Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

สาขา 

: ไฟฟ้าแขนงไฟฟ้ากําล ัง
วิชา : Electrical Machines
เนือ
 หาวิชา : 34 : Energy sources

ข ้อที 霗� 1 :
พลังงานในข ้อใด ไม่สามารถเปลีย
霗� นรูปเป็ นพลังงานไฟฟ้ าได ้

1 : พลังงานจากแสงอาทิตย์
2 : พลังงานจากปฏิกริ ย ิ าเคมี
3 : พลังงานนํ า
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 2 :
霗� ลิตได ้ในโลก สว่ นใหญ่มาจากการเปลีย
พลังงานไฟฟ้ าทีผ 霗� นรูปของพลังงานรูปใด

1 : พลังงานความร ้อน
2 : พลังงานศักย์
3 : พลังงานแสง
4 : พลังงานลม
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 3 :
อุปกรณ์ทส
ี霗� ามารถผลิตพลังงานไฟฟ้ าต่อไปนี  ข ้อใดมีการทํางานขัน
 ต ้นเป็ นแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ

1 : เทอร์โมคัปเปิ ล
2 : เซลล์แสงอาทิตย์
3 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัส
4 : เซลล์เชือ  เพลิง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 4 :
เครื องกําเนิดไฟฟ้ ากังหันก๊าซเครื องหนึงมีพิกดั  10 MW ถ้าประสิ ทธิภาพของกังหันและเครื องกําเนิดไฟฟ้ าเป็ น 35 และ 85 เปอร์เซนต์ตามลําดับ ปริ มาณความร้อน
เป็ นเมกกะจูลต่อชัวโมง (MJ/h) ทีป้ อนให้กบั ระบบเครื องกําเนิดไฟฟ้ ากังหันก๊าซนีมีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 33.6  MJ/h
2 : 2017  MJ/h
3 : 36000  MJ/h
4 : 121008  MJ/h
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 5 :
การเปลีย
霗� นรูปพลังงานในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าทัง ทีท
霗� ํางานเป็ นมอเตอร์ไฟฟ้ า และเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ า พลังงานในข ้อใดเป็ น
ตัวกลางระหว่าง Energy input กับ Energy output

1 : Electrical energy
2 : Mechanical energy
3 : Magnetic Field energy
4 : Heat energy
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 6 :
霗� งจักรกลไฟฟ้ า พลังงานถูกเก็บไว ้ในสว่ นใดมากทีส
ในเครือ 霗� ด

1 : สเตเตอร์
2 : ช่องว่างอากาศ
3 : โรเตอร์
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2
ข ้อที 霗� 7 :
ข ้อใดเป็ นพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy)

1 : พลังงานนิวเคลียร์
2 : พลังงานจากถ่านหิน
3 : พลังงานจากนํ ามัน
4 : พลังงานจากแสงอาทิตย์
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 8 :
ข ้อใดไม่ได ้เป็ นพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy)

1 : พลังงานลม
2 : พลังงานจากก๊าซธรรมชาติ
3 : พลังงานจากความร ้อนใต ้พิภพ
4 : พลังงานจากแสงอาทิตย์
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 9 :
พลังงานไฟฟ้ า 1 ยูนต
ิ  (kW.h) คิดเป็ นกีจ
霗� ล

1 : 3600 kJ
2 : 60 kJ
3 : 6000 kJ
4 : 16 kJ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 10 :
ถ ้าต ้องการเพิม
霗� อุณหภูมข 霗� ้องการสําหรับเพิม
ิ องนํ า 1 kg ให ้หาค่าพลังงานทีต 霗� อุณหภูมข ี ส ไป
ิ องนํ าจาก 25 องศาเซลเซย
เป็ น 50 องศาเซลเซย ี ส โดยค่าความจุความร ้อนจําเพาะของนํ าเท่ากับ 4190 J/kg.K

1 : 104.75 kJ
2 : 209.5 kJ
3 : 167.6 kJ
4 : 1048.7 kJ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 11 :
ถ ้าต ้องการเพิม
霗� อุณหภูมข 霗� ้องการสําหรับเพิม
ิ องนํ า 1 kg ให ้หาค่ากําลังไฟฟ้ าทีต 霗� อุณหภูมข ี ส
ิ องนํ าจาก 25 องศาเซลเซย
ไปเป็ น 50 องศาเซลเซย ี ส ภายในเวลา 2 นาที โดยค่าความจุความร ้อนจําเพาะของนํ าเท่ากับ 4190 J/kg.K

1 : 873 W
2 : 52.4 W
3 : 1746 W
4 : 436.5 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 12 :
พลังงานไฟฟ้ า 2 ยูนต
ิ  (2 kW.h) คิดเป็ นกีจ
霗� ล

1 : 3600 kJ
2 : 7200 kJ
3 : 6000 kJ
4 : 16 kJ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 13 :
ถ ้าต ้องการเพิม
霗� อุณหภูมข 霗� ้องการสําหรับเพิม
ิ องนํ า 2 kg ให ้หาค่าพลังงานทีต 霗� อุณหภูมข ี ส ไป
ิ องนํ าจาก 25 องศาเซลเซย
เป็ น 50 องศาเซลเซย ี ส โดยค่าความจุความร ้อนจําเพาะของนํ าเท่ากับ 4190 J/kg.K

1 : 104.75 kJ
2 : 209.5 kJ
3 : 167.6 kJ
4 : 1048.7 kJ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

เนือ
 หาวิชา : 35 : Magnetic circuits

ข ้อที 霗� 14 :
กระแสไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า เทียบได ้กับพารามิเตอร์ใดในวงจรแม่เหล็ก

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 15 :

อุปกรณ์ใดทํางานโดยไม่ได ้ใชสนามแม่
เหล็ก

1 : สวิตช์ปมกล (Push button switch)
ุ่
2 : รีเลย์ (Relay)
3 : โซรีนอยด์ (Solenoid)
4 : ไดนาโม (Dynamo)
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 16 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงมีความยาวเฉลียแกนเหล็ก 180 cm. พืนทีหน้าตัดแกนเหล็ก 150 cm2 มีขดลวดจํานวน 200 รอบพันรอบ แกนเหล็ก เมือจ่ายกระแสไฟฟ้ า 1
A เข้าไปในขดลวด มีค่าความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ 2500 จงหาค่าเส้นแรงแม่เหล็กของวงจรแม่เหล็กนี

1 : 4.95 mWb
2 : 3.42 mWb
3 : 4.68 mWb
4 : 5.23 mWb
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 17 :
ตัวเหนีย
霗� วนํ า (inductor) มีจํานวนรอบขดลวดพันบนแกนเหล็กเท่ากับ 20 รอบ และมีคา่  inductance เท่ากับ 0.1 mH ถ ้า
ต ้องการเพิม霗� ค่า inductance เป็ น 0.2 mH ต ้องพันจํานวนรอบขดลวดเพิม
霗� อีกกีร霗� อบ

1 : 20
2 : 15
3 : 12
4 : 8
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 18 :
ถ ้ากําหนดให ้ค่าความต ้านทานแม่เหล็กของวงจรแม่เหล็ก (Reluctance) มีคา่ คงที 霗� ค่าความเหนีย
霗� วนํ าไฟฟ้ าของวงจรแม่
เหล็กจะมีคา่ เปลีย
霗� นแปลงอย่างไร เมือ
霗� จํานวนรอบของขดลวดลดลง 3 เท่า

1 : ลดลง 1/3 เท่า
2 : ลดลง 3 เท่า
3 : ลดลง 9 เท่า
4 : ไม่เปลีย 霗� นแปลง
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 19 :
ผลการเปลีย
霗� นแปลงของตัวเลือกใดทีท ี ของแกนเหล็กในวงจรแม่เหล็กมีการเปลีย
霗� ําให ้ค่าความสูญเสย 霗� นแปลง
1 : ปริมาตรของแกนเหล็ก
2 : นํ าหนักของแกนเหล็ก
3 : แรงเคลือ 霗� นทางแม่เหล็กทีใ霗� ช ้งาน
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 20 :
ึ ซาบแม่เหล็กสม
วงจรแม่เหล็กดังรูป กําหนดให ้ค่าความซม ั พัทธ์เท่ากับ 10,000 พืน
 ทีห ่ ง
霗� น ้าตัดของแกนเหล็กและชอ
อากาศเท่ากับ 25 ตร.ซม. ให ้คํานวณหาค่าความเหนีย霗� วนํ า (Inductance) 

1 : 0.176 H
2 : 0.318 H
3 : 0.425 H
4 : 0.623 H
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 21 :
แกนเหล็กมีความยาวเฉลีย 160 cm พืนทีหน้าตัด 100 cm2 ถ้าขาด้านซ้ายของแกนเหล็กมีขดลวดพันจํานวน 200 รอบ และความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ของแกน
เหล็กเทียบกับอากาศเท่ากับ 2500 จงหาค่าความต้านทานแม่เหล็กของแกนเหล็ก (Reluctance) เมือ 

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 22 :

วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงมีค่า       ถ้าขาด้านซ้ายของแกนเหล็กมีขดลวดพันจํานวน 200 รอบ และมีกระแสไฟฟ้ าไหล 1 A และความซึมซาบ


แม่เหล็กสัมพัทธ์ของแกนเหล็กเทียบกับอากาศเท่ากับ 2500 จงหาค่าเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็ก

1 : 4.8 mWb
2 : 2.6 mWb
3 : 3.9 mWb
4 : 5.7 mWb
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 23 :
ตัวแปรใดทีไ霗� ม่มผ
ี ลต่อการเปลีย
霗� นแปลงของค่าความเหนีย
霗� วนํ าในวงจรแม่เหล็ก

1 : จํานวนรอบของขดลวด
2 : ความยาวเฉลีย 霗� ของแกนเหล็ก
3 : พืน
 ทีห霗� น ้าตัดของแกนเหล็ก
4 : ไม่มคี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4
ข ้อที 霗� 24 :
ี จากกระแสไหลวน ทําได ้อย่างไร
ในการแก ้ปั ญหาความสูญเสย

1 : เพิม
霗� ความต ้านทานในเนือ
 ของแกนเหล็ก
2 : ใช ้แผ่นเหล็กบาง ๆ เคลือบวานิชแล ้วอัดขึน
 เป็ นแกน
3 : ใช ้แผ่นเหล็กบาง ๆ อัดขึน
 เป็ นแกน
4 : มีคําตอบมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 25 :
ขดลวดแกนอากาศขดหนึง霗� มี 5 รอบ เมือ ้
霗� มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 2.5 A เกิดเสนแรงแม่
เหล็กภายในขดลวด 0.1 Wb ความ
เหนีย
霗� วนํ าของขดลวดนีค
 อ

1 : 12.5 H
2 : 0.5 H
3 : 0.3 H
4 : 0.2 H
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 26 :
ั แตนซ ์ 1500 A.t/wb ประกอบด ้วยขดลวดพันอยูจ
วงจรแม่เหล็กหนึง霗� มีคา่ รีลค ่ ํานวน 200 รอบ ถ ้าขดลวดนีไ
 ด ้รับกระแส

ไฟฟ้ า 3 A จากแบตเตอรี 霗� 24 V จงหาค่าเสนแรงแม่ เหล็กทีไ霗� หลอยูใ่ นวงจรแม่เหล็ก และค่าความต ้านทานของขดลวด

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 27 :
กําหนดให ้เครือ ี จากกระแสไหลวน (eddy current loss) 642 W ขณะทํางานที霗�
霗� งจักรกลไฟฟ้ าตัวหนึง霗� มีคา่ กําลังงานสูญเสย
ค่าแรงดันไฟฟ้ า และความถีไ霗� ฟฟ้ าทีพ霗� ก
ิ ด
ั  240 V และ  25 Hz  ตามลําดับ ถ ้าเปลีย ้
霗� นสภาพการทํางานโดยใชความถี ไ霗� ฟฟ้ า
60 Hz และแรงดันไฟฟ้ าซงึ霗� ทําให ้เกิดค่าความหนาแน่นของเสนแรงแม่้ เหล็กเป็ น 62% ของค่าพิกด ั  จงหาค่ากําลังสูญเสย ี
จากกระแสไหลวน

1 : 12.4 kW
2 : 1.42 kW
3 : 14.2 kW
4 : 1.24 kW
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 28 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึง มีขดลวด 2 ชุด พันอยูร่ อบแกนเหล็ก ถ้าขดลวดชุดที 1 มีขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 100 รอบ ส่ วนขดลวดชุดที 2 มีขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 200
รอบ และแกนเหล็กมีค่ารี ลคั แตนซ์ 10,000,000 A.t/Wb ค่าอินดักแตนซ์ร่วม (mutual inductance: M) ของขดลวดสองขดนีมีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 1 mH
2 : 4 mH
3 : 2 mH
4 : 3 mH
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 29 :
เหตุใดแกนเหล็กของอาร์มาเจอร์ (Armature Core) ใน DC Machine จึงต ้องเป็ นแท่งอัดจากแผ่นเหล็กบางอาบฉนวน

1 : เพือ
霗� ลด Copper loss
2 : เพือ 霗� ระบายความร ้อนในแกนเหล็ก
3 : เพือ 霗� เพิม霗� หน ้าสัมผัสของแปรงถ่าน
4 : เพือ 霗� ลด Eddy current loss

คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 30 :
เมือกระตุน้ แกนเหล็กด้วยแรงเคลือนสนามแม่เหล็ก (magnetic field) กับวัสดุแม่เหล็กเฟอร์โร (ferromagnetic material) ปรากฏว่าความสัมพันธ์ระหว่างค่าเส้นแรง
แม่เหล็ก (magnetic flux) กับความเข้มสนามแม่เหล็ก (magnetic field intensity) ในช่วงเพิม และลดแรงเคลือนสนามแม่เหล็กมีค่าไม่เท่ากัน ปรากฏการณ์นีเรี ยกว่า

1 : Magnetization
2 : Saturation region
3 : Magnetic moment
4 : Hyteresis
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 31 :
Input voltage ในวงจรไฟฟ้ าเปรียบเหมือนข ้อใดในวงจรแม่เหล็ก

1 : Reluctance
2 : Magnetic flux
3 : Magneto motive force
4 : Flux density
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 32 :
Current density  ในวงจรไฟฟ้ าเปรี ยบเหมือนข้อใดในวงจรแม่เหล็ก

1 : Reluctance
2 : Magnetic flux density
3 : Permeability
4 : Magnetic field intensity
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 33 :
จงคํานวณหาค่าความเหนีย
霗� วนํ าของขดลวด เมือ
霗� วงจรแม่เหล็กมีรายละเอียดดังนี 

1 : 83.33 mH
2 : 166.67 mH
3 : 16.67 mH
4 : 8.333 mH
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 34 :
ข ้อใดทําให ้ leakage flux ของวงจรแม่เหล็กเพิม
霗� ขึน
 ได ้

1 : โครงสร ้างแม่เหล็กทํางานในช่วงอิม
霗� ตัว
่ าวะอิม
2 : โครงสร ้างแม่เหล็กทํางานในช่วงก่อนเข ้าสูภ 霗� ตัวเป็ นเวลา 25 วินาที
3 : โครงสร ้างแม่เหล็กทํางานในช่วงเชิงเส ้น
4 : โครงสร ้างแม่เหล็กทํางานในช่วงก่อนเข ้าสูภ่ าวะอิม 霗� ตัวเป็ นเวลา 60 วินาที
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 35 :
ความสัมพันธ์ระหว่างความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก และความเข้มสนามแม่เหล็กของวัสดุแม่เหล็กชนิด Ferromagnetic Material ควรมีคุณสมบัติตรงกับข้อใด

1 : ให้ค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กสู ง ทีความเข้มสนามแม่เหล็กตํา
2 : ให้ค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กตํา ทีความเข้มสนามแม่เหล็กสู ง
3 : ให้ค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กสู ง ทีความเข้มสนามแม่เหล็กสู งมากๆ
4 : ให้ค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กตํา ทีความเข้มสนามแม่เหล็กตํามากๆ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1
ข ้อที 霗� 36 :
อากาศจัดเป็ นวัสดุแม่เหล็กชนิดใด

1 : Ferromagnetic Material
2 : Diamagnetic Material
3 : Paramagnetic Material
4 : Amorphous Material
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 37 :
นิยามของตัวเหนีย
霗� วนํ าไฟฟ้ าในวงจรไฟฟ้ า คือข ้อใด

1 : อัตราการเปลีย 霗� นแปลงของกระแสไฟฟ้ าต่อเวลา


2 : อัตราการเปลีย 霗� นแปลงของเส ้นแรงแม่เหล็กต่อเวลา
3 : ค่าเส ้นแรงแม่เหล็กทัง หมดทีเ霗� กีย 霗� วคล ้องในขดลวดหารด ้วยกระแสไฟฟ้ า
4 : จํานวนรอบของขดลวดคูณกับอัตราการเปลีย 霗� นแปลงของเส ้นแรงแม่เหล็กต่อเวลา
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 38 :

กําหนดให ้มีกระแสไฟฟ้ าขนาด 2 A ไหลในขดลวดทําให ้เกิดการกระจายสนามแม่เหล็กดังรูป โดยที 霗� แต่ละเสนแสดงถึ


ค่าเสนแรงแม่ เหล็กเท่ากับ 4 mWb ให ้คํานวณ หาค่าความเหนีย
霗� วนํ าไฟฟ้ าทีเ霗� กิดขึน
 ของขดลวดนี

1 : 0.036 H
2 : 0.024 H
3 : 0.012 H
4 : 0.006 H
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 39 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึง มีขดลวด 2 ชุด พันอยูร่ อบแกนเหล็ก ถ้าขดลวดชุดที 1 มีขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 100 รอบ ส่ วนขดลวดชุดที 2 มีขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 500
รอบ และแกนเหล็กมีค่ารี ลคั แตนซ์ 7,960,000 A.t/Wb ให้คาํ นวณหาค่าความเหนียวนําร่ วม (mutual inductance: M) ของขดลวดชุดที 1 ทีถูกกระทําโดยขดลวดชุดที
2

1 : 0.0063 H
2 : 0.0126 H
3 : 0.0013 H
4 : 0.1 H
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 40 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงมีช่องอากาศ 2 ช่อง ถ้าพืนทีหน้าตัดแกนเหล็กเท่ากับ A ตร.ม. และระยะห่างระหว่างแกนเหล็กเท่ากับ x ม. แกนเหล็กมีค่าซึมซาบแม่เหล็กสูง
มาก ถ้าระยะ x เพิมขึนจากเดิมเป็ น 2 เท่า ค่า Self-inductance ของขดลวดมีค่าเป็ นอย่างไร

1 : เพิม
霗� ขึน  เป็ น 2 เท่า
2 : เพิม 霗� ขึน เป็ น 4 เท่า
3 : ลดลงเป็ น 1/2 เท่า
4 : ลดลงเป็ น 1/4 เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 41 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงมีขดลวดจํานวน 200 รอบต่ออยูก่ บั แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสสลับ 220 V, 50 Hz ถ้าจํานวนรอบของขดลวดเพิมขึนเป็ น 2 เท่าจะต้อง
ปรับให้ค่าของแรงดันไฟฟ้ าทีแหล่งจ่ายมีค่าเท่ากับเท่าใด เพือให้ค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก (B) ยังคงเท่าเดิม

1 : 110 V
2 : 220 V
3 : 440 V
4 : 550 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 42 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงมีแรงเคลือนแม่เหล็ก (Magnetomotive force) เท่ากับ 1000 A.t มีขดลวดพันอยู ่ 100 รอบ ความยาวเฉลียของแกนเหล็กเท่ากับ 20 ซม. พืนที
หน้าตัดของแกนเหล็กเท่ากับ 50 ตร.ซม.ความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์เท่ากับ 1000 และ   จงหาค่าของเส้นแรงแม่เหล็กในแกนเหล็ก

1 : 31.4 mWb
2 : 3.14 mWb
3 : 0.314 mWb
4 : 31.85 mWb
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 43 :
ตัวเหนียวนําสร้างโดยพันขดลวดจํานวน 10 รอบบนแกนเหล็กรู ปวงแหวน (toroidal core) มีพืนทีหน้าตัดเท่ากับ 100 ตารางมิลลิเมตร ความยาวเฉลียของวงจรแม่
เหล็กเท่ากับ 10 เซนติเมตร กําหนดให้ความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ของแกนเหล็กเท่ากับ 5000 จงคํานวณหาค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็กภายในแกนเหล็ก
เมือมีกระแสไฟฟ้ าขนาด 1 A ไหลผ่านตัวเหนียวนํานี และ

1 : 0.121 เทสลา
2 : 0.358 เทสลา
3 : 0.628 เทสลา
4 : 1.12 เทสลา
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 44 :
ตัวเหนียวนําขนาด 10 mH สร้างโดยพันขดลวดบนแกนเหล็กรู ปวงแหวน (toroidal core) มีพืนทีหน้าตัดเท่ากับ 100 ตารางมิลลิเมตร ความยาวเฉลียของวงจรแม่
เหล็กเท่ากับ 10 เซนติเมตร กําหนดให้ความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ของแกนเหล็กเท่ากับ 5000 และ  จงคํานวณหาจํานวนรอบของขด
ลวดทีต้องใช้

1 : 40 รอบ
2 : 105 รอบ
3 : 129 รอบ
4 : 157 รอบ
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 45 :
เมือ
霗� นํ าวัสดุแม่เหล็กแบบ Soft Steel เข ้าใกล ้แม่เหล็กปรากฎว่าวัสดุแม่เหล็กมีความเป็ นแม่เหล็กเกิดขึน
 เราเรียกปรากฎ
การณ์นวี า่ อะไร

1 : การเหนีย 霗� วนํ าแม่เหล็ก


2 : แม่เหล็กถาวร
3 : ความเป็ นแม่เหล็กคงค ้าง
4 : แม่เหล็กไฟฟ้ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 46 :
คุณสมบัตแ
ิ ม่เหล็กจะเกิดกับวัสดุในข ้อใด

1 : เหล็ก
2 : นิเกิล
3 : โคบอล
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 47 :

ทิศทางของเสนแรงแม่
เหล็กรอบตัวนํ าขึน
 อยูก
่ บ
ั ข ้อใด

1 : ทิศทางของกระแสไฟฟ้ า
2 : ขนาดแรงดันไฟฟ้ าทีป
霗� ้ อน
2 : ขนาดแรงดันไฟฟ้ าทีป 霗� ้ อน
3 : ขนาดกระแสไฟฟ้ า
4 : ชนิดของวัสดุตวั นํ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 48 :
ขัว แม่เหล็กของขดลวดหาได ้จากข ้อใด

1 : ขนาดแรงดันไฟฟ้ า
2 : ขนาดกระแสไฟฟ้ า
3 : จํานวนรอบ
4 : ทิศทางของกระแสไฟฟ้ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 49 :
ขนาดแรงเคลือ
霗� นแม่เหล็กของขดลวดขึน
 อยูก
่ บ
ั ข ้อใด

1 : ทิศทางกระแสไฟฟ้ า
2 : กฎมือซ ้าย
3 : ทิศทางเส ้นแรง
4 : ขนาดกระแสไฟฟ้ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 50 :
ขดลวดพันบนแกนอากาศ 20 รอบ มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 2 A จะต ้องทําอย่างไรถ ้าต ้องการให ้แรงเคลือ
霗� นแม่เหล็กเพิม
霗�
ขึน

1 : เพิม
霗� จํานวนรอบ
2 : ลดจํานวนรอบ
3 : ลดกระแสไฟฟ้ า
4 : กลับทิศทางกระแสไฟฟ้ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 51 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึง มีขดลวด 200 รอบพันรอบแกนเหล็กทีมีค่าความซึมซาบแม่เหล็กสัมพัทธ์ 2500 มีพืนทีหน้าตัดเท่ากับ 150 ตารางเซนติเมตร ความยาวเฉลีย
ของวงจรแม่เหล็กเท่ากับ 180 เซนติเมตรเมือจ่ายกระแสไฟฟ้ า 1 A เข้าไปในขดลวด ค่าความต้านทานแม่เหล็ก (Reluctance) ของวงจรแม่เหล็กนีมีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 38,217  A.t/Wb 
2 : 27,638  A.t/Wb
3 : 42,478  A.t/Wb
4 : 21,023  A.t/Wb
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 52 :
ขดลวดพันบนแกนอากาศ   รอบ มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 2 A จะต้องทําอย่างไร ถ้าต้องการให้แรงเคลือนแม่เหล็กเพิมขึน

1 : กลับทิศทางการพันขดลวด
2 : ลดจํานวนรอบ
3 : เพิมกระแสไฟฟ้ า
4 : กลับทิศทางกระแสไฟฟ้ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 53 :
ขดลวดพันบนแกนอากาศ 100 รอบ มีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่าน 5 A จะต ้องทําอย่างไรถ ้าต ้องการให ้แรงเคลือ
霗� นแม่เหล็กลด
ลง

1 : เพิม
霗� จํานวนรอบ
2 : ลดจํานวนรอบ
3 : เพิม 霗� กระแสไฟฟ้ า
4 : กลับทิศทางกระแสไฟฟ้ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2
ข ้อที 霗� 54 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึง มีขดลวด 100 รอบพันรอบแกนเหล็ก ถ้ามีกระแสไฟฟ้ าขนาด 5 A ไหลผ่านขดลวด จะต้องทําอย่างไรถ้าต้องการให้แรงเคลือนแม่เหล็กลด
ลงครึ งหนึง

1 : เพิม
霗� จํานวนรอบเป็ น 200 รอบ และคงทีก 霗� ระแสไฟฟ้ า
2 : ลดจํานวนรอบเป็ น 50 รอบ และคงทีก 霗� ระแสไฟฟ้ า
3 : ลดจํานวนรอบเป็ น 50 รอบ และลดกระแสไฟฟ้ าเป็ น 2.5 A
4 : เพิม 霗� จํานวนรอบเป็ น 200 รอบ และลดกระแสไฟฟ้ าเป็ น 2.5 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 55 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 56 :
เมือนําวัสดุแม่เหล็กชนิด Cast Iron ไปใช้งานทีค่าความหนาแน่นเส้นแรงแม่เหล็ก (B) 0.5 T มีค่าความเข้มสนามแม่เหล็ก 1000 A.t/m วัสดุแม่เหล็กมีค่าความ
ซึมซาบแม่เหล็กเท่ากับเท่าใด

1 : 500
2 : 1.0
3 : 0.001
4 : 0.0005
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 57 :
ี ทีเ霗� กิดขึน
ความสูญเสย  ในแกนเหล็กประกอบด ้วยอะไรบ ้าง

1 : Hysteresis loss และ Eddy current loss
2 : Hysteresis loss และ Copper loss
3 : Eddy current loss และ Copper loss
4 : Copper loss และ Stray load loss
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 58 :
วงจรแม่เหล็กหนึงมีค่า reluctance เท่ากับ 1500 A.t/wb ประกอบด้วยขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 200 รอบ ถ้าขดลวดถูกป้ อนจากแบตเตอรี  24 V มีกระแสป้ อนเข้าใน
สภาวะคงตัวเท่ากับ 3 A จงหาค่ากําลังทีสูญเสี ยในแกนเหล็ก

1 : ศูนย์ W
2 : 36 W
3 : 72 W
4 : 576 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 59 :
วงจรแม่เหล็กหนึงมีค่า reluctance เท่ากับ 1500 A.t/wb ประกอบด้วยขดลวดพันอยูจ่ าํ นวน 200 รอบ ถ้าขดลวดถูกป้ อนจากแบตเตอรี  24 V มีกระแสป้ อนเข้าใน
สภาวะคงตัวเท่ากับ 3 A จงหาค่ากําลังทีสูญเสี ยในขดลวด

1 : ศูนย์ W
2 : 36 W
3 : 72 W
3 : 72 W
4 : 576 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 60 :
ความต้านทานไฟฟ้ า (Resistance) ในวงจรไฟฟ้ าเปรี ยบเหมือนข้อใดในวงจรแม่เหล็ก

1 :  Reluctance
2 :  Magnetic flux
3 :  Permeability
4 :  Magnetic field intensity
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 61 :
ถ้าลดจํานวนรอบของขดลวดลงครึ งหนึง จะทําให้ค่าความเหนียวนํา (Inductance) เป็ นเท่าใด

1 : ลดลง 2 เท่า
2 : ลดลง 4 เท่า
3 : เพิมขึน 2 เท่า
4 : เพิมขึน   เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 62 :
ถ้าเพิมจํานวนรอบของขดลวดขึนสองเท่า จะทําให้ค่าความเหนียวนํา (Inductance) เป็ นเท่าใด

1 : ลดลง 2 เท่า
2 : ลดลง   เท่า
3 : เพิมขึน 2 เท่า
4 : เพิมขึน   เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 63 :
ถ้าเพิมความกว้างของช่องอากาศ (Air-gap) ของวงจรแม่เหล็กทีมีช่องอากาศของขดลวดเหนียวนําโดยยังคงค่ากระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดจะทําให้เกิดอะไรขึน

1 : ค่าความเหนี ยวนําลดลง
2 : ค่าความเหนี ยวนําเพิมขึน
3 : พลังงานทีสะสมในรู ปสนามแม่เหล็กมีค่ามากขึน
4 : ค่าความต้านทานแม่เหล็กมีค่าลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 64 :
ถ้าเพิมความกว้างของช่องอากาศ (Air-gap) ของวงจรแม่เหล็กทีมีช่องอากาศของขดลวดเหนียวนําโดยยังคงค่ากระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดจะทําให้เกิดอะไรขึน

1 : ค่าความต้านทานแม่เหล็กมีค่าลดลง
2 : ค่าความเหนี ยวนําเพิมขึน
3 : ค่าพลังงานทีสะสมในรู ปสนามแม่เหล็กมีค่ามากขึน
4 : ค่าพลังงานทีสะสมในรู ปสนามแม่เหล็กมีค่าลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 65 :
ถ้าเพิมความกว้างของช่องอากาศ (Air-gap) ของวงจรแม่เหล็กทีมีช่องอากาศของขดลวดเหนียวนําโดยยังคงค่าความหนาแน่นสนามแม่เหล็ก (Magnetic flux
density) จะทําให้เกิดอะไรขึน

1 : ค่าความต้านทานแม่เหล็กมีค่าลดลง
2 : ค่าความเหนี ยวนําเพิมขึน
3 : ค่าพลังงานทีสะสมในรู ปสนามแม่เหล็กมีค่ามากขึน
4 : ค่าพลังงานทีสะสมในรู ปสนามแม่เหล็กมีค่าลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 66 :
ถ้าเพิมจํานวนรอบของขดลวดขึนสามเท่า จะทําให้ค่าความเหนียวนํา (Inductance) เป็ นเท่าใด
1 : เพิมขึน 1.3 เท่า
2 : เพิมขึน 3 เท่า
3 :  เพิมขึน 6 เท่า
4 :  เพิมขึน   เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

เนือ
 หาวิชา : 36 : Principles of electromagnetic and electromechanical energy conversion

ข ้อที 霗� 67 :
จาก Lorentz’s force law จงคํานวณหา force (F) ทีเกิดบนลวดตัวนํา ทีมีความยาว l = 20 cm. มีกระแสไหลผ่าน i = 10 A ภายใต้สนามแม่เหล็ก B = 0.2 Tesla ใน
ทิศทางตังฉาก

1 : 0.2 N
2 : 0.4 N
3 : 1.0 N
4 : 2.0 N
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 68 :
ถ้าต้องการให้ลวดตัวนําความยาว 0.5 m สร้างแรงดันไฟฟ้ าขนาด 3 V โดยการตัดผ่านสนามแม่เหล็กทีมีความหนาแน่น B = 1.2 T ในทิศตังฉาก จงหาค่าความเร็ วใน
การเคลือนทีของลวดตัวนํานี

1 : 3 m/s
2 : 5 m/s
3 : 0.2 m/s
4 : 0.3 m/s
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 69 :
ถ้าต้องการให้ลวดตัวนําสร้างแรงดันไฟฟ้ าขนาด 2.5 V โดยการตัดผ่านสนามแม่เหล็กทีมีความหนาแน่น B = 1.2 T ในทิศตังฉากด้วยความเร็ ว 8 m/s จงหาค่าความ
ยาวของลวดตัวนํา

1 : 0.43 m
2 : 0.52 m
3 : 0.26 m
4 : 0.32 m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 70 :

สมการ    มีชือเรี ยกว่าอะไร  เมือ e = แรงเคลือนไฟฟ้ าเหนียวนํา, N = จํานวนรอบของขดลวด,   = เส้นแรงแม่เหล็ก และ t = เวลา

1 : กฏของเลนส์
2 : กฏของฟาราเดย์
3 : กฏของเทสลา
4 : กฏของเมอร์ฟี霗�
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 71 :

เสนลวดยาว 10 เซนติ เมตรวางในแนวราบขนานกับแกน X เคลือ 霗� นทีใ霗� นแนวแกน Y ด ้วยความเร็ว 1 เมตรต่อวินาที ผ่าน
บริเวณทีม ี นามแม่เหล็กสมํา霗� เสมอขนาด 0.5 T ชใี นแนวแกน Z จงคํานวณหาค่าแรงเคลือ
霗� ส 霗� นเหนีย
霗� วนํ าทีเ霗� กิดขีน ้
 บนเสนลวด
นี

1 : 0.05 V
2 : 0.1 V
3 : 1 V
4 : 2 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 72 :

จากหลักการของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า หากเราป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดทีว霗� างอยูภ


่ ายใต ้สนามแม่เหล็กถาวร จะ
จากหลักการของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า หากเราป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดทีว霗� างอยูภ
่ ายใต ้สนามแม่เหล็กถาวร จะ
ทําให ้เกิดอะไรขึน
  และเป็ นหลักการของอะไร

1 : แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ า, มอเตอร์


2 : แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ า, เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
3 : แรงบิด, มอเตอร์
4 : แรงบิด, เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 73 :
ภายในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าตามหลักการปกติ จะมีสนามแม่เหล็กทีเ霗� กิดจากสเตเตอร์และสนามแม่เหล็กทีเ霗� กิดจากโรเตอร์

หากสนามแม่เหล็กของสเตเตอร์หมุนในทิศทางทวนเข็มนาฬกา ขณะที เ霗� ครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากําลังทํางานเป็ นมอเตอร์ จง
หาทิศทางของสนามแม่เหล็กทีเ霗� กิดจากโรเตอร์ และทิศของแรงบิดทางกล

1 : ทัง สนามแม่เหล็กโรเตอร์และทิศของแรงบิด หมุนทวนเข็มนาฬกา ิ
2 : ทัง สนามแม่เหล็กโรเตอร์และทิศของแรงบิดหมุนตามเข็มนาฬกาิ

3 : สนามแม่เหล็กโรเตอร์หมุนตามเข็มนาฬกา แต่ ทศ ิ
ิ ของแรงบิดหมุนทวนเข็มนาฬกา

4 : สนามแม่เหล็กโรเตอร์หมุนทวนเข็มนาฬกา แต่ ทศ ิ ของแรงบิดหมุนตามเข็มนาฬกาิ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 74 :
ภายในเครื องจักรกลไฟฟ้ าตามหลักการปกติ จะมีสนามแม่เหล็กทีเกิดจากสเตเตอร์และสนามแม่เหล็กทีเกิดจากโรเตอร์ หากสนามแม่เหล็กของสเตเตอร์หมุนใน
ทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ขณะทีเครื องจักรกลไฟฟ้ ากําลังทํางานเป็ นเครื องกําเนิดไฟฟ้ า จงหาทิศทางของสนามแม่เหล็กทีเกิดจากโรเตอร์ และทิศของแรงบิดทีเกิดจาก
สนามแม่เหล็ก

1 : ทังสนามแม่เหล็กโรเตอร์ และทิศทางของแรงบิดหมุนทวนเข็ม
2 : ทังสนามแม่เหล็กโรเตอร์ และทิศทางของแรงบิดหมุนตามเข็ม
3 : สนามแม่เหล็กโรเตอร์ หมุนตามเข็ม แต่ทิศทางของแรงบิดหมุนทวนเข็ม
4 : สนามแม่เหล็กโรเตอร์ หมุนทวนเข็ม แต่ทิศทางของแรงบิดหมุนตามเข็ม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 75 :
จากหลักการของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า หากเราหมุนขดลวดทีว霗� างอยูภ
่ ายใต ้สนามแม่เหล็กถาวร จะทําให ้เกิดอะไรขึน
  และ
เป็ นหลักการของอะไร

1 : แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ า, มอเตอร์


2 : แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ า, เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
3 : แรงบิด, มอเตอร์
4 : แรงบิด, เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 76 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสทีม ี ํานวนขัว เท่ากับ 6 ขัว  ใชกั้ บไฟความถี 霗� 50 Hz และมีคา่ ความเร็วสลิปในขณะทีพ
霗� จ 霗� จ
ิ ารณา
เท่ากับ 4% ค่าความเร็วของสนามแม่เหล็กหมุนทีเ霗� กิดจากสเตเตอร์ และโรเตอร์จะมีคา่ เป็ นเท่าไร

1 : 1500, 1440 rpm
2 : 1200, 1152 rpm
3 : 1000, 960 rpm
4 : 800, 768 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 77 :
ั พันธ์การคํานวณแรงดันไฟฟ้ าเหนีย
ข ้อใดเป็ นสมการแสดงความสม 霗� วนํ าทีก
霗� ระทํากับลวดตัวนํ า ทีถ
霗� ก
ู ต ้อง

1 : e = Bli
2 : e = Bli sin 
3 : e = Blu
4 : e = Blu sin 
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 78 :
ข้อใดเป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์การคํานวณแรงจากสนามแม่เหล็กทีกระทํากับลวดตัวนําทีถูกต้อง
ข้อใดเป็ นสมการแสดงความสัมพันธ์การคํานวณแรงจากสนามแม่เหล็กทีกระทํากับลวดตัวนําทีถูกต้อง

1 : fd = Bli
2 : fd = Bli sin 
3 : fd = Blu
4 : fd = Blu sin 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 79 :
ลวดตัวนําความยาว 50 cm วางตังฉากกับสนามแม่เหล็กทีมีการกระจายสมําเสมอขนาด 1.2 tesla เมือลวดตัวนําเคลือนทีตัดกับสนามแม่เหล็กด้วยความเร็ ว 10 m/s มี
แนวทํามุมเท่ากับ 45 องศา ให้หาแรงเคลือนไฟฟ้ าเหนียวนําทีเกิดขึนบนลวดตัวนํามีค่าเท่ากับใด

1 : 3.25 V
2 : 4.24 V
3 : 5.36 V
4 : 6.84 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 80 :
แรงเคลือนไฟฟ้ าเหนียวนําในขดลวดแต่ละขดของการพันขดลวดอาร์มาเจอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงของเครื องจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรงมีลกั ษณะเป็ นแบบใด

1 : ไฟฟ้ ากระแสสลับ
2 : ไฟฟ้ ากระแสตรง
3 : ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบ Half-wave
4 : ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบ Full-wave
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

เนือ
 หาวิชา : 37 : Energy and co­energy

ข ้อที 霗� 81 :
ขดลวดทีม 霗� ค
ี า่ ความเหนีย
霗� วนํ าเท่ากับ 0.1 H ป้ อนเข ้าด ้วยไฟฟ้ ากระแสตรงเท่ากับ 10 A ให ้คํานวณหาค่าพลังงานทีส
霗� ะสม
อยูใ่ นรูปสนามแม่เหล็ก

1 : 0.5 J
2 : 1.0 J
3 : 5.0 J
4 : 10.0 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 82 :
เมือค่าความเข้มสนามแม่เหล็กของวงจรแม่เหล็กชนิดหนึงลดลงเหลือครึ งหนึงของค่าเดิม โดยค่าความซึมซาบแม่เหล็กยังคงมีค่าเท่าเดิม ค่าความหนาแน่นของ
พลังงาน (Energy density) จะมีค่าเปลียนแปลงไปอย่างไร

1 : เพิมขึนเป็ น 2 เท่าของค่าเดิม
2 : เพิมขึนเป็ น   เท่าของค่าเดิม
3 : ลดลงเหลือ 1/2 เท่าของค่าเดิม
4 : ลดลงเหลือ 1/4 เท่าของค่าเดิม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 83 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงขดลวดมีเส้นแรงแม่เหล็กเกียวคล้องเท่ากับ 1.25 Wb-turn และขดลวดมีค่าความเหนียวนําตัวเอง (self-inductance) 625 mH ค่าพลังงาน
สะสมในสนามแม่เหล็ก (Magnetic stored energy) มีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 125 J
2 : 1.25 J
3 : 625 J
4 : 6.25 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 84 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงขดลวดมีเส้นแรงแม่เหล็กเกียวคล้องเท่ากับ 2.5 Wb-turn และขดลวดมีค่าความเหนียวนําตัวเอง (self-inductance) 625 mH ค่าพลังงานสะสม
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงขดลวดมีเส้นแรงแม่เหล็กเกียวคล้องเท่ากับ 2.5 Wb-turn และขดลวดมีค่าความเหนียวนําตัวเอง (self-inductance) 625 mH ค่าพลังงานสะสม
ในสนามแม่เหล็ก (Magnetic stored energy) มีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 2.5 J
2 : 10 J
3 : 5 J
4 : 6.25 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 85 :
ขดลวดขดหนึง霗� มีคา่ ความเหนีย 霗� วนํ าตัวเอง (self­inductance) 100 mH เมือ
霗� ขดลวดมีกระแสไฟฟ้ าไหล 2 A ค่าพลังงานแม่
เหล็กทีส
霗� ะสมอยูใ่ นระบบมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 0.20 J
2 : 1.72 J
3 : 0.50 J
4 : 0.72 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 86 :
ขดลวดขดหนึง霗� มีคา่ ความเหนีย 霗� วนํ าตัวเอง (self­inductance) 300 mH เมือ
霗� ขดลวดมีกระแสไฟฟ้ าไหล 2 A ค่าพลังงานแม่
เหล็กทีส
霗� ะสมอยูใ่ นระบบมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 0.60 J
2 : 1.72 J
3 : 0.53 J
4 : 0.72 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 87 :
ขดลวดขดหนึงมีค่าความเหนียวนําตัวเอง (self-inductance) 300 mH เมือขดลวดมีกระแสไฟฟ้ าไหล 6 A ค่าพลังงานแม่เหล็กทีสะสมอยูใ่ นระบบมีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 2.7 J
2 : 1.2 J
3 : 5.4 J
4 : 6.8 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 88 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงขดลวดมีเส้นแรงแม่เหล็กเกียวคล้องเท่ากับ  และกระแสไหลผ่านขดลวดเท่ากับ i ขดลวดมีค่าความเหนียวนําตัวเอง L ค่าพลังงานสะสมใน
สนามแม่เหล็ก (Magnetic stored energy) มีค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 89 :
วงจรแม่เหล็กวงจรหนึงขดลวดมีเส้นแรงแม่เหล็กเกียวคล้องเท่ากับ 1.5 Wb-turn และขดลวดมีค่าความเหนียวนําตัวเอง (self-inductance) 625 mH ค่าพลังงานสะสม
ในสนามแม่เหล็ก (Magnetic stored energy) มีค่าเท่ากับเท่าใด

1 :  3.6 J
2 :  18 J
3 : 1.8 J
4 : 36 J
4 : 36 J
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 90 :
เมือป้ อนไฟฟ้ ากระแสสลับความถี 50 Hz เข้าในขดลวดทีมีค่าความเหนียวนํา 2.0 mH จะมีค่ากระแสไฟฟ้ ากระแสสลับไหลผ่านขดลวดเท่ากับ 10.0 A (rms) ให้หา
ค่าพลังงานสูงสุ ดทีสะสมอยูใ่ นรู ปสนามแม่เหล็ก (Maximum storage energy in magnetic field)

1 : 0.1 J
2 : 0.2 J
3 : 0.4 J
4 : 0.02 J
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 91 :
จากโครงสร้างเครื องจักรกลไฟฟ้ ากระแสสลับแบบขัวยืน (Salient pole) ทีตัวโรเตอร์และทีมี 2 ขัวแม่เหล็ก ค่าความเหนียวนําตัวเอง (Self inductance) ของขดลวดส
เตเตอร์เท่ากับ H โดยทีมุม  เป็ นมุมระหว่างแกนของขดลวดทีสเตเตอร์กบั โรเตอร์ ขณะทีมีค่ากระแสไฟฟ้ ากระแสสลับความถี 50 Hz ไหลผ่านขดลวดเท่ากับ
10.0 A (rms) ให้ค่ามุมทีทําให้พลังงานสะสมอยูใ่ นรู ปสนามแม่เหล็กสูงสุ ด (Maximum storage energy in magnetic field)

1 : ศูนย์ องศา
2 : 45 องศา
3 : 90 องศา
4 : ไม่มีขอ้ ถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 92 :
เมือค่าความซึมซาบแม่เหล็กของวงจรแม่เหล็กชนิดหนึงเพิมขึนเป็ น 2 เท่าของค่าเดิม โดยค่าความหนาแน่นสนามแม่เหล็กยังคงมีค่าเท่าเดิม ค่าพลังงานสะสมใน
สนามแม่เหล็กจะมีค่าเปลียนแปลงไปอย่างไร

1 : ลดลงเหลือ 1/2 เท่าของค่าเดิม
2 : ลดลงเหลือ 1/4 เท่าของค่าเดิม
3 : เพิมขึนเป็ น 4 เท่าของค่าเดิม
4 : เพิมขึนเป็ น 2 เท่าของค่าเดิม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

เนือ
 หาวิชา : 38 : Principles of rotating machines

ข ้อที 霗� 93 :
จงหา synchronous speed ของสนามแม่เหล็กบนแกนเหล็ก stator ของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส ทีม
霗� จ
ี ํานวนขัว แม่เหล็ก 4
ขัว  และรับแรงดันไฟฟ้ าความถี 霗� 50 Hz

1 : 1200 rpm
2 : 1500 rpm
3 : 1600 rpm
4 : 1800 rpm
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 94 :
จํานวนวงจรขนานของขดลวดอาร์มาเจอร์ในเครือ
霗� งจักรไฟฟ้ ากระแสตรง มีคา่ เท่ากับเท่าใดเมือ
霗� พันขดลวดอาร์มาเจอร์
แบบ Lap winding

1 : คงทีเ霗� ท่ากับ 2
2 : จํานวนขัว แม่เหล็ก
3 : 2 เท่าของจํานวนขัว แม่เหล็ก
4 : ผิดทุกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 95 :
มอเตอร์ชนิดใดเหมาะสมทีส ุ สําหรับงานทีต
霗� ด 霗� ้องการแรงบิดสูงทีค
霗� วามเร็วรอบตํา霗�

1 : Synchronous motor
2 : Induction motor
3 : Shunt dc motor
4 : Series dc motor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 96 :
เครือ霗� งจักรไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึง霗� ถูกขับด ้วยต ้นกําลังให ้หมุนด ้วยความเร็ว 50 rpm โดยอาร์มาเจอร์ของเครือ 霗� งจักรไฟฟ้ า
นีม
 จ ้
ี ํานวนขัว แม่เหล็ก 4 ขัว  แต่ละขัว มีเสนแรงแม่ เหล็กเกิดขึน  เท่ากับ 0.1 Wb จํานวนตัวนํ าทัง หมดมีคา่ เท่ากับ 100
จํานวนวงจรขนานเท่ากับ 2 วงจร แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าทีเ霗� กิดขึน
 มีคา่ เท่าใด

1 : 8.3 V
2 : 16.7 V
3 : 500 V
4 : 1000 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 97 :
มอเตอร์เหนีย ้
霗� วนํ าตัวหนึง霗� ขณะใชงานเต็ มพิกด ั ทีค
霗� วามถี 霗� 50 Hz หมุนด ้วยความเร็ว 920 rpm. มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าตัวนีจ
 ะมีคา่
Synchronous speed เท่ากับเท่าใดเมือ ้
霗� ถูกนํ าไปใชงานทีค 霗� วามถี 霗� 60 Hz

1 : 3600 rpm.
2 : 3000 rpm.
3 : 1800 rpm.
4 : 1200 rpm.
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 98 :
ตัวแปรใดไม่มผ
ี ลต่อสมการแรงบิดในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : กระแสสร ้างสนาม
2 : จํานวนแท่งตัวนํ า
3 : กระแสอาร์เมเจอร์
4 : ความเร็วทีเ霗� พลา
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 99 :
ตัวแปรใดไม่มผ
ี ลต่อสมการแรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : กระแสสร ้างสนาม
2 : ความเร็วทีเ霗� พลา
3 : กระแสอาร์เมเจอร์
4 : จํานวนแท่งตัวนํ า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 100 :
ผลของการพันขดลวดแบบพิทชร์ ะยะสน
ั   (short pitch winding) ในเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ คืออะไร

1 : แรงเคลือ 霗� นเหนีย
霗� วนํ าสูงขึน

2 : แก ้ปั ญหาปฏิกริ ย ิ าอาร์เมเจอร์
3 : ลดฮาร์โมนิกส์ได ้
4 : หมุนด ้วยความเร็วสูงขึน 
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 101 :
ขนาดของแรงเคลือ
霗� นแม่เหล็กลัพธ์ของเครือ
霗� งจักรไฟฟ้ ากระแสสลับสามเฟส มีคา่ เป็ นกีเ霗� ท่าของแรงเคลือ
霗� นแม่เหล็กใน
แต่ละเฟส

1 : 1/2 เท่า
2 : 1 เท่า
3 : 3/2 เท่า
4 : 2 เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3
ข ้อที 霗� 102 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ า 80 pole ขนาด 100 kVA กําลังทํางานทีค
霗� วามเร็ว 20 rps จงหาค่ามุมทางไฟฟ้ าต่อการหมุนหนึง霗� รอบใน
หน่วยองศา และค่าความถีไ霗� ฟในหน่วย Hz ตามลําดับ

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 103 :
การพันขดลวดในร่องสล็อตอาร์มาเจอร์ของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง แบ่งเป็ นกลุม
่ ใหญ่ได ้แก่อะไร

1 : Wave and Duplex
2 : Simplex Duplex and Wave
3 : Lap and Simplex
4 : Lap and Wave
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 104 :
จงคํานวณหาค่าความถีข 霗� องแรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าของขดลวดสเตเตอร์ของเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส 6
pole เมือ
霗� ขดลวดสนามทีส 霗� ร ้างสนามแม่เหล็กพันอยูบ ่ นโรเตอร์หมุนทีด
霗� ้วยความเร็ว 1000 rpm

1 : 40 Hz
2 : 50 Hz
3 : 60 Hz
4 : 75 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 105 :
มอเตอร์มค
ี วามเร็วรอบ 1500 rpm จงหาความเร็วรอบในหน่วยเรเดียนต่อวินาที

1 : 50
2 : 157
3 : 12.5
4 : 1500
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 106 :
มอเตอร์มค
ี วามเร็วรอบ 3000 rpm จงหาความเร็วรอบในหน่วยเรเดียนต่อวินาที

1 : 50
2 : 314
3 : 125
4 : 3000
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 107 :
มอเตอร์มค
ี วามเร็วรอบ 750 rpm จงหาความเร็วรอบในหน่วยเรเดียนต่อวินาที

1 : 25
2 : 78.5
3 : 39.25
4 : 750
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 108 :
เครื องจักรกลไฟฟ้ าในข้อใดสนามแม่เหล็กอยูก่ บั ที
เครื องจักรกลไฟฟ้ าในข้อใดสนามแม่เหล็กอยูก่ บั ที

1 : Synchronous motor
2 : Induction motor
3 : DC motor
4 : Stepping motor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 109 :
ถ้าต้องการกลับทิศทางการหมุนของ Synchronous motor ทําได้โดยการ

1 : สลับสายไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์ ทงสามเฟส



2 : สลับสายไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์ คู่ใดคู่หนึ ง
3 : สลับสายไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก (Field coil)
4 : มีขอ้ ถูกมากกว่าหนึ งข้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 110 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 12 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละ
ขดเท่ากับ 25 รอบ ให้คาํ นวณหาค่า Pitch factor (Kp) ของ Fundamental

1 : 1.0
2 : 0.9
3 : 0.8
4 : ไม่มีขอ้ ถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 111 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 12 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละ
ขดเท่ากับ 25 รอบ ให้คาํ นวณหาค่า Winding factor (Kw) ของ Fundamental

1 : 1.0
2 : 0.9
3 : 0.8
4 : ไม่มีขอ้ ถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 112 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 12 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละ
ขดเท่ากับ 25 รอบ ให้คาํ นวณหาค่าจํานวนรอบของขดลวดในแต่ละเฟส

1 : 25 รอบ
2 : 50 รอบ
3 :   รอบ
4 :   รอบ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 113 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 24 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละ
ขดเท่ากับ 25 รอบ ให้คาํ นวณหาค่าจํานวนรอบของขดลวดในแต่ละเฟส

1 : 25 รอบ
2 : 50 รอบ
3 :   รอบ
4 : 200 รอบ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

เนือ
 หาวิชา : 39 : DC machines

ข ้อที 霗� 114 :
ถ ้าต ้องการกลับทิศการหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง ข ้อใดถูกต ้อง

1 : กลับขัว ขดสร ้างสนามแม่เหล็กหรือกลับขัว ขดอาร์มาร์เจอร์ขดใดขดหนึง霗�


2 : กลับขัว ขดสร ้างสนามแม่เหล็กและกลับขัว ขดอาร์มาเจอร์ทงั  คู่
3 : เปลีย
霗� นความถีท 霗� ป
ี霗� ้ อนเข ้า
4 : เปลีย 霗� นแปรงถ่าน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 115 :
เกีย
霗� วกับเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : แรงดันไฟฟ้ าของเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดกระตุ ้นสนามแม่เหล็กด ้วยตัวเองแบบขนานจะมีคา่ เปลีย 霗� นแปลงมากกว่าชนิดกระตุ ้นสนาม


แบบแยกส่วนเมือ 霗� มีการจ่ายภาระทางไฟฟ้ า
2 : เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าทําหน ้าทีเ霗� ปลีย 霗� นรูปพลังงานจากพลังงานกลเป็ นพลังงานไฟฟ้ า
3 : ในการเริม 霗� ออกตัวหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง กระแสอาร์มาเจอร์จะมีคา่ สูง
4 : เมือ
霗� เพิม 霗� ภาระให ้กับเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ า แรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� วั  ของเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าจะมีคา่ คงที霗�
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 116 :
Separately excited dc generator ถูกหมุนด ้วยความเร็วคงที 霗� ถ ้าต ้องการเพิม
霗�  terminal voltage จะสามารถทําได ้อย่างไร

1 : ลด field winding resistance
2 : เพิม
霗�  field winding resistance
3 : เพิม 霗�  armature resistance
4 : เพิม 霗� กระแสโหลด
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 117 :
Armature reaction มีผลอย่างไรกับ dc machine

1 : ไม่มผ
ี ล
2 : สนามแม่เหล็กของ armature winding สูงขึน

3 : สนามแม่เหล็กของ field winding ลดลง
4 : สนามแม่เหล็กของ field winding สูงขึน

คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 118 :
ิ สว่ นของเครือ
ชน 霗� งจักรไฟฟ้ าในตัวเลือกใดเป็ นเอกลักษณ์ของเครือ
霗� งจักรไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : ขัว แม่เหล็ก
2 : วงแหวนแยก (commutator)
3 : วงแหวนลืน 霗�  (slip ring)
4 : โรเตอร์แบบกรงกระรอก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 119 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงเทียบได ้กับวงจรอิเล็กทรอนิกสใ์ ด
การทํางานของคอมมิวเตเตอร์ในเครือ

1 : Half Wave Rectifier
2 : Full Wave Rectifier
3 : RC Integrator Circuit
4 : Single Phase Inverter
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 120 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารแก ้ปั ญหาของการเกิดปฏิกริ ย
ิ าอาร์เมเจอร์ (Armature Reaction)

1 : Brush Shifting
2 : Commutating Winding
3 : Interpole Winding
4 : Compensating Winding
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2
ข ้อที 霗� 121 :

1 : 1930 rpm
2 : 1750 rpm
3 : 1680 rpm
4 : 1820 rpm
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 122 :

1 : 235 V
2 : 250 V
3 : 265 V
4 : 280 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 123 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (shunt dc generator) ตัวหนึง霗� มีความต ้านทานขดลวดสร ้างสนาม 60 ohm ขณะ
จ่ายโหลดขนาด 6 kW ทีแ 霗� รงดันไฟฟ้ า 120 V พบว่าแรงดันไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ ามีคา่ เป็ น 133 V จงหาค่าความต ้านทานของขด
ลวดอาร์มาเจอร์ 

1 : 0.4 ohm
2 : 0.15 ohm
3 : 0.2 ohm
4 : 0.25 ohm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 124 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (series dc motor) ขณะขับโหลดมีความเร็วรอบ 720 rpm กําลังเอาท์พท
ุ  9800 W
ให ้คํานวณหาค่าของแรงบิดทีแ
霗� กนเพลามอเตอร์

1 : 100 N.m
2 : 120 N.m
3 : 130 N.m
4 : 140 N.m
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 125 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึง霗�  ขณะขับโหลดมีความเร็วรอบ 720 rpm กําลังเอาท์พท
ุ  10 hp ให ้คํานวณหาค่าของแรง
บิดทีแ
霗� กนเพลามอเตอร์

1 : 98.9 N.m
2 : 120.7 N.m
3 : 87.5 N.m
4 : 32.6 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 126 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนานทีพ
霗� ก
ิ ด
ั แรงดันไฟฟ้ า 250 V ความต ้านทานอาร์มาเจอร์ 0.15 ohm ความต ้านทาน

ขดลวดสนามแบบขนาน 100 ohm ขณะจ่ายกําลังไฟฟ้ าให ้ความต ้านทานไฟฟ้ ามีคา่  25 ohm ต ้องใชความเร็ วของต ้น

กําลังทางกล 3000 rpm ให ้คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าทีไ霗� หลผ่านขดลวดอาร์มาเจอร์


กําลังทางกล 3000 rpm ให ้คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าทีไ霗� หลผ่านขดลวดอาร์มาเจอร์

1 : 12.5 A
2 : 2.5 A
3 : 7.5 A
4 : 10 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 127 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนานทีพ
霗� ก
ิ ด
ั แรงดันไฟฟ้ า 250 V ความต ้านทานอาร์มาเจอร์ 0.15 ohm ความต ้านทาน
ขดลวดสนามแบบขนาน 100 ohm ขณะจ่ายกําลังไฟฟ้ า 10 kW ต ้องใชความเร็ ้ วของต ้นกําลังทางกล 1500 rpm ให ้
คํานวณหาค่ากระแสไฟฟ้ าทีไ霗� หลผ่านขดลวดอาร์มาเจอร์

1 : 40 A
2 : 2.5 A
3 : 42.5 A
4 : 37.5 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 128 :
เครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรงมีขดลวดชนิดใด ทีท
霗� ําหน ้าทีส
霗� ร ้างสนามแม่เหล็กหลัก

1 : ขดลวดสนาม
2 : ขดลวดอาเมเจอร์
3 : ขดลวดแดมเปอร์
4 : ขดลวดช่วย
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 129 :
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง (DC machines) มีสว่ นประกอบข ้อใดทีอ
เครือ 霗� ยูก
่ บ
ั ที霗�

1 : โรเตอร์
2 : สเตเตอร์
3 : สลิปริง
4 : คอมมิวเตเตอร์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 130 :
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง (DC machines) มีสว่ นประกอบข ้อใดทีห
เครือ 霗� มุนได ้

1 : สเตเตอร์
2 : โรเตอร์
3 : เปลือกและโครง
4 : แปรงถ่าน
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 131 :
แรงดันไฟฟ้ าทีผ
霗� ลิตได ้จากเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง (DC machines) ไม่ขน
ึ อยูก
่ บ
ั องค์ประกอบข ้อใดของเครือ
霗� งจักร
กล

1 : ความเร็ว
2 : จํานวนเส ้นแรงแม่เหล็ก
3 : ความยาวอาร์มาเจอร์
4 : อุณหภูม ิ
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 132 :
แรงบิดทีไ霗� ด ้จากเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง (DC machines) ไม่ขน
ึ กับองค์ประกอบข ้อใด

1 : ความยาวอาร์มาเจอร์
2 : จํานวนเส ้นแรงแม่เหล็ก
3 : กระแส
4 : นํ าหนัก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 133 :
่ วามสูญเสย
ข ้อใดไม่ใชค ี ทีเ霗� กิดขึน
 ในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง (DC machines)

1 : ความสูญเสียในแกนเหล็ก (Core losses)
2 : ความสูญเสียในขดลวด (Copper losses)
3 : ความสูญเสียทางกล (Mechanical losses)
4 : ความสูญเสียความถี 霗� (Frequency losses)
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 134 :
สว่ นใดของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรงทีท
霗� ําหน ้าทีเ霗� หมือนกับเรคติไฟเออร์ (Rectifier)

1 : ขดลวดอาร์มาเจอร์
2 : สลิปริง
3 : คอมมิวเตเตอร์
4 : ผิดทุกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 135 :
ข ้อใดต่อไปนีผ
 ด

1 : DC Series Generator นิยมนํ าไปใช ้สําหรับงานทีต 霗� ้องการจ่ายกระแสไฟฟ้ าคงที霗�


2 : อาร์มาเจอร์รแ ี อคชัน霗� จะเกิดขึน
 ในกรณีของเครือ 霗� งกําเนิดเท่านัน 
3 : อาร์มาเจอร์รแ ี อคชัน 霗� สามารถแก ้ไขได ้ด ้วยการเคลือ 霗� นย ้ายตําแหน่งของแปรงถ่าน
4 : DC Compound Generator สามารถทําให ้แรงดันไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้โหลดคงทีไ霗� ด ้
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 136 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดกระตุ ้นแยก (Separately excited DC generator) มีคา่ แรงดันอาร์มาเจอร์ 150 V ขณะ
แกนเพลาถูกขับด ้วยความเร็วรอบ 1800 rpm จงหาค่าแรงดันไฟฟ้ าขณะไร ้ภาระ ทีค 霗� วามเร็ว 1600 rpm ถ ้าควบคุมกระแส
ไฟฟ้ าในขดลวดสนามให ้มีคา่ คงที霗�

1 : 133.3 V
2 : 144.3 V
3 : 122.3 V
4 : 111.3 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 137 :

ย่านการใชงานตัง แต่ไม่มภ
ี าระจนถึงมีภาระเต็มพิกด
ั ของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบใดทีค
霗� วามเร็วรอบมีการ
เปลีย
霗� นแปลงมากทีส霗� ด

1 : แบบ Series
2 : แบบ Shunt
3 : แบบ Short shunt compound
4 : แบบ Long shunt compound
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 138 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบใดให ้ความเร็วรอบสูงขึน
  ขณะโหลดทางกลมีคา่ มากขึน

1 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน
2 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม
3 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมทีต霗� อ ่ ขดลวดสร ้างสนามแบบ Commulative compound
4 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบผสมทีต 霗� อ่ ขดลวดสร ้างสนามแบบ Differential compound
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4
ข ้อที 霗� 139 :

ย่านการใชงานตั ง แต่ไม่มภ
ี าระจนถึงมีภาระเต็มพิกด
ั ของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบใดทีค
霗� วามเร็วรอบมีการ
เปลีย
霗� นแปลงน ้อยทีส霗� ด

1 : แบบ Series
2 : แบบ Shunt
3 : แบบ Short shunt compound
4 : แบบ Long shunt compound
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 140 :
เครือ ้
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรงแบบใด ไม่ต ้องใชแหล่
งจ่ายแรงดันไฟฟ้ ากระแสตรงจากภายนอก จ่ายให ้กับเครือ
霗� งจักร

1 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน
2 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม
3 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ ้นแยก
4 : เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 141 :
เครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ ้นแยกตัวหนึง霗� มีคา่ แรงดันไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ าทีส
霗� ภาวะไร ้โหลดทีค 霗� วามเร็วรอบพิกด

1500 rpm เท่ากับ 120 V จงคํานวณหาค่าแรงดันเหนีย 霗� วนํ าไฟฟ้ าของเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ านี  เมือ霗� เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าถูกขับ
ด ้วยความเร็วรอบ 1000 rpm กําหนดให ้กระแสสร ้างสนามมีคา่ คงที霗�

1 : 150 V
2 : 130 V
3 : 180 V
4 : 80 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 142 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรงแบ่งตามลักษณะการกระตุ ้นได ้ 2 ลักษณะคือ

1 : Self Excited and Shunt Excited
2 : Self Excited and Compound Excited
3 : Self Excited and Separately Excited
4 : Self Excited and Series Excited
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 143 :
สว่ นประกอบใดทีไ霗� ม่ใชส
่ ว่ นประกอบของเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : Pole Pieces
2 : Stator Winding
3 : Armature Winding
4 : Damper winding
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 144 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าและมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ ้นด ้วยตัวเอง สามารถแบ่งการต่อขดลวดสร ้างสนามแม่เหล็ก
ตามชนิดของการได ้เป็ น 3 ประเภทคือ

1 : Series, Shunt and Compound
2 : Series, Shunt and Long Shunt
3 : Series, Short Shunt and Long Shunt
4 : Separately, Series and Shunt
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 145 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงชนิดใดทีใ霗� ห ้แรงบิดเริม
霗� ต ้นหมุนสูง
1 : Series Motor
2 : Shunt Motor
3 : Compound Short Shunt Motor
4 : Compound Long Shunt Motor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 146 :

1 : 39.0 A
2 : 40.0 A
3 : 41.0 A
4 : 42.7 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 147 :

1 : 1655.2 N.m
2 : 296.4 N.m
3 : 263.5 N.m
4 : 27.6 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 148 :
การต่อมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงต ้องต่อขดลวดอย่างไร เพือ
霗� ให ้มีการทํางานเป็ นแบบขนาน

1 : ต่อขดลวดอาร์เมเจอร์อนุกรม เข ้ากับขดลวดสนามแบบขนาน(Shunt field)
2 : ต่อขดลวดอาร์เมเจอร์ขนาน เข ้ากับขดลวดสนามแบบขนาน(Shunt field)
3 : ต่อขดลวดอาร์เมเจอร์อนุกรม เข ้ากับขดลวดสนามแบบอนุกรม(Series field)
4 : ต่อขดลวดอาร์เมเจอร์ขนาน เข ้ากับขดลวดสนามแบบอนุกรม(Series field)
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 149 :
ี霗� อมมิวเตเตอร์ในมอเตอร์กระแสตรงมีความสําคัญอย่างไร
แปรงถ่านและซค

1 : ใช ้ป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดสนามบนโรเตอร์


2 : ใช ้ป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์เมเจอร์บนสเตเตอร์
3 : ใช ้ป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์เมเจอร์บนโรเตอร์
4 : ใช ้ป้ อนกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดสนามบนสเตเตอร์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 150 :
ตัวเลือกใด กล่าวไม่ถก
ู ต ้องในเรือ
霗� งเกีย
霗� วกับพฤติกรรมของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงขณะเริม
霗� ต ้นหมุน

1 : กระแสไฟฟ้ าทีไ霗� หลผ่านขดลวดอาร์มาเจอร์ขณะต ้นหมุนมีคา่ สูงมาก


2 : แรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าภายในอาร์มาเจอร์มค ี า่ เท่ากับศูนย์
3 : กระแสไฟฟ้ าทีไ霗� หลผ่านขดลวดอาร์มาเจอร์มค ี า่ ตํา霗� มาก
4 : ความเร็วรอบของมอเตอร์มค ี า่ ตํา霗� มาก
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 151 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (shunt dc motor) ขนาด 150 hp, 240 V, 650 rpm ขณะทํางานขับโหลดขนาด 125 hp
มอเตอร์กน
ิ กระแสไฟฟ้ า 420 A ถ ้าให ้ความต ้านทานรวมของขดลวดอาร์เมเจอร์ และขดลวดสร ้างสนามมีคา่  0.0125 และ
ี จากสว่ นหมุน (rotation loss)
32 ohm ตามลําดับ แรงดันตกคร่อมแปรงถ่านมีคา่  2 V จงหาค่ากําลังงานสูญเสย

1 : 2780 W
2 : 3526 W
3 : 96030 W
4 : 93250 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 152 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน (shunt dc motor) ขนาด 150 hp, 240 V, 650 rpm ขณะทํางานขับโหลดขนาด 125 hp
มอเตอร์กน
ิ กระแสไฟฟ้ า 420 A ถ ้าให ้ความต ้านทานรวมของขดลวดอาร์เมเจอร์ และขดลวดสร ้างสนามมีคา่  0.0125 และ
32 ohm ตามลําดับ แรงดันตกคร่อมแปรงถ่านมีคา่  2 V จงหาค่าของกระแสอาร์เมเจอร์

1 : 7.5 A
2 : 412.5 A
3 : 420 A
4 : 232.8 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

เนือ
 หาวิชา : 40 : Starting methods for dc motor

ข ้อที 霗� 153 :
ี หายกับมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง ขณะทําการสตาร์ทมอเตอร์
ข ้อใดทําให ้เกิดความเสย

1 : ต่ออนุกรมความต ้านทานภายนอกกับขดลวดอาร์มาเจอร์ขณะกําลังสตาร์ท และลัดวงจรความต ้านทานภายนอกหลังจากการสตาร์ท


霗� แรงดันไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์มาเจอร์อย่างช ้าๆ
2 : เพิม
3 : สําหรับมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก ขณะสตาร์ทต ้องจ่ายกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดสร ้างสนามก่อน จึงจ่ายแรงดัน
ไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : ปลดขดลวดสร ้างสนามออกขณะกําลังสตาร์ท และต่อขดลวดสร ้างสนามกลับหลังจากการสตาร์ท
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 154 :

1 : 27.5 A
2 : 34.4 A
3 : 260 A
4 : 287.5 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 155 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึง霗� พิกด ั  230 V, 27.5 A มีความเร็วรอบ 1750 rpm ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั  มีคา่  Ra= 0.8 ohm ให ้
คํานวณหาค่าความต ้านไฟฟ้ าทีต 霗� ้องต่อเข ้ากับขอลวดอาร์มาเจอร์ เพือ
霗� ให ้กระแสขณะเริม
霗� ต ้นมีคา่ สูงสุดไม่เกิน 120 % ของ
พิกด

1 : 6.17 ohm
2 : 6.97 ohm
3 : 0.96 ohm
4 : 8.36 ohm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 156 :
ตัวเลือกใดกล่าวเกีย
霗� วกับการสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงไม่ถก
ู ต ้อง

1 : ขณะสตาร์ทแรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย


霗� วนํ าทีเ霗� กิดขึน
 ทีข
霗� ดลวดอาร์มาเจอร์จากการเคลือ
霗� นที 霗� มีคา่ เท่ากับแรงดันไฟฟ้ าทีป
霗� ้ อนเข ้าขดลวดอาร์มาเจอร์
2 : มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกกระตุ ้นสนามแม่เหล็ก ขณะสตาร์ทต ้องจ่ายกระแสไฟฟ้ าให ้กับขดลวดสร ้างสนามก่อน หลังจากนัน  จึงจ่าย
แรงดันไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์มาเจอร์
3 : ขณะสตาร์ทกระแสไฟฟ้ าในขดลวดอาร์มาเจอร์จะมีคา่ มากกว่ากระแสพิกด ั หลายเท่า
4 : เมือ
霗� มอเตอร์เริม 霗� หมุนแล ้ว (ความเร็วเพิม 霗� จากศูนย์) กระแสไฟฟ้ าในขดลวดอาร์มาเจอร์จะมีคา่ ลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 157 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนานมีพก ิ ดั ขนาด 10 kW 100 V 1000 rpm มีคา่ ความต ้านทานอาร์เมเจอร์ 0.1 ohm ขณะ
ต่อแหล่งจ่าย 100 V จงหาค่ากระแสอาร์เมเจอร์ในชว่ งเริม
霗� หมุนเป็ นกีเ霗� ท่าของค่ากระแสอาร์เมเจอร์ทพ
ี霗� ก
ิ ด

1 : 1 เท่า
2 : 10 เท่า
3 : 15 เท่า
4 : 100 เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 158 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบขนาน พิกด ั ขนาด 10 kW 100 V 1000 rpm มีคา่ ความต ้านทานอาร์เมเจอร์ 0.5 ohm ขณะต่อ
แหล่งจ่ายแรงดันไฟฟ้ า 100 V กระแสสตาร์ทมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 100 A
2 : 200 A
3 : 10 A
4 : 50 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 159 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึง霗�  ขนาดพิกด
ั  220 V 32.5 A ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั มีความเร็วรอบ 1750 rpm มอเตอร์มค
ี า่
ความต ้านทานอาร์มาเจอร์ 0.55 ohm กระแสสตาร์ท (starting current) มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 400 A
2 : 32.5 A
3 : 65.5 A
4 : 121 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 160 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงพิกด
ั  400 V, 10 A, 1500 rpm ความต ้านทานอาร์เมเจอร์ 2 ohm จงคํานวณหาค่ากระแสสตาร์ท
ในสภาวะทีข
霗� ณะสตาร์ทจ่ายแรงดันไฟฟ้ าครึง霗� หนึง霗� ของพิกด ้
ั แรงดันไฟฟ้ าใชงาน

1 : 150 A
2 : 400 A
3 : 200 A
4 : 100 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 161 :
ข ้อใดกล่าวเกีย
霗� วกับการสตาร์ทมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงได ้ถูกต ้อง
1 : การเพิม 霗� แรงดันไฟฟ้ าให ้กับขดลวดอาร์มาเจอร์อย่างช ้าๆเป็ นการลดกระแสสตาร์ท
2 : การสตาร์ทมอเตอร์ โดยจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีพ 霗� ก ั ใช ้งาน กระแสสตาร์ทในขดลวดอาร์มาเจอร์จะมีคา่ เท่ากับกระแสไฟฟ้ าขณะรับภาระทีพ
ิ ด 霗� ก
ิ ด

3 : ขณะสตาร์ทแรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ าทีข
霗� ดลวดอาร์มาเจอร์มค ี า่ เท่ากับแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้ามอเตอร์
4 : ต ้องจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีพ 霗� ก ั ใช ้งานเท่านัน
ิ ด   มอเตอร์จงึ จะหมุนได ้
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 162 :
การลดผลกระทบทีเ霗� กิดขึน จากค่ากระแสไฟฟ้ าเริม
霗� ต ้นหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบกระตุ ้นแยก (Separately
excited DC motor) มีคา่ สูง สามารถกระทําได ้โดย

1 : การนํ าค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกทีม


霗� ค ี า่ สูง ๆ ต่ออนุกรมเข ้ากับขดลวดอาร์มาเจอร์
2 : การนํ าค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกทีม 霗� ค ี า่ สูง ๆ ต่อขนานเข ้ากับขดลวดอาร์มาเจอร์
3 : การนํ าค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกทีม 霗� ค ี า่ สูง ๆ ต่ออนุกรมเข ้ากับขดลวดสร ้างสนาม
4 : การนํ าค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกทีม 霗� ค ี า่ สูง ๆ ต่อขนานเข ้ากับขดลวดสร ้างสนาม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 163 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารลดค่ากระแสเริม
霗� ต ้นหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : การนํ าค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกต่ออนุกรมเข ้ากับขดลวดอาร์มาเจอร์


2 : การลดแรงดันไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้กับมอเตอร์ขณะเริม霗� ต ้นหมุน
3 : การเพิม 霗� ค่าความต ้านทานไฟฟ้ าของขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : การเพิม 霗� แรงดันไฟฟ้ าทีจ霗� า่ ยให ้กับมอเตอร์ขณะเริม霗� ต ้นหมุน
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 164 :
ข้อใดเป็ นขันตอนการปฏิบตั ิทีถูกต้องในการเริ มหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกขดลวดกระตุน้  (Separately excited field dc motor)

1 : ป้ อนกระแสกระตุน ้ สนามแม่เหล็กทีพิกดั ทีขดลวดกระตุน้ สนามแม่เหล็ก แล้วถึงจะป้ อนไฟให้ขดลวดอาร์มาเจอร์


2 : ป้ อนกระแสกระตุน ้ สนามแม่เหล็กทีครึ งหนึงของพิกดั ทีขดลวดกระตุน้ สนามแม่เหล็ก แล้วถึงจะป้ อนไฟให้ขดลวดอาร์มาเจอร์
3 : ค่อยๆเพิมการป้ อนกระแสกระตุน ้ สนามแม่เหล็กทีขดลวดกระตุน้ สนามแม่เหล็ก พร้อมกับป้ อนไฟให้ขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : ป้ อนไฟฟ้ ากระแสตรงทีพิกดั เข้าทีขอลวดอาร์ มาเจอร์  แล้วถึงจะป้ อนไฟเข้าทีขดลวด
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 165 :
ขณะเริ มหมุนในการเริ มหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกขดลวดกระตุน้  (Separately excited field dc motor) ถ้ากระแสเริ มหมุนของขดลวดอาร์มาเจอร์เป็ น
1.5 เท่าของกระแสพิกดั  แรงบิดเริ มหมุนจะเป็ นเท่าใดของพิกดั

1 : 1.0 เท่าของพิกดั แรงบิด
2 : 1.5 เท่าของพิกดั แรงบิด
3 : 2.25 เท่าของพิกดั แรงบิด
4 : ไม่มีขอ้ ถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 166 :
ขณะเริ มหมุนในการเริ มหมุนมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบอนุกรม (DC series motor) ถ้ากระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าเริ มหมุนเป็ น 1.5 เท่าของกระแสพิกดั  แรงบิดเริ ม
หมุนจะเป็ นเท่าใดของพิกดั  (กําหนดให้ความสัมพันธ์ระหว่างกระแสกับสนามแม่เหล็กเป็ นแบบเชิงเส้น)

1 : 1.0 เท่าของพิกดั แรงบิด
2 : 1.5 เท่าของพิกดั แรงบิด
3 : 2.25 เท่าของพิกดั แรงบิด
4 : ไม่มีขอ้ ถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

เนือ
 หาวิชา : 41 : Speed control methods of dc motor

ข ้อที 霗� 167 :
การเพิม
霗� ค่าความต ้านทานภายนอกทีต 霗� อ
่ อนุกรมกับขดลวดสร ้างสนามชนิดต่อขนานของ shunt dc motor ขณะมอเตอร์
ทํางานทีค 霗� วามเร็วรอบพิกด
ั  จะมีผลอย่างไร

1 : ความเร็วรอบสูงขึน

2 : ความเร็วรอบตํา霗� ลง
2 : ความเร็วรอบตํา霗� ลง
3 : ไม่มผ ี ล
4 : เปลีย
霗� นทิศทางการหมุน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 168 :
Separately excited dc motor ขณะทํางานทีค 霗� วามเร็วรอบพิกดั  800 rpm ถ ้า terminal voltage ถูกลดลง 50% โดยสนามแม่
เหล็กของ field winding ถูกควบคุมให ้มีคา่ คงที 霗� จงคํานวณหาความเร็วรอบของมอเตอร์โดยประมาณหลังจากการปรับ
terminal voltage

1 : 1600 rpm
2 : 800 rpm
3 : 400 rpm
4 : 200 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 169 :
ตัวเลือกใดเป็ นวิธก
ี ารควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : ปรับแต่งค่าของเส ้นแรงแม่เหล็กต่อขัว
2 : ปรับแต่งค่าความต ้านทานของขดลวดอาร์มาเจอร์
3 : ปรับแรงดันไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้กับขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : มีคําตอบมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 170 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงตัวหนึง霗� ขณะไร ้ภาระหมุนด ้วยความเร็ว 500 rpm. เมือ
霗� ทําให ้แรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าทีเ霗� กิดขึน

ในขดลวดอาร์มาเจอร์ลดลง 10 % ความเร็วรอบของมอเตอร์จะมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 450 rpm.
2 : 556 rpm
3 : 405 rpm.
4 : 617 rpm.
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 171 :
การเปลีย
霗� นความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงขณะไม่มภ
ี าระ ด ้วยวิธก
ี ารควบคุมแรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� วั  ให ้สูงขึน
 จะทําให ้
เกิดอะไร

1 : ความเร็วสูงขึน 
2 : ขดลวดฟิ ลด์ไหม ้
3 : แรงดันไฟฟ้ าทีอ 霗� าร์มาเจอร์ตกลง
4 : ไม่มผ
ี ลใด ๆ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 172 :
วิธก
ี ารควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงด ้วยวิธค
ี วบคุมกระแสสร ้างสนาม ควรควบคุมในย่านความเร็วใด

1 : เหนือกว่าพิกด ั ความเร็วปกติ
2 : ตํา霗� กว่าพิกด ั ความเร็วปกติ
3 : เท่าพิกด ั ความเร็วปกติเท่านัน 
4 : ครึง霗� หนึง霗� ของพิกด ั ความเร็วปกติเท่านัน

คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 173 :
หากจะควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงด ้วยวิธค
ี วบคุมค่าความต ้านทานของขดลวดสร ้างสนาม จะต ้องระวังใน
เรือ
霗� งใดมากทีส
霗� ด

1 : ความเร็วสนามแม่เหล็กหมุน
2 : พิกด ั กระแสสร ้างสนาม
3 : ขัว แม่เหล็ก
4 : ความถี霗�
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 174 :
การควบคุมความเร็วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงสามารถทําได ้หลายวิธย
ี กเว ้นข ้อใด

1 : ปรับความต ้านทานทีต 霗� อ
่ กับขดลวดสร ้างสนาม
2 : ปรับแรงดันไฟฟ้ าทีอ 霗� าร์มาเจอร์
3 : ปรับแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� ดลวดสร ้างสนาม
4 : ปรับความถีข 霗� องแหล่งจ่ายไฟ
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 175 :
ิ ธิภาพตํา霗� สุด
การควบคุมความเร็วรอบมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงวิธใี ดให ้ประสท

1 : การควบคุมความเร็วรอบโดยการปรับแรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� วั 
2 : การควบคุมความเร็วรอบโดยการปรับกระแสสร ้างสนาม
3 : การควบคุมความเร็วรอบโดยการปรับความต ้านทานภายนอกทีต 霗� อ
่ อนุกรมกับขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : ไม่มข
ี ้อใดถูก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 176 :
ข ้อใดไม่มผ
ี ลต่อการปรับความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : การควบคุมค่ากระแสสร ้างสนาม
2 : การควบคุมค่าความต ้านทานภายนอกทีต 霗� อ
่ อนุกรมกับขดลวดอาร์มาเจอร์
3 : การควบคุมค่าแรงดันไฟฟ้ าทีอ
霗� าร์มาเจอร์
4 : ไม่มค
ี ําตอบ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 177 :

การควบคุมความเร็วให ้กับมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงโดยใช Controlled rectifiers ข ้อใดต่อไปนีถ
 ก
ู ต ้อง

1 : ไม่สามารถควบคุมให ้เกิดการส่งพลังงานกลับไปยังระบบไฟฟ้ าของการไฟฟ้ าได ้


2 : ไม่สามารถควบคุมค่าฮาร์มอนิกส์ทอี霗� อกไปรบกวนระบบไฟฟ้ าข ้างเคียงได ้
3 : สามารถควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์ได ้ดีตอ ่ เนือ
霗� งทัง  4ควอทแรนซ์
4 : ถูกทุกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 178 :
การกลับทางหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง สามารถทําได ้โดยวิธก
ี ารใด

1 : กลับขัว ของขดลวดสร ้างสนาม และกลับขัว ของแหล่งจ่ายไฟ


2 : กลับขัว ของขดลวดสร ้างสนาม หรือกลับขัว ของแหล่งจ่ายไฟ
3 : กลับขัว ของขดลวดสร ้างสนาม และกลับขัว ของขดลวดอาร์มาเจอร์
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 179 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารควบคุมความเร็วมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรง

1 : ปรับความต ้านทานทีต 霗� อ
่ อนุกรม กับขดลวดสร ้างสนามแบบขนาน(Shunt field)
2 : ปรับเพิม 霗� ความต ้านทานอนุกรมกับขดลวดอาร์เมเจอร์
3 : ปรับลดความต ้านทานทีต 霗� อ
่ ขนาน กับขดลวดสร ้างสนามแบบอนุกรม(Series field)
4 : สลับขัว ของแรงดันไฟฟ้ าเฉพาะทีจ 霗� า่ ยให ้กับขดลวดสร ้างสนาม
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 180 :
ถ้าต้องการลดความเร็ วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกขดลวดกระตุน้  (Separately excited field dc motor) แบบ Regenerative braking ในย่านความเร็ วตํา
กว่าพิกดั  วิธีการใดจึงจะเหมาะสม

1 : กลับทิศทางแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์


2 : กลับทิศทางแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
2 : กลับทิศทางแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
3 : กลับทิศทางของกระแสไฟฟ้ าในขดลวดอาร์ มาเจอร์
4 : กลับทิศทางของกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 181 :
ถ้าต้องการเพิมความเร็ วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกขดลวดกระตุน้  (Separately excited field dc motor) ในย่านความเร็ วสูงกว่าพิกดั  วิธีการในข้อใดจึงจะ
เหมาะสม

1 : เพิมแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์


2 : ลดแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์
3 : เพิมกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
4 : ลดกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็ก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 182 :
ถ้าต้องการเพิมความเร็ วของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสตรงแบบแยกขดลวดกระตุน้  (Separately excited field dc motor) เป็ น 2 เท่าของพิกดั ความเร็ ว (กําหนดให้ความ
สัมพันธ์ระหว่างกระแสกับสนามแม่เหล็กเป็ นแบบเชิงเส้น) วิธีการในข้อใดจึงจะเหมาะสม

1 : เพิมแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์ เป็ น 2 เท่าของพิกดั


2 : ลดแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดอาร์ มาเจอร์ ลงเหลือครึ งหนึ งของพิกดั
3 : เพิมกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็กเป็ น 2 เท่าของพิกดั
4 : ลดกระแสไฟฟ้ าป้ อนเข้าขดลวดสร้างสนามแม่เหล็กลงเหลือครึ งหนึ งของพิกดั
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

เนือ
 หาวิชา : 42 : Theory and analysis of single phase and three phase transformers

ข ้อที 霗� 183 :
หม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว ขนาด 6300/210 V 50 Hz มีคา่ อัตราสว่ นจํานวนรอบเท่ากับเท่าใด

1 : 1/3
2 : 3
3 : 1/30
4 : 30
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 184 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : หม ้อแปลงแรงดัน ( Potential Transformer ) ใช ้หลักการอัตราส่วนของแรงดันไฟฟ้ ามาใช ้งาน


2 : หม ้อแปลงแรงดัน ( Potential Transformer ) ใช ้ลดระดับแรงดันไฟฟ้ าทีม 霗� ค
ี า่ สูงให ้มีคา่ ตํา霗� ลงมา
3 : หม ้อแปลงกระแส ( Current Transformer ) ใช ้ลดระดับกระแสไฟฟ้ าทีม 霗� ค
ี า่ สูงให ้มีคา่ ตํา霗� ลงมา
4 : ไม่มคี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 185 :
ข ้อใดกล่าวถูกต ้องเกีย ้
霗� วกับการใชงานหม ้อแปลงไฟฟ้ า

1 : ขณะหม ้อแปลงไฟฟ้ าไม่มก ี ารจ่ายโหลดจะเกิดการสูญเสียเฉพาะในลวดทองแดงเท่านัน 


2 : ขณะหม ้อแปลงไฟฟ้ ามีการจ่ายโหลดจะเกิดการสูญเสียทัง ในลวดทองแดง และในแกนเหล็ก
3 : ค่าความสูญเสียเนือ 霗� งจากแกนเหล็กจะมีคา่ ไม่คงทีเ霗� นือ
霗� งจากค่าสนามแม่เหล็กในแกนเหล็กจะมี การเปลีย
霗� นแปลงเมือ
霗� ภาระโหลดเปลีย
霗� นแปลง
4 : ค่าความสูญเสียเนือ 霗� งจากขดลวดทองแดงจะมีคา่ คงทีเ霗� นือ 霗� งจากความต ้านทานของขดลวดมีคา่ คงที霗�
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 186 :
ถ ้านํ าหม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว 3 ชุดนํ ามาต่อเป็ นหม ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส ขนาดพิกด
ั  600 kVA , 44000/440 V แบบ
Delta ­ Star จงคํานวณหาขนาดพิกด ั ของหม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว

1 : 44 kV/254 V, 200 kVA
2 : 254 kV/440 V, 200 kVA
3 : 44 kV/440 V, 200 kVA
4 : 254 kV/400 V, 200 kVA
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 187 :

1 : 216 V
2 : 264 V
3 : 2160 V
4 : 2640 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 188 :
การกระทําในข ้อใดทีไ霗� ม่จําเป็ นต ้องทําการทดสอบหาขัว ของหม ้อแปลง

1 : ต่อหม ้อแปลงหนึง霗� เฟส


2 : ขนานหม ้อแปลงหนึง霗� เฟส
3 : ขนานหม ้อแปลงสามเฟส
4 : ขนานหม ้อแปลงแบบออโต ้หนึง霗� เฟส
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 189 :
ในการต่อหม ้อแปลงไฟฟ้ าสามเฟสแบบใด ทีเ霗� ป็ นการต่อแบบแปลงแรงดันไฟฟ้ าสูงขึน ้ ้อแปลงไฟฟ้ าหนึง霗� เฟสที霗�
  หากใชหม
ั ราสว่ น 1 : 1 และมีขนาดพิกด
มีอต ั  และคุณสมบัตเิ หมือนกันจํานวน 3 ชุด

1 : Star­Star
2 : Star­Delta
3 : Delta­Star
4 : Delta­Delta
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 190 :
ข ้อใดไม่ใชเ่ งือ
霗� นไขในการขนานหม ้อแปลงไฟฟ้ า

1 : จํานวนขัว แม่เหล็กเท่ากัน
2 : แรงดันไฟฟ้ าเท่ากัน
3 : ลําดับเฟสเหมือนกัน
4 : เปอร์เซ็นต์อม ิ พีแดนซ์เท่ากัน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 191 :
หม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียวอัตราสว่ น 1:2 พิกด
ั กําลัง 100 VA จงหาแรงดันไฟฟ้ าด ้านออก หากด ้านเข ้าต่อแบตเตอรี 霗� 12 V

1 : 0 V
2 : 12 V
3 : 24 V
4 : 100 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 192 :

การนํ าเอาหม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว 3 ตัวมาต่อเป็ นหม ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส การต่อแบบใดทีส


霗� ามารถนํ าหม ้อแปลงไฟฟ้ า
การนํ าเอาหม ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว 3 ตัวมาต่อเป็ นหม ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส การต่อแบบใดทีส 霗� ามารถนํ าหม ้อแปลงไฟฟ้ า
ตัวใดตัวหนึง霗� ออก เมือ ่ มบํารุงรักษา โดยทีห
霗� จําเป็ นต ้องการซอ 霗� ม ้อแปลงสองตัวทีเ霗� หลือยังคงทําหน ้าทีเ霗� ป็ นหม ้อแปลง 3
เฟสได ้ตามปกติ แต่พก ิ ด
ั กําลังจะลดลงเหลือเพียงประมาณ 58%

1 : star ­ star
2 : star ­ delta
3 : delta ­ delta
4 : delta – star
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 193 :
่ ว่ นประกอบทีส
ข ้อใดไม่ใชส 霗� ําคัญของหม ้อแปลงไฟฟ้ า

1 : ขดลวดปฐมภูม ิ
2 : แกนเหล็ก
3 : ขดลวดโรเตอร์
4 : ขดลวดทุตย ิ ภูม ิ
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 194 :
ข ้อใดคือนิยามของ Voltage Regulation ของหม ้อแปลงไฟฟ้ า

1 : การเปลีย 霗� นแปลงของแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ด ้านทุตย ิ ภูมจ ิ ากขณะไม่มภ ่ ณะขับภาระเต็มพิกด


ี าระไปสูข ั
2 : การเปลีย 霗� นแปลงของแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ด ้านทุตย ิ ภูมจ ิ ากขณะขับภาระเต็มพิกด ั ไปสูข่ ณะขับภาระที 霗� 50 เปอร์เซ็นต์
3 : การเปลีย 霗� นแปลงของแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ด ้านปฐมภูมจ ิ ากขณะไม่มภ ่ ณะขับภาระเต็มพิกด
ี าระไปสูข ั
4 : การเปลีย 霗� นแปลงของแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ด ้านทุตย ิ ภูมจ ิ ากขณะขับภาระเต็มพิกด ั ไปสูข่ ณะขับภาระที 霗� 50 เปอร์เซ็นต์
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 195 :
คุณลักษณะของ Two winding transformer กับ Autotransformer ข ้อใดถูกต ้อง

1 : Two Winding Transformer มีการสูญเสียตํา霗�  และราคาถูกกว่า
2 : Autotransformer มีขดปฐมภูม ิ และขดทุตย ิ ภูมห
ิ ลายขด
3 : ขดลวดปฐมภูม ิ และทุตย ิ ภูมข
ิ อง Two Winding Transformer แยกจากกันทางไฟฟ้ า
4 : Autotransformer มีนําหนักทีม霗� าก และราคาแพงกว่า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 196 :
้ ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟส มีลก
การใชหม ั ษณะทีด
霗� ก ้ ้อแปลงไฟฟ้ าเฟสเดียว 3 ตัวมาต่อร่วมกันอย่างไร
ี ว่าการใชหม

1 : ราคาถูก และประสิทธิภาพสูง
2 : นํ าหนักเบา และใช ้พืน ทีต
霗� ด
ิ ตัง น ้อย
3 : มีคา่ ความสูญเสียตํา霗� กว่า
4 : มีคําตอบมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 197 :

1 : 
2 : 
3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 198 :

1 : 
2 : 
3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 199 :
Auto­transformer ต่างกับหม ้อแปลงธรรมดา (Two winding transformer) อย่างไร

1 : ไม่มขี ดลวดทุตย ิ ภูม ิ


2 : ไม่มก ี ารไอโซเลท (Isolate)
3 : ต ้องใช ้ขดลวดมากกว่า 2 ชุด
4 : แรงดันขาออกต ้องน ้อยกว่าแรงดันขาเข ้า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 200 :
ในระบบหม ้อแปลงไฟฟ้ าสามเฟส ข ้อใดต่อไปนีไ
 ม่ถก
ู ต ้อง

1 : หม ้อแปลงไฟฟ้ าต่อแบบ star ­ star ทําให ้เกิดผลของฮาร์โมนิกที 霗� 3 ออกไปในระบบไฟฟ้ า


2 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ามักเกิดฮาร์โมนิกที 霗� 3 เนือ 霗� งจากความไม่เป็ นเชิงเส ้นของแกนหม ้อแปลง
3 : Tertiary winding เป็ นขดลวดพิเศษทีพ 霗� ันเพิม霗� เข ้าไปโดยต่อแบบ delta และมักจะออกแบบให ้มีพก
ิ ด
ั กําลังเป็ นสองในสามของพิกด
ั กําลังขดลวด
หลัก ซึง霗� ช่วยแก ้ปั ญหาฮาร์โมนิกที 霗� 3 ได ้
4 : หม ้อแปลงไฟฟ้ าต่อแบบ star ­ delta จะไม่มป ี ั ญหาฮาร์โมนิกที 霗� 3 ในแรงดันไฟฟ้ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 201 :
ถ ้านํ าหม ้อแปลงไฟฟ้ าทีม
霗� พ
ี ก
ิ ด
ั ความถี 霗� 60 Hz มาทํางานทีค
霗� วามถี 霗� 50 Hz ข ้อใดต่อไปนีถ
 ก
ู ต ้อง

1 : ควรเพิม 霗� แรงดันไฟฟ้ าทีป霗� ้ อนเข ้า หม ้อแปลงไฟฟ้ า 16.67 เปอร์เซ็นต์จากพิกดั เดิม ถ ้าไม่คด


ิ ถึงปั ญหาของฉนวน
2 : สามารถช่วยลดขนาดกระแสแมกนีไทส์ซงิ霗�  (Magnetizing current) ได ้ประมาณ 16.67 เปอร์เซ็นต์ จากพิกด ั เดิม
3 : ควรลดแรงดันไฟฟ้ าทีป 霗� ้ อนเข ้าหม ้อแปลงไฟฟ้ า 16.67 เปอร์เซ็นต์ จากพิกด ั เดิม
4 : ผิดถูกข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 202 :
การต่อหม ้อแปลงไฟฟ้ า 3 เฟสแบบใดทีท
霗� ําให ้เกิดแรงดันฮาร์มอนิกลําดับที 霗� 3 ในขดลวดของหม ้อแปลงไฟฟ้ า
1 : การต่อขดปฐมภูมเิ ป็ นสตาร์ไม่มสี ายนิวทรอลและขดทุตย ิ ภูมเิ ป็ นเดลต ้า
2 : การต่อขดปฐมภูมเิ ป็ นสตาร์มสี ายนิวทรอลและขดทุตย ิ ภูมเิ ป็ นสตาร์ไม่มส ี ายนิวทรอล
3 : การต่อขดปฐมภูมเิ ป็ นสตาร์ไม่มส ี ายนิวทรอลและขดทุตย ิ ภูมเิ ป็ นสตาร์ไม่มสี ายนิวทรอล
4 : การต่อขดปฐมภูมเิ ป็ นเดลต ้าและขดทุตย ิ ภูมเิ ป็ นเดลต ้า
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 203 :
หม ้อแปลงไฟฟ้ า 1 เฟส 10 kVA กําลังสูญเสย ี ในแกน (core losses) 50 W กําลังสูญเสย
ี ในขดลวด(copper losses) ที霗�
กระแสเต็มพิกด ั  200 W จากตัวเลือกทีก
霗� ําหนด หม ้อแปลงไฟฟ้ าจ่ายโหลดเท่ากับเท่าใดจะทําให ้หม ้อแปลงไฟฟ้ ามี
ประสท ิ ธิภาพสูงสุด

1 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ารับโหลดที 霗� 50 % ของโหลดเต็มพิกด



2 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ารับโหลดที 霗� 60 % ของโหลดเต็มพิกด ั
3 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ารับโหลดที 霗� 70 % ของโหลดเต็มพิกด ั
4 : หม ้อแปลงไฟฟ้ ารับโหลดที 霗� 80 % ของโหลดเต็มพิกด ั
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 204 :

1 : 0.83 เท่า
2 : 0.90 เท่า
3 : 1.10 เท่า
4 : 1.20 เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 205 :

1 : 205 W
2 : 605 W
3 : 810 W
4 : 1015 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 206 :

1 : 205 W
2 : 605 W
3 : 810 W
4 : 1015 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 207 :
1 : 205 W
2 : 810 W
3 : 1015 W
4 : 605 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 208 :

1 : 20
2 : 1/20
3 : 200
4 : 1/200
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 209 :

1 : 30 A
2 : 250 A
3 : 500 A
4 : 600 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 210 :

1 : 600 A
2 : 300 A
3 : 30 A
4 : 5.5 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 211 :

1 : 150 kW
2 : 120 kW
3 : 210 kW
4 : 115.8 kW
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 212 :

1 : 45.96 ohm
2 : 2.48 ohm
3 : 2.23 ohm
4 : 304.89 ohm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 213 :

1 : 0.9 โอห์ม
2 : 2.4 โอห์ม
3 : 2.23 โอห์ม
4 : 1.78 โอห์ม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 214 :

1 : 0.9 ohm
2 : 2.4 ohm
3 : 2.23 ohm
4 : 304.9 ohm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 215 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2
ข ้อที 霗� 216 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 217 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 218 :

1 : 
2 : 
3 : 
4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 219 :

1 : 6.95/416.7 A
2 : 12.03/721.7 A
3 : 20.83/1250 A
4 : 20.83/416.7 A

คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 220 :
Ammeter 5 A ต่อกับ current transformer (CT) ทีม
霗�  ี ratio 500 : 5 A ถ ้ากระแสไฟฟ้ าด ้านปฐมภูม ิ ของ CT เท่ากับ 400 A
กระแสไฟฟ้ าที 霗� Ammeter จะมีคา่ เท่าใด

1 : 1 A
2 : 2 A
3 : 3 A
4 : 4 A
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 221 :
Potential Transformer (PT) ทีม霗�  ี ratio 2000 : 120 V ต่อกับ Voltmeter 120 V ถ ้ามีแรงดันไฟฟ้ าทีป
霗� ฐมภูมข
ิ อง PT เท่ากับ
1200 V แรงดันไฟฟ้ าที 霗� Voltmeter จะมีคา่ เท่าใด

1 : 50 V
2 : 62 V
3 : 72 V
4 : 80 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 222 :

1 : 20 โอห์ม
2 : 400 โอห์ม
3 : 4000 โอห์ม
4 : 8000 โอห์ม
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 223 :

1 : 22 A
2 : 44 A
3 : 110 A
4 : 11 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 224 :
หม ้อแปลงไฟฟ้ าหนึง霗� เฟส ขนาดพิกดั  50 kVA, 2400/120 V, 50 Hz เมือ霗� จ่ายกําลังไฟฟ้ าเต็มพิกด
ั ทีพ
霗� ก
ิ ด
ั แรงดันไฟฟ้ า 120
V ให ้กับโหลดมีคา่ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8 power factor lagging ให ้คํานวณหาค่าของกระแสไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้กับโหลด

1 : 20.83 A
2 : 416.67 A
3 : 41.67 A
4 : 208.3 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 225 :

1 : 27.8 A
2 : 48.1 A
3 : 83.3 A
4 : 58.9 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 226 :

1 : ประสิทธิภาพสูง
2 : Voltage regulation ตํา霗�
3 : ราคาถูก
4 : นํ าหนักหม ้อแปลงต่อค่าพิกด
ั กําลังไฟฟ้ าของหม ้อแปลงมาก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 227 :
ในสภาวะไม่มภ ี าระ ถ ้าหม ้อแปลงไฟฟ้ า 1 เฟสต่อกับแรงดันไฟฟ้ ากระแสไฟฟ้ าสลับ 220 V กินกําลังไฟฟ้ า 300 W ถ ้าแรง
ดันไฟฟ้ าทีป ่ ม ้อแปลงถูกลดลงเหลือ 198 V กําลังไฟฟ้ าทีเ霗� ข ้าสูห
霗� ้ อนเข ้าสูห ่ ม ้อแปลงจะมีคา่ เท่าใด

1 : 270 W
2 : 333 W
3 : 370 W
4 : 243 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 228 :

1 : 238 A
2 : 500 A
3 : 83.3 A
4 : 6.9 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 229 :
ข ้อใดกล่าวไม่ถก
ู ต ้อง
1 : ค่ากําลังไฟฟ้ าทีไ霗� ด ้จากการทดสอบหม ้อแปลงไฟฟ้ าแบบเปิ ดวงจรจะเป็ นค่าความสูญเสียทีเ霗� กิดขึน  ในแกนเหล็ก
2 : ค่ากําลังไฟฟ้ าทีไ霗� ด ้จากการทดสอบหม ้อแปลงไฟฟ้ าแบบลัดวงจรจะเป็ นค่าความสูญเสียทีเ霗� กิดขึน  ในขดลวด
3 : การทดสอบหม ้อแปลงไฟฟ้ าแบบลัดวงจรจะจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทดสอบจนถึงค่าพิกด ั กระแสไฟฟ้ าของด ้านทดสอบ
4 : ความสูญเสียรวมในหม ้อแปลงไฟฟ้ าคือผลรวมของค่ากําลังไฟฟ้ าทีไ霗� ด ้จากการทดสอบหม ้อแปลงไฟฟ้ าแบบเปิ ดวงจรรวมกับการทดสอบ
หม ้อแปลงไฟฟ้ าแบบลัดวงจร และค่ากําลังไฟฟ้ าทีไ霗� ด ้จากการคํานวณของค่าความสูญเสียทีเ霗� กิดขึน  ในขดลวดทัง ด ้านปฐมภูมแ
ิ ละด ้านทุตติยภูม ิ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 230 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 231 :

1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 232 :
1 : 

2 : 

3 : 

4 : 
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

เนือ
 หาวิชา : 43 : AC machines construction

ข ้อที 霗� 233 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสสามเฟสกับระบบไฟฟ้ าข ้อใดทีก
ในการต่อขนานเครือ 霗� ล่าวไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การตรวจสอบแบบ Three­dark ถ ้าหลอดไฟดับสนิททัง สามดวงโดยไม่มก ี ารเปลีย


霗� นแปลงแสดงว่าสามารถทําการขนานเครือ
霗� งจักรกับระบบ
ไฟฟ้ าได ้
2 : การตรวจสอบแบบ Three­dark ถ ้าหลอดไฟมีลก ั ษณะที 霗� สว่าง­ดับ­สว่าง­ดับ พร ้อมกันทัง สามดวงตลอดเวลาแสดงว่าความถีเ霗� ท่ากันแล ้วแต่
ลําดับเฟสยังไม่ตรงกัน
3 : การตรวจสอบแบบ One­dark Two­bright ถ ้าหลอดไฟมีลก ั ษณะทีด 霗� บ
ั  1 ดวงและสว่าง 2 ดวง สลับกันไปตลอดเวลาแสดงว่าลําดับเฟสตรงกัน
แล ้วแต่ความถีย 霗� งั ไม่เท่ากัน
4 : ในการขนานกัน ลําดับเฟสต ้องเหมือนกัน ความถีต
霗� ้องเท่ากัน และแรงดันไฟฟ้ าต ้องเท่ากัน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 234 :
ตัวเลือกใดเป็ นสว่ นทีอ
霗� ยูใ่ นมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า

1 : Inter pole
2 : Compensating winding
3 : Squirrel­cage rotor
4 : Commutator
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 235 :
เมือ ้
霗� ต ้องการใชงานเครื
อ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าแบบซงิ โครนัสผลิตแรงเคลือ ้ อ
霗� นแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยใชเครื 霗� งต ้นกําลัง (Prime
Mover) เป็ นพลังงานนํ าจากเขือ 霗� นในการขับเคลือ ้
霗� น ควรเลือกใชโรเตอร์เป็ นแบบใดจึงเหมาะสม

1 : Cylindrical Rotor
2 : Salient­Pole Rotor
3 : Wound Rotor
4 : Squirrel Cage Rotor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 236 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับในข ้อใดทีไ霗� ม่มส
ี นามแม่เหล็กหมุนทีข
霗� ดลวดสเตเตอร์

1 : Induction motor
2 : Synchronous motor
3 : Shaded­pole motor
4 : Universal motor
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4
ข ้อที 霗� 237 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าหนึง霗� เฟสในข ้อใดให ้แรงบิดเริม
霗� ต ้นหมุน (Starting Torque) สูงทีส
霗� ด

1 : Split – phase motor
2 : Capacitor – start motor
3 : Permanent – split – capacitor motor
4 : Shaded­pole motor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 238 :
ข ้อใดเป็ นสว่ นประกอบของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ า

1 : Wound rotor กับ Stator
2 : Field pole กับ Rotor
3 : Field pole กับ Armature
4 : Field pole กับ Squirrel cage rotor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 239 :
Synchronous reactance เกิดจากสนามแม่เหล็กสว่ นใดของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าซงิ โครนัส

1 : สนามแม่เหล็กอาร์เมเจอร์กบั สนามแม่เหล็กรั霗�ว
2 : สนามแม่เหล็กอาร์เมเจอร์กบ ั สนามแม่เหล็กของขัว แม่เหล็ก
3 : สนามแม่เหล็กรั霗�วกับสนามแม่เหล็กของขัว แม่เหล็ก
4 : สนามแม่เหล็กรวมทัง หมดของเครือ 霗� งกลไฟฟ้ าซิงโครนัส
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 240 :

การพันอาร์เมเจอร์โดยใชระยะต ั  กว่า 180 องศาทางไฟฟ้ า จะเกีย
้น coil กับปลาย coil สน 霗� วข ้องกับแฟคเตอร์การพันของ
ขดอาร์เมเจอร์ของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสสลับค่าใด

1 : ไม่มค
ี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
2 : Distribution factor
3 : Pitch factor
4 : Form factor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 241 :
่ น ้าทีข
ข ้อใดไม่ใชห 霗� องขดลวดสเตเตอร์ของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส

1 : สร ้างสนามแม่เหล็กหมุน
2 : ส่งกําลังกลออกกรณีทํางานเป็ นมอเตอร์
3 : ส่งกําลังไฟฟ้ าออกกรณีทํางานเป็ นเครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
4 : รับกําลังไฟฟ้ าเข ้ากรณีทํางานเป็ นมอเตอร์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 242 :
ข ้อใดเป็ นสว่ นประกอบทีเ霗� คลือ
霗� นทีข
霗� องเครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ

1 : เปลือกและโครง
2 : ขัว แม่เหล็ก
3 : แปลงถ่านและแบริง霗�
4 : แกนเหล็กอาร์เมเจอร์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 243 :
ในการทดสอบการทํางานของมอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับตัวหนึง霗�  โดยจ่ายไฟ 3 เฟส 400 V 50 Hz ปรากฏว่า มอเตอร์หมุน
ทีค
霗� วามเร็วรอบ 980 rpm มอเตอร์ทท
ี霗� ดสอบนีน
 ่าจะเป็ นมอเตอร์ใดในตัวเลือกต่อไปนี

1 : มอเตอร์ซงิ โครนัส 2 ขัว
2 : มอเตอร์ซงิ โครนัส 4 ขัว

3 : มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 4 ขัว
3 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 4 ขัว
4 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 6 ขัว
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 244 :
หน ้าทีห
霗� ลักของ Damper bar ในเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ า

1 : ลดการแกว่งตัวของตัวหมุนของเครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัส


2 : ลดการแกว่งตัวของตัวหมุนของเครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง
3 : ลดการเปลีย 霗� นแปลงกระแสไฟฟ้ าในขดลวดอาร์มาเจอร์ของเครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัส
4 : ลดการเปลีย 霗� นแปลงกระแสไฟฟ้ าในขดลวดอาร์มาเจอร์ของ เครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ ากระแสตรง
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 245 :
เครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าประเภทใดต ้องการกระแสไฟฟ้ ากระตุ ้นจากแหล่งจ่ายแรงดันไฟตรงทีอ
霗� ยูภ
่ ายนอก

1 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าเหนีย霗� วนํ า
2 : มอเตอร์ซงิ โครนัส
3 : มอเตอร์รล ี ก
ั แทนซ์
4 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 246 :
ข ้อใดคือรูปแบบการวางตัวของขดลวดอาร์เมเจอร์

1 : การวางตัวแบบ contribution
2 : การวางตัวแบบ extensive
3 : การวางตัวแบบ intensive
4 : การวางตัวแบบ distribution
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 247 :
ทิศทางแรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าในตัวนํ าของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าสามารถเปลีย
霗� นแปลงได ้โดย

1 : ลดขนาดลวดตัวนํ า
2 : กลับทิศทางสนาม (Field)
3 : เพิม
霗� ความยาวตัวนํ า
4 : เพิม 霗� ขนาดสนาม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 248 :
แรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าของลวดตัวนํ าเดียวในสนามแม่เหล็กทีม
霗� แ
ี ม่เหล็ก 4 ขัว  จะมีจํานวนกีไ霗� ซเคิลต่อการหมุน 1 รอบ

1 : 1 ไซเคิล
2 : 2 ไซเคิล
3 : 4 ไซเคิล
4 : 8 ไซเคิล
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 249 :
แรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าสูงสุดในลวดตัวนํ าเดียวภายในสนามแม่เหล็กจะเกิดขึน
 เมือ
霗� ขดลวดวางอยูใ่ นลักษณะอย่างไร

1 : ตัง ฉากกับสนามแม่เหล็ก
2 : ขนานกับสนามแม่เหล็ก
3 : หมุนด ้วยความเร็วตํา霗�
4 : ทํามุม 45 องศา
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 250 :
มอเตอร์ไฟฟ้ ากระแสสลับเครือ霗� งหนึง霗�  มีป้ายบอกพิกด ั เจนเห็นเพียงค่าความถี 霗� 50 Hz และความเร็วรอบทีภ
ั ทีไ霗� ม่ชด 霗� าระ
โหลดพิกดั เท่ากับ 1420 rpm แสดงว่ามอเตอร์เครือ 霗� งนีเ ป็ นมอเตอร์แบบใด
1 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 2 ขัว
2 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 4 ขัว
3 : มอเตอร์ซงิ โครนัส 2 ขัว
4 : มอเตอร์ซงิ โครนัส 4 ขัว
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 251 :

1 : เป็ นโครงสร ้างของเครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัส


2 : เครือ霗� งจักรกลไฟฟ้ านีม  ี 4 ขัว แม่เหล็ก
3 : มีจํานวนขัว แม่เหล็ก 2 คูข ่ วั 
4 : โรเตอร์เป็ นแบบ Cylindrical rotor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 252 :
แกนของขดลวดอาร์มาเจอร์เฟส a กับ b ของ Three-phase armature winding ทีมี 4 ขัวแม่เหล็ก จะวางห่างกันกีองศาทางกล

1 : 45 องศากล
2 : 60 องศากล
3 : 90 องศากล
4 : 120 องศากล
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 253 :
แกนของขดลวดอาร์มาเจอร์ของ Main winding กับ Auxiliary winding ของ Single phase induction motor แบบ Capacitor start ทีมี 4 ขัวแม่เหล็ก จะวางห่างกันกี
องศาทางกล

1 : 45 องศากล
2 : 60 องศากล
3 : 90 องศากล
4 : 120 องศากล
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 254 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 48 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีความกว้างของขดลวดเท่ากับ 9
สล๊อต และมีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละขดเท่ากับ 10 รอบ ให้คาํ นวณหาค่าจํานวนรอบของขดลวดในแต่ละเฟส

1 : 40 รอบ
2 : 80 รอบ
3 : 160 รอบ
4 : 480 รอบ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 255 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 48 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีความกว้างของขดลวดเท่ากับ 9
สล๊อต และมีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละขดเท่ากับ 10 รอบ ให้คาํ นวณหาค่า Distribution factor (Kd ) ของ Fundamental
1 : 0
2 : 0.8
3 : 0.96
4 : 1.0
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 256 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 48 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีความกว้างของขดลวดเท่ากับ 9
สล๊อต และมีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละขดเท่ากับ 10 รอบ ให้คาํ นวณหาค่า Pitch factor (Kp) ของ Fundamental

1 : 0
2 : 0.8
3 : 0.92
4 : 1.0
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 257 :
จากการพันขดลวดอาร์มาเจอร์สามเฟส (Three-phase armature winding) แบบสองชัน (Double layer) ทีมี 48 สล๊อต 4 ขัวแม่เหล็ก มีความกว้างของขดลวดเท่ากับ 9
สล๊อต และมีจาํ นวนรอบของขดลวดแต่ละขดเท่ากับ 10 รอบ ให้คาํ นวณหาค่า Winding factor (Kw) ของ Fundamental

1 : 0
2 : 0.64
3 : 0.88
4 : 1.0
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

เนือ
 หาวิชา : 44 : Steady state performance and analysis of induction machines

ข ้อที 霗� 258 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟส 60 Hz เมือ 霗� ไม่มภี าระทางกล มอเตอร์หมุนด ้วยความเร็ว 898 rpm มอเตอร์นจ
ี ะมีความเร็วประมาณ
เท่าไรเมือ
霗� ทํางานเต็มพิกด ั  (ถ ้าทีพ
霗� ก
ิ ด ั  Per­unit slip คือ 0.033)

1 : 890 rpm
2 : 865 rpm
3 : 770 rpm
4 : 870 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 259 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟส 50 แรงม ้า 4 poles ต่อแบบ Y ขณะทํางานทีเ霗� ต็มพิกด
ั กําลังจะมีความเร็วรอบ 1764 รอบ/นาที
โดยทีม
霗�  ี Rotational losses 950 W, Stator Copper losses 1.6 kW, Iron losses 1.2 kW จงคํานวณหาค่าประสท ิ ธิภาพ

1 : 85%
2 : 87%
3 : 93%
4 : 91%
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 260 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟส 480 V, 50 Hz ขณะจ่ายโหลดทีส ้
霗� ภาวะตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.85 ล ้าหลัง ใชกระแสไฟฟ้ า 60
A โดยมอเตอร์มก ี คือ Stator copper losses 2 kW, Rotor copper losses 700 W, Friction and windage losses
ี ําลังสูญเสย
600 W, Core losses 1800 W กําหนดให ้ไม่คด ิ  Stray losses จงคํานวณค่าความสูญเสย ี ในขดลวดทัง หมด

1 : 2,000 W
2 : 3,300 W
3 : 2,700 W
4 : 5,100 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 261 :

มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟส 208 V, 10 hp, 4­pole, 50 Hz ต่อขดลวดสเตเตอร์แบบ Y ทีส
霗� ภาวะโหลดเต็มพิกด
ั  (Full load)
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟส 208 V, 10 hp, 4­pole, 50 Hz ต่อขดลวดสเตเตอร์แบบ Y ทีส
霗� ภาวะโหลดเต็มพิกด
ั  (Full load)
สลิป 5 เปอร์เซน็ ต์ จงคํานวณค่าความถีไ霗� ฟทีโ霗� รเตอร์ (rotor frequency)

1 : 1.5 Hz
2 : 2.5 Hz
3 : 3.5 Hz
4 : 4.5 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 262 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  18.5 kW, 380 V, 50 Hz, 2850 rpm, ต่อแบบ star ให ้คํานวณหาจํานวนขัว แม่เหล็กของ
มอเตอร์

1 : 2 ขัว
2 : 4 ขัว
3 : 6 ขัว
4 : 8 ขัว
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 263 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกด ั  18.5 kW, 380 V, 50 Hz, 298.4 rad/s ต่อแบบ star ให ้คํานวณหาค่าแรงบิดทางกล
(output) ของมอเตอร์ เมือ霗� มอเตอร์ทํางานทีภ霗� าระเต็มพิกด

1 : 62 N.m
2 : 123 N.m
3 : 32 N.m
4 : 157 N.m
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 264 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  18.5 kW, 380 V, 50 Hz, 2850 rpm, ต่อแบบ star ให ้คํานวณหาค่า slip ของมอเตอร์ เมือ
霗�
มอเตอร์ทํางานทีเ霗� ต็มพิกด

1 : 0.05
2 : 0.053
3 : 0.06
4 : 0.047
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 265 :
อัตราสว่ นระหว่าง กําลังไฟฟ้ าทีจ
霗� า่ ยให ้โรเตอร์ (power across air gap) กับกําลังไฟฟ้ าทีอ
霗� อกจากโรเตอร์ (electromagnetic
power) ตรงกับตัวเลือกใด

1 : 1/(1­s)
2 : 1­s
3 : s
4 : 1/s
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 266 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกดั  440 V, 6­pole, 50 Hz ขณะมอเตอร์ทํางานทีค
霗� า่ สลิปเท่ากับ 3 % มีคา่ กําลังไฟฟ้ าทีจ
霗� า่ ยให ้
กับโรเตอร์เท่ากับ 20 kW ให ้คํานวณหาค่าแรงบิดแม่เหล็กไฟฟ้ า (Electromagnetic torque) ของมอเตอร์

1 : 12.7 N.m
2 : 19.1 N.m
3 : 127 N.m
4 : 191 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 267 :

มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าตัวหนึง霗� มีขนาด 1 แรงม ้า ขณะทํางานทีพ
霗� ก
ิ ด
ั กําลัง โรเตอร์หมุนด ้วยความเร็ว 146 rad/s มอเตอร์ตวั นีม
 ี
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าตัวหนึง霗� มีขนาด 1 แรงม ้า ขณะทํางานทีพ
霗� ก
ิ ด
ั กําลัง โรเตอร์หมุนด ้วยความเร็ว 146 rad/s มอเตอร์ตวั นีม
 ี
ค่าแรงบิดทีพ
霗� ก ิ ด
ั เท่าใด

1 : 0.85 N.m
2 : 2.1 N.m
3 : 1.7 N.m
4 : 5.1 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 268 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส ขนาดพิกด
ั  3 kW 4 ขัว  400 V 1450 rpm 50 Hz มีพก
ิ ด
ั กําลังเอาท์พท
ุ เท่าใด

1 : 400 W
2 : 1450 W
3 : 3000 W
4 : 19.76 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 269 :
ู ต ้อง สําหรับมอเตอร์เหนีย
ข ้อใดกล่าวไม่ถก 霗� วนํ า

1 : ขณะไม่มภ ี าระทางกลโรเตอร์มค ี า่ ความต ้านทานสูง


2 : ขณะเริม霗� หมุนโรเตอร์มค ี า่ ความต ้านทานตํา霗� มาก ๆ
3 : ขณะไม่มภ ี าระทางกลโรเตอร์มค ี า่ ความถีส 霗� งู สุด
4 : ขณะเริม 霗� หมุนโรเตอร์มคี า่ แรงเคลือ 霗� นแม่เหล็กสูงสุด
คําตอบทีถ
霗� ก ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 270 :
เครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ าสามเฟสขนาดพิกดั  10 HP 380 V 4 poles 50 Hz ขณะมีความเร็ว1800 rpm แสดงว่า
เครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ ากําลังทํางานอยูใ่ นย่านใด

1 : ย่านเบรก
2 : ย่านเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ า
3 : ย่านปลั⃾กกิง
4 : ย่านกลับทางหมุน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 271 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟส 10 แรงม ้า 220 V 60 Hz 6 ขัว แม่เหล็ก ต่อแบบสตาร์ ขณะทํางานทีค
霗� า่ สลิปเท่ากับ 2% มี
ความเร็วโรเตอร์เท่ากับเท่าใด

1 : 24.0 rpm
2 : 125.6 rpm
3 : 1,000 rpm
4 : 1,176 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 272 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟส 10 แรงม ้า ต่อแบบสตาร์ มีพก
ิ ด
ั แรงดันไฟฟ้ า 220 V, 50 Hz, 6 ขัว  สามารถจ่ายกําลังทางกล
สูงสุดได ้เท่ากับเท่าใด

1 : 7460 W
2 : 746 W
3 : 11000 W
4 : 1000 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 273 :
แนวทางในข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารทีส ้
霗� ามารถนํ าไปใชในการควบคุ
มความเร็วมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า
1 : การเปลีย 霗� นจํานวนขัว แม่เหล็กของมอเตอร์
2 : ปรับเปลีย 霗� นความถีแ
霗� หล่งจ่ายไฟฟ้ า
3 : ปรับค่าแรงดันไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้กับมอเตอร์
4 : การต่อความต ้านทานภายนอกอนุกรมกับโรเตอร์แบบกรงกระรอก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 274 :
ถ ้าแรงเคลือ
霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าทีเ霗� กิดขึน
 ในตัวโรเตอร์ของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสทีม 霗� ข
ี วั  แม่เหล็ก 6 ขัว  มีความถีไ霗� ฟที霗�
โรเตอร์ 2 Hz เมือ霗� ความถีไ霗� ฟของแหล่งจ่ายไฟฟ้ ามีคา่  50 Hz มอเตอร์มค ี า่ สลิปเท่ากับเท่าใด

1 : 0.04
2 : 0.02
3 : 0.4
4 : 0.2
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 275 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส ขนาดพิกด
ั  3 kW 4 ขัว  400 V 1450 rpm 50 Hz มีแรงบิดพิกด
ั เท่าไร

1 : 20.59 N.m
2 : 14.75 N.m
3 : 19.24 N.m
4 : 19.76 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 276 :
มอเตอร์เหนีย ิ ธิภาพ 75 % ตัวประกอบกําลัง
霗� วนํ า 3 เฟส ขนาดกําลังจ่ายออก 3 kW 4 ขัว  400 V 1450 rpm 50 Hz ประสท
ไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง กระแสไฟฟ้ าพิกดั มีคา่ เท่ากับเท่าไร

1 : 12.50 A
2 : 4.66 A
3 : 7.22 A
4 : 21.67 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 277 :

1 : 3.844 ohm
2 : 3.662 ohm
3 : 1.185 ohm
4 : 0.435 ohm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 278 :

1 : 624 W
2 : 1080 W
3 : 360 W
4 : 509 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1
ข ้อที 霗� 279 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสตัวหนึง霗� ทีแ
霗� ผ่นป้ าย (Name plate) มีรายละเอียดต่าง ๆ ดังนี  5 kW, 380 V, 10.3 A, 4 ขัว , 50 Hz,
p.f. 0.85 ต่อแบบสตาร์ ขณะจ่ายกําลังเอาท์พท ั  มอเตอร์ต ้องใชกํ้ าลังไฟฟ้ าอินพุทประมาณเท่ากับเท่าใด
ุ เต็มพิกด

1 : 5762.4 W
2 : 6779.3 W
3 : 3326.9 W
4 : 3914.0 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 280 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ า 3 เฟส กําหนดพิกด ั แรงดันไฟฟ้ า 380 V สําหรับการต่อขดลวดสเตเตอร์แบบเดลต ้า ขนาด 5 kW เมือ
霗�
มอเตอร์จา่ ยโหลดทีพ 霗� ก
ิ ด
ั มีสลิป (slip) 5 % ข ้อใดกล่าวถึงมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ านีไ
 ม่ถก
ู ต ้อง

1 : มอเตอร์ข ้างต ้นสามารถใช ้การสตาร์ทแบบ สตาร์ ­ เดลต ้า ได ้กับแรงดันไฟฟ้ า 3 เฟสในประเทศไทย( line voltage = 380 V )


2 : เมือ
霗� มอเตอร์ทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั  มอเตอร์สามารถมีประสิทธิภาพได ้มากกว่า 95 %
3 : ขณะใช ้งานในสภาวะปกติมอเตอร์สามารถจ่ายกําลังเอาท์พท ุ สูงสุดได ้ 5000 W
4 : มอเตอร์ข ้างต ้นเมือ 霗� ขดลวดสเตเตอร์ตอ ่ แบบสตาร์จะมีกระแสลดลง 3 เท่าของการต่อขดลวดสเตเตอร์แบบเดลต ้า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 281 :
สําหรับมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า เมือ
霗� ค่าสลิปมีคา่ เป็ น 1 มอเตอร์มส
ี ภาวะเป็ นอย่างไร

1 : หมุนด ้วยความเร็วซิงโครนัส
2 : จะเริม
霗� หมุนกลับทาง
3 : หยุดหมุน
4 : หมุนด ้วยความเร็วครึง霗� หนึง霗� ของความเร็วซิงโครนัส
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 282 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส 100 kW, 460 V, 50 Hz, 4 ขัว แม่เหล็ก ขณะรับโหลดเต็มพิกด ั มีคา่ สลิป 0.05 จงหาความถีไ霗� ฟใน
โรเตอร์ และแรงดันไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ าทีโ霗� รเตอร์ตอ ั  กําหนดให ้อัตราสว่ นจํานวนรอบของขดลวดสเต
่ เฟส ทีโ霗� หลดเต็มพิกด
เตอร์:โรเตอร์ เท่ากับ1:0.5

1 : 2.5 Hz , 8.42 V
2 : 2.5 Hz , 6.64 V
3 : 1.5 Hz , 8.42 V
4 : 1.5 Hz , 6.64 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 283 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส 50 Hz 2 ขัว แม่เหล็ก ขับภาระ 15 kW ที 霗� 2,950 rpm จงหาแรงบิดทีเ霗� กิดขึน
  โดยไม่คด
ิ ความสูญ

เสย

1 : 38.6 N.m
2 : 48.6 N.m
3 : 58.6 N.m
4 : 68.6 N.m
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 284 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสแบบกรงกระรอก ขนาดพิกด ั  2 kW, 380 V ต่อแบบสตาร์ ความถี 霗� 50 Hz 4 ขัว แม่เหล็ก ความเร็ว
พิกด
ั  1425 rpm กระแสพิกด ั  5 A ค่าตัวประกอบกําลัง 0.8 ล ้าหลัง ความต ้านทานขดลวดสเตเตอร์ 2.0 โอห์ม จงคํานวณหา
ค่าประสทิ ธิภาพของมอเตอร์ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด

1 : 67%
2 : 76%
3 : 86%
4 : 91%

คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 285 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟสแบบ wound rotor ต่อแบบสตาร์ มีคา่ พิกด
ั เป็ น 2.2 kW, 380 V, 50 Hz, 1440 rpm, 4 ขัว  จง
คํานวณหาค่าความถีไ霗� ฟในโรเตอร์ ขณะทีม 霗� อเตอร์ทํางานขับโหลดเต็มพิกด ั

1 : 0.5 Hz
2 : 1.0 Hz
3 : 1.5 Hz
4 : 2.0 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 286 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ า 3 เฟส, 380 V , ต่อแบบ Delta , 50 Hz , 4 Poles หมุนด ้วยความเร็วรอบ 1425 rpm จะมีคา่  Per ­ unit slip
speed เท่ากับ

1 : 0.02
2 : 0.03
3 : 0.04
4 : 0.05
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 287 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 200 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.92, 1465 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz
ขณะจ่ายแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า 380 V มอเตอร์ตอ ่ แบบ Delta และมอเตอร์ทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลัง ให ้คํานวณหาค่ากําลัง
ไฟฟ้ าป้ อนเข ้ามอเตอร์

1 : 122 kW
2 : 367 kW
3 : 212 kW
4 : 200 kW
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 288 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟส ขนาด 37 kW, 380 V, 50 Hz, 6 ขัว แม่เหล็ก, ต่อแบบเดลต ้า ขณะทีจ
霗� า่ ยแรงดันไฟฟ้ าและความถี霗�
ทีพ
霗� ก
ิ ด
ั  โดยขับภาระทางกลทีค 霗� วามเร็วรอบเท่ากับ 970 rpm ให ้คํานวณหาค่าความเร็วรอบของสนามแม่เหล็กหมุน
(Synchronous speed)

1 : 1000 rpm
2 : 970 rpm
3 : 1200 rpm
4 : 1500 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 289 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส ขนาด 37 kW, 380 V, 50 Hz, 6 ขัว แม่เหล็ก ต่อแบบเดลต ้า ขณะทีป
霗� ้ อนเข ้าด ้วยพิกด
ั แรงดัน
ไฟฟ้ า และความถีไ霗� ฟ โดยขับภาระทางกลทีค 霗� วามเร็วรอบเท่ากับ 970 rpm ให ้คํานวณหาค่า per­unit slip

1 : 0.03
2 : 0.97
3 : 1.03
4 : 1.97
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 290 :
มอเตอร์เหนียวนํ า 3 เฟส ขนาด 37 kW, 380 V, 50 Hz, 6 ขัว แม่เหล็ก ต่อแบบเดลต ้า ขณะทีจ 霗� า่ ยแรงดันไฟฟ้ า และความถี霗�
ไฟทีพ霗� ก
ิ ด
ั  โดยขับภาระทางกลทีค
霗� วามเร็วรอบเท่ากับ 970 rpm ให ้คํานวณหาความถีไ霗� ฟทีโ霗� รเตอร์

1 : 1.5 Hz
2 : 16.7 Hz
3 : 48.5 Hz
4 : 50 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 291 :
แผ่นป้ าย (Name plate) ของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสตัวหนึง霗�  มีคา่ ต่าง ๆ ดังนี  37 kW, 380 V, 73.5 A, p.f. 0.85, 50 Hz,
970 rpm, 6 ขัว แม่เหล็ก ต่อแบบเดลต ้า ให ้คํานวณหาค่าประสท ิ ธิภาพของมอเตอร์ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลัง

1 : 75.5 %
2 : 64.2 %
3 : 94.6%
4 : 90.0 %
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 292 :

1 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟส


2 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าเหนีย 霗� วนํ าสามเฟส
3 : เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัสสามเฟส
4 : มอเตอร์ซงิ โครนัสสามเฟส
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 293 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  220 V, 6 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz ต่อแบบสตาร์ ขณะมอเตอร์ทํางานทีค 霗� า่ สลิปเท่ากับ 3 % ค่า
กําลังไฟฟ้ าทีอ 霗� อกจากมอเตอร์เท่ากับ 5000 W ถ ้าค่าสูญเสย ี จากการหมุน (rotational loss) และค่าสูญเสย ี จากแกนเหล็ก
(core loss) เท่ากับ 500 W แรงดันไฟฟ้ าต่อเฟสมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 220 V
2 : 381 V
3 : 127 V
4 : 73.3 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 294 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  380 V, 6 ขัว แม่เหล็ก 50 Hz ต่อแบบสตาร์ ขณะมอเตอร์ทํางานทีค
霗� า่ สลิปเท่ากับ 3 %
มอเตอร์หมุนด ้วยความเร็วเท่ากับเท่าใด

1 : 1000 rpm
2 : 970 rpm
3 : 1500 rpm
4 : 1455 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 295 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ าสามเฟสพิกด ั  380 V, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz ต่อแบบสตาร์ ขณะมอเตอร์ทํางานทีค 霗� า่ สลิปเท่ากับ 3 % ค่า
กําลังไฟฟ้ าทีอ霗� อกจากมอเตอร์เท่ากับ 6000 W ถ ้าค่าสูญเสย ี จากการหมุน และค่าสูญเสย ี จากแกนเหล็กเท่ากับ 550 W ค่า
สูญเสยี จากลวดทองแดงทีส 霗� เตเตอร์ 680 W ค่าสูญเสย ี จากลวดทองแดงทีโ霗� รเตอร์เท่ากับ 270 W ประสท ิ ธิภาพมอเตอร์
เท่ากับเท่าใด

1 : 80.0%
2 : 91.6%
3 : 86.3%
4 : 83.0%
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 296 :
่ ก
ข ้อใดไม่ใชล ั ษณะของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า

1 : สามารถควบคุมความเร็วโรเตอร์ได ้
2 : ขณะรับโหลดจะทํางานที 霗� p.f. ล ้าหลัง
3 : กระแสไฟฟ้ าขณะเริม 霗� หมุนมีคา่ สูง
4 : ความเร็วโรเตอร์ของมอเตอร์เท่ากับความเร็วซิงโครนัส
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 297 :
ถ ้ามอเตอร์เหนีย
霗� วนํ ารับโหลดมากเกินกว่าค่าแรงบิดสูงสุด มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าจะเป็ นอย่างไร

1 : หมุนทีค霗� วามเร็วพิกด ั
2 : หมุนกลับทิศ
3 : หมุนทีค 霗� วามเร็วสูงกว่าความเร็วพิกด

4 : หยุดหมุน
คําตอบทีถ霗� ก ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 298 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ า 3 เฟส ขณะไม่มโี หลดมีความเร็ว 1198 rpm เมือ
霗� เพิม
霗� โหลดมอเตอร์มค
ี วามเร็ว 1140 rpm ถ ้าจ่ายแรงดัน
ไฟฟ้ า 380 V ความถีไ霗� ฟเท่ากับ 60 Hz จงหาจํานวนขัว ของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ านี

1 : 24 ขัว
2 : 18 ขัว
3 : 12 ขัว
4 : 6 ขัว
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 299 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ าสามเฟส 480 V, 50 Hz ขณะจ่ายโหลด ทีส 霗� ภาวะตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.85 ล ้าหลัง กินกระแส 60 A
ให ้คํานวณกําลังไฟฟ้ าทางด ้านเข ้าของมอเตอร์ (Input power)

1 : 42.4 kW
2 : 5.1 kW
3 : 21.2 kW
4 : 28.8 kW
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 300 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 200 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.92, 1465 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz
ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Delta มอเตอร์กน
ิ กระแสเท่ากับเท่าใด

1 : 350 A
2 : 202 A
3 : 303 A
4 : 526 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 301 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 200 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.92, 1465 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz
ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Star มอเตอร์กน
ิ กระแสเท่ากับเท่าใด

1 : 350 A
2 : 202 A
3 : 303 A
4 : 526 A
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2
ข ้อที 霗� 302 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 200 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.92, 1420 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz
ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Star มอเตอร์มค
ี วามเร็วรอบประมาณเท่ากับเท่าใด

1 : 1306 rpm
2 : 1495 rpm
3 : 1500 rpm
4 : 1420 rpm
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 303 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 200 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.92, 1420 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz
ขณะทํางานทีพ 霗� ก
ิ ด
ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Delta มอเตอร์มค
ี วามเร็วรอบประมาณเท่ากับเท่าใด

1 : 1306 rpm
2 : 1495 rpm
3 : 1500 rpm
4 : 1420 rpm
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 304 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 8 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.85, 1425 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz ขณะ
ทํางานทีพ
霗� ก
ิ ด ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Delta มอเตอร์มค
ี า่ สลิปเท่ากับเท่าใด

1 : 0.85
2 : 0.05
3 : 0.053
4 : 0.80
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 305 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟสขนาด 8 kW, Star/Delta, 660/380 V, 202/350 A, p.f. 0.85, 1425 rpm, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz ขณะ
ทํางานทีพ
霗� ก
ิ ด ั กําลังและแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้า โดยต่อแบบ Delta มอเตอร์มค
ี า่ สลิปเท่ากับเท่าใด

1 : 0.85
2 : 0.05
3 : 0.053
4 : 0.80
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 306 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสพิกด ั  380 V, 4 ขัว แม่เหล็ก, 50 Hz ต่อแบบสตาร์ ขณะมอเตอร์ทํางานทีค 霗� า่ สลิปเท่ากับ 3 % ค่า
กําลังไฟฟ้ าทีอ 霗� อกจากมอเตอร์เท่ากับ 6000 W ถ ้าค่าสูญเสย ี จากการหมุน และค่าสูญเสย ี จากแกนเหล็กเท่ากับ 550 W ค่า
สูญเสยี จากลวดทองแดงทีส 霗� เตเตอร์ 680 W ค่าสูญเสย ี จากลวดทองแดงทีโ霗� รเตอร์เท่ากับ 350 W ความสูญเสย ี รวมใน
มอเตอร์มค ี า่ เท่ากับเท่าใด

1 : 1580 W
2 : 550 W
3 : 680 W
4 : 350 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 307 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  220/380 V, 8 ขัว แม่เหล็ก 50 Hz ต่อแบบเดลต ้า ขณะมอเตอร์ทํางานทีค
霗� า่ สลิปเท่ากับ 3
% มอเตอร์หมุนด ้วยความเร็วเท่ากับเท่าใด

1 : 22.5 rpm
2 : 970 rpm
3 : 727.5 rpm
4 : 750 rpm

คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

เนือ
 หาวิชา : 45 : Steady state performance and analysis of synchronous machines

ข ้อที 霗� 308 :
เครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ า 3 เฟส แบบซงิ โครนัส ทํางานอย่างอิสระโดยมีความเร็วคงที 霗� แรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� วั   (Terminal voltage) จะ
เป็ นอย่างไร ถ ้าภาระทางไฟฟ้ าทีม霗� าต่อเป็ น ตัวต ้านทาน และตัวเหนีย
霗� วนํ า ตามลําดับ

1 : เท่าเดิม, เพิม 霗� ขึน 
2 : เพิม
霗� ขึน
 , เพิม 霗� ขึน 
3 : ลดลง, เพิม 霗� ขึน 
4 : ลดลง, ลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 309 :
霗� ง่ ผ่านจากเครือ
ค่ากําลังไฟฟ้ าทีส 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสสูร่ ะบบไฟฟ้ าจะมีคา่ สูงสุดเมือ
霗� มุมระหว่างแรงดันไฟฟ้ าทัง สองมี
ค่าเท่ากับเท่าใด

1 : 0 องศา
2 : 90 องศา
3 : 30 องศา
4 : 60 องศา
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 310 :
ใน V­Curve ของมอเตอร์ซงิ โครนัส จุดทีเ霗� สนกราฟมี
้ คา่ กระแสอาร์มาเจอร์ตํา霗� ทีส
霗� ด
ุ  แสดงถึงอะไร

1 : ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเท่ากับหนึง霗�
2 : ไม่มภี าระโหลด
3 : ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าล ้าหลัง
4 : ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 311 :
มอเตอร์ซงิ โครนัสสามเฟส ขนาดพิกด ็ ต์สลิป
ั  10 HP, 380 V, 4 poles, 50 Hz จงหาค่าเปอร์เซน

1 : 0%
2 : 2.5%
3 : 3.7%
4 : 4.2%
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 312 :
ข ้อใดไม่ใชเ่ งือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสเข ้ากับระบบไฟฟ้ า
霗� นไขในการขนานเครือ

1 : มีแรงดันไฟฟ้ าเท่ากัน
2 : มีความถีเ霗� ท่ากัน
3 : มีลําดับเฟสเหมือนกัน
4 : มีกระแสไฟฟ้ าเท่ากัน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 313 :
Short circuit ratio (SCR) คือค่าตัวเลขทีเ霗� ป็ นค่าคงทีข 霗� งจักรซงิ โครนัสแต่ละตัว ข ้อใดเป็ นความหมายของ Short
霗� องเครือ
circuit ratio

1 : อัตราส่วนของกระแสอาร์มาเจอร์เต็มพิกด ั ต่อกระแสอาร์มาเจอร์สงู สุดทีท霗� นได ้ขณะลัดวงจร


2 : อัตราส่วนของกระแสไฟตรงทีป 霗� ้ อนเข ้าสนามแม่เหล็กเพือ 霗� ผลิตแรงดันเต็มพิกด
ั ขณะไม่จา่ ยโหลด ต่อกระแสไฟตรงทีป
霗� ้ อนเข ้าสนามแม่เหล็ก
ขณะกระแสอาร์มาเจอร์เต็มพิกด ั ขณะลัดวงจร
3 : ส่วนกลับของค่า per unit ของ ซิงโครนัสรีแอคแตนซ์อม ิ霗� ตัว
4 : ไม่มค
ี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 314 :
ข ้อที 霗� 314 :

1 : มอเตอร์ซงิ โครนัส
2 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัส
3 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า
4 : เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าเหนีย霗� วนํ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 315 :

1 : มอเตอร์ซงิ โครนัส
2 : เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัส
3 : มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า
4 : เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าเหนีย霗� วนํ า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 316 :

1 : ขณะทํางานเป็ นมอเตอร์โดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า


2 : ขณะทํางานเป็ นมอเตอร์โดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเท่ากับ 1
3 : ขณะทํางานเป็ นเครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ าโดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า
4 : ขณะทํางานเป็ นเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าโดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเท่ากับ 1
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 317 :
่ ณ
ข ้อใดไม่ใชค ุ สมบัตข 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซงิ โครนัส
ิ องเครือ

1 : ความเร็วรอบของโรเตอร์มค ี า่ คงที 霗� ขณะทํางานทีส


霗� ภาวะคงตัว
2 : ความเร็วรอบของโรเตอร์มค ี า่ เท่ากับความเร็วซิงโครนัส ขณะทํางานทีส
霗� ภาวะคงตัว
3 : ความถีส 霗� ลิปจะเกิดขึน 霗� ดลวดโรเตอร์ของมอเตอร์ซงิ โครนัสเสมอ ขณะทํางานทีส
 ทีข 霗� ภาวะคงตัว
4 : สามารถใช ้เครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัสช่วยในการปรับปรุงตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าในระบบได ้
คําตอบทีถ霗� ก ู ต ้อง : 3
ข ้อที 霗� 318 :

1 : การทดสอบแบบเปิ ดวงจร (Open circuit test)
2 : การทดสอบแบบลัดวงจร (Short circuit test)
3 : การทดสอบหาความสูญเสียเนือ霗� งจากการหมุนและแรงลมต ้าน (Friction and windage losses test)
4 : การทดสอบสลิป (Slip test)
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 319 :
่ ารทดสอบเครือ
ข ้อใดไม่ใชก 霗� งจักรกลซงิ โครนัสเพือ
霗� หาค่าพารามิเตอร์ในวงจรสมมูล

1 : การทดสอบเปิ ดวงจรอาร์มาเจอร์ (Open circuit test)
2 : การทดสอบลัดวงจรอาร์มาเจอร์ (Short circuit test)
3 : การทดสอบแบบยึดโรเตอร์ (Locked rotor test)
4 : การทดสอบสลิป (Slip test)
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 320 :
ข ้อใดทีไ霗� ม่ใชเ่ ครือ
霗� งมือทีจ ้
霗� ําเป็ นต ้องใชในการขนานเครื
อ 霗� งกําเนิดแบบซงิ โครนัส

1 : หลอด Incandescent 3 ดวง
2 : Voltmeter
3 : Frequency meter
4 : Ohmmeter
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 321 :
ข ้อใดต่อไปนีก
 ล่าวถูกต ้องทีส
霗� ด

1 : ค่ามุมกําลัง (Power Angle) ทีม 霗� ากทีส 霗� ด
ุ ของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัสแบบขัว ไม่ยน ื霗� ในทางปฏิบต
ั ค ิ อ
ื  90 องศา
2 : ค่ามุมกําลังทีม 霗� ากทีส
霗� ด
ุ ของเครือ
霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัสแบบขัว ยืน 霗� ในทางปฏิบต ั น
ิ ้อยกว่า 90 องศา
3 : การทํา Short­circuit test และ Open­circuit test สําหรับเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซิงโครนัสสามารถนํ าไปสูก ่ ารหา Unsaturated synchronous
reactance ได ้เท่นัน 
4 : การทดสอบสลิบ (Slip test) ในเครือ 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซิงโครนัสแบบขัว ยืน 霗�  สามารถใช ้หา Xq ได ้เท่านัน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 322 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสพิกด
เครือ ั  380 V, 50 Hz, 5 A ต่อแบบสตาร์ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง ค่าซงิ โครนัสอิม
พีแดนซ ์ 4+j3 ohm จงคํานวณหาค่าแรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ าภายในต่อเฟส เมือ
霗� เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าทํางานทีค
霗� า่ พิกด

1 : 194.4 V
2 : 219.4 V
3 : 232.7 V
4 : 310 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 323 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส มีจํานวนขัว แม่เหล็ก 8 ขัว  ถ ้าต ้องการผลิตไฟฟ้ าทีม
霗� ค
ี วามถีไ霗� ฟ 50 Hz จะต ้องขับ
แกนเพลาให ้หมุนด ้วยความเร็วรอบเท่าใด
1 : 750 rpm
2 : 750 rps
3 : 1250 rpm
4 : 25 rps
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 324 :
霗� งจักรกลไฟฟ้ าซงิ โครนัสทีต
เครือ 霗� ้องหมุนแกนเพลาด ้วยความเร็วรอบสูงนัน
  ลักษณะของโรเตอร์เป็ นแบบใด

1 : Wound rotor
2 : Squirrel cage rotor
3 : Salient pole
4 : Cylindrical rotor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 325 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส ขนาด 125 kVA, 400 / 230 V, 50 Hz, 1500 rpm มีจํานวนขัว แม่เหล็กเท่าใด

1 : 2 ขัว
2 : 4 ขัว
3 : 6 ขัว
4 : 8 ขัว
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 326 :
เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส ขนาด 200 kW, 400 V ต่อแบบสตาร์ 50 Hz, 6 Poles ค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8

ล ้าหลัง ขณะใชงานเต็ มพิกด ิ ธิภาพ 95 % ให ้คํานวณหาค่าของกระแสไฟฟ้ าขณะใชงานเต็
ั มีประสท ้ มพิกด

1 : 360.8 A
2 : 389.8 A
3 : 288.6 A
4 : 500.0 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 327 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส จะต ้องมีเงือ
การ Synchronization ของเครือ 霗� นไขดังนี

1 : แรงดันไฟฟ้ า ความถีไ霗� ฟ และขนาดเครือ


霗� ง เท่ากัน
2 : Phase sequence แรงดันไฟฟ้ า และแกนเหล็ก เท่ากัน
3 : Phase sequence แรงดันไฟฟ้ า และความถีไ霗� ฟ เท่ากัน
4 : Phase sequence แกนเหล็ก และความถีไ霗� ฟ เท่ากัน
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 328 :
เมือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส ทําการ Synchronization กับ Infinite bus แล ้ว และมีการเปลีย
霗� เครือ 霗� นแปลงกําลังของ Prime
mover ซงึ霗� จะทําให ้เกิดผลในข ้อใด

1 : จ่ายกําลังไฟฟ้ าให ้ Infinite bus เพิม 霗� ขึน


  เมือ 霗� เพิม霗� กําลัง Prime mover
2 : จ่ายกําลังไฟฟ้ าให ้ Infinite bus ลดลง เมือ 霗� เพิม霗� กําลัง Prime mover
3 : ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าเพิม 霗� ขึน
  เมือ霗� เพิม 霗� กําลัง Prime mover
4 : ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าลดลง เมือ 霗� ลดกําลัง Prime mover
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 329 :
เครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ า 3 เฟส แบบซงิ โครนัส ทํางานอย่างอิสระโดยมีความเร็วคงที 霗� แรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� วั   (Terminal voltage) จะ
เป็ นอย่างไร ถ ้าภาระทางไฟฟ้ าทีม霗� าต่อเป็ น ตัวต ้านทาน และตัวเก็บประจุ ตามลําดับ

1 : เท่าเดิม, เพิม 霗� ขึน 
2 : เพิม
霗� ขึน
 , เพิม 霗� ขึน 
3 : ลดลง, เพิม 霗� ขึน 
4 : ลดลง, ลดลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3
ข ้อที 霗� 330 :
มอเตอร์ซงิ โครนัสมีความเร็วเป็ นอย่างไร

1 : ช ้ากว่า Synchronous speed
2 : เท่ากับ Synchronous speed
3 : เร็วกว่า Synchronous speed
4 : มี Slip speed เหมือนกับ Induction motor
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 331 :
มอเตอร์ซงิ โครนัส 3 เฟส ขนาด 100 kW, 380 V, 50 Hz, 4 poles ต่อแบบสตาร์ ขณะทีข 霗� บ
ั ภาระทางกลทีพ 霗� ก
ิ ด
ั  โดยป้ อนเข ้า
ทีพ
霗� กิ ด
ั แรงดันไฟฟ้ าและพิกด
ั กระแสไฟฟ้ าทีต
霗� วั ประกอบกําลังไฟฟ้ าเท่ากับ 1 มีคา่ ประสท ิ ธิภาพเท่ากับ 90% ให ้คํานวณหา
พิกด ั กระแสไฟฟ้ า (Line current)

1 : 263.2 A
2 : 168.8 A
3 : 151.9 A
4 : 97.5 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 332 :
ถ ้าต ้องการแปลงความถีจ ้
霗� าก 50 Hz เป็ น 400 Hz โดยใชมอเตอร์ ซงิ โครนัสขับเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส จํานวนขัว ของ

มอเตอร์ซงโครนัสต่อจํานวนขัว ของเครือ ิ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงโครนัส จะต ้อง เป็ นจํานวนเท่าใด

1 : 8 ต่อ 2
2 : 2 ต่อ 8
3 : 16 ต่อ 2
4 : 2 ต่อ 16
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 333 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส แบบ cylindrical rotor ขนาดเครือ
เครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส แบบ cylindrical
rotor ขนาดพิกด ั  800 kVA, 6600 V (line to line), 4 pole, 50 Hz ต่อแบบสตาร์ ขณะทีจ 霗� า่ ยภาระทางไฟฟ้ าทีพ 霗� ก
ิ ด
ั แรงดัน
ไฟฟ้ าและพิกด ั กระแสไฟฟ้ า ทีต霗� วั ประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง กําลังไฟฟ้ าเอาท์พท ุ ของเครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ านีม ค
ี า่
เท่ากับเท่าใด

1 : 640 kW
2 : 1000 kW
3 : 660 kW
4 : 528 kW
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 334 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส แบบ cylindrical rotor ขนาด 800 kVA, 6600 V (line to line), 4 pole, 50 Hz ต่อแบบ
เครือ
สตาร์ ขณะทีจ 霗� า่ ยภาระทางไฟฟ้ าทีพ
霗� ก
ิ ด
ั กําลังไฟฟ้ า และพิกด
ั แรงดันไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ าทีจ
霗� า่ ยให ้กับภาระทางไฟฟ้ ามีคา่
เท่าใด

1 : 70.0 A
2 : 121.2 A
3 : 40.4 A
4 : 85.7 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 335 :
ข ้อความใดไม่เกีย 霗� งจักรกลไฟฟ้ าซงิ โครนัส
霗� วกับหลักการทํางานของเครือ
1 : Slip speed
2 : Synchronous speed
3 : Synchronize
4 : Phase sequence voltage
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 336 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส พิกด
เครือ ั  100 kVA, 380 V, 50 Hz, 6 pole ต่อแบบเดลต ้า กําหนดให ้มีคา่ ซงิ โครนัสอิมพิ
แดนซเ์ ท่ากับ 0.25+ j0.75 ohm มีคา่ การสูญเสย ี ในการหมุนเท่ากับ 2500 W ให ้คํานวณหาค่าแรงบิดของต ้นกําลัง (input
torque) ขณะจ่ายกําลังไฟฟ้ าทีพ 霗� ก
ิ ด
ั  โดยภาระทางไฟฟ้ ามีคา่ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง

1 : 770 N.m
2 : 568 N.m
3 : 976 N.m
4 : 842 N.m
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 337 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัส 3 เฟส พิกด
เครือ ั  100 kVA 380 V 50 Hz 6 pole ต่อแบบเดลต ้า กําหนดให ้มีคา่ ซงิ โครนัสอิมพิ
แดนซเ์ ท่ากับ 0.25+ j0.75 ohm มีคา่ การสูญเสย ี ในการหมุนเท่ากับ 2500 W พิกด
ั กระแสไฟฟ้ าต่อเฟสมีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 151.9 A
2 : 87.7 A
3 : 263.2 A
4 : 186.1 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 338 :
ซงิ โครนัสคอนเดนเซอร์ทช ี霗� ว่ ยปรับค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า ขณะจ่ายภาระทางไฟฟ้ า 2000 kVA ที 霗� ค่าตัวประกอบกําลัง
ไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง จงหาค่ากําลังไฟฟ้ าเสมือน (Reactive power) ทีป 霗� รับค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า ได ้เท่ากับ 1

1 : 1200 kVAR
2 : 1000 kVAR
3 : 800 kVAR
4 : 600 kVAR
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 339 :
ซงิ โครนัสคอนเดนเซอร์ทช ี霗� ว่ ยปรับค่าตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า ขณะจ่ายภาระทางไฟฟ้ า 2000 kVA ที 霗� ค่าตัวประกอบกําลัง
ไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง จงหาค่ากําลังไฟฟ้ าจริง (Real power)

1 : 1600 kW
2 : 1400 kW
3 : 1200 kW
4 : 1000 kW
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 340 :
จงหาความเร็วรอบของมอเตอร์ซงิ โครนัส 4 ขัว  ขนาด 480 V 60Hz

1 : 900 rpm
2 : 1800 rpm
3 : 2700 rpm
4 : 3600 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 341 :
มอเตอร์ซงิ โครนัส 4 ขัว  ขนาด 480 V 60Hz จงหาค่าความเร็วเมือ
霗� ภาระทางกลลดลง 70%

1 : 900 rpm
2 : 1800 rpm
3 : 2700 rpm
4 : 3600 rpm
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 342 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสพิกด
เครือ ั  380 V, 50 Hz, 5 A ต่อแบบสตาร์ ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง ค่าซงิ โครนัสอิม
พีแดนซ ์ 4+j3 ohm จงคํานวณหาค่าแรงเคลือ 霗� นไฟฟ้ าเหนีย
霗� วนํ า เมือ
霗� เครือ
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าทํางานทีค
霗� า่ พิกด

1 : 403 V
2 : 219.4 V
3 : 232.7 V
4 : 310 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 343 :

1 : ขณะทํางานเป็ นมอเตอร์โดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า


2 : ขณะทํางานเป็ นมอเตอร์โดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าล ้าหลัง
3 : ขณะทํางานเป็ นเครือ霗� งกําเนิดไฟฟ้ าโดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า
4 : ขณะทํางานเป็ นเครือ 霗� งกําเนิดไฟฟ้ าโดยทํางานที 霗� ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าล ้าหลัง
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 344 :
霗� งกําเนิดไฟฟ้ าซงิ โครนัสพิกด
เครือ ั  380 V, 50 Hz, 5 A ต่อแบบสตาร์ ขณะจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีพ
霗� ก
ิ ด
ั  มีคา่ ตัวประกอบกําลัง
ไฟฟ้ า 0.8 ล ้าหลัง ให ้คํานวณหาค่าของกําลังไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยโหลด

1 : 1900 W
2 : 1520 W
3 : 2633 W
4 : 4560 W
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 345 :

1 : หลอดไฟดับสนิททัง สามเฟส
2 : หลอดไฟเฟส A ดับสนิท ส่วนเฟส B และ C สว่าง
3 : หลอดไฟสว่างทัง สามเฟส
4 : หลอดไฟเฟส A สว่าง ส่วนเฟส B และ C ดับสนิท
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 1
ข ้อที 霗� 346 :

1 : หลอดไฟดับสนิททัง สามเฟส
2 : หลอดไฟเฟส A ดับสนิท ส่วนเฟส B และ C สว่าง
3 : หลอดไฟสว่างทัง สามเฟส
4 : หลอดไฟเฟส A สว่าง ส่วนเฟส B และ C ดับสนิท
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 2

เนือ
 หาวิชา : 46 : Starting methods for polyphase induction motors

ข ้อที 霗� 347 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส ต่อแบบเดลต ้า ต ้องการกระแส 3 A จากแหล่งจ่ายไฟ 380 V ถ ้าต่อมอเตอร์ตวั เดียวกันนีแ
 บบส
ตาร์แทน โดยใชแหล่ ้ งจ่ายไฟ 380 V เท่าเดิมจะต ้องการกระแสเท่าไร

1 : 2.1 A
2 : 5.2 A
3 : 1.7 A
4 : 3.0 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 348 :
วิธก
ี ารเริม
霗� หมุนแบบใดเหมาะกับมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าทีม
霗� ข
ี นาด 1 แรงม ้า

1 : Direct on line
2 : Auto­transformer starting
3 : Part winding starting
4 : Star­delta starting
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 349 :
การสตาร์ทมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส แบบ Direct on line กระแสขณะสตาร์ทมีคา่ ประมาณเท่าใด

1 : ลดลงจากกระแสพิกด ั ประมาณ 2 เท่า
2 : เพิม
霗� ขึน  จากกระแสพิกด ั ประมาณ 1­2 เท่า
3 : เพิม 霗� ขึน จากกระแสพิกด ั ประมาณ 5­8 เท่า
4 : เท่ากับกระแสพิกด ั
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 350 :
ตัวเลือกใด กล่าวไม่ถก
ู ต ้องเกีย
霗� วกับวิธก
ี ารเริม
霗� สตาร์ทมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าแบบสตาร์ – เดลต ้า

1 : การสตาร์ทแบบนีใ ช ้หลักการลดแรงดัน
2 : ขณะสตาร์ทแรงดันไฟฟ้ าตกคร่อมขดลวดแต่ละเฟส มีขนาดลดลงจากพิกด ั ประมาณ 1.7 เท่า
3 : ต ้องใช ้กับมอเตอร์ทมี霗� ข
ี ดลวด 3 เฟส 2 ชุด เพือ霗� ต่อสตาร์ 1 ชุด และ เดลต ้าอีก 1 ชุด
4 : แรงบิดขณะสตาร์ทมีคา่ ลดลงจากแรงบิดทีพ 霗� ก
ิ ด ั ประมาณ 3 เท่า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 351 :
ในการเริม
霗� หมุนด ้วยวิธส
ี ตาร์ทแบบสตาร์และรันด ้วยเดลต ้ากับระบบไฟสามเฟส 380 V ควรเลือกมอเตอร์ทม
ี霗� แ
ี ผ่นป้ าย
(Name Plate) ลักษณะใดทีเ霗� หมาะสมทีส霗� ด

1 : 220/380 V
2 : 380/660 V
3 : 660 V
4 : 380 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 352 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ใี นการเริม
霗� หมุนของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสแบบวาวน์โรเตอร์

1 : ต่อความต ้านทานภายนอกกับวงจรโรเตอร์เฉพาะตอนเริม 霗� หมุน


2 : ปรับความต ้านทานโรเตอร์ให ้ตํา霗� สุดในตอนเริม 霗� หมุน
3 : ลัดวงจรความต ้านทานภายนอกขณะมอเตอร์หมุนตามปกติ
4 : เมือ
霗� มอเตอร์เริม 霗� หมุน ค่อย ๆ ลดความต ้านทานภายนอกลงจนเป็ นศูนย์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 353 :
ขณะสตาร์ทมอเตอร์แบบกรงกระรอกทีม 霗� แ ั   (Double Squirrel Cage Motor) กระแสขณะสตาร์ทสว่ น
ี ท่งตัวนํ าโรเตอร์ 2 ชน
ใหญ่ไหลในแท่งตัวนํ าด ้านนอก (Outer Bar) หรือด ้านใน (Inner Bar) เพราะเหตุใด

1 : แท่งตัวนํ าด ้านนอก เพราะค่าอิมพีแดนซ์ขณะสตาร์ทตํา霗� กว่า


2 : แท่งตัวนํ าด ้านใน เพราะค่าอิมพีแดนซ์ขณะสตาร์ทตํา霗� กว่า
3 : แท่งตัวนํ าด ้านใน เพราะค่าความต ้านทานขดลวดขณะสตาร์ทตํา霗� กว่า
4 : ไหลเท่ากัน เพราะในวงจรสมมูลย์แล ้วแท่งตัวนํ าทัง สองต่อขนานกันอยู่
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 354 :
ั霗� มอเตอร์โดยการลดแรงดันจาก 380 เป็ น 220 V ด ้วยการใช Autotransformer ให
การสตาร์ทอินดัคชน ้ ้ผลของกระแสและ
แรงบิดขณะสตาร์ทเหมือนกับการสตาร์ทด ้วยวิธใี ด

1 : การสตาร์ทแบบ Direct on line ด ้วยแรงดัน 380 V
2 : การสตาร์ทโดยการลดแรงดันจาก 380 เป็ น 220 V ด ้วยวิธใี ช ้ตัวต ้านทานต่ออนุกรมในวงจรเพือ 霗� ช่วยสตาร์ท
3 : การสตาร์ทโดยการลดแรงดันจาก 380 เป็ น 220 V ด ้วยวิธใี ช ้ขดลวดต่ออนุกรมในวงจรเพือ 霗� ช่วยสตาร์ท
4 : การสตาร์ทแบบสตาร์­ เดลต ้า
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 355 :
มอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟสตัวหนึง霗� เมือ
霗� ทําการสตาร์ทแบบ direct on­line ด ้วยแรงดันไฟฟ้ า 400 V ปรากฏว่า แรงบิดตอน
สตาร์ทมีคา่ เป็ น 3 เท่าของแรงบิดพิกด ั  ถ ้าเราต ้องการให ้แรงบิดตอนสตาร์ทมีคา่ เท่ากับแรงบิดพิกด
ั พอดี จะต ้องจ่ายแรง
ดันไฟฟ้ าให ้กับมอเตอร์มค ี า่ เท่าไร

1 : 100 V
2 : 231 V
3 : 300 V
4 : 380 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 356 :
ข ้อใดเป็ นลักษณะของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส แบบ Wound rotor

1 : ให ้แรงม ้าและแรงบิดตํา霗� กว่ามอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าแบบ Squirrel cage rotor


2 : ต ้องมีความต ้านทานภายนอกมาต่อทีข 霗� ดลวดสเตเตอร์ขณะสตาร์ท
3 : ไม่ต ้องใช ้ความต ้านทานภายนอกขณะสตาร์ท
4 : ต ้องมีความต ้านทานภายนอกมาต่อทีข 霗� ดลวดโรเตอร์ขณะสตาร์ท
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 357 :
การกระทําแบบใดทีท
霗� ําให ้กระแสไหลเข ้ามอเตอร์เหนีย
霗� วนํ ามีคา่ สูงสุด

1 : การสตาร์ทมอเตอร์แบบต่อไฟเข ้าโดยตรง (Direct on line starting)
2 : การกลับทางหมุนมอเตอร์ในทันทีโดยการสลับสายไฟคูใ่ ดคูห ่ นึง霗�

3 : การทีม
霗� อเตอร์จา่ ยโหลดเต็มพิกด

3 : การทีม
霗� อเตอร์จา่ ยโหลดเต็มพิกด

4 : การสตาร์ทโดยใช ้ชุดสตาร์ทแบบสตาร์ ­ เดลต ้า
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 358 :

1 : 42.3 A
2 : 24.4 A
3 : 73.2 A
4 : 31.6 A
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 359 :
ในการเริม
霗� หมุนด ้วยวิธส
ี ตาร์ทแบบสตาร์และรันด ้วยเดลต ้ากับระบบไฟสามเฟส 220 V ควรเลือกมอเตอร์ทม
ี霗� แ
ี ผ่นป้ าย
(Name Plate) ลักษณะใดทีเ霗� หมาะสมทีส霗� ด

1 : 220/380 V
2 : 380/660 V
3 : 660 V
4 : 380 V
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

เนือ
 หาวิชา : 47 : Starting methods for synchronous motors

ข ้อที 霗� 360 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารสตาร์ทมอเตอร์ซงิ โครนัสสามเฟส

1 : Synchronization Start
2 : Induction Start
3 : Reduced Frequency Start
4 : ไม่มข
ี ้อใดผิด
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 361 :
มอเตอร์ซงิ โครนัสทีใ霗� ชเครื
้ อ 霗� งต ้นกําลังชว่ ยหมุนในขณะสตาร์ทการปลดเครือ
霗� งต ้นกําลังออกจากมอเตอร์เพือ
霗� ให ้มอเตอร์ดงั
กล่าวขับโหลดทางกลได ้ด ้วยตัวเองสามารถกระทําได ้เมือ 霗� ใด

霗� ป้ อนกระแสทีใ霗� ช ้สร ้างสนามแม่เหล็กเข ้าทีโ霗� รเตอร์แล ้ว


1 : เมือ
2 : เมือ 霗� โรเตอร์หมุนด ้วยความเร็วพิกด ั แล ้ว
3 : เมือ 霗� ต่อขัว ต่อแรงดันทีส
霗� เตเตอร์เข ้ากับระบบไฟฟ้ าเรียบร ้อยแล ้ว
4 : เมือ 霗� มอเตอร์อยูใ่ นสภาวะ steady state
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 362 :
Amortisseur Winding หรือ Damper Winding ในมอเตอร์ซงิ โครนัส คืออะไร

1 : ขดลวดตัวนํ า สร ้างแรงเคลือ


霗� น
2 : ขดลวดฟิ ลด์ สร ้างสนามแม่เหล็ก
3 : ขดลวดกรงกระรอก ช่วยในการเริม 霗� หมุน
4 : ขดลวดชดเชย แก ้ Armature Reaction
คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 363 :
เมือ
霗� จ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีพ
霗� ก ั ให ้มอเตอร์ซงิ โครนัส จะเกิดอะไรขึน
ิ ด 

1 : มอเตอร์ออกตัวหมุนตามปกติ
2 : มอเตอร์ออกตัวไม่ดน
ี ัก แต่กห
็ มุนได ้ตามปกติในทีส
霗� ด

2 : มอเตอร์ออกตัวไม่ดน ี ัก แต่กห
็ มุนได ้ตามปกติในทีส 霗� ด

3 : มอเตอร์ไม่หมุนเพราะแรงดันทีป 霗� ้ อนน ้อยเกินไป
4 : มอเตอร์ไม่หมุน เพราะขัว แม่เหล็กของโรเตอร์เกาะสนามแม่เหล็กหมุนไม่ทน

คําตอบทีถ
霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 364 :
ข ้อใดต่อไปนีถ
 ก
ู ต ้อง

1 : มอเตอร์ซงิ โครนัส แบบทีม 霗� ข ี ดลวดพิเศษฝั งทีห 霗� น ้าโพลของโรเตอร์ ทําหน ้าทีค


霗� ล ้ายโรเตอร์แบบกรงกระรอกในมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า ช่วยมอเตอร์
ซิงโครนัสสตาร์ทได ้ เรียกว่า Damper winding
2 : การสตาร์ทมอเตอร์ซงิ โครนัส ทําได ้เพียง 2 วิธ ี คือ ใช ้ Damper winding และตัวต ้นกําลังขับจากภายนอก
3 : การเพิม 霗� ขดลวดพิเศษฝั งทีห 霗� น ้าโพลของโรเตอร์ เข ้าไปในมอเตอร์ซงิ โครนัสสําหรับสตาร์ท จะมีผลตามมาทําให ้ลดเสถียรภาพของมอเตอร์ซงิ
โครนัสลงแต่ยงั ยอมรับได ้
4 : ถ ้ามอเตอร์ซงิ โครนัสทําหน ้าทีเ霗� ป็ นเครือ 霗� งกําเนิดอยูจ ่ ะไม่สามารถกลับมาทํางาน เป็ นซิงโครนัสมอเตอร์ได ้ในทันที ต ้องหยุดการทํางานก่อน
แล ้วจึงจะเริม 霗� สตาร์ทเป็ นมอเตอร์ซงิ โครนัสได ้ โดยใช ้ตัวต ้นกําลังขับจากภายนอก
คําตอบทีถ 霗� ก ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 365 :
ในขณะสตาร์ทมอเตอร์ซงิ โครนัส โดยอาศย
ั  damper winding เราต ้องลัดวงจรสนามเพือ
霗� ป้ องกันเหตุการณ์ใด

1 : แรงดันเกินในวงจรอาร์มาเจอร์
2 : กระแสเกินในวงจรอาร์มาเจอร์
3 : แรงดันเกินในวงจรสนาม
4 : กระแสเกินในวงจรสนาม
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 366 :
มอเตอร์ซงิ โครนัส มีวธิ ก
ี ารสตาร์ทดังนี

1 : สตาร์ทด ้วยไฟฟ้ ากระแสตรง


2 : สตาร์ทโดยวิธเี ดียวกับมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า
3 : สตาร์ทโดยการ Synchronization แล ้วตัด Prime mover ออก
4 : สตาร์ทด ้วยขดลวดพิเศษ
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 367 :
霗� มอเตอร์ซงิ โครนัสต่อกับ Infinite bus แล ้วมีการเปลีย
เมือ 霗� นแปลงกระแสสร ้างสนามจะทําให ้

1 : ต ้องการกําลังไฟฟ้ าเพิม


霗� ขึน
  เมือ霗� เพิม 霗� กระแสสร ้างสนาม
2 : ต ้องการกําลังไฟฟ้ าลดลง เมือ 霗� ลดกระแสสร ้างสนาม
3 : ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ าล ้าหลัง เมือ 霗� เพิม 霗� กระแสสร ้างสนาม
4 : ตัวประกอบกําลังไฟฟ้ านํ าหน ้า เมือ 霗� เพิม 霗� กระแสสร ้างสนาม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

เนือ
 หาวิชา : 48 : Speed control methods of induction motor

ข ้อที 霗� 368 :
 เมือ ้
霗� ใชการปรั บความเร็วรอบมอเตอร์โดยคงทีอ ั ราสว่ นแรงดันไฟฟ้ าต่อความถีไ霗� ฟ ข ้อใดต่อไปนีไ
霗� ต ่ ลของการลด
 ม่ใชผ
ความถีไ縃 ฟสําหรับมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ า 3 เฟส

1 : ความเร็วเมือ 霗� ไม่มภ ี าระลดลง


2 : แรงบิดสูงสุดเพิม 霗� ขึน

3 : แรงบิดสําหรับสตาร์ทเพิม 霗� ขึน

4 : ความเร็วทีจ霗� ด ุ แรงบิดสูงสุดลดลง
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 369 :
ข ้อใดไม่ใชว่ ธิ ก
ี ารควบคุมความเร็วของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส

1 : การปรับความถีไ霗� ฟของแรงดันไฟฟ้ าทีจ 霗� า่ ยให ้กับขดลวดสเตเตอร์


2 : การเปลีย 霗� นจํานวนขัว แม่เหล็กของมอเตอร์
3 : การเพิม
霗� ค่าความต ้านทานไฟฟ้ าภายนอกทีโ霗� รเตอร์ (สําหรับโรเตอร์แบบพันขดลวด)

4 : การเปลีย
霗� นรูปแบบการต่อขดลวดสามเฟสทีส
霗� เตเตอร์ (star เป็ น delta หรือ delta เป็ น star)
4 : การเปลีย 霗� นรูปแบบการต่อขดลวดสามเฟสทีส
霗� เตเตอร์ (star เป็ น delta หรือ delta เป็ น star)
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 370 :
ตัวเลือกใดกล่าวเกีย
霗� วกับการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าไม่ถก
ู ต ้อง

1 : การเปลีย 霗� นความถีเ霗� ป็ นการปรับค่าทางด ้านไฟฟ้ าอินพุททีจ 霗� า่ ยให ้กับขดลวดสเตเตอร์


2 : การเปลีย 霗� นจํานวนขัว แม่เหล็กเป็ นการปรับความเร็วรอบทีส 霗� ามารถปรับได ้อย่างละเอียดทีส 霗� ด ุ
3 : การควบคุมความเร็วรอบโดยการปรับความถีไ霗� ฟนัน  เมือ
霗� ต ้องการให ้แรงบิดมีคา่ คงที 霗� ต ้องรักษาอัตราส่วนของแรงดันไฟฟ้ าต่อความถีใ霗� ห ้คงทีด
霗� ้วย
4 : การปรับค่าแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข ้าเป็ นวิธก ี ารปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าวิธห
ี นึง霗�
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 371 :
ตัวเลือกใดกล่าวเกีย
霗� วกับการควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าไม่ถก
ู ต ้อง

1 : มอเตอร์เหนีย 霗� ามารถปรับความเร็วรอบขณะใช ้งานโดยใช ้การเปลีย


霗� วนํ าทีส 霗� นขัว แม่เหล็กมี ราคาแพง
2 : การเปลีย 霗� นความเร็วรอบโดยการเปลีย 霗� นจํานวนขัว แม่เหล็กจะเหมาะกับงานทีไ霗� ม่ต ้องการปรับความเร็วอย่างละเอียด
3 : การควบคุมความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามารถทําได ้โดยการปรับความถี 霗� และจํานวนขัว แม่เหล็กเท่านัน 
4 : มอเตอร์ไฟฟ้ าขณะใช ้งานทีค 霗� วามถี 霗� 50 Hz เมือ 霗� ปรับให ้มีจํานวนขัว แม่เหล็กเพิม
霗� ขึน
 จาก 2, 4 และ 6 ขัว  จะทําให ้ synchronous speed มีคา่ เท่ากับ
3000, 1500 และ 1000 rpm. ตามลําดับ
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 372 :
ในการควบคุมความเร็วมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าสามเฟสด ้วยความถีต
霗� ํา霗� เพือ
霗� ให ้ความเร็วลดลงตํา霗� กว่าทีพ
霗� ก ั  จะต ้องทําสงิ霗� ใด
ิ ด
ประกอบ

1 : ลดกระแสสร ้างสนาม
2 : ลดแรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ลง
3 : เพิม
霗� แรงดันไฟฟ้ าทีข 霗� วั  ขึน

4 : ลดภาระทางกลลง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 373 :
ข ้อใดกล่าวถึงการปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ าโดยการเปลีย
霗� นจํานวนขัว แม่เหล็กไม่ถก
ู ต ้อง

1 : วิธด
ี งั กล่าวเกิดจากการเปลีย 霗� นแปลงการต่อของขดลวดสเตเตอร์
2 : วิธดี งั กล่าวเหมาะสมกับมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าชนิด Wound rotor
3 : วิธด ี งั กล่าวไม่สามารถปรับความเร็วรอบของมอเตอร์ได ้อย่างต่อเนือ 霗� ง
4 : ไม่มข ี ้อใดกล่าวไม่ถก ู ต ้อง
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 374 :
ถ ้าต ้องการปรับการทํางานของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าขนาด 380 V, 50 Hz, 4 pole ให ้ความเร็วรอบขณะไม่มภ
ี าระมีคา่ ใกล ้เคียง
750 rpm จะต ้องจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีข
霗� นาด และความถีเ霗� ท่าไร

1 : 190 V, 12.5 Hz
2 : 380 V, 25 Hz
3 : 190 V, 25 Hz
4 : 380 V, 12.5 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 375 :
ในการใชอิ้ นเวอร์เตอร์ปรับความเร็วรอบของมอเตอร์เหนีย 霗� วนํ าสามเฟสพิกด
ั  380 V, 60 Hz, 6 pole ให ้มีคา่ ประมาณ 2400
rpm ในสภาวะไม่มภ ี าระ อยากทราบว่าอินเวอร์เตอร์จะต ้องจ่ายแรงดันไฟฟ้ าทีข霗� นาด และความถีเ霗� ท่าไร โดยให ้คํานึงถึงค่า
พิกด
ั ของมอเตอร์ด ้วย

1 : 380 V, 40 Hz
2 : 253 V, 40 Hz
3 : 380 V, 120 Hz
4 : 760 V, 120 Hz
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3
ข ้อที 霗� 376 :
มอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า 3 เฟส สามารถควบคุมความเร็วได ้โดย

1 : การเปลีย 霗� นแปลงจํานวนเส ้นแรงแม่เหล็ก


2 : การเปลีย 霗� นแปลงจํานวนขัว แม่เหล็ก
3 : การเปลีย 霗� นแปลงความถีแ
霗� รงดันไฟฟ้ าจ่ายให ้มอเตอร์
4 : มีคําตอบถูกมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 377 :
มอเตอร์เหนีย霗� วนํ าขนาด 10 kW, 380 V, 50 Hz, 4 pole ต่อแบบ Delta เมือ霗� ทําการป้ อนด ้วยแรงดันไฟฟ้ าทีพ
霗� ก
ิ ด
ั  และให ้
ความถีท
霗� างไฟฟ้ าเท่ากับ 80 Hz จงคํานวณประมาณค่าของแรงบิดทีม 霗� อเตอร์เหนีย霗� วนํ าขับภาระทางกลได ้ (โดยประมาณ)

1 : 40 N­m
2 : 50 N­m
3 : 80 N­m
4 : 100 N­m
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 378 :
วิธก ้
ี ารใดทีไ霗� ม่ใชในการควบคุ
มความเร็วของมอเตอร์เหนีย
霗� วนํ า

1 : การปรับแรงดันทีข 霗� วั  สาย
2 : การปรับความถีข 霗� องแหล่งจ่าย
3 : การเปลีย 霗� นลําดับเฟส
4 : การปรับค่าความต ้านทานของวงจรโรเตอร์
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 379 :
ถ้าควบควบคุมความเร็ วโดยการปรับความถีมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําขนาด 1.0 kW, 380 V, 50 Hz, 4 poles ในย่านความเร็ วรอบตํากว่าพิกดั  เมือป้ อนเข้ามอเตอร์ดว้ ย
ความถี 25 Hz ค่าพิกดั กําลังทีมอเตอร์สามารถจ่ายได้จะมีค่าประมาณเท่าใด

1 : 250 W
2 : 500 W
3 : 1,000 W
4 : 2,000 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 380 :
ถ้าควบควบคุมความเร็ วโดยการปรับความถีมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําขนาด 1.0 kW, 380 V, 50 Hz, 4 poles ในย่านความเร็ วรอบตํากว่าพิกดั  เมือป้ อนเข้ามอเตอร์ดว้ ย
ความถี 25 Hz ค่าแรงดันไฟฟ้ าทีป้ อนเข้ามอเตอร์จะมีค่าประมาณเท่าใด

1 : 95 V
2 : 190 V
3 : 380 V
4 : 760 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 381 :
ถ้าควบควบคุมความเร็ วโดยการปรับความถีมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําขนาด 1.0 kW, 380 V, 50 Hz, 4 poles ในย่านความเร็ วรอบสูงกว่าพิกดั  เมือป้ อนเข้ามอเตอร์ดว้ ย
ความถี 100 Hz ค่าพิกดั กําลังทีมอเตอร์สามารถจ่ายได้จะมีค่าประมาณเท่าใด

1 : 250 W
2 : 500 W
3 : 1,000 W
4 : 2,000 W
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 382 :
ถ้าควบควบคุมความเร็ วโดยการปรับความถีมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําขนาด 1.0 kW, 380 V, 50 Hz, 4 poles ในย่านความเร็ วรอบตํากว่าพิกดั  เมือป้ อนเข้ามอเตอร์ดว้ ย
ความถี 100 Hz ค่าแรงดันไฟฟ้ าทีป้ อนเข้ามอเตอร์จะมีค่าประมาณเท่าใด
1 : 95 V
2 : 190 V
3 : 380 V
4 : 760 V
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

เนือ
 หาวิชา : 49 : Protection of machines

ข ้อที 霗� 383 :
มอเตอร์เหนีย ้
霗� วนํ าใชขดลวดที
ม 霗� ฉ
ี นวนชนิด B (Insulation class B) อุณหภูมส
ิ งู สุดทีย
霗� อมรับได ้มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 105 องศา
2 : 120 องศา
3 : 130 องศา
4 : 155 องศา
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 384 :
มอเตอร์เหนีย ้
霗� วนํ า ใชขดลวดที
ม 霗� ฉ
ี นวนชนิด F (Insulation class F) อุณหภูมส
ิ งู สุดทีย
霗� อมรับได ้มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 105 องศา
2 : 120 องศา
3 : 130 องศา
4 : 155 องศา
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 385 :
การออกแบบโอเวอร์โหลดเพือ ็ ต์ของพิกด
霗� ป้ องกันมอเตอร์ ควรออกแบบเป็ นกีเ霗� ปอร์เซน ั กระแสมอเตอร์

1 : 125%
2 : 150 %
3 : 175 %
4 : 200 %
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 386 :
่ ป
อุปกรณ์ใดต่อไปนี  ไม่ใชอ ุ กรณ์ทใี霗� ชส้ ําหรับป้ องกันมอเตอร์

1 : Circuit Breaker
2 : Overload Relay
3 : Fuse
4 : Bearing
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 387 :
ข ้อใดเป็ นสาเหตุทท ี หายได ้
ี霗� ําให ้มอเตอร์เกิดความเสย

1 : อุณหภูมส ิ งู เกินพิกด

2 : แรงดันไฟฟ้ าสูงเกินพิกด ั
3 : ความเร็วสูงเกินพิกด ั
4 : มีคําตอบมากกว่า 1 ข ้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 388 :
ค่า IP ของมอเตอร์แสดงถึงอะไร

1 : มาตรฐานการจับยึดมอเตอร์
2 : มาตรฐานการระบายความร ้อน
3 : มาตรฐานการป้ องกันเปลือกหุ ้มมอเตอร์
4 : มาตรฐานการตรวจจับการสัน 霗� สะเทือนของมอเตอร์
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 3
ข ้อที 霗� 389 :
ค่า IP XX โดยทีค 霗� า่  X ทัง สองตัวนีแ
 สดงถึงระดับการป้ องกันเปลือกหุ ้มมอเตอร์ อยากทราบว่าค่า X ตัวแรกแสดงถึงการ
ป้ องกันสงิ霗� ใด

1 : นํ า
2 : ของแข็ง
3 : ไฟฟ้ า
4 : ความร ้อน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 390 :
ค่า IP XX โดยทีค 霗� า่  X ทัง สองตัวนีแ
 สดงถึงระดับการป้ องกันเปลือกหุ ้มมอเตอร์ อยากทราบว่าค่า X ตัวทีส
霗� องแสดงถึงการ
ป้ องกันสงิ霗� ใด

1 : นํ า
2 : ของแข็ง
3 : ไฟฟ้ า
4 : ความร ้อน
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 391 :
ค่า IP 55 โดยทีค
霗� า่  55 ทัง สองตัวนีแ
 สดงถึงระดับการป้ องกันเปลือกหุ ้มมอเตอร์ อยากทราบว่าค่า IP 55 แสดงถึงอะไร

霗� เี ส ้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า12 mm และป้ องกันนํ าสเปรย์ทต


1 : ป้ องกันวัตถุของแข็งทีม ี霗� กลงมาในแนวดิง霗� ได ้สูงถึง 600 เมตร
2 : ป้ องกันวัตถุของแข็งทีม 霗� เี ส ้นผ่าศูนย์กลางมากกว่า1 mm และป้ องกันนํ าสาดทีม
霗� าจากทุกทิศทาง
3 : ป้ องกันอันตรายจากฝุ่ น และป้ องกันนํ าฉีดจากปลายกระบอกทีไ霗� ม่แรงมากนัก
4 : ป้ องกันการเข ้าถึงจากฝุ่ นได ้อย่างสมบูรณ์ และป้ องกันนํ าฉีดจากปลายกระบอกทีม 霗� ค
ี วามแรงมาก
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 392 :
โครงสร ้างสว่ นใดในมอเตอร์กระแสตรงไม่จําเป็ นต ้องพิจารณาในเรือ
霗� งการป้ องกัน

1 : ไม่มค
ี ําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง
2 : ขดลวดอาร์เมเจอร์
3 : ขดลวดสนามแบบขนาน
4 : ขดลวดสนามแบบอนุกรม
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 393 :
้ ซงิ โครนัสคือ การใชส้ ําหรับปรับปรุงตัวประกอบกําลัง ดังนัน
ประโยชน์ข ้อหนึง霗� ของการใชงานมอเตอร์  ข ้อจํากัดของการ
ปรับตัวประกอบกําลังจะพิจารณาจากปริมาณใด

1 : แรงดันพิกด ั ของมอเตอร์
2 : กระแสพิกด ั ของขดลวดอาร์เมเจอร์
3 : กระแสพิกด ั ของขดลวดสนาม
4 : ตัวประกอบกําลังของแหล่งจ่าย
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 394 :
มอเตอร์เหนีย ้
霗� วนํ าใชขดลวดที
ม 霗� ฉ
ี นวนชนิด E (Insulation class E) อุณหภูมส
ิ งู สุดทีย
霗� อมรับได ้มีคา่ เท่ากับเท่าใด

1 : 105 องศา
2 : 120 องศา
3 : 130 องศา
4 : 155 องศา
คําตอบทีถ霗� ก
ู ต ้อง : 2

ข ้อที 霗� 395 :
การป้ องกันมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําจากความผิดปกติของแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้าจากสาเหตุใด

1 : Over voltage
2 : Under voltage
Over voltage
2 : Under voltage
3 : Unbalance voltage
4 : ถูกทุกข้อ
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 396 :
การป้ องกันมอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําจากความผิดปกติแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้า สาเหตุใดถือว่าต้องทําทําการตัดแหล่งจ่ายไฟฟ้ าป้ อนเข้าทันที

1 : Over voltage
2 : Under voltage
3 : Unbalance voltage
4 : Phase failure
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

ข ้อที 霗� 397 :
จากความผิดปกติของแรงดันไฟฟ้ าป้ อนเข้ามอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนํา ข้อใดเป็ นสาเหตุใดทําให้เกิดการสันสะเทือนอย่างต่อเนืองทีตัวมอเตอร์

1 : Over voltage
2 : Under voltage
3 : Unbalance voltage
4 : แรงดันไฟฟ้ าไม่ส่งผลต่อการสันสะเทือนของตัวมอเตอร์
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 3

ข ้อที 霗� 398 :
มอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําสามเฟสขนาด 10 kW,380 V,50 Hz, 4 poles, 1430 rpm ความเร็ วรอบในข้อใดแสดงว่าเครื องจักรกลไฟฟ้ าเหนียวนําทํางานเกินพิกดั

1 : 1,400 rpm
2 : 1,450 rpm
3 : 1,500 rpm
4 : 1,550 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 1

ข ้อที 霗� 399 :
มอเตอร์ไฟฟ้ าเหนียวนําสามเฟสขนาด 10 kW,380 V,50 Hz, 4 poles, 1430 rpm ความเร็ วรอบในข้อใดแสดงว่าเครื องจักรกลไฟฟ้ าเหนียวนําทํางานเป็ นเครื องกําเนิด
ไฟฟ้ า

1 : 1,400 rpm
2 : 1,450 rpm
3 : 1,500 rpm
4 : 1,550 rpm
คําตอบทีถ 霗� ก
ู ต ้อง : 4

You might also like