสนตรงหรือ f (x ) มีการเปลี่ยนแปลงเปนเชิงเสนกับคา x ความชันจะคงที่ แตถา f (x ) ไมเปนเชิง
เสนกับ x หรือกราฟเปนเสนโคงดังรูปอัตราการเปลี่ยนแปลงของ y หรือ f (x ) ในชวง x1 ถึง
x1  h เปนอัตราการเปลี่ยนแปลงโดยเฉลี่ย
61

แตถาใหชวงจาก x1 ถึง x1  h แคบเขานั่นคือให h เขาใกล 0 อัตราการเปลี่ยนแปลง


f (x 1  h )  f (x 1 )
ดังกลาวก็จะเขาใกลอัตราการเปลี่ยนแปลง ณ ตําแหนง x  x1 นั่นคือ lim
h 0 h
f (x  h )  f (x )
อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y หรือ f (x ) ณ x  x1 กรณีทั่วไป lim
h0 h
คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงของ y หรือ f (x ) ณ คา x ใด ๆ ซึ่งหมายถึงความชันของกราฟหรือความ
ชันของฟงกชันทีจ่ ุด x ใด ๆ นั่นเอง

บทนิยาม 2.1
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันที่หาอนุพันธไดที่ x  a
y f (a   x )  f (x ) f (x )  f (a )
ถา lim
x  0  x
 lim  lim หาคาได
x  0 x x 0 x a
และเขียนแทนคาที่ไดนี้ววา f (a ) และเรียกวา อนุพันธของ f ที่ a นั่นคือ
f (x )  f (a ) f (a  x )  f (a )
f (a )  lim  lim
x a x a x  0 x
f (a  h )  f (a )
 lim เมื่อกําหนด  x h
h0 h

หมายเหตุ 2.1
f (x )  f (a )
1. ถา lim หาคาไมไดเราจะกลาววาฟงกชัน f ไมสามารถหาอนุพันธไดที่
x  0 x a
x a
2. สัญลักษณที่ใชแทนอนุพันธของ f ที่ x ใด ๆ คือ f (x ) ซึ่งจะเทากับ
f (x  h )  f (x )
lim และจะเขียนเทนดวย dy , d f (x ) หรือ y 
h0 h dx dx

จากบทนิยาม 2.1
f (x )  f (a ) f (x )  f (a ) f (x )  f (a )
lim หาคาไดก็ตอเมื่อ lim  lim และจาก
x a x a x a x a x a x a
f (x )  f (a ) f (x )  f (a )
บททีผ่ านมานั้นเราเรียก lim วาเปนลิมิตทางขวาของฟงกชัน และใน
x a x a x a
f (x )  f (a ) f (x )  f (a )
ทํานองเดียวกันก็เรียก lim วาเปนลิมิตทางซายของฟงกชัน ตอไปนี้เรา
x a  x a x a
f (x )  f (a ) f (x )  f (a )
จะนิยาม lim และ lim ในรูปของอนุพันธดังตอไปนี้
x a x a x a x a
62

บทนิยาม 2.2
ฟงกชัน y  f (x ) เปนฟงกชันที่หาอนุพันธดานขวาไดที่ x  a ถา
f (x )  f (a )
lim หาคาได และจะเรียกลิมติ นี้วา อนุพันธดานขวา ของ f ที่ a
x a x a
เขียนแทนดวย f (a  )

บทนิยาม 2.3
ฟงกชัน y  f (x ) เปนฟงกชันที่หาอนุพันธดานซายไดที่ x  a ถา
f (x )  f (a )
lim หาคาได และจะเรียกลิมติ นี้วา อนุพันธดานซาย ของ f ที่ a
x a x a
เขียนแทนดวย f (a )

หมายเหตุ 2.2
f (x )  f (a ) f (a  h )  f (a )
lim  lim
x a x a h 0 h
f (x )  f (a ) f (a  h )  f (a )
lim  lim
x a x a h 0 h

ตัวอยาง 2.1 จงหาอนุพันธของ f (x )  x 2  2x


1) ที่จุด x ใด ๆ
2) ที่จุด x  1
3) ที่จุด x   2
วิธีทํา 1) อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x ใด ๆ คือ
(x  h )2  2(x  h )  x 2  2x 
f (x  h )  f (x )    
lim  lim 
h 0 h h 0 h

 lim 
h 0
x  2xh  h  2x  2h   x 2  2x 

2 2

h
   ]
 lim
h 0
x 2  2xh  h 2  2x  2h  x 2  2x
h
]
 lim
h 0
2xh  h 2  2h
h
]
 lim
h 0
(2x  h  2)h
h
]
63

 lim(2x  h  2)
h 0
]
 2x  0  2 ]
 2x  2 ]
ดังนั้น อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x ใด ๆ คือ 2x  2

วิธีทํา 2) อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x  1


จาก f (x )  2x  2
จะไดวา f (1)  2(1)  2  0
ดังนั้น อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x  1 คือ 0

วิธีทํา 3) อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x   2


จาก f (x )  2x  2
จะไดวา f (2)  2(2)  2  6
ดังนั้น อนุพันธของ f (x )  x 2  2x ที่จุด x   2 คือ  6

ตัวอยาง 2.2 จงหาอนุพันธของ f (x )  x 3  2x ที่จุด x ใด ๆ


วิธีทํา อนุพันธของ f (x )  x 3  2x ที่จุด x ใด ๆ
(x  h )3  2(x  h )  x 3  2x 
f (x  h )  f (x )    
lim  lim 
h 0 h h  0 h

 lim 
h 0
(x  3x h  3xh 2  h 3 )  (2x  2h )  x 3  2x 

3 2

h
   ]
 lim 
h 0
x  3x h  3xh  h  2x  2h   x 3  2x 

3 2 2 3

h
  ]


 lim
h 0
x 3  3x 2h  3xh 2  h 3  2x  2h  x 3  2x
h
]
 lim
h 0
3x 2h  3xh 2  h 3  2h
h
]
 lim
h 0
(3x 2  3xh  h 2  2)h
h
]
64

 lim(3x 2  3xh  h 2  2)
h 0
]
 3x 2  2 ]
ดังนั้น อนุพันธของ f (x )  x 3  2x ที่จุด x ใด ๆ คือ 3x 2  2

ตัวอยาง 2.3 กําหนด f (x )  x จงหาคาตอไปนี้ ถาหาคาได


1) อนุพันธดานซายของ f ที่ 0
2) อนุพันธดานขวาของ f ที่ 0
3) อนุพันธของ f ที่ 0
วิธีทํา 1) อนุพันธดานซายของ f ที่ 0 คือ
f (x )  f (0)
f (0 )  lim
x 0 x 0

 lim
x 0
x 0
x
]
 lim
x 0
x
x
]
 lim
x 0
x
x
]
 1 ]
วิธีทํา 2) อนุพันธดานขวาของ f ที่ 0 คือ
f (x )  f (0)
f (0 )  lim
x 0 x 0

 lim
x 0
x 0
x
]
 lim
x 0
x
x
]
 lim
x 0
x
x
]
1 ]
f (x )  f (0) f (x )  f (0) f (x )  f (0)
เนื่องจาก lim  lim จะไดวา lim หาคาไมได
x 0 x 0 x 0 x 0 x 0 x 0

ดังนั้น อนุพันธของ f ที่ 0 หาคาไมได


65

3x  1, x 1
ตัวอยาง 2.4 กําหนด f (x )   3 จงหาคา f (x )
x  1, x 1

วิธีทํา เราจะแยกพิจารณาเปน 3 กรณีดังตอไปนี้
กรณีที่ 1 x  1
f (x  h )  f (x )
f (x )  lim
h 0 h

 lim
h 0
3(x  h )  1  3x  1

h
  
]
3x  3h  1  3x  1
   
 lim 
h 0 h

 lim
h 0
3x  3h  1  3x  1
h
]
 lim
h 0
3h
h
]
 lim 3
h 0
]
3 ]
กรณีที่ 2 x  1
f (x  h )  f (x )
f (x )  lim
h 0 h

 lim 
h 0
(x  h )3  1  x 3  1

h
   ]
 lim 
h 0
x 3  3x 2h  3xh 2  h 3  1  x 3  1

h
  
]
 lim
h 0
x 3  3x 2h  3xh 2  h 3  1  x 3  1
h
]
 lim
h 0
3x 2h  3xh 2  h 3
h
]
 lim
h 0
(3x 2  3xh  h 2 )h
h
]
 lim 3x 2  3xh  h 2
h 0
]
 3x 2 ]
66

กรณีที่ 3 x  1 เนื่องจาก x  1 คาทางซายและทางขวาของฟงกชันตางกันดังนั้นเราจึงตอง


พิจารณาอนุพันธดานซายและอนุพันธดานขวาดังตอไปนี้
f (x )  f (1)
f (1 )  lim
x 1 x 1

x 1
x 3  1  3(1)  1

 lim 
 
x 1

]
 lim
x 1
x3 12
x 1
]
x3 1
 lim
x 1 x 1

 lim
x 1
(x  1)(x 2  x  1)
x 1
]
 lim(

x 1
x 2  x  1) ]
3 ]
f (x )  f (1)
f (1 )  lim
x 1 x 1
 3x  1   3(1)  1

 lim 
x 1
 
x 1

]
 lim
x 1
3x  1  2
x 1
]
 lim
x 1
3x  3
x 1
]
 lim
x 1
3(x  1)
x 1
]
 lim 3
x 1
]
3 ]
3, x 1
ดังนั้น จากทั้งสามกรณีสรุปไดวา f (x )   2
3x , x 1

67

2.3 การหาอนุพนั ธของฟงกชันพีชคณิต


จะเห็นวาการใชนิยามเพื่อหาคาอนุพันธนั้น จะมีความยุงยากและสับสนเพราะตองอาศัยเรือ่ ง
ลิมิตในการหาคาซึง่ เสียเวลามากในการคํานวณ โดยการหาอนุพันธนั้นจะสะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้นนั้น
จึงมีการสรางสูตรสําหรับการหาอนุพันธขึ้นมาโดยจะไดกลาวเปนทฤษฎีบทตอ ๆ ไปนี้ (สุรวิทย ตันแตง
ผล และอนุสรณ ชนวีรยุทธ, 2557 : 41)

หมายเหตุ 2.3
dy d
การเขียนอนุพันธของฟงกชัน y  f (x ) สามารถแทนดวย f (x ) , y  , หรือ f (x )
dx dx

ทฤษฎีบท 2.1
d
ถา y  f (x )  c เมื่อ c คือคาคงตัว แลว f (x )  0
dx

dy
ตัวอยาง 2.5 กําหนด y  3 จงหา
dx
dy d
วิธีทํา  (3)
dx dx
 0
dy
ดังนั้น 0
dx

ทฤษฎีบท 2.2
d d n
ถา y  f (x )  x n แลว f (x )  x  nx n 1
dx dx
เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก

dy
ตัวอยาง 2.6 กําหนด y  x 3 จงหา
dx
dy d 3
วิธีทํา
dx

dx
x  
 3x 2
dy
ดังนั้น  3x 2
dx
68

d
ตัวอยาง 2.7 กําหนด f (x )  x 100 จงหา f (x )
dx
d d 100
วิธีทํา
dx
f (x ) 
dx
x  
 100x 99
dy
ดังนั้น  100x 99
dx

ทฤษฎีบท 2.3
กําหนดให c เปนคาคงตัวถา y  f (x )  cu(x ) เมื่อ u(x ) เปนฟงกชันที่มี
อนุพันธที่ x แลว d f (x ) 
d
c u (x )  c
d
u(x )
dx dx dx

ทฤษฎีบท 2.4
ถา u(x ), v(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ), v(x ) มีอนุพันธที่ x
d  d d
แลว 
u(x )  v(x )  u (x )  v(x )
dx dx dx

สําหรับทฤษฎีบท 3.1 – 3.4 กลาวถึงการหาอนุพันธของฟงกชันพหุนามโดยใชสูตรอยางงาย


d
cx n  cnx n 1 และสูตรเกี่ยวกับการหาอนุพันธของผลบวกของฟงกชัน ดังตัวอยางตอไปนี้
dx

ตัวอยาง 2.8 กําหนด y  x 3  4x  5 จงหา dy


dx
dy d
วิธีทํา  (x 3  4x  5)
dx dx
dy d 3 d d
 x  4x  5
dx dx dx dx

 3x 2  4
dx
dx
0 ]
 3x 2  4 ]
dy
ดังนั้น  3x 2  4
dx
69

ตัวอยาง 2.9 กําหนด y  x 10  2x  1 จงหา f (x )


d 10
วิธีทํา f (x ) 
dx

x  2x  1 
d 10 d d
f  x   x  2x  1
dx dx dx
 10x 9  2  0 ]
 10x 9  2 ]
ดังนั้น f (x )  10x 9  2

ตอไปจะกลาวถึงการหาอนุพันธของผลคูณ ผลหารและตัวยกกําลังดังทฤษฎีบทตอไปนี้
(ไมตรี ปชาเดชสุวัฒน, 2532 : 31-33)

ทฤษฎีบท 2.5
ถา u(x ), v(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ), v(x ) มีอนุพันธที่ x
d u (x )  v (x )  u(x ) d v (x )  v(x ) d u(x )
แลว  
dx dx dx

ตัวอยาง 2.10 กําหนด f (x )  (x 3  4)(6x 2  5x ) จงหา f (x )


d
วิธีทํา f (x )  (x 3  4)(6x 2  5x )
dx
d d
f  x   (x 3  4) (6x 2  5x )  (6x 2  5x ) (x 3  4)
dx dx
 (x 3  4)(12x  5)  (6x 2  5x )(3x 2 ) ]
 12x 4  5x 3  48x  20  18x 4  15x ] 3

 30x 4  20x 3  48x  20 ]


ดังนั้น f (x )  30x 4  20x 3  48x  20

ตัวอยาง 2.11 กําหนด f (x )  (x  1)(x 20  5x ) จงหา f (x )


d
วิธีทํา f (x )  (x  1)(x 20  5x )
dx
70

d 20 d
f (x )  (x  1) (x  5x )  (x 20  5x ) (x  1)
dx dx
 (x  1)(20x 19  5)  (x 20  5x )(1) ]
 (x  1)(20x 19  5)  (x 20  5x ) ]
 20x 20  20x 19  10x  5 ]
ดังนั้น f (x )  20x 20  20x 19  10x  5

ตัวอยาง 2.12 กําหนด f (x )  (x 3  1)(3x  5) จงหา f (x )


d
วิธีทํา f (x )  (x 3  1)(3x  5)
dx
d d
f  x   (x 3  1) (3x  5)  (3x  5) (x 3  1)
dx dx
 (x 3  1)(3)  (3x  5)(3x 2 ) ]
 (3x 3  3)  (9x 3  15x 2 ) ]
 12x 3  15x 2  3 ]
ดังนั้น f (x )  12x 3  15x 2  3

ทฤษฎีบท 2.6
ถา u(x ), v(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ), v(x ) มีอนุพันธที่ x
d d
  v(x ) u(x )  u(x ) v(x )
d  u(x ) dx dx
และ v(x )  0 แลว  
 2
dx  v(x )  v(x )
 

x3  4
ตัวอยาง 2.13 กําหนด y  2 จงหา dy
6x  5x dx
 3 
วิธีทํา dy  d  x 2  4 
dx dx  6x  5x 
71

d d
dy
(6x 2  5x ) (x 3  4)  (x 3  4) (6x 2  5x )
 dx dx
dx (6x  5x )
2 2


(6x 2  5x )(3x 2 )  (x 3  4)(12x  5)
(6x 2  5x )2
]

6x 4  10x 3  48x  20
(6x 2  5x )2
]
dy 6x 4  10x 3  48x  20
ดังนั้น 
dx (6x 2  5x )2

x 1
ตัวอยาง 2.14 กําหนด y  จงหา dy
x  3x 5 dx
dy d  x  1 
วิธีทํา   
dx dx  x  3x 5 
d d
dy
(x  3x 5 ) (x  1)  (x  1) (x  3x 5 )
 dx dx
dx (x  3x 5 )2


(x  3x 5 )(1)  (x  1)(1  15x 4 )
(x  3x 5 )2
]

12x 5  15x 4  1
(x  3x 5 )2
]
dy 12x 5  15x 4  1
ดังนั้น 
dx (x  3x 5 )2

ทฤษฎีบท 2.7
ถา u(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ) มีอนุพันธที่ x
d d
แลว [u(x )]n  n[u(x )]n 1 u(x ) เมื่อ n เปนจํานวนเต็ม
dx dx

ตัวอยาง 2.15 กําหนด f (x )  (x 5  4x )10 จงหา f (x )


d 5
วิธีทํา f (x )  (x  4x )10
dx
72

d 5
f  x   10(x 5  4x )9 (x  4x )
dx
 10(x 5  4x )9 (5x 4  4) ]
ดังนั้น f (x )  10(x 5  4x )9(5x 4  4)

ตัวอยาง 2.16 กําหนด f (x )  (x 6  3x  1)101 จงหา f (x )


d
 
101
วิธีทํา f (x )  x 6  3x  1
dx
d 6
f (x )  101(x 6  3x  1)100 (x  3x  1)
dx
 101(x 6  3x  1)100 (6x 5  3) ]
ดังนั้น f (x )  101(x 6  3x  1)100(6x 5  3)

1
ตัวอยาง 2.17 กําหนด f x   จงหา f  x 
x 
11
6
 3x  1
d
 
 11
วิธีทํา f  x   x 6  3x  1
dx
d 6
   
12
f  x   11 x 6  3x  1 x  3x  1
dx
 11(x 6  3x  1)12 (6x 5  3) ]
  6x 
12
ดังนั้น f (x )  11 x 6  3x  1 5
3

ทฤษฎีบท 2.8
สําหรับจํานวนเต็มบวก n ใด ๆ และ u(x )  0 มีอนุพันธที่ x
1 1
d u(x ) n  1
1 d
แลว  
u(x ) n
  u(x )
dx n dx

ทฤษฎีบท 2.9
สําหรับจํานวนตรรกยะ r ใด ๆ และ u x   0 มีอนุพันธที่ x
d d
แลว [u(x )]r  r [u(x )]r 1 u(x )
dx dx
73

ตัวอยาง 2.18 กําหนด f (x )  (x 5  4x )


2 3
จงหา f (x )
d 5
วิธีทํา f (x )  (x  4x )
2 3

dx
2 1 3 d

f  x   x 5  4x
3 dx

x 5  4x  

2 5
3
1 3
(x  4x ) (5x 4  4) ]
2 5
ดังนั้น f (x ) 
1 3
(x  4x ) (5x 4  4)
3

dy
ตัวอยาง 2.19 กําหนดให y  3x 5  2x  8 จงหา
dx
dy d
วิธีทํา  3x 5  2x  8
dx dx
dy d 12
 (3x 5  2x  8)
dx dx
1
 (3x 5  2x  8)
2
1 2 d

dx
(3x 5  2x  8) ]
1 1 2
 (3x 5  2x  8) (15x 4  2)
2


15x 4  2
2(3x 5  2x  8)
12
]
dy 15x 4  2
ดังนั้น  12
dx 2(3x 5  2x  8)

12
 4x 2  x 
ตัวอยาง 2.20 กําหนดให y   3  จงหา y 
 5x  2 
12
d  4x 2  x 
วิธีทํา 
y   
dx  5x 3  2 
11
 4x 2  x  d  4x 2  x 
y   12  3   
 5x  2  dx  5x 3  2 
74

 3 
11 (5x  2) d (4x 2  x )  (4x 2  x ) d (5x 3  2)
 4x 2  x   dx dx 
y   12  3   
 5x  2  (5x 3  2)2

11
 4x 2  x  (2  16x  10x 3  20x 4 )
y   12  3 
 5x  2  (5x 3  2)2

11
 4x 2  x  (2  16x  10x 3  20x 4 )
ดังนั้น y   12  3 
 5x  2  (5x 3  2)2

ตัวอยาง 2.21 กําหนดให y  (2x 3  x ) 3x 5  2x  8 จงหา dy


dx
dy d
วิธีทํา  (2x 3  x ) 3x 5  2x  8
dx dx
dy d 12
 (2x 3  x )(3x 5  2x  8)
dx dx
dy
dx



d
dx
1 2 
 (2x 3  x ) (3x 5  2x  8)   (3x 5  2x  8)
 
 
12 d

dx

(2x 3  x )


]
dy
dx



1
 (2x 3  x ) (3x 5  2x  8)
2
1 2 d

dx

(3x 5  2x  8)


]
 5 12 d 
 (3x  2x  8) (2x 3  x )
 dx
 

dy  1 1 2 
 (2x 3  x ) (3x 5  2x  8) (15x 4  2)
dx  2 
 
 5 1 2 2
 (3x  2x  8) (6x  1) 
 
1
 (3x 5  2x  8) (2x 3  x )(15x 4  2)  2(3x 5  2x  8)(6x 2  1)
2
1 2

 
]
 (3x 5  2x  8)
1 2
(66x 7  21x 5  28x 3  96x 2  16) ]
dy
ดังนั้น 1 2
 (3x 5  2x  8) (66x 7  21x 5  28x 3  96x 2  16)
dx
75

1
ตัวอยาง 2.22 กําหนดให f x   และ x  0 จงหาคาของ f  x 
2x 
2
2
3
x
 
 
d  1 
วิธีทํา f (x )   
dx  3 
 
2
2
 2x  x 
 
d  1 
f  x   
 23
dx  (2x  x ) 
2
 


d
dx
(2x 2  x )
2 3
]
2
  (2x 2  x )
3
5 3 d

dx
(2x 2  x ) ]

2
3
(2x 2  x )5 3(4x  1) ]
2
ดังนั้น f (x )   (2x 2  x )5 3(4x  1)
3

2.4 การหาอนุพนั ธของฟงกชันประกอบ


ในหัวขอที่ผานมานั้นเราไดสูตรในการหาอนุพันธของ ผลบวก ผลคูณ และผลหารของฟงกชัน
แลว แตการกระทําของฟงกชัน 2 ฟงกชันที่สําคัญอีกอยางก็คือ การนํามาประกอบซึง่ จะไดเปนฟงกชัน
ขึ้นใหม เรียกวา ฟงกชันประกอบ ซึง่ ในที่นี้เราจะหาสูตรอนุพันของฟงกชันประกอบซึ่งจะมีประโยชน
มากในการหาอนุพันธของฟงกชันทีส่ ลับซับซอน (Wright,D.F. and New, B.D., 1992 : 85-86)

บทนิยาม 2.4
ให f : A  B และ g : B  C เปนฟงกชันแลว ฟงกชันประกอบ
ของ f และ g เขียนแทนดวย g  f และ g  f  (x, z )  A C : มี y  B ซึ่ง
(x , y )  f และ (y, z)  g  หรือ g  f (x )  g  f (x )
76

กําหนด u เปนฟงของ x นิยามโดย u  f (x ) และ y เปนฟงกชันของ u นิยามโดย


y  g (u ) แลว y จะเปนฟงกชันของ x นิยามโดย y  g  f (x ) นั่นคือ y เปนฟงกชันประกอบ

ของ f และ g ดังบทนิยาม 2.4

ทฤษฎีบท 2.10
f เปนฟงกชันทีม
่ ีอนุพันธที่ u และให g เปนฟงกชันนิยามโดย
 f (u  h )  f (u )
  f (u), h0
g h    h
0, h0


แลว g เปนฟงกชันตอเนือ่ งที่ h  0 และ f (u  h )  f (u)   f (u)  g(h ) h

ทฤษฎีบท 2.11 กฎลูกโซ


ถา y  g(u ) และเปนฟงกชันทีม่ ีอนุพันธที่ u และ u  f (x ) เปนฟงกชันทีม่ ี
อนุพันธที่ x แลว y  g  f (x ) จะเปนฟงกชันที่มีอนุพันธที่ x และ
dy dy du
 
dx du dx

dy
หรือ  g (u )  f (x )
dx

ทฤษฎีบท 2.12
ให y  f (x ) เปนฟงกชันตอเนื่อง และมีฟง กชันผกผันซึง่ ตอเนือ่ งบนโดเมน a,b 
 
1 dx 1
โดย x  f 1(y)  g(y) แลว g (y)  หรือ  เมื่อ f (x ) หาคาได
f (u) dy dy
dx
และ f (x )  0
77

ตัวอยาง 2.23 กําหนดให y  u 3 และ u  x 2  2x  5 จงหา dy


dx
วิธีที่ 1 ใชกฎลูกโซ
dy
จาก y  u3 จะได  3u 2
du
du
และ u  x 2  2x  5 จะได  2x  2
dx
dy dy du
เนื่องจาก  
dx du dx
dy
จะได  3u 2  (2x  2)
dx
dy
 3(x 2  2x  5)2 (2x  2)
dx
dy
ดังนั้น  3(x 2  2x  5)2 (2x  2)
dx

วิธีที่ 2 วิธีการแทนคา
จาก y  u 3
และ u  x 2  2x  5
จะได y  (x 2  2x  5)3
dy d 2
 (x  2x  5)3
dx dx
d
 3(x 2  2x  5)2 (x 2  2x  5)
dx
]
 3(x 2  2x  5)2 (2x  2) ]
dy
ดังนั้น  3 (x 2  2x  5)2 (2x  2)
dx

ตัวอยาง 2.24 กําหนดให y  (2t  3)5 และ t  x 2  2x  5 จงหา dy


dx
วิธีที่ 1 ใชกฎลูกโซ
dy
จาก y  (2t  3)5 จะได  10(2t  3)4
dt
dt
และ t  x 2  2x  5 จะได  2x  2
dx
dy dy dt
เนื่องจาก  
dx dt dx
78

dy
จะได  10 (2t  3)4 (2x  2)
dx
4
 10 2(x 2  2x  5)  3 (2x  2)
 
 10(2x 2  4x  10  3)4(2x  2) ]
 10 (2x 2  4x  7)4(2x  2) ]
 10 (2x 2  4x  7) 2(x  1)]
4

 20 (2x 2  4x  7) (x  1)]
4

dy
ดังนั้น  20 (2x 2  4x  7)4 (x  1)
dx

วิธีที่ 2 วิธีการแทนคา
จาก y  2t  3
และ t  x 2  2x  5
5
จะได y  2 (x 2  2x  5)  3
 
y  (2x 2  4x  10  3)5

 (2x 2  4x  7)5 ]
และ dy
dx

d
dx
(2x 2  4x  7)5 ]
d
 5 (2x 2  4x  7)4 (2x 2  4x  7)
dx
]
 5 (2x 2  4x  7)4(4x  4) ]
dy
 20(2x 2  4x  4)4 (x  1)
dx
dy
ดังนั้น  20(2x 2  4x  4)4 (x  1)
dx

ตัวอยาง 2.25 กําหนดให y  x 5  2x 3  x จงหา dx


dy
วิธีทํา จาก y  x 5  2x 3  x
79

dy d
 (x 5  2x 3  x )
dx dx
dy
dx
 5x 4  6x 2  1 ]
dx 1
จาก 
dy dy
dx
dx 1
 4
dy 5x  6x 2  1
dx 1
ดังนั้น  4
dy 5x  6x 2  1

1
ตัวอยาง 2.26 กําหนดให y  จงหา dy
2x 
10
5
 x 3  5x dx

1
วิธีทํา ให y  โดยที่ u  2x 5  x 3  5x
u 10
dy d  1 
ดังนั้น   
du du  u 10 
dy d 10
 u
dx du
 10u 11
du d
และ  (2x 5  x 3  5x )
dx dx
du
 10x 4  3x 2  5
dx
dy dy du
จาก  
dx du dx
dy
dx

 10u 11 10x 4  3x 2  5 
  10x ]
11
 10 2x 5  x 3  5x 4
 3x 2  5

dy
  10x 
11
ดังนั้น   10 2x 5  x 3  5x 4
 3x 2  5
dx
80

2.5 การหาอนุพนั ธของฟงกชันตรีโกณมิติ


ในหัวขอที่ผานมา ไดกลาวถึงการหาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิตแตในหัวขอนี้จะศึกษา
อนุพันธของฟงกชันที่ไมใชฟง กชันพีชคณิต โดยจะเรียกวาฟงกชันอดิศัย ซึ่งในฟงกชันอดิศัยนี้กจ็ ะ
ประกอบดวยหลาย ๆ ฟงกชันไดแก ฟงกชันตรีโกณมิติ ฟงกชันตีโกณมิติผกผัน ฟงกชันลอการิทึม
ฟงกชันชี้กําลัง ฟงกชันไฮเพอรโบลิก และฟงกชันในรูป a u และ u v ซึ่งในหัวขอนี้จะไดกลาวถึง
ฟงกชันตรีโกณมิติ
กอนจะศึกษาการหาอนุพันธของฟงกชันตรีโกณ เพือ่ เปนการทบทวนจะกลาวถึงนิยามพื้นฐาน
และเอกลักษณตรีโกณมิติที่นกั ศึกษาตองทราบกอนดังตอไปนี้ กําหนดวงกลมรัศมี r จุดศูนยกลางทีจ่ ุด
กําเนิดในระบบพิกัดฉาก  เปนมุมตรงจุดศูนยกลางวัดจากแกน x ดานบวกในทิศทวนเข็มนาฬิกา
(x, y ) เปนจุดตัดของดานประกอบมุม  นี้กับวงกลม ดังรูป (คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะ
วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542 : 61)
y y

(x , y )
(x , y )

 
x x
0 0

ภาพประกอบ 2.2 วิธีการวัดมุม 


ที่มา : รณชัย มาเจริญทรัพย. 2551 : 163

บทนิยาม 2.5
y x
ฟงกชันไซน และโคไซน ของมุม  นิยามดังนี้ sin   และ cos  
r r

เมื่อ r  x 2  y2

นิยามของ sin  และ cos  นั้นจะไมขึ้นอยูกับขนาดของวงกลมหรือ รัศมีของวงกลม แต


ขึ้นอยูกับมุม  เทานั้นและหนวยที่ใชวัดมุมทั่วไปคือ องศา ซึง่ มีมุมรอบศูนยกลางของวงกลมเทากับ
360 องศา แตในนิยามของฟงกชันตรีโกณมิตินั้นเปนฟงกชันของจํานวนจริง ดังนั้นจึงใชหนวยวัดเปน
มุมเรเดียน ฉะนั้นจึงไดความสัมพันธดังนี้
81

360 องศา = 2 เรเดียน


หรือ 180 องศา =  เรเดียน

มุมลบคือมุมที่วัดจากแกน x ดานบวกในทิศตามเข็มนาฬิกาดังรูป

(x , y )


 x
0

(x , y )

ภาพประกอบ 2.3 มุม  และมุม 


ที่มา : รณชัย มาเจริญทรัพย. 2551 : 164

ดังนั้นโดยนิยามของไซน และโคไซนได sin()   sin  และ cos()  cos 

บทนิยาม 2.6
ฟงกชันแทนเจนต มีบทนิยามดังนี้
sin x
tan x  เมื่อ cos x  0
cos x
cos x
cot x  เมื่อ sin x  0
sin x
1
sec x  เมื่อ cos x  0
cos x
1
cosec x  เมื่อ sin x  0
sin x

เอกลักษณที่สําคัญทางตรีโกณมิตมิ ีดังตอไปนี้
1. sin2 A  cos2 A  1
2. 1  tan2 A  sec2 A
82

3. 1  cot2 A  cos ec 2A
4. sin A  B   sin A cos B  cos A sin B

5. sin A  B   sin A cos B  cos A sin B

6. cos A  B   cos A cos B  sin A sin B

7. cos A  B   cos A cos B  sin A sin B


t an A  tan B
8. tan A  B  
1  tan A tan B
t an A  tan B
9. tan A  B  
1  tan A tan B
10. sin 2A  2 sin A cos A
11. cos 2A  cos2 A  sin 2 A
 2 cos2 A  1
 1  2 sin2 A
2 tan A
10. tan 2A 
1  tan 2 A
 A  B   A  B 
11. sin A  sin B  2 sin   cos  
 2   2 

 A  B   A  B 
14. sin A  sin B  2 cos   sin  
 2   2 
 A  B   A  B 
15. cos A  cos B  2 cos   cos  
 2   2 
 A  B   A  B 
16. cos A  cos B  2 sin   sin  
 2   2 

2.5.1 ทฤษฎีบทของอนุพันธของฟงกชันตรีโกณมิติ
ให u  u(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ) มีอนุพันธที่ x สําหรับการหาอนุพันธ
ของฟงกชันตรีโกณมิตินั้นอาศัยทฤษฎีบทตาง ๆ แตจะเวนการพิสจู นทฤษฎีบท ดังตอไปนี้ (จันทนีย
กาญจนะโรจน และชุลี โชติกประคัลภ, 2557 : 52-54)

ทฤษฎีบท 2.13
dy d
ถา y  sin x แลว y   cos x หรือ  sin x  cos x
dx dx
83

ขอสังเกต 2.1
d du
ถา u เปนฟงกชันของ x ซึ่งหาอนุพันธไดแลวโดยกฎลูกโซจะได sin u  cos u
dx dx

ทฤษฎีบท 2.14
dy d
ถา y  cos x แลว y    sin x หรือ  cos x   sin x
dx dx

ขอสังเกต 2.2
d du
ถา u เปนฟงกชันของ x ซึ่งหาอนุพันธไดแลวโดยกฎลูกโซจะได cos u   sin u
dx dx

ตัวอยาง 2.27 กําหนด y  sin(2x ) จงหา y 


วิธีทํา y  sin(2x )
d
y  sin (2x )
dx
d 
y    cos(2x )  (2x )
   dx 
 

 
]
  cos(2x ) 2

 2 cos 2x ]
ดังนั้น y   2 cos 2x

ตัวอยาง 2.28 กําหนด y  sin(x 5  5x 3  3) จงหา y 


วิธีทํา y  sin(x 5  5x 3  3)
d
y  sin (x 5  5x 3  3)
dx
d
 cos(x 5  5x 3  3)  (x 5  5x 3  3)
dx




]
 
]
  cos(x 5  5x 3  3) 5x 4  15x 2 

ดังนั้น y   (5x 4  15x 2 ) cos(x 5  5x 3  3)


84

ตัวอยาง 2.29 กําหนด y  tan 3x จงหา y 


วิธีทํา y  tan 3x

d
y  tan 3x
dx

d sin 3x
dx cos 3x
]

cos 3x
d
dx
sin 3x  sin 3x

cos2 3x
d
dx
cos 3x
]

(cos 3x cos 3x ) d (3x )  (sin 3x sin 3x ) d (3x )
dx
2
cos 3x
dx ]

(cos 3x cos 3x )(3)  (sin 3x sin 3x )(3)
cos2 3x
]

3(cos2 3x  sin2 3x )
cos2 3x
]

3
]
cos2 3x
 3 sec 3x ]
2

ดังนั้น y   3 sec2 3x

ตัวอยาง 2.30 กําหนด y  cos5 x 3  1 จงหา y 


วิธีทํา 
y  cos5 x 3  1 
d
y  cos5 (x 3  1)
dx
d
y  [cos(x 3  1)]5
dx
 5[cos(x 3  1)]4
d
dx
cos(x 3  1) ]
 5[cos(x 3  1)]4[ sin(x 3  1)]
d 3
dx
(x  1) ]
 5[cos(x 3  1)]4[ sin(x 3  1)](3x 2 ) ]
 15x 2 sin(x 3  1)cos 4 (x 3  1) ]
ดังนั้น y   15x 2 sin(x 3  1)cos4 (x 3  1)
85

2.5.2 อนุพันธของฟงกชันตรีโกณมิติอื่น ๆ
สูตรอนุพันธของ tan x, cot x, sec x และ cosec x หาไดโดยเขียนฟงกชันตรีโกณเหลานี้
ในรูปของ sin x และ cosx ดังแสดงในตัวอยางจะได
d
tan x  sec2 x
dx
d
sec x  sec x tan x
dx
d
cot x  cosec2x
dx
d
cosec x  cosec x cot x
dx

สรุปสูตรอนุพันธของฟงกชันตรีโกนมิติไดดังนี้ กําหนดให u  u(x ) เปนฟงกชันของ x ซึ่ง


หาอนุพันธได (ชัยสงคราม เครือหงส, 2544 : 39)
d du
1. sin u  cos u
dx dx
d du
2. cos u   sin u
dx dx
d du
3. tan u  sec 2 u
dx dx
d du
4. sec u  sec u tan u
dx dx
d du
5. cot u  cosec2u
dx dx
d du
6. cosec u  cosec u cot u
dx dx

เมื่อมีสูตรอนุพันธและของฟงกชันตรีโกนมิตทิ ั้ง 6 สูตรแลวเราก็จะสามารถหาอนุพันธของ


ฟงกชันตรีโกณมิติไดงายขึ้นดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 2.31 กําหนด y  tan(x 2  2x )21 จงหา y 


วิธีทํา y  tan(x 2  2x )21
d
y  tan(x 2  2x )21
dx
d
 sec2(x 2  2x )21  (x 2  2x )21
  dx
]
86

 
d
 sec2 (x 2  2x )21  21(x 2  2x )20 (x 2  2x )
dx
]
 
]
 sec2 (x 2  2x )21  21(x 2  2x )20 (2x  2)

 
)]
 42 sec2 (x 2  2x )21  (x 2  2x )20 (x  1

 42(x  1)(x 2  2x )20 sec2(x 2  2x ) ]


21

ดังนั้น y   42(x  1)(x 2  2x )20 sec2(x 2  2x )21

ตัวอยาง 2.32 กําหนด y  cot x 3  5 จงหา y 


วิธีทํา 
y  cot x 3  5 
d
y  cot (x 3  5)
dx
 [ cosec2 (x 3  5)]
d 3
dx
(x  5) ]
 [ cosec2 (x 3  5)](3x 2 ) ]
 (3x 2 ) cosec2(x 3  5) ]
ดังนั้น y   (3x 2 ) cosec2(x 3  5)

ตัวอยาง 2.33 กําหนด y  sec2 3x 3  5 จงหา y 


วิธีทํา 
y  sec2 3x 3  5 
d
y 
dx

sec2 3x 3  5 
d
 [sec(3x 3  5)]2
dx
[
d
y   2 sec(3x 3  5) sec(3x 3  5)
dx
]
 2 sec(3x 3  5) sec(3x 3  5) tan(3x 3  5)
d
dx
(3x 3  5) ]
 2(9x 2 ) sec2(3x 3  5) tan (3x 3  5) ]
87

 18x 2 sec2 (3x 3  5) tan (3x 3  5) ]


ดังนั้น y   18x 2 sec2(3x 3  5) tan (3x 3  5)

ตัวอยาง 2.34 กําหนด y  cosec x  3 จงหา y 


วิธีทํา y  cosec x  3
d
y  cosec 3  x 
dx
 cosec(3  x ) cot(3  x )
d
dx
(3  x ) ]
 [cosec(3  x ) cot(3  x )](1) ]
 cosec(3  x ) cot(3  x ) ]
ดังนั้น y   [cosec(3  x)][cot(3  x )]

ตัวอยาง 2.35 กําหนด y  cot6x  5 cos x 2  3 จงหา y 


วิธีทํา 
y  cot6x  5 cos x 2  3 
d
y  [cot(6x  5) cos(x 2  3)]
dx

 [cot(6x  5)]
d
dx
d
cos(x 2  3)  cos(x 2  3) cot(6x  5)
dx
]
 cot(6x  5)[ sin(x 2  3)]
d 2
dx
(x  3) ]
d
 cos(x 2  3)[cosec2(6x  5)] (6x  5)
dx
]
 cot(6x  5)[ sin(x 2  3)](2x )

 cos(x 2  3)[cosec2(6x  5)]6 ]


 2x cot(6x  5) sin(x 2  3) 6cos(x 2  3)cosec2(6x  5) ]
ดังนั้น y   2x cot(6x  5)sin(x 2  3) 6cos(x 2  3)cosec2(6x  5)
88

ตัวอยาง 2.36 กําหนด y 



sin x 3  7  จงหา y
x  3
5

วิธีทํา y

sin x 3  7 
x  3
5

y 

3
d sin x  7 
dx x  35


(x  3)5d
dx
(x  3) 10
d
sin(x 3  7)  sin(x 3  7) (x  3)5
dx ]

(x  3) 10
dx ]
[(x  3)5 cos(x 3  7)] d (x 3  7)  [sin(x 3  7)][5(x  3)4 ] d (x  3)
dx


[(x  3)5 cos(x 3  7)](3x 2 )  [sin(x 3  7)][5(x  3)4 ](1)
(x  3)10
]

3x 2 (x  3)5 cos(x 3  7)  5(x  3)4 sin(x 3  7)
(x  3)10
]
3x 2(x  3)5 cos(x 3  7)  5(x  3)4 sin(x 3  7)
ดังนั้น y 

(x  3)10
ตัวอยาง 2.37 กําหนด y  cosec x  sin 3x 2  1  x  3 จงหา y 
วิธีทํา 
y  cosec x  sin 3x 2  1  x  3 
d
y  [cosec x  sin(3x 2  1)  x  3]
dx

d
dx
d d
cosec x  sin(3x 2  1)  x  3
dx dx
d
dx
]
d
 cosecx cotx  cos(3x 2  1) (3x 2  1)  1  0
dx
]
 cosecx cotx  [cos(3x 2  1)](6x )  1 ]
 cosecx cotx  6x cos(3x 2  1)  1 ]
ดังนั้น y   cosecx cotx  6x cos(3x 2  1)  1
89

2.6 การหาอนุพนั ธของฟงกชันลอการิทึมและฟงกชันเลขชี้กําลัง


กําหนดให a เปนจํานวนจริงที่ a  0 และ a  1 ฟงกชัน 
f  (x , y ) : y  a x 
เรียกวาฟงกชันเลขชี้กําลังสวนอินเวอรสฟงกชันเลขชี้กําลังคือ f 1  (x, y ) : x  a y  เรียกวา
ฟงกชันลอการิทมึ ดังนั้นจะมีสมการเปน x  a y หรือ y  loga x โดยที่ a  0, a  1
การหาอนุพันธนี้อาจเริ่มจากฟงกชันใดฟงกชันใดกอนก็ไดแตเพื่อความสะดวกจะเริ่มจากฟงกชัน
ลอการิทึมฐาน e คือ y  loge x  ln x หรือ x  e y โดยที่ e มีนิยามดังนี้ (สุกัญญา สนิทวงศ
ณ อยุธยา และคณะ, 2556 : 61)

บทนิยาม 2.7.
n
 1 1
1
e  lim 1   หรือ e  lim 1  s s ,s 
n   n  x 0 n

หมายเหตุ 2.4
e เปนคาคงตัวที่เปนจํานวนอตรรกยะมีคาประมาณ 2.71828
เพื่องายในการหาอนุพันธของฟงกชันลอการิทมึ จึงกลาวถึงคุณสมบัติทสี่ ําคัญของลอการิทึม
ดังตอไปนี้ เมื่อ a  0 , a  1 , b  0 , b  1 , M  0 , N  0 และ M n เปนจํานวนจริง

1. loga MN  loga M  loga N


M
2. loga  loga M  loga N
N
3. loga M n  n loga M

4. loga a  1
5. loga 1  0

6. a
loga M
M
1
7. loga n M  loga M เมื่อ n  0
n
logb M
8. loga M 
logb a
1
9. loga b 
logb a
90

2.6.1 ทฤษฎีบทของอนุพันธฟงกชันลอการิทึมและฟงกชนั เลขชี้กําลัง


ให u  u(x ) เปนฟงกชันของตัวแปร x และ u(x ) มีอนุพันธที่ x และ a เปนคาคงตัว
ใด ๆ ที่ a  0 , a  1 สําหรับการหาอนุพันธของฟงกชันลอการิทึมและฟงกชันเลขชี้กําลังนั้นอาศัย
ทฤษฎีบทดังตอไปนี้ (พัฒนา สีมากุล, 2539 : 40-42)

ทฤษฎีบท 2.15
ถา y  loga u เมื่อ u  u(x ) เปนฟงกชันของ x โดยที่ u(x )  0
1 du
และ a เปนจํานวนจริงที่ a  0 , a  1 แลว y   นั้นคือ
u ln a dx
dy d 1 du
 loga u 
dx dx u ln a dx

ทฤษฎีบท 2.16
ถา y  ln u เมื่อ u  u(x ) เปนฟงกชันของ x โดยที่ u(x )  0 แลว
1 du dy d 1 du
y  นั้นคือ  ln u 
u dx dx dx u dx

ตัวอยาง 2.38 กําหนดให y  log2 (x 3  1) จงหา y 


วิธีทํา y  log2 (x 3  1)
d
y  log2 (x 3  1)
dx
 3
1
(x  1) ln 2 dx
d 3
(x  1) ]

1
(x  1) ln 2
3
(3x 2 ) ]

3x 2
(x 3  1) ln 2
]
3x 2
ดังนั้น y 
(x 3  1) ln 2
91

ตัวอยาง 2.39 กําหนดให y  ln x 2 จงหา y 


วิธีทํา y  ln x 2
d
y  (ln x 2 )
dx
1 d 2
 x สําหรับ x  0
x 2 dx
1
 (2x )
x2

2
x
]
2
ดังนั้น y  สําหรับ x  0
x

จากตัวอยางทีผ่ านมาเปนการใชทฤษฎีบท 2.16 ในการหาอนุพันธของฟงกชันโดยตรงและ


สําหรับทฤษฎีดังกลาวนั้นมีประโยชนอยางมากในการหาอนุพันธของฟงกชันที่อยูในรูปผลคูณ ผลหาร
และฟงกชันที่มีเลขชี้กําลังเปนฟงกชันพีชคณิตดังตัวอยางตอไปนี้

ตัวอยาง 2.40 กําหนดให y  (x 3  2x )25 จงหา y 


วิธีทํา y  (x 3  2x )25

y  (x 3  2x )25

ln y  ln (x 3  2x )25 ]
d
dx
ln y   d ln (x 3  2x )25 
  dx  ] 
d
dx
ln y   d 25  ln (x 3  2x ) 
  dx  ] 
1 dy
y dx
 3
25
x  2x dx
d 3
(x  2x )]
1 dy
y dx
 3
25
x  2x
(3x 2  2) ]
dy
dx
 3
25
x  2x
(3x 2  2)y ]
dy
dx
 3
25
x  2x
(3x 2  2)(x 3  2x )25 ]
dy
dx
 25(x 3  2x )24 (3x 2  2)]
ดังนั้น y   25(x 3  2x )24(3x 2  2)
92

ตัวอยาง 2.41 กําหนดให y  x 3  1 x 3  2x 2  x  1 จงหา y 


2 5

  x 
2 5
วิธีทํา y  x3 1 3
 2x 2  x  1

y  (x 3  1)2 (x 3  2x 2  x  1)5

ln y  ln (x 3  1)2 (x 3  2x 2  x  1)5 ]
ln y  ln (x 3  1)2  ln (x 3  2x 2  x  1)5 ]
ln y  2 ln x 3  1  5 ln x 3  2x 2  x  1 ]
d
dx
ln y 
d 
dx 

2 ln x 3  1  5 ln x 3  2x 2  x  1 

]
1 dy
y dx
d d
 2 ln x 3  1  5 ln x 3  2x 2  x  1
dx dx
]
1 dy
y dx
2 3
1 d 3
x  1 dx
(x  1  5 3 1
2
d
x  2x  x  1 dx
(x 3  2x 2  x  1) ]
1 dy
y dx
2 3
1
x 1
(3x 2 )  5 3
1
2
x  2x  x  1
3x 2  4x  1  ]
1 dy 6x 2 5(3x 2  4x  1)
 3 
y dx x  1 x 3  2x 2  x  1
1 dy
y dx
6x 2
 3
5(3x 2  4x  1)
 3
x  1 x  2x 2  x  1
]
1 dy
y dx
 3
6x 2

15x 2  20x  5
x  1 x 3  2x 2  x  1
]
dy
dx
 6x 2
 y  3  3
15x 2  20x  5 
2
 x  1 x  2x  x  1 
 ]
dy
dx
 (x  1) (x  2x  x  1) 
3 2 3 2


5 4 3 2
5  21x  22x  11x  21x  20x  5 

(x 3  1)(x 3  2x 2  x  1)



]
y   (x 3  1)(21x 5  22x 4  11x 3  21x 2  20x  5)(x 3  2x 2  x  1 )]
4

ดังนั้น y   (x 3  1)(21x 5  22x 4  11x 3  21x 2  20x  5)(x 3  2x 2  x  1)4 ]


93

dy
ตัวอยาง 2.42 กําหนดให y  x 2
x 5
จงหา
dx
วิธีทํา ให y  xx
2
5

y  xx 5

ln y  ln x x
2
5
]

ln y  x 2  5 ln x  ]
d
dx
ln y
d 2
dx
 x  5 ln x   ]
1 dy
y dx
 x2  5  d
dx
ln x  ln x
d 2
dx

x 5  ]
1 dy
y dx

x2  5
x
 2x ln x ]
dy
dx
x 2  5
 y 
 x

 2x ln x 

]
dy
dx
x  5
 x x  5 
2

 x
2

 2x ln x 

]
dy x 2  5 
ดังนั้น  xx
2
5 
 x  2x ln x 

dx  

ทฤษฎีบท 2.17
กําหนดให u  u(x ) ฟงกชันของ x ถา y  eu แลว y   e u du
dx
dy d u du
นั้นคือ  e  eu
dx dx dx

ทฤษฎีบท 2.18
กําหนดให u  u(x ) ฟงกชันของ x ถา y  au ; a  0 แลว
du dy d u du
y   a u ln a นั้นคือ  a  a u ln a
dx dx dx dx

สรุปสูตรอนุพันธของฟงกชันลอการิทึมและฟงกชันเลขชี้กําลังไดดังนี้ กําหนดให u  u x 
เปนฟงกชันของ x ซึ่งหาอนุพันธได (สุกัญญา สนิทวงศ ณ อยุธยา และคณะ, 2556 : 68)
94

d 1 du
1. ln u 
dx x dx
d 1 du
2. loga u 
dx u ln a dx
d u du
3. e  eu
dx dx
d u du
4. a  a u ln a
dx dx

ตัวอยาง 2.43 กําหนดให y  2e 3x  5 ln x 2 จงหา y 


วิธีทํา y  2e 3x  5 ln x 2
d
y  (2e 3x  5 ln x 2 )
dx
d
 2 e 3x  5 ln x 2
dx
d
dx
]
 2e 3x
d
dx
3x  2
5 d 2
x dx
x ]
5
 2e 3x (3)  2 (2x )
x
]
10
ดังนั้น y   6e 3x 
x

ตัวอยาง 2.44 กําหนดให y  e 5x log 2 x จงหา y 


วิธีทํา y  e 5x log 2 x
d  5x
y  e log2 x 
dx  

 e 5x
d
dx
d
log2 x  log2 x e 5x
dx
]
 e 5x
1
x ln 2

 log2 x e 5x


d
dx


5x 


]
1
y   e 5 x  log2 x e 5x 5
x ln 2  

 e 5 x
1
x ln 2
 5e 5x log2 x ]
1
ดังนั้น y   e 5x  5e 5x log 2 x
x ln 2
95

10x
ตัวอยาง 2.45 กําหนดให f (x )  จงหา f (x )
ln x 6
10x
วิธีทํา f (x ) 
ln x 6
d 10x
f (x ) 
dx ln x 6


ln x 6
d x
dx
10  10x

ln2 x 6
d
dx
ln x 6
]

(ln x 6 )(10x ln 10)  10x

ln2 x 6
1 d 6
x 6 dx
x
]

10x ln x 6 ln 10 

ln2 x 6
10x 6x 5
x6 ]

x 10x ln 10 ln x 6  6(10)x
x ln2 x 2
]
x 10x ln10 ln x 6  6(10)x
ดังนั้น f (x ) 
x ln2 x 2

ตัวอยาง 2.46 กําหนดให f (x )  sin x 3 ln10 x จงหา f (x )

วิธีทํา f (x )  sin x 3 ln10 x

d
f (x )  sin x 3 ln10 x
dx
 sin x 3
d 10
dx
ln x  ln10 x
dx
d
sin x 3 ]
 d   d 3 
 sin x 3 10 ln9 x ln x   ln10 x cos x 3 x
 dx   dx 
   
 1 
 sin x 3 10 ln9 x (ln x )9    (ln x )10 (cos x 3 ) 3x 2
 x 
]

10 9
x
ln x sin x 3  3x 2 ln10 x cos x 3 ]
10 9
ดังนั้น f (x )  ln x sin x 3  3x 2 ln 10 x cos x 3
x
96

ตัวอยาง 2.47 กําหนดให f x   e sin 3x ln x จงหา f  x 


วิธีทํา f (x )  e sin 3x ln x
d sin 3x  ln x
f (x )  e
dx
d
 (e sin 3x ln x ) (sin 3x  ln x )
dx
]
d
 (e sin 3x ln x )  sin 3x  ln x 
dx
 dx
d 


]
 d
 (e sin 3x ln x ) (cos 3x ) (3x )  

 dx
1
x 
]

 (e sin 3x ln x ) (cos 3x )(3)  


1
x 
]

 (e sin 3x ln x ) 3 cos 3x  


1
x 
]
 1
ดังนั้น f (x )  (e sin 3x ln x )  3 cos 3x  
 x 

2.7 การหาอนุพนั ธของฟงกชันรูปแบบตาง ๆ
ในหัวขอที่ผานมาแลวนั้นเราไดหาผลเฉลยของสมการเชิงอนุพันธในในรูปแบบตาง ๆ เชน การ
หาอนุพันธของฟงกชันพีชคณิต การหาอนุพันธของฟงกชันประกอบ การหาอนุพันธของฟงกชัน
ตรีโกณมิติ และการหาอนุพันธของฟงกชันลอการิทมึ และฟงกชันเลขชี้กําลัง ซึ่งเปนการหาอนุพันธของ
ฟงกชันทั้งการหาอนุพันธโดยใชนิยามและการหาโดยใชสูตรหรือทฤษฎี สําหรับในหัวขอนี้จะเปนการ
สรุปสูตรการหาอนุพันธของฟงกชันรูปแบบตาง ๆ ดังตอไปนี้ และกําหนดให u  u x  เปนฟงกชัน
ของ x ซึ่งหาอนุพันธได และ v  v x  เปนฟงกชันของ x ซึ่งหาอนุพันธได
d
1.
dx
c   0
d
2.
dx
x   1
d d
3.
dx
cu   c u 
dx
d du dv
4.
dx
u  v  
dx dx
d n
5. x  nx n 1
dx
97

d dv du
6.
dx
uv   u
dx
v
dx
du dv
  v u
d u 
7.    dx 2 dx
dx  v  v
dy dy du
8.  
dx du dx
d n du
9.
dx
 
u  nu n 1
dx
d du
10.
dx
 sin u   cos u
dx
d du
11.
dx
 cos u    sin u
dx
d du
12.
dx
 tan u   sec2 u
dx
d du
13.
dx
 cot u   cosec2u
dx
d du
14.
dx
 sec u   sec u tan u
dx
d du
15.
dx
 cosecu   cosecu cot u
dx
d 1 du
16.
dx
arcsinu  
1  u dx
2

d 1 du
17.
dx
arccosu   
1  u dx
2

d 1 du
18.
dx
arctanu  
1  u 2 dx
d 1 du
19.
dx
arccotu    u
1  u dx
2

d 1 du
20.
dx
arcsecu  
u u 2  1 dx
d 1 du
21.
dx
arccosecu   
u u 2  1 dx
d 1 du
22. ln u 
dx x dx
d 1 du
23. loga u 
dx u ln a dx
98

d u du
24. e  eu
dx dx
d u du
25. a  a u ln a
dx dx
d du dv
26.
dx
 
u v  vu v 1
dx
 ln u  u v
dx
d du
27.
dx
 sinh u   cosh u
dx
d du
28.
dx
 cosh u   sinh u
dx
d du
39.
dx
 tanh u   sech2 u
dx
d du
30.
dx
 coth u   cosech2u
dx
d du
31.
dx
 sech u    sech u tanh u
dx
d du
32.
dx
 cosechu   cosechu coth u
dx

จากสูตรทัง้ หมด 32 สูตรที่ไดกลาวมาขางตนบางสูตรไดแสดงตัวอยางการหารอนุพันธของ


ฟงกชันไปแลวในหัวขอทีผ่ านมา สําหรับหัวขอนีจ้ ะขอยกตัวอยางเฉพาะสูตรที่ยังไมไดแสดงวิธีการหา
อนุพันธของฟงกชันมากอน และจะแสดงไดดังตัวอยางตอไปนี้
dy
ตัวอยาง 2.48 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arcsin 5x 2
dx
dy d
วิธีทํา
dx

dx

arcsin 5x 2 
1 d
 5x 2
1  25x 4 dx

1 d
dx
 
5x 2
 
2
2
1  5x

10x

1  25x 4

d 10x
ดังนั้น
dx
arcsin 5x 2  
1  25x 4
99

dy
ตัวอยาง 2.49 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arccos x  3
dx
dy d
วิธีทํา
dx

dx

arccos x  3 
1 d

dx
x  3
1  x  3
2

d 1
x  3

2
1  x  6x  9 dx

1

10  6x  x 2

dy 1
ดังนั้น 
dx 10  6x  x 2

dy
ตัวอยาง 2.50 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arctan x 3  1
dx
dy d
วิธีทํา
dx

dx
arctan x 3  1  
d 3
1
 x 1  
 
2
3
1  x 1 dx

1 d 3
 x 1  

1  x 6  2x 3  1 dx 
3x 2

x 6  2x 3

dy 3x 2
ดังนั้น 
dx x 6  2x 3
100

dy
ตัวอยาง 2.51 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arccot 2x 3 
dx
dy d
วิธีทํา
dx

dx
arccot 2x 3  
1 d
  
2x 3
 
2
1  2x 3 dx

1d
 2x 3  
1  4x 6 dx

6x 2

1  4x 6

dy 6x 2
ดังนั้น 
dx 1  4x 6

dy
ตัวอยาง 2.51 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arcsec 2x 3 
dx
dy d
วิธีทํา
dx

dx
arcsec 2x 3  
1 d

dx
 
2x 3
2x 
2
3 3
2x 1

1 d

dx
2x 3  
2x 3 6
4x  1

6x 2

2x 3 4x 6  1

dy 6x 2
ดังนั้น 
dx 2x 3 4x 6  1
101

dy
ตัวอยาง 2.52 จงแสดงวิธีทําเพื่อหา เมื่อกําหนด y  arccosec x  5
dx
dy d
วิธีทํา  arccosec x  5
dx dx
1 d

dx
x  5
x  5 x  5
2
1

1 d
 x  5
x  5 x 2  10x  25  1 dx

1

x  5 x 2  10x  24

ตัวอยาง 2.53 กําหนด y  sinh(2x ) จงหา y 


วิธีทํา y  sin(2x )
d
y  sinh (2x )
dx
d 
y    cosh(2x )  (2x )
  dx 
 

 
]
  cosh(2x ) 2

 2 cosh 2x ]
ดังนั้น y   2 cosh 2x

ตัวอยาง 2.54 กําหนด y  sinh(x 5  5x 3  3) จงหา y 


วิธีทํา y  sinh(x 5  5x 3  3)
d
y  sinh (x 5  5x 3  3)
dx
d
 cosh(x 5  5x 3  3)  (x 5  5x 3  3)
dx




]
 cosh(x 5  5x 3  3) 5x 4  15x 2 
  
]
ดังนั้น y   (5x 4  15x 2 ) cosh(x 5  5x 3  3)
102

ตัวอยาง 2.55 กําหนด y  cosh5 x 3  1 จงหา y 


วิธีทํา 
y  cosh 5 x 3  1 
d
y  cosh 5 (x 3  1)
dx
d
y  [cosh(x 3  1)]5
dx
 5 [cosh(x 3  1)]4
d
dx
cosh(x 3  1) ]
 5 [cosh(x 3  1)]4[ sinh(x 3  1)]
d 3
dx
(x  1) ]
 5 [cosh(x 3  1)]4[ sinh(x 3  1)](3x 2 ) ]
 15x 2 sinh (x 3  1)cosh 4 (x 3  1) ]
ดังนั้น y   15x 2 sinh(x 3  1)cosh4 (x 3  1)

ตัวอยาง 2.56 กําหนด y  tanh(x 2  2x )21 จงหา y 


วิธีทํา y  tan(x 2  2x )21
d
y  tanh(x 2  2x )21
dx
d
 sech2(x 2  2x )21  (x 2  2x )21
  dx
]
 
d
 sech2 (x 2  2x )21  21(x 2  2x )20 (x 2  2x )
dx
]
 sech2 (x 2  2x )21  21(x 2  2x )20 (2x  2)
 
]
 
)]
 42 sech2 (x 2  2x )21  (x 2  2x )20 (x  1

 42(x  1)(x 2  2x )20 sech2 (x 2  2x ) ]


21

ดังนั้น y   42(x  1)(x 2  2x )20 sech2(x 2  2x )21


103

ตัวอยาง 2.57 กําหนด y  coth x 3  5 จงหา y 


วิธีทํา 
y  coth x 3  5 
d
y  coth (x 3  5)
dx
 [cosech2 (x 3  5)]
d 3
dx
(x  5) ]
 [cosech2 (x 3  5)](3x 2 ) ]
 (3x 2 )cosech2(x 3  5) ]
ดังนั้น y   (3x 2 )cosech2(x 3  5)

ตัวอยาง 2.58 กําหนด y  sech2 3x 3  5 จงหา y 


วิธีทํา 
y  sech2 3x 3  5 
d
y 
dx

sech2 3x 3  5 
d
 [sech(3x 3  5)]2
dx
[
d
y   2 sech(3x 3  5) sech(3x 3  5)
dx
]
 2 sech(3x 3  5) sech(3x 3  5) tanh(3x 3  5)
d
dx
(3x 3  5) ]
 2(9x 2 ) sech2(3x 3  5) tanh (3x 3  5) ]
 18x 2 sec2 (3x 3  5) tan (3x 3  5) ]
ดังนั้น y   18x 2 sech2(3x 3  5) tanh (3x 3  5)

ตัวอยาง 2.59 กําหนด y  cosech x  3 จงหา y 


วิธีทํา y  cosech x  3

d
y  cosech 3  x 
dx
 cosech(3  x ) coth(3  x )
d
dx
]
(3  x )
104

 [cosech(3  x ) coth(3  x )](1) ]


 cosech(3  x ) coth(3  x ) ]
ดังนั้น y   cosech(3  x ) coth(3  x )

ตัวอยาง 2.60 กําหนด y 



sinh x 3  7  จงหา y
x  3
5

วิธีทํา y

sinh x 3  7 
x  3
5

y 
3

d sinh x  7 
dx x  35


d
(x  3)5
dx
d
sinh(x 3  7)  sinh(x 3  7) (x  3)5
(x  3)10
dx ]

[(x  3)5 cosh(x 3  7)] d (x 3  7)  [sinh(x 3  7)][5(x  3)4 ] d (x  3)
dx
(x  3) 10
dx ]

(x  3)10
]
[(x  3)5 cosh(x 3  7)](3x 2 )  [sinh(x 3  7)][5(x  3)4 ](1)


3x 2 (x  3)5 cosh(x 3  7)  5(x  3)4 sinh(x 3  7)
(x  3)10
]
3x 2(x  3)5 cosh(x 3  7)  5(x  3)4 sinh(x 3  7)
ดังนั้น y  
(x  3)10

ตัวอยาง 2.61 กําหนด y  cosech x  sinh 3x 2  1  x  3 จงหา y 


วิธีทํา 
y  cosech x  sinh 3x 2  1  x  3 
d
y  [cosech x  sinh(3x 2  1)  x  3]
dx

d
dx
cosech x 
d
dx
d
dx
d
sinh(3x 2  1)  x  3
dx
]
105

 cosechx cothx  cosh(3x 2  1)


d
dx
(3x 2  1)  1  0 ]
 cosechx cothx  [cosh(3x 2  1)](6x )  1 ]
 cosechx cothx  6x cosh(3x 2  1)  1 ]
ดังนั้น y   cosechx cothx  6x cosh(3x 2  1)  1

2.8 การหาอนุพนั ธของฟงกชันโดยปริยาย


สําหรับฟงกชันที่กําหนดโดยสมการที่แสดงถึงความสัมพันธระหวาง x กับ y นั้นพบวาบาง
2
1
ฟงกชันสามารถเขียนแสดงคา y ในพจน x เชน y  x  3 หรือ y  x เปนตน ซึ่งฟงกชัน
3x  1
ที่สามารถเขียนใหอยูในรูป y  f (x ) ดังกลาวขางตนนั้นเรียกวาเปนฟงกชันชัดแจง ฟงกชันชนิดนี้
สามารถหาอนุพันธไดทันที โดยอาศัยสูตรอนุพันธหรือทฤษฎีของอนุพันธตาง ๆ ที่ไดกลาวมาแลวใน
หัวขอที่ผานมา แตสําหรับบางฟงกชันที่กําหนดโดยสมการทีแ่ สดงถึงความสัมพันธระหวางนั้นพบวา
บางฟงกชันสามารถเขียนในรูป f (x , y )  c เชน x 2y  xy2  9 เรียกวา ฟงกชันโดยปริยาย
วิธีการหาอนุพันธของฟงกชันโดยปริยายทําตามขั้นตอนโดยสรุปดังตอไปนี้ (ธีระศักดิ์ อุรจั นานนท,
2546 : 87-88)

1. หาอนุพันธเทียบตัวแปร x ทั้งสองขางของสมการฟงกชันโดยปริยาย
2. หาอนุพันธแตละพจน
3. แกสมการหา dy
dx

ตัวอยาง 2.62 ให y เปนฟงกชันของ x ซึ่งสอดคลองกับสมการ x 2  y 2  9 จงหา dy


dx
วิธีทํา 2 2
x y  9
d d
dx
 
x 2  y2 
dx
9

d 2 d
x  y2  0
dx dx
2x  2y
dy
dx
0 ]
106

2y
dy
dx
 2x]
dy
dx

2x
2y
]
dy
dx

x
y
]
dy x
ดังนั้น 
dx y

ตัวอยาง 2.63 ให y เปนฟงกชันของ x ซึ่งสอดคลองกับสมการ x 3y  y 5  x 6  3 จงหา y 


วิธีทํา x 3y  y 5  x 6  3
x 3y  y 5  x 6  3
d 3
dx
d
(x y  y 5  x 6 )  (3)
dx
]
d 3
dx
d 5 d 6
(x y)  y  x  0
dx dx
]
 3 d d 3  dy
x y  y x   5y 4  6x 5  0
 dx dx   dx

x3
dy
dx
 
 y 3x 2  5y 4
dy
dx
 6x 5 0 ]
x3
dy
dx
 5y 4
dy
dx
 6x 5  3x 2y ]
(x 3  5y 4 )
dy
dx
 6x 5  3x 2y ]
dy
dx

6x 5  3x 2y
x 3  5y 4
]
6x 5  3x 2y
ดังนั้น y 
x 3  5y 4

ตัวอยาง 2.64 ให y เปนฟงกชันของ x ซึ่งสอดคลองกลับสมการ x 4  sin y 3  x  0


จงหา y 
วิธีทํา x 4  sin y 3  x  0
d 4
(x  sin y 3  x )  d 0
dx dx
107

d 4
dx
x 
d
dx
sin y 3  x 
d
dx
d
dx
0 ]
]
3
3 3 dy
4x  cos y 1  0
dx
4x 3  (cos y 3 )3y 2
dy
dx
1  0 ]
dy 1  4x 3
 2
dx 3y cos y 3
1  4x 3
ดังนั้น y 
3y 2 cos y 3

2.9 อนุพนั ธอนั ดับสูง


อนุพันธของฟงกชันทีก่ ลาวมาแลวในขางตน อาจเรียกวาอนุพันธอันดับที่หนึง่ ของฟงกชันเขียน
dy d
แทนดวย f (x ) , y  , หรือ f (x ) (Ross, F.L. Maurice,.W.D. and Frank, G.R., 2001 : 98)
dx dx

บทนิยาม 2.8
f  x  h   f  x 
ให f (x ) เปนอนุพันธของฟงกชัน f (x ) แลวถา lim
h 0 h
หาคาได เรียกคาของลิมิตนี้วาอนุพันธอันดับที่สองของ f (x ) เทียบกับ x
d 2y d2
อนุพันธอันดับทีส่ องของฟงกชันเขียนแทนดวย f (x ) , y  , หรือ f (x )
dx 2 dx 2
ในทํานองเดียวกันถา f (x ) มีอนุพันธเทียบกับ x เรียกอนุพันธนี้วาอนุพันธอันดับทีส่ าม
d 3y d3
ของ f (x ) เทียบกับ x และเขียนแทนดวย f (x ) , y  , หรือ f (x ) และถา
dx 3 dx 3
f (x ) มีอนุพันธเทียบกับ x เรียกอนุพันธนี้วาอนุพันธอันดับทีส่ ี่ของ f (x ) เทียบกับ x
d 4y d4
และเขียนแทนดวย f (x ) , y
(4) (4)
, หรือ f (x ) ในทํานองเดียวกันผลลัพธจากการ
dx 4 dx 4
หาอนุพันธ n ครั้งติดตอกันไปเมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวกก็จะเรียกกวาอนุพันธอันดับที่ n
d ny dn
ของ f (x ) ซึ่งเขียนแทนดวย f (n )
(x ) , y (n )
, หรือ f x  ดังตัวอยางตอไปนี้
dx n dx n
108

ตัวอยาง 2.65 กําหนดให f x   3x 5  2x  3 จงหา f  x 

วิธีทํา f (x )  3x 5  2x  3
d
f (x )  (3x 5  2x  3)
dx
 15x 4  2 ]
f (x ) 
d
dx
]
(15x 4  2)

 60x 3 ]
ดังนั้น f (x )  60x 3

ตัวอยาง 2.66 กําหนดให f (x )  sin 2x 5 จงหา f (x )


วิธีทํา f (x )  sin 2x 5
d
f (x )  sin 2x 5
dx
 cos 2x 5
d
dx
2x 5 ]
 (cos 2x 5 )(10x 4 ) ]
f  x  
d
dx
(cos 2x 5 )(10x 4 ) ]
d d
 (cos 2x 5 ) (10x 4 )  (10x 4 ) (cos 2x 5 )
dx dx
]
d
 (cos 2x 5 )(40x 3 )  (10x 4 )( sin 2x 5 ) 2x 5
dx
]
 (cos 2x 5 )(40x 3 )  (10x 4 )( sin 2x 5 )(10x 4 )]

 40x 3(cos 2x 5 )  100x 8 (sin 2x 5 ) ]


ดังนั้น f  x   40x 3(cos2x 5 )  100x 8(sin 2x 5 )

ตัวอยาง 2.67 ให f x   x 4  5x  2 จงหาคา n ที่มีคานอยที่สุดที่ทําให f


n 
x   0
วิธีทํา f (x )  x 4  5x  2
109

d 4
f (x )  x  5x  2
dx
 4x 3  5 ]
f (x ) 
d
dx
(4x 3  5) ]
 12x 2 ]
f (x ) 
d
dx
12x 2 ]
 24x ]
 4
f (x ) 
d
dx
24x ]
 24 ]
5
f (x ) 
d
dx
24 ]
0 ]
5 4 
เนื่องจาก f (x )  0 และ f (x )  0 ดังนั้น n  5

2.10 สรุปทายบทที่ 2
กอนที่เราจะหาอนุพันธของฟงกชันนั้น กอนอื่นเราตองตรวจสอบกอนเสมอวาฟงกชันที่เราจะ
หาอนุพันธนั้นมีอนุพันธหรือไม ซึง่ ถาหากฟงกชันนั้นมีอนุพันธแลวเราสามารถหาอนุพันธของฟงกชันได
เลยอาจจะหาอนุพันธของฟงกชันแบบใชนิยามก็ได แตถาบางฟงกชันไมเหมาะกับการหาโดยใชนิยาม
เราสามารถแบงฟงกชันที่เราจะหาอนุพันธในรูปแบบตาง ๆ ที่ไดกลาวมา เชนการหาอนุพันธของ
ฟงกชันพีชคณิต การหาอนุพันธของฟงกชันประกอบ การหาอนุพันธของฟงกชันตรีโกณมิติ การหา
อนุพันธของฟงกชันลอการิทึมและฟงกชันเลขชี้กําลัง การหาอนุพันธของฟงกชันโดยปริยาย และการ
หาอนุพันธอันดับสูง ซึ่งเราไดรูความหมายของอนุพันธไปแลวนั้นแลวเราก็จะสามารถนําอนุพันธนั้นไป
แกปญหาตาง ๆ ไดอยางถูกตองและเหมาะสมตอไป
110

แบบฝกหัดทายบทที่ 2

1. จงหาอนุพันธของ f (x )  x 2  5x
1.1 ที่จุด x ใด ๆ
1.2 ที่จุด x  1
1.3 ที่จุด x  0

2. จงหาอนุพันธของ f (x )  3x 2  x  5
2.1 ที่จุด x ใด ๆ
2.2 ที่จุด x  3
2.3 ที่จุด x  2

3. จงหาอนุพันธของ f (x )  (3x 2  5)2


3.1 ที่จุด x ใด ๆ
3.2 ที่จุด x  0
3.3 ที่จุด x  2

4. จงหาอนุพันธของ f (x )  (x  3)2  x
4.1 ที่จุด x ใด ๆ
4.2 ที่จุด x  1
4.3 ที่จุด x  0

5. จงหาอนุพันธของ f (x )  x  (x  2)3
5.1 ที่จุด x ใด ๆ
5.2 ที่จุด x  1
5.3 ที่จุด x  10

6. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปนี้
6.1 y  x 3  6x  1 6.2 y  x  6x 10  12

6.4 y  3 2x 10  3x  5
2
 
12
6.3 f (x )  5x 3  x  1

6.5 f (x )  x 6

 3x x  5 6.6  
y  2x 6  x 3x 2  4x 
111

2x 
5
6
x
6.7 f (x )  (x 6  3x )20(x  5) 6.8 y
3x 2  4x

2x 
12
x 
20
6
x 6
 3x
6.9 y  6.10 f (x ) 
3x 2  4x x 5

2x 
5
6
x (2x 6  x )12 3x 2  4x
6.11 y 6.12 y
3x 2  4x 3x 2  4x

7. จงหา dy เมื่อกําหนดให
dx
7.1. y  3u และ u  x 2  5x  1
7.2. y  u10 และ u  3x  5
7.3. y  2u 4 และ u  x 5  3x 2  11

8. จงหาอนุพันธของฟงกชันที่กําหนดใหตอไปนี้และตรวจสอบวาอนุพันธเทากันหรือไม
 
3
8.1. y  sin 3 x 2  5 และ y  sin x 2  5

sin x  2
8.2. y  และ y  tan x  2
cos x  2

1
8.3. y  sin 2x  1 และ y
cosec 2x  1

9. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปนี้
9.1 y  sin x 10  6x  12   9.2 y  cos 3x 5  x

9.3 y  tan x  1 10
9.4 y  cot 3x  4  20

9.5 y  cosec x  3x  5
9.6 y  sec x  21
2 10

9.7 y  cos 3x  x  tan x  3  9.8 y  tan x  1


5 19 5

cot 3x  4 20

9.9 y 3
9.10 y  cos x  3 tan 3x  4  12 5 10

x  5x
9.11 
y  cos x  tan x 2 3x 2  9x  
112

10. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปนี้
10.1 y  sinh x 10  6x  12 10.2  
y  cosh 3x 5  x

10.3 
y  tanh x 10  1  10.4 y  coth 3x  4 20

10.5 
y  cosech x 5  3x 2  10.6 y  sech x  21 10

10.7 
y  cosh 3x 5  x tanh x  3 10.8 y  tanh x  1 19 5

coth 3x 20
 4
10.9 y
x 3  5x
10.10  
y  cosh 12 x 5  3 tanh 10 3x  4 

10.11 
y  cosh x  tanh x 2 3x 2  9x  
11. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปนี้
11.1 y  arcsin x 10  12 11.2  
y  arccos 3x 5  x

11.3 y  arctanh x 10  1   11.4 y  arccot 3x  4  20

11.5 y  arccosec x  3 11.6 y  arcsec x  21 10

11.7 
y  arccos 3x 5  x arctan x  3 
arccot 3x 20
 4
11.8 y
x 3  5x
11.9 
y  arccosx  arctan x 2 3x 2  9x  

12. จงหาอนุพันธของฟงกชันตอไปนี้
12.1 y  ln x 10  6x  12 12.2 y  log2 3x 5  x 
12.3 y  e x 1 12.4 y  125x 7x
10 3

12.5 y  ln x 3  3x  log5 x 12.6 y  ln x 3  e sin x


20
12.7 y  ln cos 3 x  12.8 y  ln x 5  1

12.9 y 

ln 3x 20  4  12.10 y  ln x 5 e cot 5x
3
x  5x
113

dy
13. ให y เปนฟงกชันของ x ซึ่งสอดคลองกลับสมการดังตอไปนี้ จงหา
dx
13.1 xy  x 2  5 13.2 y 5x  3  x 2
13.3 3yx 5  x  2 13.4 y 5x 6  3x  x 2
13.5 y 5 sin x  y  1 13.6 ey 3  x 2  5
13.7 y 5 sin x 6  x  y 2 13.8 y 2x  y10  2x
13.9 ey  sin x  y  2 13.10 y tan x 6  3  x  y 2

14. กําหนด f x   x 3  6x 2  4 จงหาคา f  x 

15. กําหนด f x   3x 10  x 2  4x  1 จงหาคา f 4 x 


16. กําหนด y  cot 5x จงหาคา y 
17. กําหนด y  e 3x 2 จงหาคา y 
18. ให f x   2x 3  5x 2 จงหาคา n ที่นอยที่สุดที่ทําให f n  x   0
19. ให f x   x 5  x 3  1 จงหาคา n ที่นอยที่สุดที่ทําให f
n 
x   0
115

บทที่ 3
การประยุกตอนุพันธ

สําหรับในบทที่ 3 ที่ผานมานั้นเราไดศึกษาเรือ่ ง สวนเปลี่ยนแปลงและอัตราการเปลี่ยนแปลง


เฉลี่ย ซึ่งเปนพื้นฐานที่มีโยชนตอวิทยาการในสาขาตาง ๆ มากมาย เชน ฟสิกส เคมี ชีววิทยา
วิศวกรรมศาสตร ดาราศาสตร เศรษฐศาสตร สังคมวิทยา และพฤติกรรมทางจิตวิทยา ตลอดจน
เปนพื่นฐานของการศึกษาคณิตศาสตรสาขาอื่น ๆ แทบทุกสาขา ซึ่งมีประโยชนอยางกวางขวางในการ
แกปญหาตาง ๆ ดังนั้นในบทนีจ้ ะกลาวถึงการนําอนุพันธไปประยุกตใชในการแกปญ  หา ตาง ๆ เชน
ปญหาเกี่ยวการเคลือ่ นที่ของวัตถุ ซึ่งเมื่อวัตถุเคลือ่ นที่นั้นจะเกิดสมการการเคลื่อนทีข่ ึ้น มีความเร็ว
และความเรง ในการเคลื่อนที่ การประยุกตสวนเปลี่ยนแปลงและอัตราการเปลี่ยนแปลงเฉลี่ยนั้น
เกี่ยวกับเรื่องอัตราการเปลี่ยนแปลงของสิ่งตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน หรือเรียกวาอัตราสัมพัทธ และการ
ประยุกตทางเรขาคณิตเชนการหาสมการเสนสัมผัสและสมการเสนปกติของสมการเสนโคงที่กําหนดให
และใชในการตรวจสอบชวงของฟงกชันเพิม่ และฟงกชันลด คาสูงสุดสัมและคาต่ําสุดสัมบูรณ คาสูงสุด
และคาต่ําสุดสัมพัทธ จุดเปลี่ยนเวา ลักษณะกราฟเวาลงและเวาขึ้น แลวนําขอมูลที่ไดทั้งหมดไปใชใน
การวาดกราฟ และสุดทายจะนําอนุพันธของฟงกชันไปชวยหาคาลิมิตไดโดยใชกฎของโลปตาล

3.1 ความเร็ว และความเรง


การเคลื่อนที่ของวัตถุมีการเคลื่อนที่ไดหลายวิธีมีทงั้ การเคลือ่ นที่ในแนวเสนตรงและไมใช
เสนตรงแตสําหรับในบทนี้จะศึกษาถึงการเคลื่อนที่ของวัตถุในแนวเสนตรงเทานั้นโดยจะกลาวถึงเฉพาะ
ความเร็วและความเรงของวัตถุที่เคลือ่ นที่ในแนวเสนตรงเทานั้น วัตถุเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงมีสมการ
การเคลื่อนที่ในรูปความสัมพันธของระยะทางและเวลา ใหวตั ถุเคลื่อนที่ไดทาง s หนวยระยะทางโดย
ใชเวลาในการเคลื่อนที่ t หนวยเวลา ดังนั้น s  f (t ) แทนสมการการเคลื่อนที่
ความเร็วโดยทั่วไปเราไดจากอัตราสวนระหวางปริมาณการเปลี่ยนแปลงของ s (ระยะทาง)
กับปริมารการเปลี่ยนแปลงของ t (เวลา) แตถาตองการความเร็วชั่วขณะหรือความเร็วทีเ่ วลา t ใด ๆ
s ds
คือ lim ซึ่งแทนดวย ดังนั้นความเร็วของวัตถุเมือ่ เวลา t ใด ๆ คือ v  ds
t  0 t dt dt
(ชัยสงคราม เครือหงส, 2544 : 47)

ขอสังเกต 3.1
1. ถา v  0 วัตถุจะเคลื่อนที่ในทิศทางที่ไดระยะทางเพิ่มขึ้น
2. ถา v  0 วัตถุจะเคลื่อนที่ในทิศทางที่ไดระยะทางลดลง
3. ถา v  0 แสดงวาวัตถุหยุดนิ่ง
116

เชนเดียวกันกับความเรงของวัตถุเมื่อเวลา t ใด ๆ เราหาไดจากอัตราสวนระหวางปริมาณการ
v
เปลี่ยนแปลงของ v กับปริมาณการเปลี่ยนแปลงของ t โดยหาคา lim
t  0 t
ซึ่งแทนดวยสัญลักษณ
dv
นั่นคือความเรงของวัตถุเมือ่ เวลา t ใด ๆ คือ a  dv แต v  ds ดังนั้น
dt dt dt
d ds  d 2s
a   (มาริสา มัยยะ และวันเพ็ญ จันทรังษี, 2550 : 85)
dt  dt  dt 2

ขอสังเกต 3.2
1. ถา a  0 ความเร็วจะเพิ่มขึ้น
2. ถา a  0 ความเร็วจะลดลง

ตัวอยาง 3.1 วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงมีสมการการเคลื่อนที่ s  1 t 3  t  1 เมตร


3
จงหาความเร็ว ความเรงที่เวลา t ใด ๆ และหาความเร็ว ความเรงของวัตถุเมือ่ เวลาผานไป 3 วินาที
ds
วิธีทํา จาก v
dt
d  1 3 
v  t  t  1
dt  3 
 t2 1 ]
จะได v  t 2  1
ณ t  3 ได v  32  1  8

ดังนั้น ความเร็วของวัตถุเมื่อเวลาผานไป 3 วินาทีเปน 8 เมตร/วินาที

dv
จาก a
dt
d 2
a (t  1)
dt
 2t ]
ได a  2t
ณt  3 ได a  2(3)  6

ดังนั้น ความเรงของวัตถุเมือ่ เวลาผานไป 3 วินาทีเปน 6 เมตร/(วินาที)2


117

ตัวอยาง 3.2 ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดเมื่อเวลา t ใด ๆ แทนดวย s  t 3  6t 2  9t  4


เมื่อ s มีหนวยเปนเมตรและ t มีหนวยเปนวินาที
1. จงหา s (ระยะทาง) และ a (ความเรง) เมือ่ v  0
2. จงหา s (ระยะทาง) และ v (ความเร็ว) เมื่อ a  0
3. เมื่อใดที่ s (ระยะทาง) เพิ่มขึ้น
4. เมื่อใดที่ v (ความเร็ว) เพิ่มขึ้น
ds d 3
วิธีทํา v 
dt

dt
 
t  6t 2  9t  4  3t 2  12t  9

v  3 t  1t  3

dv d
a
dt

dt
 
3t 2  12t  9  6t  12

 6 t  2 ]
1. เมื่อ v  0 ดังนั้น t  1, 3

เมื่อ t 1
s  13  6(1)2  9(1)  4  8
a  6(1  2)   6
เมื่อ t  3
s  33  6(3)2  9(3)  4  4
a  6(3  2)  6

2. เมื่อ a  0 ดังนั้น t  2
เมื่อ t  2
s  23  6(2)2  9(2)  4  6
v  3(2  1)(2  3)   3

3. s (ระยะทาง) เพิ่มขึ้นเมื่อ v  0
v  3 t  1t  3   0

จะได t  1 หรือ t  3
ดังนั้น s (ระยะทาง) เพิ่มขึ้นเมือ่ t  1 หรือ t  3

4. v (ความเร็ว) เพิ่มขึ้น เมื่อ a  0


a  6(t  2)  0
118

จะได t  2
ดังนั้น v (ความเร็ว) เพิ่มขึ้น เมื่อ t  2

ตัวอยาง 3.3 กําหนดให s  t 3  4t 2  3t  2 จงหาความเรงขณะที่ความเร็วเทากับศูนย


ds
วิธีทํา v
dt
d 3
v (t  4t 2  3t  2)
dt
 3t 2  8t  3 ]
dv
a
dt
d
 (3t 2  8t  3)
dt
]
 6t  8 ]
เมื่อ v  0 จะได 3t 2  8t  3  0
(3t  1)(t  3)  0
1
t   ,3
3
1
t  ใชไมไดเพราะ t  0
3
ให t  3 จะได a  6(3)  8  10

ดังนั้น ขณะที่ความเร็วเปน 0 ความเรงมีคาเปน 10 หนวยระยะทาง/(หนวยเวลา) 2

ตัวอยาง 3.4 ลูกบอลลูกหนึ่งถูกปลอยใหตกลงมาจากระดับความสูง 320 ฟุต และความสูงของลูก


บอลลูกนี้ เมื่อขณะเวลา t วินาทีใด ๆ กําหนดระยะ s  320  16t 2
1. จงหาความเร็วของลูกบอลเมื่อเวลา t  2 วินาที
2. จงหาความเร็วของลูกบอลขณะที่ลกู บอลตกกระทบพื้น
วิธีทํา 1. ความเร็วของลูกบอลขณะเวลา t ใด ๆ คือ
ds
v
dt
d
 (320  16t 2 )
dt
]
 32t ]
ความเร็วของลูกบอลเมื่อเวลา t  2 วินาทีคือ v   32(2)   64 ฟุตตอวินาที
119

2. ความเร็วของลูกบอลขณะทีล่ ูกบอลตกกระทบพื้นแสดงวา s  0
0  320  16t 2
16t 2  320
320
t2 
16
t 2  20
t   20

แต t   20 ใชไมไดเพราะ t  0 ได t  20


ขณะที่ t  20 ได v  32 20 ฟุตตอวินาที

3.2 อัตราสัมพัทธ
อัตราสัมพัทธ หมายถึงอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปร 2 ตัวหรือมากกวา 2 ซึ่งมีปญหาอีก
จํานวนมากทีเ่ กี่ยวของกับตัวแปรหลายตัว และแตละตัวแปรเหลานั้นก็เปนฟงกชันของเวลาถาเรา
ทราบคาตัวแปร และอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบางตัวเทียบกับเวลาแลวจะสามารถหาอัตรา
การเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ตองการเทียบกับเวลาไดวิธีการนี้เรียกวา อัตราสัมพัทธ (พัฒนา สีมากุล,
2537 : 31)

ในการแกปญหามีขั้นตอนดังนี้
ขั้นที่ 1 เขียนแผนภาพประกอบปญหา
ขั้นที่ 2 กําหนดตัวแปรแทนปริมาณตาง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงตามเวลา
ขั้นที่ 3 สรางสมการแสดงความสัมพันธของตัวแปรตาง ๆ ซึ่งเปนจริง ณ เวลาใด ๆ
ในชวงเวลาของปญหา
ขั้นที่ 4 หาอนุพันธเทียบกับเวลา จากสมการที่สรางขึ้นในขอ 3
ขั้นที่ 5 แทนคาอัตราการเปลี่ยนแปลงเทียบกับเวลาและตัวแปรทีท่ ราบ แลว
คํานวณสิ่งที่ตองการทราบ

ตัวอยาง 3.5 บอลลูน (ทรงกลม) ลูกหนึง่ จะมีการขยายตัวเมื่อไดรับความรอน ถารัศมีบอลลูนเพิม่ ขึ้น


ในอัตรา 4 นิ้ว/นาที แลวปริมาตรของบอลลูนจะเพิ่มขึน้ ในอัตราเทาไรขณะทีบ่ อลลูนมีรัศมี 50 นิ้ว
วิธีทํา กําหนด v แทนปริมาตรของบอลลูนขณะเวลา t นาที
กําหนด r แทนรัศมีของบอลลูนขณะเวลา t นาที
4 3
สูตรปริมาตรของทรงกลม v  r
3
120

วาดรูปทรงกลมไดดังนี้

4 3
จาก v r
3
dv d 4 
  r 3 
dt dt  3 
4 d
  (r 3 )
3 dt
4 dr
 3r 2
3 dt
dv 4 dr
  3r 2
dt 3 dt
4
  3(50)2(4)
3
 40000

ดังนั้น ปริมาตรบอลลูนเพิม่ ขึ้นในอัตรา 40000 ลูกบาศกนิ้ว/นาที

ตัวอยาง 3.6 เสนผานศูนยกลางและสวนสูงของทรงกระบอก ณ เวลาหนึ่งเปน 10 ฟุต และ 40 ฟุต


ตามลําดับถารัศมีเพิม่ ขึ้นดวยอัตรา 1 ฟุต/ชั่วโมง แลวสวนสูงจะมีอัตราการเปลี่ยนแปลงอยางไรจึงจะ
ทําใหปริมาตรคงเดิม
วิธีทํา กําหนด v แทนปริมาตรของทรงกระบอกขณะเวลา t
กําหนด r แทนรัศมีของทรงกระบอกขณะเวลา t
กําหนด h แทนสวนสูงของทรงกระบอกขณะเวลา t
สูตรปริมาตรของทรงกระบอก v  r 2h
วาดรูปทรงกระบอกไดดังนี้
121

จาก v  r 2h
dv d
 (r 2h )
dt dt
d
  (r 2h )
dt
]
 d d 
  r 2 h  h r 2 
 dt dt 
 dh
  r 2
 dt
dr 
 2hr 
dt 
]
dv  dh dr 
ได   r 2  2hr 
dt  dt dt 
 dh dr 
0   52  (2)(40)(5) 
 dt dt 
 dh
0   52
 dt

 (2)(40)(5)(1)

]
400  25
dh
dt
]
dh
dt
 16 ]
ดังนั้น สวนสูงของทรงกระบอกลดลงในอัตรา 24 ฟุต/ชั่วโมง

ตัวอยาง 3.7 บันไดยาว 50 เมตร วางพิงไวกับผนังซึ่งตัง้ ฉากกับพื้นราบ ถาปลายลางของบันไดเลื่อน


ออกหางจากผนังดวยอัตรา 4 เมตร/วินาที จงหาวาปลายบนของบันไดจะเคลื่อนที่อยางไร ในขณะที่
ปลายลางของบันไดอยูหางจากผนัง 30 เมตร
วิธีทํา กําหนด x แทนระยะหางระหวางผนังถึงปลายลางของบันได ขณะเวลา t
กําหนด y แทนระยะหางระหวางพื้นถึงปลายบนของบันได เวลา t
กําหนด z แทนความยาวของบันได
วาดรูปความสัมพันธไดดังนี้
122

ไดความสัมพันธของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก x 2  y 2  z 2
(30)2  y 2  (50)2
y 2  2500  900 ]
y 2  1600 ]
y   1600 ]
 40 ]
เพราะวา y  0 เพราะฉะนั้น y  40
จาก x 2  y2  z2
d 2 d
(x  y 2 )  (z 2 )
dt dt
d 2 d 2
dt
d
x  y  z2
dt dt
]
2x
dx
dt
 2y
dy
dt
 2z
dz
dt
]
2(30)4  2(40)
dy
dt
0 ]
dy
dt

240
80
]
 3 ]
ดังนั้น ปลายบนของบันไดเคลื่อนทีล่ งดวยอัตรา 3 เมตร/วินาที

ตัวอยาง 3.8 ถังน้ํารูปกรวยกลมสูง 10 ฟุต เสนผานศูนยกลางของปากกรวยยาว 10 ฟุต มีน้ําไหลเขา


สูถังดวยอัตรา 2 ลูกบาศกฟุต/นาที จงหาวาขณะที่น้ําในถังสูง 6 ฟุต ระดับน้ําจะสูงขึ้นดวยอัตราเทาใด
วิธีทํา กําหนด v เปนปริมาตรของน้ําในถังขณะเวลา t
กําหนด x เปนรัศมีของผิวน้ําในถังรูปขณะเวลา t
กําหนด y เปนความสูงของน้ําในถังขณะเวลา t
ปริมาตรทรงกระบอก v  1 r 2h โดยที่ h เปนความสูงของทรงกระบอก
3
วาดรูปความสัมพันธไดดังนี้
123

x r
จากความสัมพันธจะได 
y h
x 5

y 10

x y
1
2
]
1 2
พิจารณาปริมาตรของน้ํา v x y
3
2
1 1 
v    y  y
3  2 


1
12
y 3 ]
1
จาก v y 3
12
dv d 1 
จะได   y 3 
dt dt 12 
dv 1 dy
 3y 2
dt 12 dt
dv
dt
1
 y 2
4
dy
dt
]
() ]
1 dy
2 62
4 dt
2
9

dy
dt
]
2
ดังนั้น ระดับน้ําจะสูงขึ้นดวยอัตรา  ฟุต/นาที
9
124

3.3 สมการเสนสัมผัส และเสนปกติ


สมการเสนตรงทีผ่ านจุด (x 0, y0 ) มีความชันเทากับ m คือสมการ y  y0  m(x  x 0 )
dy
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธไดที่ x  x 0 จะไดวา ที่จุด x  x 0 คือความ
dx
ชันของเสนโคง y  f (x ) ที่ x  x 0 หรือกลาวไดอีกอยางหนึง่ ก็คือสมการของเสนสัมผัสทีส่ ัมผัส
เสนโคง y  f (x ) ที่ x  x 0 คือ y  y0  f (x 0 )(x  x 0 ) (เลิศ สิทธิโกศล, 2541 : 44-46)

ขอสังเกต 3.3
ถา f (x 0 )  0 แลวสมการเสนสัมผัสคือคือ y  y0  f (x 0 )(x  x 0 ) แตถา
f (x 0 )  0 เสนโคง y  f (x ) จะมีเสนสัมผัสเปนเสนขนานกับแกน x

บทนิยาม 4.1
กําหนดให y  f (x ) เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธไดที่จุด P0(x 0, y0 ) เสนตรง
ที่ผานจุด P0(x 0, y0 ) และตั้งฉากกับเสนสัมผัสทีจ่ ุดสัมผัส P0(x 0, y0 ) เรียกวาเสนปกติ
สมการเสนปกติที่ผานจุด P0(x 0, y0 ) คือ x  x 0 ถาเสนสัมผัสอยูในแนวระดับ
1
สําหรับกรณีอื่นสมการคือ y  y0   (x  x 0 ) ถา f (x 0 )  0
f (x 0 )

เสนปกติ
เสนสัมผัส

ภาพประกอบ 3.1 แสดงเสนปกติ และเสนสัมผัส


ที่มา : คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. 2542 : 164
125

ขอสังเกต 3.4
ถา m 0 แทนความชันของเสนสัมผัสจะได  1 แทนความชันของเสนปกติ เพราะเสน
m
ปกติกับเสนสัมผัสตั้งฉากกันความชันคูณกันจึงมีคาเทากับ  1

ตัวอยาง 3.9 จงหาสมการเสนสัมผัส และเสนปกติของเสนโคง y  x 3  2x 2  4 ที่จุด (2, 4)


วิธีทํา จากโจทยกําหนดให f (x )  y  x 3  2x 2  4
จะได f (x )  3x 2  4x
ความชันของเสนตรงทีส่ ัมผัสเสนโคงทีจ่ ุด (2, 4)
คือ f (2)  3(2)2  4(2)
f  2  12  8
4 ]
สมการเสนตรงทีส่ ัมผัสจุด (2, 4) และมีความชันเทากับ 4

คือ y  4  4 x  2 

y  4 x  2  4

 4x  4 ]
เนื่องจากความชันของเสนสัมผัสมีคาเทากับ 4 ดังนั้นความชันของเสนปกติมีคาเทากับ  1
4

ดังนั้น สมาการเสนปกติทผี่ านจุด (2, 4) และความชันมีคาเทากับ  1


4
1
คือ y 4 
4
x  2
1
y 
4
x  2  4
1 2
 x  4
4 4
]
1
 x
4
9
2
]
ดังนั้น สมการเสนสัมผัสคือ y  4x  4 และสมการเสนปกติคือ y   1 x  9
4 2
126

ตัวอยาง 3.10 จงหาสมการเสนสัมผัส และเสนปกติของเสนโคง x 2  3xy  y 2  5 ที่จุด (1,1)


วิธีทํา จากโจทยกําหนดสมการเสนโคง x 2  3xy  y 2  5
d 2 d
จะได
dx

x  3xy  y 2 
dx
5 
d 2 d d
x  3xy  y 2  0
dx dx dx

2x  3
d
dx
dy
(xy)  2y  0
dx
]
 dy
2x  3 x
 dx

dx 
 y   2y
dx 

dy
dx
0 ]
 dy
2x  3 x
 dx


 y   2y


dy
dx
0 ]
2x  3x
dy
dx
 3y  2y
dy
dx
0 ]
3x
dy
dx
 2y
dy
dx
 2x  3y ]
(3x  2y)
dy
dx
 2x  3y ]
dy
dx

(2x  3y )
3x  2y
]
ความชันของเสนตรงทีส่ ัมผัสเสนโคงทีจ่ ุด (1,1)
dy   2(1)  3(1
  
คือ dx  3(1)  2(1)
1,1
 1

สมการสนตรงที่สัมผัสจุด 1,1 และมีความชันเทากับ  1


คือ y  1   1 x  1
y  1  x  1
y  x  2 ]
y x  2 ]
เนื่องจากความชันของเสนสัมผัสมีคาเทากับ  1 ดังนั้นความชันของเสนปกติมีคาเทากับ 1
ดังนั้น สมการเสนปกติที่จุด (1,1) และความชันมีคาเทากับ 1
127

คือ y  1  1 x  1
y 1  x 1
y x  0 ]
ดังนั้น สมการเสนสัมผัสคือ y x  2 และสมการเสนปกติคือ x  y  0

ตัวอยาง 3.11 กําหนดให a เปนจํานวนจริงที่ไมเทากับศูนยจงแสดงวาเสนปกติของเสนโคง


x 2  y 2  a 2 ที่จุด (x 0 , y0 ) ใด ๆ บนเสนโคงนี้ เปนเสนตรงที่ผานจุดกําเนิด
วิธีทํา จากโจทยกําหนดสมการเสนโคง x 2  y 2  a 2
d 2 d 2
จะได
dx

x  y2 
dx
a   
d 2 d
x  y2  0
dx dx
2x  2y
dy
dx
0 ]
dy
dx

x
y
]
x0
เพราะฉะนั้นความชันของเสนสัมผัสที่จุด (x 0, y0 ) เทากับ 
y0
1 y
ดังนั้น ความชันของเสนปกติที่จุด (x 0, y0 ) คือ    0
x x0
 0
y0
สมการเสนปกติของเสนโคงที่ผานจุด (x 0, y0 ) คือ
y0
y  y0  (x  x 0 )
x0

y  y0 
y0
x0
x
y0
x0
x0 ]
y  y0 
y0
x0
x  y0 ]
y
y0
x0
x ]
y0
เนื่องจากสมการ y  x เปนสมการเสนตรงซึ่งผานจุดกําเนิดเสมอ
x0
ดังนั้น เสนปกติของเสนโคง x 2  y 2  a 2 ที่จุด (x 0, y0 ) ใด ๆ เปนเสนตรงทีผ่ านจุดกําเนิด
128

ตัวอยาง 3.12 จงหาสมการเสนตรงทัง้ หมดที่ลากจากจุด P ( 1, 2) มาสัมผัสกับเสนโคง 4xy  1


dy
วิธีทํา ความชันของเสนโคง 4xy  1 ที่จุด (x , y ) ใด ๆ คือ
dx
จาก 4xy  1
d d
ได (4xy)  (1)
dx dx
d d
4 (xy )  (1)
dx dx
 dy
4 x
 dx
dx 
 y   0
dx 
]
4x
dy
dx
 4y  0 ]
dy
dx

y
x
]
ความชันที่ผานจุด (1, 2) และ (x , y ) ใด ๆ มีความชันเทากับ
y 2
m
x 1
แต (1)  (2)
y 2 y
ได 
x 1 x
x y  2  y x  1

xy  2x  xy  y ]
]
2xy  2x  y  0

4xy  4x  2y  0]

แตเนื่องจาก 4xy  1
ได 1  4x  2y  0
1
และ 4x 
y
1
ได 1  2y  0
y
y  1  2y 2  0

2y 2  y  1  0 ]
129

(2y  1)(y  1)  0 ]
1
y  , 1
2
]
1 1
แทนคา y จะไดคา x  ,
2 4
   
เพราะฉะนั้นเสนสัมผัสเสนโคงทีจ่ ุด  1 , 1 และ  1 , 1 
 4   2 2 
 
โดยมีความชันของเสนสัมผัสที่จุด  1 , 1 คือ dy x
   4
 4  dx y

สมการเสนสัมผัสทีผ่ านจุด (1, 2) และมีความชันเทากับ  4 คือ


y  2  4 x  1

y  2  4x  4 ]
y  4x  2  0 ]
 
สวนความชันของเสนสัมผัสที่จุด  1 , 1  คือ dy x
   1
 2 2  dx y

สมการเสนสัมผัสทีผ่ านจุด (1, 2) และมีความชันเทากับ  1 คือ


y  2  1x  1

y  2  x  1 ]
y  x 1  0 ]
3.4 คาสูงสุดคาต่ําสุด และกราฟ
ในหัวขอนี้จะกลาวถึงการหาคาสูงสุด คาต่ําสุดของ ฟงกชันเพิ่ม ฟงกชันลด จุดวิกฤต จุดสูงสุด
สัมพัทธ จุดต่ําสุดสัมพัทธ จุดเปลี่ยนเวา คาวิกฤต คาสูงสุดสัมพัทธ คาต่ําสุดสัมพัทธ คาสูงสุดสัมบูรณ
และคาต่ําสุดสัมบูรณ และนําความรูทงั้ หมดไปชวยในการเขียนกราฟของฟงกชันตาง ๆ (กมล เอกไทย
เจริญ, 2544 : 51)

3.4.1 ฟงกชันเพิ่ม ฟงกชันลด


ฟงกชันเพิม่ คือฟงกชันที่คา y  f (x ) มีคาเพิ่มขึ้นในขณะที่ x มีคาเพิ่มขึ้น สวนฟงกชันลด
คือฟงกชันที่คา y  f (x ) มีคาลดลงในขณะที่ x มีคาเพิ่มขึ้น และฟงกชันคงตัว คือฟงกชันที่คา
130

มีคาคงตัวไมวา x จะมีคาเพิ่มขึ้น หรือลดลงก็ตาม ดังบทนิยาม (คณาจารยภาควิชา


y  f (x )
คณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2542 : 66)

บทนิยาม 3.2
กําหนดให f (x ) เปนฟงกชันตอเนือ่ งบนชวง I
1. ถา f (x1)  f (x2 ) สําหรับทุกคา x1  x2 บนชวง I
เรียก f (x ) วาเปนฟงกชันเพิ่ม บนชวง I
2. ถา f (x1)  f (x2 ) สําหรับทุกคา x1  x2 บนชวง I
เรียก f (x ) วาเปนฟงกชันลดบนชวง I
3. ถา f (x )  0 ในชวง (a, b ) แลว f (x ) เปนฟงกชันคงตัวบนชวง (a, b )

ตัวอยาง 3.13 จงพิจารณาวาฟงกชัน f (x )  x 3 เปนฟงกชันเพิม่ หรือลดบนชวงใด


วิธีทํา กราฟของฟงกชัน f (x )  x 3 เปนดังนี้

จากกราฟจะเห็นวาฟงกชัน f (x )  x 3 นั้น f (x ) มีคาเพิ่มขึน้ เมื่อ x มีคาเพิ่มขึ้นบนชวง


(, ) ดังนั้น f (x )  x 3 เปนฟงกชันเพิม
่ บนชวง (, )
131

ตัวอยาง 3.14 จงพิจารณาวาฟงกชัน f (x )  x 2 เปนฟงกชันเพิม่ หรือลดบนชวงใด


วิธีทํา กราฟของฟงกชัน f (x )  x 2 เปนดังนี้

จากกราฟจะเห็นวา ฟงกชัน f (x )  x 2 นั้น f (x ) มีคาลดลงเมื่อ x มีคาเพิ่มขึ้นบนชวง


(, 0) และ f (x ) มีคาเพิ่มขึ้นเมื่อ x มีคาเพิ่มขึ้นบนชวง (0, ) ดังนั้น f (x )  x 2 เปนฟงกชัน
เพิ่มบนชวง (0, ) และเปนฟงกชันลดบนชวง (, 0)

จากตัวอยางทีผ่ านมานั้นการพิจารณาฟงกชันเพิ่มหรือฟงกชันลดพิจารณาจากกราฟนั้นจะ
คอนขางยากและเสียเวลาในการวาดกราฟ ดังนั้นเราสามารถพิจารณาโดยใชอนุพันธดันดับที่ 1 มาชวย
ในการพิจารณาโดยใชทฤษฎีบทตอไปนี้ (Stein, S.K.& Barcellos, A., 1992 : 131)

ทฤษฎีบท 3.1
กําหนดให f (x ) เปนฟงกชันตอเนือ่ งบนชวง a , b 
 
โดยที่ a,b  R
1. ถา f (x )  0 ทุก ๆ x  (a, b ) แลว f (x ) เปนฟงกชันเพิ่มขึ้นบนชวง a , b 
 
2. ถา f (x )  0 ทุก ๆ x  (a, b ) แลว f (x ) เปนฟงกชันลดลงบนชวง a , b 
132

ตัวอยาง 3.15 จงพิจารณาวาฟงกชัน f (x )  x 3 เปนฟงกชันเพิม่ หรือลดบนชวงใดโดยใชอนุพันธ


อันดับที่หนึง่
วิธีทํา ให f (x )  x 3
ได f (x )  3x 2
เนื่องจาก x 2  0 เสมอ
จะได 3x 2  0
นั้นคือ f (x )  0 ทุก ๆ คา x  0
ดังนั้น f (x )  x 3 เปนฟงกชันเพิม่ บนชวง (, )

ตัวอยาง 3.16 จงพิจารณาวาฟงกชัน f (x )  x 2 เปนฟงกชันเพิม่ หรือลดบนชวงใดโดยใชอนุพันธ


อันดับที่หนึง่
วิธีทํา ให f (x )  x 2
ดังนั้น f (x )  2x
เนื่องจาก x  0 แลว 2x  0 และถา x  0 แลว 2x  0
นั้นคือถา x  0 แลว f (x )  0 และถา x  0 แลว f (x )  0
ดังนั้น f (x )  x 2 เปนฟงกชันเพิม่ บนชวง  0,   และเปนฟงกชันลดบนชวง , 0

คาสูงสุดและคาต่ําสุดของฟงกชัน อุษณีย
อุษณีย ลีรวัฒน (2552 : 47) ไดใหรายระเอียดไวดังบทนิยามตอไปนี้

บทนิยาม 3.3
กําหนดให a และ b เปนคาคงตัวใด ๆ และ f (x ) เปนฟงกชันตอเนือ่ งบนชวง
a , b  และ x  a , b 
  0  
1. ถา f (x 0 )  f (x ) ทุก ๆ คา x อยูในบางชวงเปดที่บรรจุ x 0 แลวจะเรียก f (x )
วามีคาสูงสุดสัมพัทธ หรือ มีคาสูงสุดเฉพาะที่ ที่จุด x 0
2. ถา f (x 0 )  f (x ) ทุก ๆ คา x อยูในบางชวงเปดที่บรรจุ x 0 แลวจะเรียก f (x )
วามีคาต่ําสุดสัมพัทธ หรือ มีคาต่าํ สุดเฉพาะที่ ที่จุด x 0
3. ถา f (x 0 )  f (x ) สําหรับทุก ๆ x  a , b  แลว f (x ) มีคา สูงสุดสัมบูรณ
ที่จุด x 0
4. ถา f (x 0 )  f (x ) สําหรับทุก ๆ x  a , b  แลว f (x ) มีคา ต่ําสุดสัมบูรณ
ที่จุด x 0
133

บทนิยาม 3.4
จุดวิกฤต คือจุด x 0
 Df ซึ่ง f (x 0 )  0 หรือ f (x 0 ) หาคาไมได

จากบทนิยาม 3.3 และบทนิยาม 3.4 คาสูงสุดสัมพัทธคือคาสูงสุดของฟงกชันเมือ่ เทียบกับคา


ใกลเคียง สวนคาต่ําสุดสัมพัทธคือคาต่ําสุดของฟงกชันเมื่อเทียบกับคาใกลเคียง โดยจุดต่ําสุดสัมพัทธ
และสูงสุดสัมพัทธนั้นจะอยูท ี่จุดวิกฤต ซึ่งจุดวิกฤตคือจุด x 0 ที่ f (x 0 )  0 หรือ f (x 0 ) หาคาไมได
(Ross, F.L. Maurice,.W.D. and Frank, G.R, 2001 : 113)

ทฤษฎีบท 3.2
กําหนดให a และ b เปนคาคงตัวใด ๆ ฟงกชัน f (x ) มีอนุพันธบน a , b 
 
และ f (x ) มีคาสูงสุดสัมพัทธ หรือต่ําสุดสัมพัทธที่ x  x 0 เมื่อ a  x 0  b แลว
f (x 0 )  0

ตัวอยาง 3.17 กําหนดกราฟของฟงกชัน y  f (x ) ดังตอไปนี้

ฟงกชัน f (x ) มีอนุพันธบนชวง a , b 
  จะไดวา
f  x 0   0 หรือหาคาไมได f  x 1   0 หรือหาคาไมได
f  x 2   0 หรือหาคาไมได f  x 3   0 หรือหาคาไมได
134

การทดสอบคาสูงสุดหรือต่ําสุดสัมพัทธของฟงกชัน ณ จุดวิกฤต
พลอนันต แสงประสิทธิ์ (2554 : 93) ไดใหรายละเอียดไวดังนี้
ให c เปนคาคงตัวใด ๆ ถา c เปนจุดวิกฤต และ f (c)  0
1. ถา f (x )  0 เมื่อ x1  x  c และ f (x )  0 เมื่อ c  x  x2 แลว f (x )
มีคาสูงสุดสัมพัทธที่ x  c
2. ถา f (x )  0 เมื่อ x1  x  c และ f (x )  0 เมื่อ c  x  x2 แลว f (x )
มีคาต่ําสุดสัมพัทธที่ x  c
3. ถา f (x )  0 บนชวง (x1, x2 ) และเครื่องหมาย f (x ) ไมเปลี่ยนแปลงบนชวง
(x1, x2 ) แลว f (x ) จะไมมีคาสูงสุดหรือต่ําสุดในชวงดังกลาว แสดงไดจากกราฟตอไปนี้

ภาพประกอบ 3.2 แสดงจุดสูงสุดสัมพัทธของฟงกชันบนชวง (x1, x2 )


ที่มา : พลอนันต แสงประสิทธิ.์ 2554 : 93

ภาพประกอบ 3.3 แสดงจุดต่ําสุดสัมพัทธของฟงกชันบนชวง (x1, x2 )


ที่มา : พลอนันต แสงประสิทธิ.์ 2554 : 93
135

ตัวอยาง 3.18 กําหนด f (x )  x 3  3x 2  9x  5 จงหาจุดสูงสุดและจุดต่ําสุดสัมพัทธของ


ฟงกชัน
วิธีทํา f (x )  x 3  3x 2  9x  5
f (x )  3x 2  6x  9
หาจุดวิกฤตให f (x )  0
3x 2  6x  9  0
]
3(x 2  2x  3)  0
3(x  3)(x  1)  0]
x  3,1 ]
แสดงไดดังรูปดังนี้

ดังนั้น f (x ) มี x 3 เปนจุดสูงสุดสัมพัทธของฟงกชันและ มี x  1 เปนจุดต่ําสุดสัมพัทธ

ตัวอยาง 3.19 กําหนด f (x )  x 3  3x 2  3x จงหาจุดสูงสุดและจุดต่ําสุดสัมพัทธของฟงกชัน


วิธีทํา f (x )  x 3  3x 2  3x
f (x )  3x 2  6x  3
หาจุดวิกฤตให f (x )  0
3x 2  6x  3  0
]
3(x 2  2x  1)  0
3(x  1)(x  1)  0]
x  1]

แสดงไดดังรูป

ดังนั้น f (x ) ไมมีจุดสูงสุดและจุดต่ําสุดสัมพัทธ
136

การทดสอบจุดวิกฤตโดยใชอนุพันธอันดับสอง
ถา x  c1 เปนจุดวิกฤตที่ f (c1 )  0 โดยที่ c1  (x1, x2 ) สมมุติวากราฟของฟงกชันมี
ลักษณะ โคงเวาขึ้น (กราฟหงาย) หรืออยูในลักษณะเสนโคงอยูเหนือเสนสัมผัสบนชวง (x1, x2 ) จะ
เห็นวาเมือ่ x เพิ่มขึ้นเสนสัมผัสมีคาความชันเพิ่มขึ้นแสดงวา f (x ) เปนฟงกชันเพิม่ ขึ้นบนชวง
(x1, x2 ) ดังนั้น f (x )  0 บนชวง (x1, x2 ) และที่จุด x  c2 โดยที่ c2  (x1, x2 ) ฟงกชันมีคา
ต่ําสุดสัมพัทธ ในทางกลับกันถากราฟมีลักษณะ โคงเวาลง (กราฟคว่ํา) หรืออยูในลักษณะเสนสัมผัส
อยูเหนือเสนโคงบนชวง (x1, x2 ) จะเห็นวาเมื่อ x เพิ่มขึ้นคาแตคาของ f (x ) ลดลงแสดงวา f (x )
เปนฟงกชันลดลงบนชวง (x1, x2 ) ดังนั้น f (x )  0 บนชวง (x1, x2 ) และที่จุด x  c2 ฟงกชนั มี
คาสูงสุดสัมพัทธ (เฟองฟา ศรีจันทพงศ และคณะ, 2553 : 87)

ภาพประกอบ 3.4 แสดงจุดสูงสุดสัมพัทธโดยใชอนุพันธอันดับที่สองบนชวง x , x  1 2

ที่มา : อุษณีย ลีรวัฒน. 2552 : 51

ภาพประกอบ 3.5 แสดงจุดต่ําสุดสัมพัทธโดยใชอนุพันธอันดับที่สองบนชวง x , x  1 2

ที่มา : อุษณีย ลีรวัฒน. 2552 : 51


137

ทฤษฎีบท 3.3
กําหนดให a,b และ c เปนคาคงตัวใด ๆ ถา f x  เปนฟงกชันตอเนื่องถึงอนุพันธ
อันดับสองบนชวง a , b  ที่มี c อยูแ ละ x  c เปนจุดวิกฤตซึง่ f  c   0 และ
f  x , f  x  หาคาไดทุกคา x ในชวงเปด a , b 
1. ถา f  c   0 แลว f x  มีคาสูงสุดสัมพัทธที่ x  c
2. ถา f  c   0 แลว f x  มีคาต่ําสุดสัมพัทธที่ x  c

หมายเหตุ กรณี f  c   0 สรุปไมไดตองใชอนุพันธอันดับหนึ่ง

บทนิยาม 3.5
จุดเปลี่ยนเวาคือจุดที่เชื่อมระหวางเสนโคงเวาขึ้นกับเวาลง หรือระหวางเสนโคง
เวาลงกับเวาขึ้น

กราฟจะมีจุดเปลี่ยนเวาที่ x  c ถา f  x  เปลี่ยนเครื่องหมายเมื่อ x เปลี่ยนคาผานจุด


x  c จากนอยไปมาก และจุดเปลี่ยนเวาอาจจะเกิดขึ้นที่ x  c เมื่อ f  c   0 ดังรูป (Anton,
Howard, 1995 : 132)

ภาพประกอบ 3.6 แสดงจุดเปลี่ยนเวาของฟงกชัน y  f x 


ที่มา : Anton, Howard. 1995 : 132
138

ทฤษฎีบท 3.4
ให f  x  หาคาไดบนชวงเปด a , b 
ถา f  x   0 สําหรับทุก x  a , b  แลวกราฟจะ เวาขึ้น บนชวงเปด a , b 
ถา f  x   0 สําหรับทุก x  a , b  แลวกราฟจะ เวาลง บนชวงเปด a , b 

ทฤษฎีบท 3.5
ถา f มีจุดเปลี่ยนเวาที่ x  a แลว f  x   0

บทกลับของทฤษฎีบท 3.5 ไมจําเปนตองเปนจริง ตองทดสอบโดยใชทฤษฎีบท 3.4

หมายเหตุ
กรณี f (c ) หาคาไมไดและ f (x ) เปลี่ยนเครื่องหมายเมื่อ x เปลี่ยนแปลงผาน c จาก
นอยไปหามากจะไดวา x  c เปนจุดเปลี่ยนเวาเชนเดียวกัน

ตัวอยาง 3.20 กําหนด f (x )  x 4  2x 3 จงหาจุดเปลี่ยนเวา


วิธีทํา f (x )  x 4  2x 3
f (x )  4x 3  6x 2

f (x )  12x 2  12x ]


หาจุดเปลีย่ นเวาให f (x )  0
12x 2  12x  0

12x (x  1)  0 ]
x  0,1 ]
สามารถตรวจสอบโดยอนุพันธอันดับสอง ดังรูป

ดังนั้น f (x )  x 4  2x 3 อาจมีจุดเปลี่ยนเวาที่ x  0,1


139

ตัวอยาง 3.21 กําหนด f (x )  x 3  3x 2  9x  5 จงหา


1. จุดสูงสุดสัมพัทธ จุดต่ําสุดสัมพัทธ
2. เปนฟงกชันเพิ่มขึ้นบนชวงใด และเปนฟงกชันลดลงบนชวงใด
3. จุดเปลี่ยนเวา
4. ชวงใดที่ลักษณะของกราฟโคงเวาขึ้น และโคงเวาลงบนชวงใด
วิธีทํา f (x )  x 3  3x 2  9x  5
f (x )  3x 2  6x  9

f (x )  6x  6 ]
หาจุดวิกฤตให f (x )  0
3x 2  6x  9  0

3(x 2  2x  3)  0]
3(x  3)(x  1)  0]

x  3,1 ]
1. จุดสูงสุดสัมพัทธ จุดต่ําสุดสัมพัทธ
f ( 3)  6( 3)  6   12  0 ดังนั้น x 3 เปนจุดสูงสุดสัมพัทธ
f (1)  6(1)  6  12  0 ดังนั้น x  1 เปนจุดต่ําสุดสัมพัทธ

2. เปนฟงกชันเพิม่ ขึ้นบนชวงใด และเปนฟงกชันลดลงบนชวงใด


f (x ) เปนฟงกชันเพิม
่ ขึ้นบนชวง f (x )  0 และ f (x ) เปนฟงกชันลดลงบนชวง f (x )  0

แสดงไดดังรูป

ดังนั้น f (x ) เปนฟงกชันเพิ่มขึ้นบนชวง ,  3  1,  


f (x ) เปนฟงกชันลดลงบนชวง x   3, 1
140

3. หาจุดเปลี่ยนเวาให f (x )  0
6x  6  0
6x  6
x  1

สามารถตรวจสอบโดยอนุพันธอันดับสอง ดังรูป

ดังนั้น f (x ) อาจมีจุดเปลี่ยนเวาที่ x 1

4. ชวงใดที่ลักษณะของกราฟโคงเวาขึ้น และโคงเวาลงบนชวงใด
กราฟของ f (x ) จะโคงเวาขึ้นบนชวง f (x )  0 และโคงเวาลงบนชวงใดบนชวง f (x )  0

แสดงไดดังรูป

ดังนั้น กราฟ f (x ) จะโคงเวาลงบนชวง   ,  1


กราฟ f (x ) จะโคงเวาขึ้นบนชวง  1,  

สรุปหลักการเขียนกราฟ
1. หา f (x ) และ f (x )
2. หาจุดวิกฤตจาก f (x )  0 หรือหาคาไมได เพื่อตรวจสอบชวงที่ฟง กชันมีคาเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงคาสูงสุดหรือคาต่ําสุดสัมพัทธ
3. หาคา x ที่ทําให f (x )  0 หรือหาคาไมไดเพื่อตรวจสอบลักษณะการโคงของ
เสนกราฟ และจุดเปลี่ยนเวา
4. เขียนกราฟของฟงกชันโดยใชขอมูลที่ไดจากขัน้ ตอนที่ 1-3
141

ตัวอยาง 3.22 จงวาดกราฟของฟงกชัน f (x )  x 4  2x 3


วิธีทํา f (x )  x 4  2x 3
f (x )  4x 3  6x 2
f (x )  12x 2  12x ]

หาจุดวิกฤตให f (x )  0
4x 3  6x 2  0
x 2(4x  6)  0 ]
3
x  0,
2
แสดงไดดังรูป

ฟงกชันลด ฟงกชันลด ฟงกชันเพิ่ม

หาจุดเปลีย่ นเวาให f  x   0

12x 2  12x  0
12x (x  1)  0
x  0, 1

แสดงไดดังรูป

เวาขึ้น เวาลง เวาขึ้น


142

จากขอมูลทั้งหมดนํามาเขียนกราฟไดดังนี้

ตัวอยาง 3.23 เขียนกราฟของฟงกชัน f (x )  12  12x  x 3


วิธีทํา f (x )  12  12x  x 3
f (x )  12  3x 2
f (x )  6x
หาจุดวิกฤตให f (x )  0
12  3x 2  0
3 (x 2  4)  0
3 (x  2)(x  2)  0
x   2,2

แสดงไดดังรูป

ฟงกชันเพิ่ม ฟงกชันลด ฟงกชันเพิ่ม


143

หาจุดเปลีย่ นเวาให f (x )  0


6x  0
x 0

แสดงไดดังรูป

เวาลง เวาขึ้น

จากขอมูลทั้งหมดนํามาเขียนกราฟไดดังนี้

3.5 หลักเกณฑโลปตาล
หลักเกณฑนเี้ ปนการประยุกตของอนุพันธอีกทางหนึ่ง ซึ่งเปนการนําอนุพันธมาชวยในหาหา
คาลิมิตของฟงกชัน โดยการหาคาลิมิตของฟงกชันนั้นไดกลาวแลวในบทที่ 1 แตการจะใชหลักเกณฑโล
ปตาลนั้นตองผานการเรียนเรื่องอนุพันธของฟงกชันมากอนดวย จึงจะสามารถหาลิมิตโดยใช
หลักเกณฑโลปตาลได และการหาอนุพันธของฟงกชันนั้นไดกลาวถึงในบทที่ 2 ไปแลว การหาลิมิตของ
ฟงกชันโดยใชกฏของโลปตาลนั้น ลิมิตตองอยูใ นรูปแบบที่ไมกําหนดตามบทนิยามตอไปนี้ (อุษณีย
ลีรวัฒน, 2552 : 61)
144

บทนิยาม 3.6
ฟงกชัน f (x ) เปนฟงกชันซึ่งเมื่อ x เขาใกล a แลว f (x ) อยูในรูปแบบใด
รูปแบบหนึง่ ดังตอไปนี้ คือ 0 ,  , 0  ,   , 00, 0 หรือ 1 แลวจะไดวา
0 
lim f (x ) มีรูปแบบที่ไมกําหนด ที่ x  a
x a

f (x )
หลักเกณฑโลปตาลจะชวยใหสามารถคํานวณลิมิตในรูปแบบ lim ในกรณีรปู แบบที่ไม
x a g(x )
กําหนดเมือ่ ตัวเศษ f (x ) และตัวสวน g (x ) เขาใกล 0 ทั้งคูหรือเขาใกล  ทั้งคู ดังทฤษฎีบท
ตอไปนี้ (อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ, 2555 : 71)

ทฤษฎีบท 3.6
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L เปนจํานวนจริง f และ g
เปนฟงกชันที่หาอนุพันธไดบนชวงเปด I โดยที่ g(x )  0 ทุกคาของ x ในชวงเปด I
f (x )
ยกเวนที่ x  a ถา lim f (x )  0 , lim g (x )  0 และ lim L
x a x a x a g (x )
f (x )
แลว lim L
x a g (x )

ทฤษฎีบท 3.7
กําหนดให I เปนชวงเปดทีบ่ รรจุ a , L เปนจํานวนจริง f และ g เปนฟงกชัน
ที่หาอนุพันธไดบนชวงเปด I ถา lim
x a
f (x )   (หรือ  ), lim f (x )  
x a

f (x ) f (x )
(หรือ  ) และ lim L แลว lim L
x a g (x ) x a g (x )

f (x )
จากทฤษฎีบท 1.8 และ 1.9 จะชวยใหสามารถคํานวณลิมิตในรูปแบบ lim ในกรณี
x a g(x )
รูปแบบที่ไมกําหนดไดงายยิ่งขึ้น นั้นหมายถึงวาถาตัวเศษ f (x ) และตัวสวน g (x ) เขาใกล 0 ทั้งคู
145

f (x ) f (x )
หรือเขาใกล  ทั้งคูแลวเราสามารถหา lim โดยการหา lim แทนดังตัวอยาง
x a g(x ) x a g (x )
ตอไปนี้ (สุรวิทย ตันแตงผล และอนุสรณ ชนวีรยุทธ, 2557 : 44)
2
2x  5x
ตัวอยาง 3.24 จงหาคา lim
x 0 x
วิธีทํา พิจารณา lim(2
x 0
x  5x 2 )  0

และ lim x  0
x 0

2
2x  5x
ดังนั้น lim อยูในรูปแบบที่ไมกําหนด
x 0 x
ให f x   2x  5x 2 ได f  x   2  10x

และ g x   x ได g  x   1
f (x ) f (x )
จากหลักเกณฑโลปตาล lim  lim
x a g(x ) x a g (x )
2
2x  5x 2  10x
จะได lim  lim 2
x 0 x x  0 1

2
2x  5x
ดังนั้น lim 2
x 0 x

x 2  7x  12
ตัวอยาง 3.25 จงหาคา lim
x 4 x 4
วิธีทํา พิจารณา lim(
x 4
x 2  7x  12)  0

และ lim(x  4)  0
x 4

x 2  7x  12
ดังนั้น lim อยูในรูปแบบที่ไมกําหนด
x 4 x 4
ให f (x )  x 2  7x  12 ได f (x)  2x  7
และ g (x )  x  4 ได g (x)  1
f (x ) f (x )
จากหลักเกณฑโลปตาล lim  lim
x a g(x ) x a g (x )
x 2  7x  12 2x  7
จะได lim  lim 1
x 4 x 4 x 4 1
x 2  7x  12
ดังนั้น lim 1
x 4 x 4
146

x3  8
ตัวอยาง 3.26 จงหาคา lim
x 2 x  2

วิธีทํา พิจารณา xlim(


2
x 3  8)  0

และ lim (x  2)  0
x 2

x3  8
ดังนั้น lim
x 2 x  2
อยูในรูปแบบที่ไมกําหนด
ให f (x )  x 3  8 ได f (x )  3x 2
และ g (x )  x  2 ได g (x)  1
f (x ) f (x )
จากหลักเกณฑโลปตาล lim  lim
x a g(x ) x a g (x )
x3  8 3x 2
จะได lim
x 2 x  2
 lim
x 2 1
 12

x3  8
ดังนั้น lim
x 2 x  2
 12

x2  4
ตัวอยาง 3.27 จงหาคา lim
x 2 x 3  8

วิธีทํา พิจารณา lim(


x 2
x 2  4)  0

และ lim(x 3  8)  0
x 2

x2  4
ดังนั้น lim
x 2 x 3  8
อยูในรูปแบบที่ไมกําหนด
ให f (x )  x 2  4 ได f (x )  3x 2
และ g (x )  x 3  8 ได g (x)  1
f (x ) f (x )
จากหลักเกณฑโลปตาล lim  lim
x a g(x ) x a g (x )
x2  4 2x 1
จะได lim 3
 lim 2 
x 2 x  8 x 2 3x 3

x2 4 1
ดังนั้น lim 3 
x 2 x  8 3
147

x 3 1
ตัวอยาง 3.28 จงหาคา lim 3
x 1 4x  x  3

วิธีทํา พิจารณา lim(


x 1
x 3  1)  0

และ lim(4x 3  x  3)  0
x 1

x 3 1
ดังนั้น lim
x 1 4x 3  x  3
อยูในรูปแบบที่ไมกําหนด
ให f (x )  x 3  1 ได f (x )  3x 2
และ g (x )  4x 3  x  3 ได g (x )  12x 2  1
f (x ) f (x )
จากหลักเกณฑโลปตาล lim  lim
x a g(x ) x a g (x )
x3 1 3x 2 3
จะได lim  lim 
x 1 4x 3  x  3 x 1 12x 2  1 11

x 3 1 3
ดังนั้น lim 3

x 1 4x  x  3 11

3.6 สรุปทายบทที่ 4
จะเห็นววาอนุพันธนั้นสามารถนําไปประยุกตใชไดในทางวิทยาศาสตรไดหลากหลายสาขา เชน
การเคลื่อนที่ของวัตถุ เราสมารถหาความเร็วและความเรงของการเคลื่อนที่จาก s  f (t ) ซึ่งแทน
สมการการเคลือ่ นที่ สวนความเร็วโดยทั่วไปเราไดจากอัตราสวนระหวางปริมาณการเปลี่ยนแปลงของ
s(ระยะทาง) กับปริมารการเปลี่ยนแปลงของ t (เวลา) แตถาตองการความเร็วชั่วขณะหรือความเร็วที่
s ds
เวลา t ใด ๆ คือ lim ซึ่งแทนดวย ดังนั้นความเร็วของวัตถุเมื่อเวลา t ใด ๆ คือ v  ds
t  0 t dt dt

และความเรงของวัตถุเมือ่ เวลา t ใด ๆ คือ a  dv สําหรับอัตราสัมพัทธเปนการเปลี่ยนแปลงของตัว


dt
แปร 2 ตัวหรือมากกวา 2 ซึ่งมีปญหาอีกจํานวนมากทีเ่ กี่ยวของกับตัวแปรหลายตัว และแตละตัวแปร
เหลานั้นก็เปนฟงกชันของเวลาถาเราทราบคาตัวแปร และอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรบางตัว
เทียบกับเวลาแลวจะสามารถหาอัตราการเปลี่ยนแปลงของตัวแปรที่ตองการเทียบกับเวลาได สมการ
เสนสัมผัสและเสนปกติ ฟงกชันเพิ่มและฟงกชันลด จุดสูงสุดและจุดต่ําสุดเราสามารถหาไดจากอนุพันธ
อันดับที่ 1 และอันดับที่ 2 แลวเราสามารถนําขอมูลที่ไดไปเขียนกราฟของฟงกชัน และอนุพันธนี้ยงั
นําไปชวยหาลิมิตของฟงกชันไดอีกดวยโดยใชหลักเกณฑของโลปตาล ถาหากเราศึกษาการประยุกตใน
ระดับทีส่ ูงขึ้นไปจะเห็นไดชัดเจนวา อนุพันธสามารถนําไปประยุกตกบั วิทยาศาสตรชั้นสูงไดอยาง
มากมาย
148

แบบฝกหัดทายบทที่ 3

1. จงหาความเร็ว(v) ความเรง (a ) เมื่อกําหนด s  f (t ) ณ เวลา t ใดๆ


1.1 s  3t  t  1
2

1.2 s  t  4t  8t
5 2

1.3 s  (2t 6  5t )3
1.4 s  (3t 3  t )(t  1)

2. จงหาความเร็ว(v) ความเรง (a ) เมื่อ t  2 ของ s  f (t ) ในขอที่ 1.

3. วัตถุเคลื่อนที่ในแนวราบมีสมการการเคลื่อนที่ s  t  9t
3 2
 24t จงหา
3.1. จงหา s (ระยะทาง) และ a (ความเรง) เมื่อ v  0
3.2. จงหา s (ระยะทาง) และ v(ความเร็ว) เมื่อ a  0
3.3. เมื่อใดที่ s (ระยะทาง) เพิ่มขึ้น
3.4. เมื่อใดที่ v(ความเร็ว) เพิ่มขึ้น

4. จงใชแสดงวิธีทําเพื่อหาคําตอบ
4.1 บอลลูนลอยสูง 60 เมตร และกําลังลอยขึ้นในแนวดิ่งดวยอัตราเร็วคงตัว 4.5 เมตรตอ
วินาที รถยนตคันหนึ่งแลนในแนวเสนตรงผานใตบอลลูนดวยอัตราเร็ว 20 เมตร/วินาที
ถามวาระยะทางระหวางบอลลูนกับรถยนตเปนไปอยางไร เมื่อเวลาผานไป 1 วินาที
4.2 พิงบันไดยาว 26 ฟุต ไวกับผนังซึ่งตั้งฉากกับพื้นดิน ถาปลายลางของบันไดเลื่อนลงดวย
อัตรา 4 ฟุต/วินาที จงหาวาปลายลางของบันไดจะเคลื่อนทีอ่ ยางไร ในขณะที่ปลายบน
ของบันไดอยูหางจากพื้น 10 ฟุต
4.3 บอลลูนรูปทรงกลม ชายคนหนึ่งปลอยแกสเขาไปในบอลลูนดวยอัตราเร็ว 1000
ลูกบาศกฟุต/วินาที อยากทราบวารัศมีของบอลลูนจะเพิ่มขึน้ เทาไร เมือ่ รัศมีบอลลูนเปน
5 ฟุต
4.4 วัตถุทรงกระบอกสูง 20 เมตรไดมีการขยายตัว ถารัศมีของทรงกระบอกเพิ่มขึ้นดวยอัตรา
3 เมตร/นาที ปริมาตรของทรงกระบอกจะเปลี่ยนแปลงอยางไรในขณะที่รัศมี 10 เมตร
และความสูงคงที่
149

4.5 ดวงไฟแขวนอยูเหนือทางเทา 10 ฟุต และหางจากผนังตึกซึง่ ตั้งฉากกับทางเทา 20 ฟุต


ชายผูหนึ่งสูง 6 ฟุต เดินบนทางเทาเขาหาผนังตึกดวยอัตราเร็ว 2 ฟุต/วินาที จงหาวาใน
ขณะที่เขาอยูหางจากผนังตึก 4 ฟุต เงาศรีษะของเขาจะเคลือ่ นไปบนผนังดวยอัตรา
เทาไร
4.6 ขณะที่เลนวาวอยูทรี่ ะดับสูง 300 เมตรจากพื้นดิน ลมไดพัดพาวาวลอยไปในแนวระดับ
ดวยอัตรา 25 เมตร/วินาที คนเลนวาวจะตองผอนสายปานดวยอัตราความเร็วเทาใดเมื่อ
วาวอยูหางจากตัวเขา 500 เมตร

5. กําหนดให f (x )  x 3  2x 2  5x  3 เปนสมการเสนโคงและ L1 เปนเสนตรงที่สัมผัส


เสนโคงที่จุด x  2 จงหาเสนตรงที่ตงั้ ฉากกับเสนตรง L1 ที่จุด ซึ่ง L1 สัมผัสเสนโคง

6. กําหนดให f (x )  x 3  2x 2  5x  3 จงหาสมการเสนสัมผัสและเสนปกติของเสนโคง
ที่จุด x  1
3
1
7. เสนตรงที่ตงั้ ฉากกับเสนโคง y  x 2  2 ที่จุด (1, 0) ตัดกับเสนตรง y  1
x
ที่จุดใด

8. กําหนด y  f (x ) ดังตอไปนี้
8.1 f (x )  x 2  2x  3 8.2 f (x )  x 3  27x  36
8.3 f (x )  2x 3  3x  3 8.4 f (x )  (x  3)3
8.5 f (x )  x 3  2x 2  x  2 8.6 f (x )  x  3x 3
จงหา
1 จุดสูงสุดสัมพัทธ จุดต่ําสุดสัมพัทธ
2 เปนฟงกชันเพิม่ และเปนฟงกชันลด บนชวงใด
3 จุดเปลี่ยนเวา
4 ชวงใดที่ลักษณะของกราฟโคงเวาขึ้น และโคงเวาลง
5 เขียนกราฟ
150

9. จงหาคาลิมิตทีก่ ําหนดใหตอ ไปนี้โดยใชหลักเกณฑโลปตาล


(x  1)(x  2) (x 2  1)
9.1 lim 9.2 lim
x 1 x  1
x 2 x 2
x 3  2x x 3  4x
9.3 lim 9.4 lim 2
x 0 x x 2 x  4

x 3  3x 2  2x x 3  3x  2
9.5 lim 9.6 lim
x 0 x x 1 x 1
151

บทที่ 4
ฟงกชันหลายตัวแปรและอนุพันธยอย

การศึกษา เรื่องลิมิตและความตอเนื่องของฟงกชัน และอนุพันธของฟงกชัน ในบททีผ่ านมา


นั้นเปนการศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางปริมาณสองปริมาณในลักษณะที่คาของปริมาณหนึ่ง
ขึ้นอยูกับอีกปริมาณหนึ่ง เราจึงแทนความสัมพันธเชนนั้นไดดวยฟงกชันของตัวแปรเพียงหนึ่งตัว แตใน
การศึกษาบางเรือ่ ง อาจมีปริมาณมากกวาสองปริมาณที่เกี่ยวของสัมพันธกันในรูปตาง ๆ ซึง่ ในบทนีจ้ ะ
ไดศึกษาความสัมพันธในรูปทีป่ ริมาณหนึ่งขึ้นอยูก ับปริมาณตาง ๆ หลายปริมาณ เชนปริมาตรของรูป
ทรงกระบอก V  r 2h หรืออาจเขียนอยูในรูปของฟงกชันไดเปนV  f (r, h) ซึ่งจะเรียก
ความสัมพันธในลักษณะนี้วาฟงกชันสองตัวแปรเพราะวาคาของ V (ปริมาตรของรูปทรงกระบอก) จะมี
ความสัมพันธกับตัวแปรอีกสองตัวคือ r (รัศมีของวงกลมที่เปนหนาตัด) และ h (ความสูงของ
ทรงกระบอก) ในการศึกษาฟงกชันของสองตัวแปร เราถือวาโดเมนของฟงกชันเปนเซตของคูอันดับของ
จํานวนจริง สวนฟงกชันหลายตัวแปรนั้นโดยทั่ว ๆ ไปก็เหมือนกับฟงกชันสองตัวแปร ดังนั้นผูเรียนจะ
ไดศึกษาเรื่องฟงกชันสองตัวแปรเสียกอน แลวคอยศึกษาฟงกชันหลายตัวแปรโดยทั่ว ๆ ไป

4.1 ฟงกชนั คาจริงของสองตัวแปรหรือมากกวา


บทนิยามและสัญลักษณของฟงกชันสองตัวแปรหรือฟงกชันหลายตัวแปรมีความคลายคลึงกับ
ฟงกชันตัวแปรเดียวดังจะกลาวบทนิยามตอไปนี้ (คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร
มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2539 : 237)

บทนิยาม 4.1
สัญลักษณ Rn ใชแทนเซตของสิง่ ของ n สิ่งที่เปนอันดับ ของจํานวนจริงนั่นคือ
Rn  (x1 , x2, x3,...xn ) x1  R, x2  R, x 3  R,...xn  R 
และโดยความหมายทางเรขาคณิตจะไดวา
เมื่อ n  1, R คือเสนจํานวนจริง
เมื่อ n  2, R2 (x, y ) x  R, y  R คือระนาบพิกัด
เมื่อ n  3, R 3 (x, y, z ) x  R, y  R, z  R คือปริภูมิสามิติ

หมายเหตุ
เราไมสามารถเขียนความหมายทางเรขาคณิตของ Rn เมื่อ n  3
152

บทนิยาม 4.2
กําหนดให f : D  R โดยที่ D  Rn เรียกฟงกชัน f วาเปน
ฟงกชัน n ตัวแปร x1, x2, x 3,, xn ถาสําหรับจุด (x1, x2, x 3,, xn ) ใด ๆ
ในโดเมน D สามารถหาคา f (x1, x2, x3,, xn ) ไดเพียงคาเดียวเทานั้น
และถา กําหนดให z  f (x1, x2, x3,, xn ) เรียกเซตของ (x1, x2, x 3,, xn )
ซึ่งเปนจํานวนจริงวา โดเมนของฟงกชัน f เขียนแทนดวย Df สวนเซตของ z
ซึ่งเปนจํานวนจริงเรียกวา เรนจของฟงกชัน f เขียนแทนดวย Rf

หมายเหตุ
ในกรณีที่ f เปนฟงกชันของตัวแปร 2 ตัว x, y เรามักจะใชตัวแปร z แทนคาของ f
และเขียนแทนดวย z  f (x , y) ซึ่งในที่นจี้ ะใช z เปนตัวแปรตามของ f
ในกรณีที่ f เปนฟงกชันของตัวแปร 3 ตัว x, y, z เรามักจะใชตัวแปร w แทนคาของ f
และเขียนแทนดวย w  f (x , y, z )

ตัวอยาง 4.1 ให f (x , y)  x 2y  5y 2  3 จงหา f (1, 0), f (2, 3) และ f (3d, c )

วิธีทํา กําหนด f (x , y)  x 2y  5y 2  3
f (1, 0)  12 (0)  5(02 )  3  3

]
f (2, 3)  22 (3)  5(32 )  3  12  45  3  36

f (3d, c)  (3d ) (c)  5(3d )  3  9d c  45d  3]


2 2 2 2

ดังนั้น f (1, 0)   3, f (2, 3)   36 และ f (3d, c)  9d 2c  45d 2  3

x 2  3xy  1
ตัวอยาง 4.2 ให f (x , y )  โดยที่ xy  1 จงหา f (0, 0), f (1, 2) และ f (b, c)
xy  1
x 2  3xy  1
วิธีทํา กําหนดให f (x , y )  โดยที่ xy  1
xy  1
153

02  3(0)(0)  1
f (0, 0)   1
(0)(0)  1

f (1,2) 
12  3(1)(2)  1
(1)(2)  1
4 ]
f (b, c) 
b 2  3(b)(c )  1 b 2  3bc  1
(b)(c)  1

bc  1
]
; bc  0

ตัวอยาง 4.3 กําหนด f (x,y)  1  x 2  y2 จงหา f (1,0) และหา Df


พรอมทั้งเขียนกราฟของ Df
วิธีทํา เนื่องจาก f (x,y)  1  x 2  y2
ดังนั้น f (1, 0)  1  12  02  0
Df พิจาณาไดจาก Df  (x, y) : 1  x 2  y 2  0

หรือ 
Df  (x, y) : x 2  y 2  1 
เขียนกราฟ Df ไดดังนี้

x y

1 1 1
ตัวอยาง 4.4 กําหนดให f (x,y, z)  1  x 2  y2  z 2 จงหาคา f ( , , )
2 2 2

พรอมทั้งหา Df

วิธีทํา เนื่องจาก f (x,y, z)  1  x 2  y2  z 2


154

2 2 2
1 1 1 1 1  1
ดังนั้น f ( ,  , )  1         
2 2 2  2   2   2 

1 1 1
 1  
4 4 4


1
2
]
โดเมนของฟงกชัน 
f  (x, y, z ) : 1  x 2  y 2  z 2  0 
หรือ 
f  (x, y, z ) : x 2  y 2  z 2  1 
ซึ่งเปนรูปทรงกลมตันจุดศูนยกลางอยูที่ (0, 0, 0) และมีรัศมี 1 หนวย
เขียนกราฟ Df ไดดังนี้

x y

y
ตัวอยาง 4.5 กําหนดให f (x , y )  1  x  จงเขียนกราฟของฟงกชัน f
2

พรอมทั้งบอก Df และ Rf

วิธีทํา กําหนดให z  f (x , y )

ดังนั้น z  1  x  y
2
155

หรือ 2z  2x  y  2  0
ซึ่งเปนกราฟของระนาบ ตัดแกน x ที่จุด (1, 0, 0)
ตัดแกน y ที่จุด (0, 2, 0)
ตัดแกน z ที่จุด (0, 0,1)

เขียนกราฟ Df ไดดังนี้

x y

4.2 ลิมิตของฟงกชันสองตัวแปร
ในการศึกษาลิมิตและความตอเนือ่ งของฟงกชัน จําเปนตองทราบความหมายของเซตของจุด
ในระนาบหรืออาณาบริเวณในระนาบที่สําคัญซึ่งจะตองอางอิงถึงบอย ๆ มีดังตอไปนี้คือ (สุชาติ เจริญ
นิตย, 2554 : 103-105)
1) กําหนด A(x 0 , y 0 ) เปนจุดคงที่จุดหนึ่งใน R2 และจุด X (x , y ) เปนจุดใด ๆ ใน R2
ระยะทางระหวางจุดสองจุดคือ XA  (x  x 0 )2  (y  y 0 )2 หรืออาจเขียนแทนดวย
X A

2) กําหนด A(x 0 , y 0 ) เปนจุดคงที่จุดหนึ่งใน R2 และ r เปนจํานวนจริงบวก แผนกลมเปด


ซึ่งมีจุด A เปนจุดศูนยกลางและรัศมี r คือเซต x  R : X A  r  เขียนแทนดวย
สัญลักษณ B (A; r ) ดังภาพ
156

r
A
X
x

ภาพประกอบ 4.1 แสดงเซต B (A; r )


ที่มา : สุชาติ เจริญนิตย. 2554 : 103

กรณีที่ไมกําหนดรัศมีของวงกลม เราจะแทนดวยสัญลักษณ B (A)

3) กําหนดให D  R2 และ A  D จะเรียก A วาจุดภายในของ D ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก


ๆ แผนกลมเปด B (A) ซึ่ง B (A)  D และถาจุดทุกจุดที่อยูใน D เปนจุดภายในของ D จะเรียก
D วาเปนเซตเปด
4) กําหนดให D  R2 และ A  R2 จะเรียก A วาจุดขอบของ D ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก
ๆ แผนกลมเปด B (A) มีจุดอยางนอยหนึ่งจุดซึง่ อยูใน D และมีจุดอยางนอยหนึง่ จุดซึง่ ไมอยูใน D
และถาจุดขอบทุกจุดของ D อยูใน D จะเรียก D วาเปนเซตปด
5) กําหนด D  R2 และ A  R2 จะเรียก A วาจุดลิมิตของ D ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก ๆ
แผนกลมเปด B (A) จะไดวา B(A)  {A}  D  

บทนิยาม 4.3
กําหนดให f เปนฟงกชันสองตัวแปร f : D  R โดยที่ D  R2 เราจะกลาววา
f มีคาลิมิตเทากับจํานวนจริง L ขณะที่ (x , y ) ยางเขาสู จุด (x 0 , y 0 ) ซึ่งแทนดวยสัญลัษณ

lim f (x , y )  L
(x ,y )(x 0 ,y 0 )

ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก  ที่กําหนดใหจะมีจํานวนจริงบวก   0 ที่ทําให


f (x, y )  L   สําหรับทุก ๆ (x , y )  D ซึ่ง 0  (x, y)  (x 0, y0 )  
157

ตัวอยาง 4.6 จงแสดงวา (x,ylim


)(1,2)
(3x  2y)  7

วิธีทํา จะตองแสดงวาสําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก  ที่กําหนดใหจะมีจํานวนจริงบวก   0


ที่ทําให (3x  2y )  7   สําหรับทุก ๆ (x, y )  D ซึ่ง (x, y)  (1,2)  
ดังนั้นจะตองเลือก  ที่เหมาะสม นั่นคือตองเลือก  ที่ทําให (3x  2y )  7  

พิจารณาจากสิง่ ที่ตองการ
(3x  2y )  7  3x  2y  7

 3x  3  2y  4 ]
 (3x  3)  (2y  4) ]
]
 3x  3  2y  4

 3 x 3 2 y 2]

 5 ]


ดังนั้นเราเลือก 
5

สามารถแสดงวิธีทําไดดังนี้คือ
กําหนด 0 เลือก    ดังนั้น 0
5
ให (x , y ) เปนจุดใด ๆ บน R2 โดยที่ (x, y )  (1, 2)
สมมุติให 0  (x, y )  (1,2)  
และ (x , y )  (1,2)  (x  1)2  (y  2)2

ได 0  (x  1)2  (y  2)2  


ดังนั้น
(3x  2y )  7  3x  2y  7

 3x  3  2y  4 ]
 (3x  3)  (2y  4) ]
]
 3x  3  2y  4

 3 x 3 2 y 2]
158

 5 ]
 
 5  
 5 
]
 ]
จึงสรุปไดวา lim 3x  2y  7
(x ,y )(1,2)

บทนิยาม 4.4
กําหนดให f วาเปนฟงกชันสองตัวแปร f : D  R โดยที่ D  R2 และ
(x 0 , y 0 ) เปนจุดลิมิตของ D ถา C เปนเสนโคงใด ๆ ใน R ซึ่งผานจุด (x 0 , y 0 ) จะกลาว
2

วา f มีคาลิมิตเทากับจํานวนจริง L เมื่อ (x , y ) ยางเขาสูจ ุด (x 0 , y 0 ) ตามเสนโคง C ซึ่ง


แทนดวยสัญลัษณ
lim f (x , y )  L
(x ,y )(x 0 ,y 0 )

บน C
ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก  ที่กําหนดใหจะมีจํานวนจริงบวก   0 ที่ทําให
f (x, y )  L   สําหรับทุก ๆ (x , y )  C  D ซึ่ง 0  (x, y)  (x 0, y0 )  

ขอสังเกต 4.1

1. ถา lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
f (x , y )  L จะไดวา lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
f (x , y )  L สําหรับทุกเสนโคง C
บน C
ที่ผานจุด (x 0 , y 0 )

2. ผลจากขอ 1 ถามีเสนโคง C สองเสนคือเสนโคง C 1 และ C 2 ซึ่งตางก็ผานจุด (x 0 , y 0 )


แตถา (x ,y )lim
(x ,y )
f (x , y )  lim f (x , y ) เราสามารถสรุปไดวา lim f (x , y ) ไมมีลิมิต
(x ,y )(x ,y ) (x ,y )(x ,y )
0 0 0 0 0 0

บน C 1 บน C 2
159

y2  x2
ตัวอยาง 4.7 จงแสดงวา lim
(x ,y )(0,0) y 2  x 2
ไมมีลิมิต
วิธีทํา กําหนดให C1 แทนเสนตรง x  0
และ C2 แทนเสนตรง y  0

จะเห็นวา C 1 และ C 2 ซึ่งตางก็เปนเสนตรงทีผ่ านจุด (0, 0) เหมือนกัน

สําหรับจุด (x , y ) ใด ๆ ที่อยูบน C 1 ซึ่ง (x, y )  (0, 0) จะไดวา

y 2  02 y2
lim  lim
(x ,y )(0,0) y 2  02 ( x ,y )(0,0) y 2

บน C 1  lim 1
( x ,y )(0,0)
]
1 ]
สําหรับจุด (x , y ) ใด ๆ ที่อยูบน C 2 ซึ่ง (x, y )  (0, 0) จะไดวา

02  x 2 x 2
lim  lim
(x ,y )(0,0) 02  x 2 (x ,y )(0,0) x 2

บน C 2
 lim  1
(x ,y )(0,0)
]
 1 ]
y2  x 2 y2  x 2
จะเห็นวา lim
(x ,y )(0,0) y 2  x 2
 lim
(x ,y )(0,0) y 2  x 2

บน C 1 บน C 2

y2  x2
ดังนั้น lim
(x ,y )(0,0) y 2  x 2
ไมมีลิมิต

xy
ตัวอยาง 4.8 กําหนดให f (x , y )  เมื่อ (x, y )  (0, 0) จงแสดงวา
x  y2
2

lim
(x ,y )(0,0)
f (x , y ) ไมมีลิมิต
วิธีทํา ให (x, y )  (0, 0) ตามเสนตรงทีผ่ านจุดกําเนิด y  mx แต (x, y )  (0, 0)
x (mx )
ดังนั้น f (x , y ) 
x  (mx )2
2
160

mx 2

x 2  m 2x 2
mx 2
 2
x (1  m 2 )
m

1  m2
m
นั่นคือ lim f (x, y ) 
(x ,y )(0,0) 1  m2
(ตาม y  mx )
จะเห็นวาเมื่อคาของ m เปลี่ยนลิมิตของ f (x, y ) ก็จะเปลี่ยนดวย นั่นคือเมื่อให
(x , y )  (0, 0) ตามเสนตรงที่ตางกันแลว f (x , y ) จะมีคาตางกันไปดวย

ดังนั้น lim
(x ,y )(0,0)
f (x , y ) ไมมีลิมิต

x 2y
ตัวอยาง 4.9 กําหนดให f (x , y )  4 เมื่อ (x, y )  (0, 0) จงหาลิมิตของ f (x , y ) เมื่อ
x  y2
(x , y )  (0, 0) ตามเสนตรง y  mx และตามพาราโบลา y  x 2 และพิจารณาวา f (x , y ) มี
ลิมิตเมื่อ (x, y )  (0, 0) หรือไม
วิธีทํา ให f (x, y )  (0, 0) ตาม y  mx และ (x, y )  (0, 0)
x 2 (mx )
ดังนั้น f (x , y ) 
x 4  (mx )2
mx 3

x 4  m 2x 2
mx 3
 2 2
x (x  m 2 )
mx
 2
x  m2
mx
นั่นคือ (x ,ylim f (x, y )  lim 0 ตาม y  mx
)(0,0) x 0 x  m2
2

ให f (x , y )  (0, 0) ตาม y  x2 และ (x, y )  (0, 0)


x 2 (x 2 )
ดังนั้น f (x , y ) 
x 4  (x 2 )2
x4

x4  x4
161

x4

2x 4
1

2
1
นั่นคือ lim f (x, y )  ตาม y  x 2
(x ,y )(0,0) 2

จะเห็นวาไดคาลิมิตตางกันเมื่อ (x, y )  (0, 0) ในทิศทางที่ตางกัน

ดังนั้น lim
(x ,y )(0,0)
f (x , y ) ไมมีลิมิต

xy 2
ตัวอยาง 4.10 ให f (x , y )  2 เมื่อ (x, y )  (0, 0) จงพิสจู นวา (x ,ylim f (x , y )  0
x  y2 )(0,0)

วิธีทํา ในการที่จะพิสูจนวา (x ,ylim


)(0,0)
f (x , y )  0 นั้นสามารถพิสูจนไดโดยใชนิยามของลิมิต นั่น

คือ จะตองพิสูจนวาเมื่อกําหนด  0 ใด ๆ มาใหจะสามารถหา  0


xy 2
ซึ่งทําให f (x , y )   ถา 0  x 2  y2  
x 2  y2

xy 2
เริ่มตนจาก f (x , y ) 
x 2  y2

เนื่องจาก x  x 2  y2 และ y 2  x2  y2 ดังนั้น


xy 2 x 2  y 2 (x 2  y 2 )
  x 2  y2
x 2  y2 2
x y 2

นั่นคือ ถากําหนดให  0 มาใหจะเลือก   แลวจะทําให f (x , y )  

ถา 0  x 2  y2  
ดังนั้น lim
(x ,y )(0,0)
f (x , y )  0

ในการหาคาลิมิตของ f (x, y ) เมื่อ (x, y )  (0, 0) สามารถทําใหงายขึ้น โดยการใชทฤษฎี


บทของลิมิตเขาชวง ซึ่งจะกลาวถึงโดยไมพสิ ูจน ดังตอไปนี้ (คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะ
วิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2539 : 258)
162

ทฤษฎีบท 4.1
1. (x ,y )lim x  x0 .
(x ,y )0 0

2. (x ,y )lim y  y0 .
(x ,y )0 0

3. (x ,y )lim k  k . เมื่อ k เปนคาคงตัว


(x ,y )0 0

ทฤษฎีบท 4.2
ถา f (x, y ) และ g (x , y ) เปนฟงกชันที่ (x ,y )lim
(x ,y )
f (x , y )  L1 และ
0 0

lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
g (x , y )  L2 แลวจะไดวา
1. (x ,y )lim
(x ,y )
f (x , y )  g (x , y )  L1  L2
0 0

2. lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
f (x , y )  g (x , y )  L1  L2

3. lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
f (x , y )  g (x , y )  L1  L2

4. lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
kf (x , y )  kL1 เมื่อ k เปนคาคงตัว
f (x , y ) L1
5. lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 ) g (x , y )
 เมื่อ L2  0
L2
 n
 L1 เมื่อ n เปนเลขคู และ L1  0

6. (x ,y )lim n
f (x , y )  
(x ,y )0 0 
 n L เมื่อ n เปนเลขคี่
 1

ตัวอยาง 4.11 จงหาคาของ (x ,ylim


)(1,0)
(3xy 2  x 2  5)

วิธีทํา lim (3xy 2  x 2  5) 


(x ,y )(1,0)
lim 3xy 2  lim x 2  lim 5
(x ,y )(1,0) (x ,y )(1,0) (x ,y )(1,0)

 3 lim xy 2  lim x 2  lim 5


(x ,y )(1,0) (x ,y )(1,0) (x ,y )(1,0)
163

3  lim x
(x ,y )(1,0)
 (x ,y )(1,0)

lim y 2  lim x 2  lim 5
(x ,y )(1,0) (x ,y )(1,0)
]
 3(1)(0)  1  5 ]
4 ]
ดังนั้น lim (3xy 2  x 2  5)  4
(x ,y )(1,0)

3
x  2x 2  2xy 2  4y 2
ตัวอยาง 4.12 จงหาคาของ (x ,ylim
)(1,2) xy  3x  2y  6
x 3  2x 2  2xy 2  4y 2 (x 3  2x 2 )  (2xy  4y 2 )
วิธีทํา lim  lim
(x ,y )(1,2) xy  3x  2y  6 (x ,y )(1,2) (xy  3x )  (2y  6)
x 2 (x  2)  2y 2(x  2)
 lim
(x ,y )(1,2) x (y  3)  2(y  3)

 lim
(x 2  2y 2 )(x  2)
(x ,y )(1,2) (x  2)(y  3)
]
 lim
x 2  2y 2
(x ,y )(1,2) y  3
]

lim
(x ,y )(1,2)

lim
x
(x ,y )(1,2)
2
 2y 2

y  3

]

lim x 2  2 lim y 2
(x ,y )(1,2)

lim y  lim 3
(x ,y )(1,2)
(x ,y )(1,2)

(x ,y )(1,2)
]

18
23
]

9
5
]
x 3  2x 2  2xy 2  4y 2 9
ดังนั้น lim 
(x ,y )(1,2) xy  3x  2y  6 5
164

4.3 ความตอเนื่องของฟงกชัน 2 ตัวแปร


ในบททีผ่ านมานั้นเราไดศึกษาเรือ่ งความตอเนื่องของฟงกชัน 1 ตัวแปรไปแลว สวนในหัวขอนี้
เปนการตรวจสอบความตอเนื่องของฟงกชัน 2 ตัวแปรซึ่งสามารถตรวจสอบโดยนิยามซึง่ จะคลาย ๆ
กับฟงกชัน 1 ตัวแปล และในหัวขอนี้จะไดใหนิยามพรอมทั้งตัวอยางการตรวจสอบความตอเนื่องของ
ฟงกชัน 2 ตัวแปร ดังตอไปนี้

บทนิยาม 4.5
ให z  f (x , y) เปนฟงกชันทีห่ าคาไดที่ทุก ๆ จุด (x , y ) ในยานจุด (x 0, y0 )
จะกลาววาฟงกชัน f ตอเนื่องทีจ่ ุด (x 0, y0 ) ถา (x ,y )lim
(x ,y )
f (x , y )  f (x 0 , y 0 )
0 0

จากบทนิยามจะไดวา z  f (x, y) จะตอเนื่องที่ (x , y ) ถาฟงกชัน f สอดคลอง 0 0

กับเงื่อนไขตอไปนี้
1. f (x , y ) หาคาได
0 0

2. lim f (x, y ) มีหรือหาคาได


(x ,y )(x 0 ,y 0 )

3. lim
(x ,y )(x 0 ,y 0 )
f (x , y )  f (x 0 , y 0 )

ถาฟงกชัน f ไมสอดคลองกับเงื่อนไขขอใดขอหนึ่งใน 3 ขอนี้ จะกลาววาฟงกชัน f ไม


ตอเนื่องที่จุด (x 0, y0 )

บทนิยาม 4.6
ถา f ตอเนื่องทุก ๆ จุด (x , y ) ใน S  R2 แลวจะกลาววา
f ตอเนื่องบน S

xy 2
ตัวอยาง 4.13 ให f (x , y )  จงพิจารณาวา f (x , y ) ตอเนื่องที่จุด (0, 0) หรือไม
x 2  y2
วิธีทํา เนื่องจาก f (0, 0) หาคาไมได ดังนั้น f (x , y ) ไมตอเนื่องที่จุด (0, 0)
165

 xy
 ; (x , y )  (0, 0)
ตัวอยาง 4.14 ให f (x , y )   x 2  y 2 จงแสดงวา f ไมตอเนื่องที่จุด (0, 0)
0 ; (x , y )  (0, 0)

วิธีทํา เนื่องจาก f (0, 0)  0
xy
พิจารณา lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2
เมื่อ (x, y )  (0, 0)

ให (x, y )  (0, 0) ตามเสนตรงทีผ่ านจุดกําเนิด y  mx แต (x, y )  (0, 0)


x (mx )
ดังนั้น f (x , y ) 
x  (mx )2
2

mx 2
 2
x  m 2x 2
mx 2
 2
x (1  m 2 )
m

1  m2
m
นั่นคือ lim f (x, y ) 
(x ,y )(0,0) 1  m2
(ตาม y  mx )
จะเห็นวาเมื่อคาของ m เปลี่ยนลิมิตของ f (x, y ) ก็จะเปลี่ยนดวย นั่นคือเมื่อให
(x , y )  (0, 0) ตามเสนตรงที่ตางกันแลว f (x , y ) จะมีคาตางกันไปดวย
นั่นคือ (x ,ylim
)(0,0)
f (x , y ) ไมมีลิมิต

ดังนั้น f (x , y ) ไมตอเนื่องที่ (0, 0)

 xy 2
 ; (x, y )  (0, 0)
ตัวอยาง 4.15 ให f (x , y )   x 2  y 2 จงแสดงวา f ไมตอเนื่องที่จุด (0, 0)
1 ; (x , y )  (0, 0)

วิธีทํา เนื่องจาก f (0, 0)  0
xy 2
และ lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2
0 (จากตัวอยาง 4.10)

ดังนั้น f (x , y ) ไมตอเนื่องที่ (0, 0)


166

 xy 2
 ; (x , y )  (0, 0)
ตัวอยาง 4.16 ให f (x , y )   x 2  y 2 จงแสดงวา f ไมตอเนื่องที่จุด (0, 0)
0 ; (x , y )  (0, 0)

วิธีทํา เนื่องจาก f (0, 0)  0
xy 2
lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2
0 (จากตัวอยาง 4.10)

xy 2
และ lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2
 f (0, 0)

ดังนั้น f (x , y ) ตอเนื่องที่ (0, 0)

4.4 อนุพนั ธยอ ย


ในหัวขอนี้จะกลาวถึงวิธีการหาอนุพันธของฟงกชันของหลายตัวแปร โดยเริม่ จากฟงกชันของ
ตัวแปร 2 ตัว z  f (x , y ) และถาเราใหตัวแปรตัวหนึ่งสมมติวาเปน y มีคาคงตัวแลว f จะ
กลายเปนฟงกชันของตัวแปร 1 ตัวคือ x เทานั้นดังนั้นเราจึงสามารถหาอนุพันธของ f เทียบกับ x
ไดฟงกชันที่ไดใหมนี้เรียกวา อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x และถาเราใหตัวแปรตัวหนึ่งสมมติวา
เปน x มีคาคงตัวแลว f จะกลายเปนฟงกชันของตัวแปร 1 ตัวคือ y เทานั้นดังนั้นเราจึงสามารถ
หาอนุพันธของ f เทียบกับ y ไดฟงกชันที่ไดใหมนี้เรียกวา อนุพันธยอยของ f เทียบกับ y
(Buck, Creighton R., 1978 : 163-164)

บทนิยาม 4.7
ให z  f (x, y ) เปนฟงกชัน 2 ตัวแปร และ (x0, y0 )  Df
อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x ที่จุด (x 0 , y 0 ) คือ
f f (x 0  h, y 0 )  f (x 0 , y 0 )
(x 0 , y 0 )  lim ถาลิมิตหาคาได
x h 0 h
อนุพันธยอยของ f เทียบกับ y ที่จุด (x 0 , y 0 ) คือ
f f (x 0 , y 0  h )  f (x 0 , y 0 )
(x 0 , y 0 )  lim ถาลิมิตหาคาได
y h 0 h
167

หมายเหตุ
การใชสัญลักษณเกี่ยวกับอนุพันธยอยมีหลายแบบเชน (Taylor Angus E.,1972 : 158)
อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x ที่จุด (x 0 , y 0 ) จะใชสัญลักษณ
f z
(x 0, y0 )  fx (x 0, y0 )  f1(x 0, y0 )  D1(x 0, y0 )  (x 0 ,y0 )
x x
อนุพันธยอยของ f เทียบกับ y ที่จุด (x 0 , y 0 ) จะใชสัญลักษณ
f z
(x 0 , y 0 )  fy (x 0 , y 0 )  f2 (x 0 , y 0 )  D2 (x 0 , y 0 )  ( x 0 ,y 0 )
y y

เนื่องจาก fx (x 0 , y 0 ) และ fy (x 0 , y 0 ) เปนคาอนุพันธยอยของฟงกชัน f เมื่อเทียบกับ x


และ y ที่จุด (x 0 , y 0 ) ตามลําดับ ในการหาคา fx (x , y ) และ fy (x , y ) สําหรับอนุพันธยอยเมื่อเทียบ
กับ x และ y ที่จุด (x , y ) ใด ๆ ก็สามารแทนคา x  x 0 และ y  y0 ไดดังตัวอยางตอไปนี้
(สุเทพ ลิ่มอรุณ, 2542 : 78)

f
ตัวอยาง 4.17 กําหนด f (x , y )  2xy  1 จงหา (x , y )
y
วิธีทํา f (x , y )  2xy  1
f f (x , y  h )  f (x , y )
(x , y )  lim
y h 0 h

 lim 
h 0
2x (y  h )  1  [2xy  1]

h

]
2xy  2xh  1  2xy  1
 lim
h 0 h

 lim
h 0
2xh
h
]
 lim 2x
h 0
]
 2x ]
f
ดังนั้น (x , y )  2x
y
168

f
ตัวอยาง 4.18 กําหนด f (x , y )  3x 2y  5x จงหา (x , y ) โดยใชบทนิยาม
x
วิธีทํา f (x , y )  3x 2y  5x
f f (x  h, y )  f (x , y )
(x , y )  lim
x h 0 h

 lim 
h 0
 3(x  h )2 y  5(x  h )  3x 2y  5x 

h
  
]
 lim 
h 0
 3(x 2  2xh  h 2 )y  5(x  h )  3x 2y  5x 

h
   ]
 lim 
h 0
 3x y  6xyh  3h y  5x  5h    3x 2y  5x 

2 2

h
  ]
 lim
h 0
3x 2y  6xyh  3h 2y  5x  5h  3x 2y  5x
h
]
 lim
h 0
6xyh  3h 2y  5h
h
]
 lim
h 0
(6xy  3hy  5)h
h
]
 lim(6xy  3hy  5)
h 0
]
 6xy  5 ]
f
ดังนั้น (x, y )  6xy  5
x

f
ตัวอยาง 4.19 กําหนด f (x , y )  3x 2y  5x จงหา (2,1) โดยใชบทนิยาม
y
วิธีทํา f (x , y )  3x 2y  5x
f f (2,1  h )  f (2,1)
(2,1)  lim
y h  0 h

 lim 
h 0
3(2)2 (1  h )  5(2)   3(2)2 (1)  5(2)

h
  
]
 lim 
h 0
12  12h  10  12  10

h
   ]
169

 lim
12h
h 0 h
]
 lim 12
h 0
]
 12 ]
f
ดังนั้น (2,1)  12
y

สําหรับอนุพันธยอยของฟงกชันของตัวแปรที่มากกวาสองตัวแปรนั้นก็จะคลายกันกับอนุพันธ
ยอยของฟงกชันสองตัวแปรดังจะกลาวในบทนิยามตอไปนี้ (สุกัญญา สนิทวงศ ณ อยุธยา และอนัญญา
อภิชาตบุตร, 2551 : 79)

บทนิยาม 4.8
กําหนดให D  Rn f : D  R และ (x 1, x 2 , x 3 ,..., x n )  D

อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x 1 คือ


f f (x 1  h, x 2, x 3,..., x n )  f (x 1, x 2, x 3,..., x n )
(x 1, x 2 , x 3,..., x n )  lim
x 1 h 0 h

อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x 2 คือ


f f (x 1, x 2  h, x 3,..., x n )  f (x 1, x 2, x 3,..., x n )
(x 1, x 2, x 3,..., x n )  lim
x 2 h 0 h

อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x 3 คือ


f f (x 1, x 2, x 3  h,..., x n )  f (x 1, x 2, x 3,..., x n )
(x 1, x 2, x 3,..., x n )  lim
x 3 h 0 h

 

อนุพันธยอยของ f เทียบกับ x n คือ


f f (x 1, x 2, x 3,..., x n  h )  f (x 1, x 2 , x 3 ,..., x n )
(x 1, x 2, x 3,..., x n )  lim
x n h 0 h
170

จากบทนิยาม และตัวอยางขางตนการหาอนุพันธยอยเทียบแตละตัวแปรเราสามารถคิดเสมือน
วาตัวแปรนั้นเปนตัวแปรที่จะทําการหาอนุพันธเพียงตัวแปรเดียวสวนตัวแปรที่เหลือใหมองเปนคาคงตัว
ดังนั้น สามารถนําทฤษฎีตาง ๆ ของการหาอนุพันธของฟงกชันหนึ่งตัวแปรมาใชแสดงไดเหมือนกันดัง
ตัวอยางตอไปนี้ (Trench William F., 1978 : 112-115)

f f
ตัวอยาง 4.20 กําหนด f (x , y )  3x 2y 3  5x 4  y  12 จงหา (x , y ) และ (x , y )
x y
วิธีทํา กําหนด f (x , y )  3x 2y 3  5x 4  y  12
f 
x
(x, y ) 
x

3x 2y 3  5x 4  y  12 


x
3x 2y 3 

x
5x 4 

x
y

x
12 ]
 6xy 3  20x 3  0  0 ]
 6xy 3  20x 3 ]
f
ดังนั้น (x, y )  6xy 3  20x 3
x

กําหนด f (x , y )  3x 2y 3  5x 4  y  12
f 
y
(x , y ) 
y

3x 2y 3  5x 4  y  12 


y
3x 2y 3 

y
5x 4 

y
y

y
12 ]
 9x 2y 2  0  1  0 ]
 9x 2y 2  1 ]
f
ดังนั้น (x , y )  9x 2y 2  1
y

f f
ตัวอยาง 4.21 กําหนด f (x , y )  (5x 4  xy ) sin 3x 2y 5 จงหา (x , y ) และ (x , y )
x y
วิธีทํา กําหนด f (x , y )  (5x 4  xy ) sin 3x 2y 5
f 
(x , y )  (5x 4  xy) sin 3x 2y 5
y y

 (5x 4  xy )

y
sin 3x 2y 5  sin 3x 2y 5

y
(5x 4  xy ) ]
171

 (5x 4  xy )(cos 3x 2y 5 )

y
3x 2y 5  (sin 3x 2y 5 )(0  x ) ]
 (75x 6y 4  15x 3y 5 ) cos 3x 2y 5  x sin 3x 2y 5 ]
f
ดังนั้น (x , y )  (75x 6y 4  15x 3y 5 ) cos 3x 2y 5  x sin 3x 2y 5
y

กําหนด f (x , y )  (5x 4  xy ) sin 3x 2y 5


f 
(x , y )  (5x 4  xy ) sin 3x 2y 5
x x
 (5x 4  xy )

x

sin 3x 2y 5  (sin 3x 2y 5 ) (5x 4  xy )
x
]
 (5x 4  xy )(cos 3x 2y 5 )

x
3x 2y 5  (sin 3x 2y 5 )(20x 3  y ) ]
 (30x 5y 5  6x 2y 6 ) cos 3x 2y 5  (20x 3  y ) sin 3x 2y 5 ]
f
ดังนั้น  (30x 5y 5  6x 2y 6 ) cos 3x 2y 5  (20x 3  y) sin 3x 2y 5
x

f f
ตัวอยาง 4.22 กําหนด f (x , y )  (x 12  sin 3x 2y 5 )30 จงหา (x , y ) และ (x , y )
x y
วิธีทํา กําหนด f (x , y )  (x 12  sin 3x 2y 5 )30
f  12
 (x  sin 3x 2y 5 )30
y y

 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29


 12
y
(x  sin 3x 2y 5 ) ]

 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29  x 12 
 y


y

sin 3x 2y 5 


]

 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29  0  cos 3x 2y



y
(

3x 2y 5 )


]
 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29  0  (cos 3x 2y)(15x 2y 4 
 
)]

 450x 2y 4 cos 3x 2y(x 12  sin 3x 2y 5 )29 ]


f
ดังนั้น (x , y )  450x 2y 4 cos 3x 2y(x 12  sin 3x 2y 5 )29
y
172

กําหนด f x, y   (x 12  sin 3x 2y 5 )30


f  12
(x, y)  (x  sin 3x 2y 5 )30
x x
 12
 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29 (x  sin 3x 2y 5 )
x

 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29  x 12 
 x


x
(

sin 3x 2y 5 )


]
  
 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29 12x 11  cos 3x 2y (3x 2y 5 )
 x 
]
 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29 12x 11  (cos 3x 2y)(6xy 5 ) ]
 30(x 12  sin 3x 2y 5 )29 12x 11  6xy 5 cos 3x 2y  ]
f
ดังนั้น (x, y )  30(x 12  sin 3x 2y 5 )29 12x 11  6xy 5 cos 3x 2y 
x  

4.5 กฎลูกโซของฟงกชันของตัวแปร 2 ตัว


สําหรับฟงกชัน y  f (x ) การกลาววา f (a ) มีคาหมายความวา f หาอนุพันธไดที่
จุด x  a แตสําหรับฟงกชันหลายตัวแปร z  f (x 1, x 2 , x 3 ,..., x n ) การกลาววา
f
(a , a , a ,..., an ) มีคา ทุก i ไมไดหมายความวา f หาอนุพันธไดที่จุด (a1, a 2 , a 3 ,..., an )
x i 1 2 3
ทั้งนี้เพราะอนุพันธยอยของฟงกชันเทียบแตละตัวแปรเปรียบเทียบไดกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ฟงกชันขณะที่ตัวแปรนั้นเปลี่ยนแปลงเพียงตัวแปรเดียว ซึ่งความเปนจริงนั้น อัตราการเปลี่ยนแปลง
ของฟงกชันหลายตัวแปรควรพิจารณาขณะที่ทุก ๆ ตัวแปรเปลี่ยนแปลงไปพรอม ๆ กัน
(Taylor Angus E., 1972 : 145)

บทนิยาม 4.9
กําหนดให D  Rn f : D  R และ z  f (x 1, x 2 , x 3 ,..., x n ) เปนฟงก โดย
(x 1, x 2 , x 3 ,..., x n )  D เรากลาววา f หาอนุพันธได ที่จุด (a 1, a 2 , a 3 ,..., a n ) ถา
f
(a , a , a ,..., an ) มีคาทุก i
x i 1 2 3
173

ทฤษฎีบท 4.3
z  f (x , y ) เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธได และสมมติวา x  x (t )
dx dy
และ y  y(t ) เปนฟงกชันที่หาอนุพันธที่ และ หาคาได และตอเนื่อง
dt dt
ดังนั้น z  f x (t ), y(t ) จะเปนฟงกชันทีส่ ามารถหาอนุพันธเทียบกับ t ได
df f dx f dy
และ    
dt x dt y dt

ตัวอยาง 4.23 กําหนด z  f (x , y )  x 3y และ x  3t , y  t 2  1 จงหา df (x, y)


dt
วิธีที่ 1 ใชกฎลูกโซ
ให f (x , y )  x 3
y และ x  3t , y  t 2  1
f f
ได  3x 2y,  x3
x y
dx dy
 3,  2t
dt dt
df f dx f dy
และ  
dt x dt y dt
df
 (3x 2y)3  x 3 2t
dt
 9x 2y  2x 3t ]
 9(3t )2(t 2  1)  2(3t)3 t ]
]
 81t 2(t 2  1)  54t 4

 81t  81t  54t ]


4 2 4

 135t  81t ] 4 2

df
ดังนั้น  135t 4  81t 2
dt
174

วิธีที่ 2 ใชการแทนคา
ให f (x , y )  x y , x  3t , และ y  t 2  1
3

ได f (x , y )  x y
3

 (3t )3(t 2  1)

 27t 3(t 2  1) ]
 27t 5  27t ]3

จาก f x (t ), y(t )  27t 5  27t 3


df d
 (27t 5  27t 3 )
dt dt
df
dt
 135t 4  81t 2 ]
df
ดังนั้น  135t 4  81t 2
dt

ตัวอยาง 4.24 กําหนด z  f (x , y )  xy 2 และ x  cos t , y  sin t จงหา df


dt
วิธีที่ 1 ใชกฎลูกโซ
ให z  f (x , y )  xy และ x  cos t , y  sin t
2

f f
ได  y 2,  2xy
x y
dx dy
  sin t,  cos t
dt dt
df f dx f dy
และ  
dt x dt y dt
df
 y 2 ( sin t )  2xy(cos t )
dt
 (sin t )2 sin t  2(cos t )(sin t )(cos t ) ]
 (sin t )3  2(cos t )2 (sin t ) ]
 2 cos2 t sin t  sin 3 t ]
df
ดังนั้น  2 cos2 t sin t  sin3 t
dt
175

วิธีที่ 2 ใชการแทนคา
ให z  f (x , y )  xy และ x  cos t , y  sin t
2

ได f (x , y )  xy 2

 cos t sin 2 t
จาก f x (t ), y(t )  cos t sin2 t
df d
 cos t sin2 t
dt dt
df
dt
d d
 cos t sin2 t  sin2 t cos t
dt dt
]
 (cos t )2(sin t )(cos t )  sin 2 t ( sin t ) ]
 2 cos2 t sin t  sin 3 t ]
df
ดังนั้น  2 cos2 t sin t  sin3 t
dt

ทฤษฎีบท 4.4
z  f (x , y ) เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธไดและ y  y(x ) เปนฟงกชัน
dy
ที่หาอนุพันธซงึ่ หาคาไดและตอเนื่อง ดังนั้น z  f x , y(x ) เปนฟงกชัน
dx
dz z z dy
ที่สามารถหาอนุพันธเทียบกับ x ได และ   
dx x y dx

ตัวอยาง 4.25 กําหนด u  f x , y   x  y 2 และ y  sin x จงหา du


dx
วิธีทํา จาก u  x  y2
u
1
x
u
y
 2y ]
dy
dx
 cos x ]
du u u dy
จาก  
dx x y dx
du
ดังนั้น  1  2y cos x
dx
176

df
ตัวอยาง 4.26 กําหนด f (x , y )  x 3  xy 2 และ y  tan x จงหา
dx
วิธีทํา จาก f (x , y )  x 3  xy 2
f
 3x 2  y 2
x
f
y
 2xy ]
dy
dx
 sec2 x ]
df f f dy
จาก  
dx x y dx

df
ดังนั้น  (3x 2  y 2 )  2xy sec2 x
dx

ทฤษฎีบท 4.5
กําหนดให z  f (x , y ) เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธ x และ y เปนฟงกชัน
ของตัวแปร 2 ตัว r และ s นั่นคือ x  x (r, s) และ y  y(r , s ) เปนฟงกชันที่
f x y y
, , และ ตอเนื่อง ดังนั้นฟงกชันประกอบ z  f x (r , s ), y(r, s )
r s r s
เปนฟงกชันที่สามารถหาอนุพันธเทียบกับ r และ s ไดและ
z z x z y
   
r x r y r
z z x z y
   
s x s y s

ตัวอยาง 4.27 กําหนด z  f 2x  y, x 2  y 2  โดยที่ f เปนฟงกชันทีห่ าอนุพันธได


z z
จงหา และ
x y
วิธีทํา สามารถเขียนฟงกชันทีก่ ําหนดใหไดใหมเปน
z  f (u, v ) โดยที่ u  2x  y และ v  x 2  y
177

z z u z v
จากกฎลูกโซ  
x u x v x
z u
 fu , 2
u x
z
v
 fy ,
v
x
 2x ]
z
ดังนั้น  2 fu  2xfv
x

z z u z v
จากกฎลูกโซ  
y u y v y
z u
 fu ,  1
u y
z
v
 fy ,
v
y
1 ]
z
ดังนั้น  1fu  1fv  fu  fv
x

4.6 อนุพนั ธยอ ยอันดับสูง


อนุพันธยอยที่กลาวมาแลวเปนอนุพันธยอยอันดับที่หนึง่ ของฟงกชันหลายตัวแปรหลาย ซึง่ จะ
เห็นวาอนุพันธยอยของฟงกชันดังกลาวนั้นยังคงเปนฟงกชันของตัวแปรเดิม ดังนั้นสําหรับฟงกชันของ
ตัวแปร 2 ตัว z  f (x , y ) เราสามารถหา fx และ fy ได และ fx นั้นก็สามารถหาอนุพันธยอย
เทียบกับตัวแปร x และ y ได และในทํานองเดียวกันก็จะสามารถหาอนุพันธยอยของ fy เทียบกับ
ตัวแปร x และ y ไดเชนกัน ซึ่งอนุพันธดังกลาวนี้เรียกวาอนุพันธยอยอันดับสองของ f ซึ่งมีวิธีการ
หาดังนี้ (สุกัญญา สนิทวงศ ณ อยุธยา และอนัญญา อภิชาตบุตร, 2551 : 69)
1. การหาอนุพันธยอยเทียบกับ x สองครั้ง
 2z 2 f   f 
  f   
x 2 x 2
xx
x  x 

2. การหาอนุพันธยอยเทียบกับ y สองครั้ง
 2z 2 f   f 
  f   
y 2 y 2
yy
y  y 
178

3. การหาอนุพันธยอยเทียบกับ y กอน แลวจึงเทียบกับ x


 2z 2 f   f 
  fyx   
x y x y x  y 

4. การหาอนุพันธยอยเทียบกับ x กอน แลวจึงเทียบกับ y


 2z 2 f   f 
  fxy   
y x y x y  x 

 2z  2z
หมายเหตุ อนุพันธยอย และ เรียกวาอนุพันธยอยอันดับทีส่ องแบบผสม
x y y  x

ตัวอยาง 4.28 จงหาอนุพันธยอยอันดับที่สองของ f (x , y )  3x 2y  x 5  3y 4


วิธีทํา จาก f (x , y )  3x y  x  3y
2 5 4

ได fx (x , y )  6xy  5x 4
และ fy (x, y )  3x 2  12y 3

พิจารณา
 
fxx (x , y )  f (x , y )
x  x


x
(6xy  5x 4 ) ]
 6y  20x 3 ]
ดังนั้น fxx (x , y )  6y  20x 3

พิจารณา
 
fyx (x , y )   fy (x , y )
x  



x
(3x 2  12y 3 ) ]
 6x ]
ดังนั้น fyx (x , y )  6x
179

พิจารณา
 
fxy (x , y )  f (x , y )
y  x



y
(6xy  5x 4 ) ]
 6x ]
ดังนั้น fxy (x , y )  6x

พิจารณา
 
fyy (x , y )   fy (x , y )
y  



y
(3x 2  12y 3 ) ]
 36y 2 ]
ดังนั้น fyy (x , y )  36y 2

ตัวอยาง 4.29 จงหาอนุพันธยอยอันดับที่สองของ f (x , y )  e 2x


 sin 3xy 5
วิธีทํา จาก f (x , y )  e  sin 3xy
2x 5

ได fx (x , y )  2e 2 x  3y 5 cos 3xy 5


และ fy (x, y )  15xy 4 cos 3xy 5
พิจารณา
 
fxx (x , y )  f (x , y )
x  x


x
(2e 2x  3y 5 cos 3xy 5 ) ]
 4e 2 x  3y 5 (3y 5 sin 3xy 5 )]

 4e 2 x  9y 10 sin 3xy 5 ]
ดังนั้น fxx (x , y )  4e 2x  9y 10 sin 3xy 5
180

พิจารณา
 
fyx (x , y )  f (x , y )
x  y 



x
(15xy 4 cos 3xy 5 ) ]
 15xy 4

x

(cos 3xy 5 )  cos 3xy 5 15xy 4
x
]
 15xy 4 (3y 5 ( sin 3xy 5 ))  (cos 3xy 5 )(15y 4 ) ]
ดังนั้น fyx (x , y )  45xy 9 sin 3xy 5  15y 4 cos 3xy 5

พิจารณา
 
fxy (x , y )  f (x , y )
y  x



y
(2e 2x  3y 5 cos 3xy 5 ) ]

 2x
y
2e 

y
3y 5 cos 3xy 5 ]
 0  3y 5

y
cos 3xy 5  cos 3xy 5

y
3y 5 ]
 3y 5(15xy 4 sin 3xy 5 )  (cos 3xy 5 )(15y 4 ) ]
 45xy 9 sin 3xy 5  15y 4 cos 3xy 5 ]
ดังนั้น fxy (x , y )  45xy 9 sin 3xy 5  15y 4 cos 3xy 5

พิจารณา
 
fyy (x , y )   fyy (x , y )
y  

 (15xy 4 cos 3xy 5 )
y

 15xy 4
y
 
(cos 3xy 5 )  (cos 3xy 5 ) 15xy 4
y
]
 15xy 4 (15xy 4 sin 3xy 5 )  (cos 3xy 5 )(60xy 3 ) ]
 225x 2y 8 sin 3xy 5  60xy 3 cos 3xy 5 ]
ดังนั้น fyy (x , y )  225x 2y 8 sin 3xy 5  60xy 3 cos 3xy 5
181

จากตัวอยาง 4.28 และ 4.29 จะเห็นวาอนุพันธยอยอันดับทีส่ อง fxy (x, y ) และ fyx (x, y ) มี
คาเทากัน ซึ่งเรามีทฤษฎีบทที่กลาวถึงเงื่อนไขที่อนุพันธยอยแบบผสมจะเทากันดังนี้ (สิริวรรณ ตั้งจิตร
วัฒนะกุล และสมศักดิ์ บุญมาเลิศ, 2542 : 87)

ทฤษฎีบท 5.6
ถา f (x, y) และอนุพันธยอย fx (x , y ), fy (x , y ), fxy (x , y ) และ fyx (x, y )

หาคาไดและตอเนื่องทีจ่ ุด (x 0, y 0 ) แลว fxy (x 0 , y 0 )  fyx (x 0 , y 0 )

เราสามารถนิยามการหาอนุพันธยอยอันดับที่สองและทฤษฎีบททีเ่ กี่ยวของกับการเทากันของ
อนุพันธยอยแบบผสมของฟงกชัน 3 ตัวหรือมากกวา 3 ตัวในทํานองเดียวกัน กําหนดฟงกชันของตัว
แปร 3 ตัว w  f (x , y, z ) จะไดอนุพันธยอยอันดับทีส่ องของฟงกชัน f ดังนี้ (ศรีบุตร แววเจริญ,
2541 : 102)

2 f 2 f 2 f
 fxx (x , y, z ),  fxy (x , y, z ),  fxz (x , y, z )
x 2 y x z x
2 f
y 2
 fyy (x , y, z ),
2 f
x y
 fyx (x , y, z ),
2 f
z y
 fyz (x , y, z ) ]
2 f
z 2
 fzz (x , y, z ),
2 f
y z
 fzy (x , y, z ),
2 f
x z
 fzx (x , y, z ) ]
ทฤษฎีบท 4.7
กําหนดให f เปนฟงกชัน 3 ตัวแปรซึ่ง f  f (x , y, z ) โดยที่อนุพันธยอย
แบบผสมของ fx (x, y, z ), fy (x, y, z ), fz (x, y, z ) หาคาไดและ f (x, y, z ) ตอเนื่องทีจ่ ุด
(x 0 , y 0 , z 0 ) แลว
fxy x 0 , y 0 , z 0   fyx x 0, y 0 , z 0 

]
fxz x 0 , y 0 , z 0   fzx x 0 , y 0 , z 0 

fyz x 0 , y 0 , z 0   fzy x , y , z ]
0 0 0
182

ตัวอยาง 4.30 จงหาอนุพันธยอยอันดับที่สองของ f (x , y, z )  3x 2


yz  yx 5  3y 4  z 2
วิธีทํา จาก f (x , y, z )  3x yz  yx  3y  z
2 5 4 2

จะได fx (x, y, z )  6xyz  5x 4y


fy (x , y, z )  3x 2z  x 5  12y 3

fz (x , y, z )  3x 2y  2z ]
พิจารณา
 
fxx (x , y, z )  f (x , y, z )
x  x


x
(6xyz  5x 4y ) ]
 6yz  20x 3y ]
ดังนั้น fxx (x , y, z )  6yz  20x 3y

พิจารณา
 
fyx (x , y, z )  f (x , y, z )
x  y 



x
(3x 2z  x 5  12y 3 ) ]
 6xz  5x 4 ]
ดังนั้น fyx (x , y, z )  36y 2

พิจารณา
 
fxy (x , y, z )  f (x , y, z )
y  x



y
(6xyz  5x 4y) ]
 6xz  5x 4 ]
ดังนั้น fxy (x , y, z )  6xz  5x 4
183

พิจารณา
 
fyy (x , y, z )  f (x , y, z )
y  y 



y
(3x 2z  x 5  12y 3 ) ]
 36y 2 ]
ดังนั้น fyy (x , y, z )  36y 2

พิจารณา
 
fxz (x , y, z )  f (x , y, z )
z  x


z
(6xyz  5x 4y ) ]
 6xy ]
ดังนั้น fxz (x , y, z )  6xy

พิจารณา
 
fzx (x , y, z )  f (x , y, z )
x  z


x
(3x 2y  2z ) ]
 6xy ]
ดังนั้น fxz  6xy

พิจารณา
 
fyz (x , y, z )  f (x , y, z )
z  y 



z
(3x 2z  x 5  12y 3 ) ]
 3x 2 ]
ดังนั้น fyz (x , y, z )  3x 2
184

พิจารณา
 
fzy (x , y, z )  f (x , y, z )
y  z



y
(3x 2y  2z ) ]
 3x 2 ]
ดังนั้น fzy (x , y, z )  3x 2

พิจารณา
  f (x , y, z )
fzz (x , y, z )   z 
z


z
3x y  2z ]
2

2 ]
ดังนั้น fzz (x , y , z )  2

จากตัวอยางจะเห็นวา fxy (x , y, z )  fyx (x , y, z ), fxz (x , y, z )  fzx (x , y, z ) และ

fyz (x, y, z )  fzy (x , y, z )

จากตัวอยางและทฤษฎีที่ผานมานั้น เราสามารถนิยามอนุพนั ธยอยอันดับที่สงู กวาของฟงกชัน


ที่มีตัวแปรสองตัว หรือมากกวาสองตัวไดในทํานองเดียวกัน ดังตัวอยาง (บัญญัติ สรอยแสง, 2553 :
71-72)

อนุพันธยอยอันดับทีส่ าม
3f    2 f   
เชน fxyz (x , y, z )      f (x , y , z )
 z  y x z  y x  z  xy 

อนุพันธยอยอันดับทีส่ ี่
4 f    3 f   
เชน fyxyz (x , y , z )      f (x , y, z )
 z  y x y z  y x y  z  yxy
 
185

ตัวอยาง 4.31 จงหาอนุพันธยอยอันดับที่สองของ f (x , y, z )  3x y z  x 5 2 5


y  xz 4  yz 2
จงหา fxyz (x, y, z ), fxxyz (x, y, z ), fyzyz (x, y, z ) และ fxzyzx (x, y, z )
วิธีทํา พิจารณา fxyz

จาก f x , y, z   3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2

fx (x , y, z )  (3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2 )
x
 15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ]
fxy (x , y, z ) 

y
(15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ) ]
 30x 4yz  5x 4 ]
fxyz (x , y, z ) 

z
(30x 4yz  5x 4 ) ]
 30x 4y ]
ดังนั้น fxyz (x , y, z )  30x 4y

วิธีทํา พิจารณา fxxyz (x , y, z )

จาก f x , y, z   3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2


fx (x , y, z )  (3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2 )
x
 15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ]
fxx (x , y, z ) 

x
(15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ) ]
 60x 3y 2z  20x 3y ]
fxxy (x , y, z ) 

y
(60x 3y 2z  20x 3y ) ]
 120x 3yz  20x 3 ]
fxxyz (x , y, z ) 

y
(120x 3yz  20x 3 ) ]
 120x 3y ]
ดังนั้น fxxyz (x , y, z )  120x 3y
186

วิธีทํา พิจารณา fyzyz

จาก f x , y, z   3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2


fy (x, y, z )  (3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2 )
x
 6x 5yz  x 5  z 2

fyz (x, y, z ) 

z
(6x 5yz  x 5  z 2 ) ]
 6x 5y  2z

fyzy (x , y, z ) 

y
(6x 5y  2z ) ]
 6x 5

fyzyz (x, y, z ) 

z
(6x 5 ) ]
0
ดังนั้น fyzyz (x , y, z )  0

วิธีทํา พิจารณา fxzyzx (x , y, z )

จาก f x , y, z   3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2


fx (x , y, z )  (3x 5y 2z  x 5y  xz 4  yz 2 )
x
 15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ]
fxz (x , y, z ) 

z
(15x 4y 2z  5x 4y  z 4 ) ]
 15x 4y 2  4z 3 ]
fxzy (x , y, z ) 

y
(15x 4y 2  4z 3 ) ]
 30x 4y ]
fxzyz (x , y, z ) 

z
(30x 4y ) ]
0 ]
fxzyzx (x , y, z ) 

z
(0) ]
0 ]
ดังนั้น fxzyzx  0
187

4.7 สรุปทายบทที่ 4
ในบทนี้นั้นเปนเรื่องของฟงกชันหลายตัวแปรและอนุพันธยอย โดยพื้นฐานเริ่มตนจากฟงกชัน
หลายตัวแปรจากบทนิยาม นั้นคือกําหนดให f : D  R โดยที่ D  Rn เรียกฟงกชัน f วาเปน
ฟงกชัน n ตัวแปร x1, x2, x 3,, xn ถาสําหรับจุด (x1, x 2, x 3,, xn ) ใด ๆ ในโดเมน D
สามารถหาคา f (x1, x2, x3,, xn ) ไดเพียงคาเดียวเทานั้น และถา กําหนดให
z  f (x1, x2, x 3, , xn ) เรียกเซตของ (x1, x 2, x 3,, xn ) ซึ่งเปนจํานวนจริงวา โดเมนของ
ฟงกชัน f เขียนแทนดวย Df สวนเซตของ z ซึ่งเปนจํานวนจริงเรียกวา เรนจของฟงกชัน f เขียน
แทนดวย Rf เพื่อหาโดเมนและเรนจของฟงกชันหลายตัวแปร หลังจากนั้นเปนการหาลิมิตของฟงกชัน
สองตัวแปรจากบทนิยามที่วาถา f มีคาลิมิตเทากับจํานวนจริง L ขณะที่ (x , y ) ยางเขาสู จุด
(x 0 , y 0 ) ซึ่งแทนดวยสัญลัษณ lim f (x , y )  L ก็ตอเมื่อ สําหรับทุก ๆ จํานวนจริงบวก  ที่
(x ,y )(x ,y )
0 0

กําหนดใหจะมีจํานวนจริงบวก   0 ที่ทําให f (x, y )  L   สําหรับทุก ๆ (x, y )  D ซึ่ง


0  (x, y)  (x 0, y0 )  

หรือจะเปนการหาคาลิมิตของฟงกชันสองตัวแปรโดยใชทฤษฎีบทตาง ๆ เพื่อนําไปสูการหา
อนุพันธยอยของฟงกชันกหลายตัวแปรโดยเริม่ จากฟงกชันสองตัวแปรจนถึงฟงกชัน n ตัวแปร พรอม
ทั้งการใชกฎลูกโซในการหาอนุพันธยอย และเรื่องสุดทายคือการหาอนุพันธยอยอันดับสูง
188

แบบฝกหัดทายบทที่ 4

1. กําหนดให f x, y   2x 2y  5y 2  3x  1
1.1 จงหา f 0, 0
1.2 จงหา f 2, 0
1.3 จงหา f 2, 5
1.4 จงหา f x, y  h 
1.5 จงหา f x  h, y 

2 2
2. กําหนดให f x, y   3x y  y โดยที่ xy  2
xy  2
2.1 จงหา f 0, 0
2.2 จงหา f 2, 0
2.3 จงหา f 2, 5
2.4 จงหา f x, y  h 
2.5 จงหา f x  h, y 

3. กําหนดให f x, y   x 2y  y 3 xy  5


3.1 จงหา f 0, 0
3.2 จงหา f 2, 0
3.3 จงหา f 2, 5
3.4 จงหา f x, y  h 
3.5 จงหา f x  h, y 

4. จงหาโดเมนของฟงกชันตอไปนี้พรอมทัง้ เขียนกราฟของโดเมนของแตละฟงกชัน
4.1 f x, y   9  x 2  y 2
4.2 f x, y   x 2  y2  1

5. จงหาลิมิตตอไปนี้
189

5.1 lim 3y 2  x 2y  5
(x ,y )(1,2)

5.2 lim 2xy 2


(x ,y )(0,0)

xy  x
5.3 lim
(x ,y )(2,0) x 2  y 2

x 4  y4
5.4 lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2

6. จงแสดงวาลิมิตของฟงกชันตอไปนี้ไมมีคา
x2  y
6.1 lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 2

xy 3
6.2 lim
(x ,y )(0,0) x 2  y 6

f f
7. กําหนด f x, y  ดังตอไปนี้จงหา
x
x, y  และ
y
x , y  โดยใชบทนิยาม
7.1 f x, y   x 2y  2xy
7.2 f x, y   3xy  x 2y
7.3 f x, y   15x 2y  x 2  2x  y
7.4 f x, y   xy 3  xy  2x 2  y
7.5 f x, y   2y 3  2x 2

f f
8. กําหนด f x, y  ดังตอไปนีจ้ งหา
x
x, y  และ
y
x , y 
8.1 f x, y   15x 2y  x 2  2x  y
8.2 f x, y   xy 3  xy  2x 2  y
8.3 f x, y   xy 3  x 5y  sin2x

8.4 f x, y  

tan xy 3  x 5y 
5x  sin 2x
xy 3  x 5y
8.5 f x, y  
15x 2y  x 2  2x  y
190

9. กําหนด z  f x, y   x  y และ x  cos t , y  cot t จงหา df x, y 


dt

10. กําหนด z  f x , y   x  y 2 และ x  cos t , y  sin t จงหา df x, y 


dt

11. กําหนด z  f x, y   2xy 2 และ x  3t  5 , y  sin t จงหา df x, y 


dt

12. กําหนด z  f x, y   2xy 2 และ x  3t  5 , y  sin t จงหา df x, y 


dt

13. กําหนด f x, y   x 3  xy 2 และ, x  3t  5 , y  sin t จงหา df x, y 


dx
z z
14. จงหา และ กําหนด z  f x  y,2x 2  y 2  โดยที่ f เปนฟงกชันที่หา
x y
อนุพันธได

15. กําหนด f x, y, z   x 10y 2z  11y 5z  xz  x 3 จงหาอนุพันธยอยดังตอไปนี้


15.1 fyz x, y, z 
15.2 fyzz x, y, z 

15.3 fxyz x, y, z 

15.4 fyxzyx x, y, z 

16 กําหนด f x, y, z   e xy  cos x 4y 2z จงหา fyz x, y, z 


187

บรรณานุกรม

กมล เอกไทยเจริญ. (2544). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร : ไฮเอ็ดพับลิชซิง่ .


. (2545). แคลคูลัส 2. กรุงเทพมหานคร : ไฮเอ็ดพับลิชซิ่ง.
กวิยา เนาวประทีป. (2547). เทคนิคการเรียนคณิตศาสตร แคลคูลัสเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร :
ฟสิกสเซ็นเตอร.
กานดา ลือสุทธิวิบลู ย และยุพิน จิรสุขานนท. (2549). สรุปคณิตศาสตร ม.ปลาย. กรุงเทพมหานคร :
เดอะบุคส จํากัด
คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง. (2542). แคลคูลัสและ
เรขาคณิตวิเคราะห 1. พิมพครั้งที่ 8. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
คณาจารยภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน. (2539). แคลคูลัส 2.
พิมพครั้งที่ 3. ขอนแกน : มหาวิทยาลัยขอนแกน.
จํารัส อินสม และประทีป โรจนวิกาต. (2550). คูมือคณิตศาสตรพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เลม 2
ภาคเรียนที่ 2. กรุงเทพมหานคร : แม็ค.
จันทนีย กาญจนะโรจน และชุลี โชติกประคัลภ. (2557). แคลคูลัส 1. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร
: คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ชัยสงคราม เครือหงส. (2544). เอกสารประกอบการสอนรายวิชาแคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห1.
สุราษฎรธานี : มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี.
ดวงใจ ลิ้มอําไพ. (2554). คณิตศาสตรสําหรับคอมพิวเตอร. บุรรี ัมย : คณะวิทยาศาสตรและ
เทคโนโลยี สถาบันราชภัฏบุรีรัมย.
ทัศนีย อารยะตระกูลลิขิต. (2539). แคลคูลัส 1. ขอนแกน : ภาควิชาคณิตศาสตร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท. (2548). อินทิกรัล. กรุงเทพมหานคร : สกายบุกส.
. (2546). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร : สกายบุกส.
บัญญัติ สรอยแสง. (2553). เอกสารประกอบการสอนแคลคูลัสและสมการเชิงอนุพันธสําหรับ
วิทยาศาสตรชีวภาพ. ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
ประเสริฐ ภูเงิน.(2538). คณิตศาสตรพื้นฐาน. บุรีรมั ย : ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ
สถาบันราชภัฏบุรรี ัมย
ปราณี เหรียญกิติวัฒน และลัดดาวัลย เพ็ญสุภา. (2530). คณิตศาสตรทั่วไป. กรุงเทพมหานคร :
สํานักประกายพรึก.
ปยรัตน จาตุรันตบุตร. (2547). หลักการคณิตศาสตร. กรุงเทพมหานคร : ดานสุทธาการพิมพ.
188

พลอนันต แสงประสิทธิ.์ (2554). แนวขอสอบคณิตศาสตร ม. ปลาย. กรุงเทพมหานคร : เดอะบุคส.


พัฒนา สีมากุล. (2537). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร : เจเนอรัลบุคส.
เฟองฟา ศรีจันทพงศ และคณะ. (2553). แคลคูลัส 1. พิมพครั้งที่ 5. ขอนแกน : ภาควิชาคณิตศาสตร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.
ไมตรี ปชาเดชสุวัฒน. (2532). แคลคูลัสเบื้องตน. กรุงเทพมหานคร : ประกอบเมไตร.
มาริสา มัยยะ และวันเพ็ญ จันทรังษี. (2550). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาคณิตศาสตร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2553). พจนานุกรมศัพทคณิตศาสตรฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพครั้งที่ 10.
กรุงเทพมหานคร นานมีบุคสพบั ลิเคชั่นส.
รณชัย มาเจริญทรัพย. (2547). คณิตศาสตรเพิ่มเติมเลม 1. กรุงเทพมหานคร : ภูมิบัณฑิตการพิมพ.
. (2551). คณิตศาสตรเพิ่มเติมเลม 3. กรุงเทพมหานคร : ภูมิบัณฑิตการพิมพ.
เลิศ สิทธิโกศล. (2541). แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห 1. กรุงเทพมหานคร : สกายบุคส.
วิรุฬห บูญสมบัต.ิ (2534). คณิตศาสตรทั่วไป. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
วีระศักดิ์ วาจาบัณฑิตย. (2541). สมการเชิงอนุพันธ. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาคณิตศาสตร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
เวชชัย สังขสาย. (2536). คณิตศาสตรพื้นฐาน. สุรินทร : ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ
วิทยาลัยครูสุรินทร.
ศรีบุตร แววเจริญ. (2541). คณิตศาสตรสําหรับวิศวกรรมและวิทยาศาสตร. กรุงเทพมหานคร
: วงตะวัน.
ศุภกิจ เฉลิมวิสุตมกลุ . (2553). คณิตศาสตรชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. กรุงเทพมหานคร : แม็ค.
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี. (2546). หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร มัธยมศึกษาปที่ 4. กรุงเทพมหานคร
: สํานักพิมพครุ ุสภา.
สิริวรรณ ตั้งจิตรวัฒนะกุล และสมศักดิ์ บุญมาเลิศ. (2542). แคลคูลัสขั้นสูง 1. พิมพครั้งที่ 8.
กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาคณิตศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
สุกัญญา สนิทวงศ ณ อยุธยา และอนัญญา อภิชาตบุตร. (2551). แคลคูลัส 2. กรุงเทพมหานคร :
ไฮเอ็ดพับลิชซิ่ง.
สุรวิทย ตันแตงผล และอนุสรณ ชนวีรยุทธ. (2557). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
สุชาติ เจริญนิตย. (2554). แคลคูลัส 2. พิมพครั้งที่ 9. ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
สุเทพ ลิ่มอรุณ. (2542). แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห 2. เพชรบุรี : มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุร.ี
สมเกียรติ พานอย. (2543). แคลคูลัส 1. ขอนแกน : ภาควิชาคณิตศาสตร
คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน.
189

อัจฉรา ปาจีนบูรวรรณ. (2555). แคลคูลัส 1. กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาคณิตศาสตรและสถิติ


คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.
อุษณีย ลีรวัฒน. (2552). เอกสารประกาอบการสอนรายวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง I. กรุงเทพมหานคร :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.
อุบล กลองกระโทก. (2549). เอกสารคําสอนคณิตศาสตรสําหรับวิทยาศาสตร 2. กรุงเทพมหานคร :
คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
Anton, Howard. (1995). Calculus with analytic geometry. New York :
John Wiley & son.
Ben-Ari, M. (1993). Mathematical Logic for Computer Science. Prentice Hall
International (UK) Ltd.
Buck, Creighton R. (1987). Advanced Calculus. New York : Mcgraw-Hill Book
company Inc.
Combe, H.J. (1971). Set and Symbolic Logic. London : Macmillan Company.
Olmsted, John. M.H. (1962). The Real Number System. New York : Appletion-Century
Crofts
Ross, F.L. Maurice,.W.D. and Frank, G.R. (2001). Calculus with analytic geometry.
New Yok : Addison-wesley.
Stein, S.K.& Barcellos, A. (1992). Calculus and analytic Geometry. McGraw-Hill.
Taylor Angus E. (1972). Advanced Calculus. Lexingtion.
Trench William F. (1978)Advanced Calculus. Harper & Row, Publishers, New York.
Wright,D.F. and New, B.D. (1992). Calulus with Applications. Massachusetts :
D.C Heath.

You might also like