Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

71

มทช.(ท) 203-2545
มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ าความชืน้ ของไม้
(MOISTURE CONTENT OF WOOD)
----------
1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบนี ้ครอบคลุมถึงการหาปริ มาณความชื ้นของไม้ โดยวิธีอบแห้ ง
2. นิยาม
2.1 ความชื ้นของไม้ หมายถึง อัตราส่วนของน ้าหนักของความชื ้นที่อยูใ่ น เนื ้อไม้ ต่อน ้าหนักของไม้ ที่อบแห้ งจนน ้าหนัก
คงที่โดยคิดเป็ นร้ อยละ (ค่าของความชื ้นของไม้ อาจมากกว่า 100 ก็ได้ )
2.2 ความหมายของคาที่ใช้ ในมาตรฐานการทดสอบไม้ นี ้ ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก .421 ไม้
แปรรูป : ข้ อกาหนดทัว่ ไป
3. ชัน้ คุณภาพและสัญลักษณ์
ให้ เป็ นไปตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป
4. วิธีทา
4.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
4.1.1 ตู้อบไฟฟ้ า (ELECTRIC DRY OVEN ) เป็ นตู้อบที่สามารถปรับและควบคุมอุณหภูมิได้ สาหรับการทดสอบนี ้ให้
ควบคุมที่อณ ุ หภูมิ 103 + 2 องศาเซลเซียส โดยตลอดในช่วงเวลาที่ต้องการอบไม้ ตวั อย่าง จนน ้าหนักลดลงคงที่
ตู้อบไฟฟ้ าควรมีอากาศหมุนเวียนภายใน เพื่อให้ อณ ุ หภูมิเท่ากันโดยทัว่ และควรมีช่องระบายไอน ้าออกได้ ด้วย
4.1.2 เครื่ องชัง่ ให้ มีความละเอียดของการชัง่ น ้าหนักได้ ไม่น้อยกว่า 0.05 กรัม
4.2 การเตรียมตัวอย่ าง
เตรี ยมไม้ ตวั อย่างที่ไสเรี ยบ (DRESSED TIMBER ) และเกลี ้ยง (CLEAR WOOD ) และต้ องไม่เคลือบสารเคมี
ขนาด 2.5x2.5x6 ซม. ชนิดละ 3 ท่อน
4.3 แบบฟอร์ ม
ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ. มทช.(ท) 203.1-2545
4.4 การทดสอบ
4.4.1 ขจัดเสี ้ยนไม้ ที่เกาะอยูต่ ามผิวของไม้ ตวั อย่างออก และชัง่ น ้าหนักของไม้ ตวั อย่าง โดยยอมให้ คลาดเคลือ่ นได้ +
0.05 กรัม น ้าหนักที่ชงั่ ได้ นี ้จะเป็ นน ้าหนักของไม้ ตวั อย่างก่อนอบแห้ ง (ORIGINAL WEIGHT)
4.4.2 นาไม้ ตวั อย่างเข้ าในตู้อบ โดยให้ ความร้ อนผ่านได้ ทวั่ ถึงทุกท่อน ที่อณ ุ หภูมิ 103 + 2 องศาเซลเซียส ตร วจสอบ
น ้าหนักของไม้ ตวั อย่างทุก ๆ ช่วงระยะเวลา 2 ชัว่ โมง หรื อจนกว่าไม้ ตวั อย่างจะแห้ งสนิทปราศจากความชื ้น
และมีน ้าหนักคงที่
4.4.3 นาไม้ ตวั อย่างออกมาชัง่ น ้าหนักอีกครัง้ หนึง่ โดยยอมให้ คลาดเคลือ่ นได้ ไม่เกิน 0.05 กรัม น ้าหนักที่ชงั่ ได้ นี ้ จะ
เป็ นน ้าหนักของไม้ ตวั อย่างหลังอบแห้ ง (OVEN DRY-WEIGHT)
72

5. การคานวณ
ให้ ดาเนินการคานวณตามวิธีที่กาหนดไว้ ในแบบฟอร์ ม ตามข้ อ 4.3

6. การรายงาน
ให้ รายงานตามแบบฟอร์ ม บฟ. มทช.(ท) 203.1-2545

7. เกณฑ์ การตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
เกณฑ์การตัดสินให้ เป็ นไปตาม มทช.104 : มาตรฐานงานไม้ ใช้ คา่ เฉลีย่ การทดสอบหาค่าความชื ้นของไม้ แต่ละชนิด
(ข้ อ 5 ในแบบฟอร์ ม บฟ. มทช.(ท) 203.1-2545 )

8. ข้ อควรระวัง
8.1 ไม้ ตวั อย่างที่จะนามาทดสอบต้ องอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์เรี ยบร้ อย มีขนาดตามที่กาหนดเท่ากันตลอดทังท่
้ อน และต้ อง
ไม่มี ตาหนิในเนื ้อไม้
8.2 การอบไม้ ตวั อย่าง ห้ ามอบนานเกินความจาเป็ น และห้ ามเกินกว่าอุณหภูมิที่กาหนดไว้ (103 + 2 องศาเซลเซียส)

9. หนังสืออ้ างอิง
9.1 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 421-2525 ไม้ แปรรูป : ข้ อกาหนดทัว่ ไป
9.2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 424-2530 ไม้ แปรรูป : สาหรับงานก่อสร้ างทัว่ ไป
9.3 FACULTY OF ENGINEERING CHULALONGKORN UNIVERSITY MATERIAL TESTING LABORATORY
TEST NO.T 7 MOISTURE CONTENT OF WOOD, REVISED : MAY 1983
9.4 ASTM DESIGNATION : D 2016-74 (REAPPROVED 1983) STANDARD TEST METHODS FOR MOISTURE
CONTENT OF WOOD

**********
73

โครงการ……………………….………. บฟ.มทช.(ท) 203.1-2545 ทะเบียนทดสอบ………………


สถานที่ก่อสร้ าง…………………………
ผู้ทดสอบ
……………………………………….… (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ)
ผู้รับจ้ าง………………………………… ผู้ตรวจสอบ
ผู้นาส่ง………………….……………… มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่ า
ชนิดตัวอย่าง…………..ทดสอบครัง้ ที่…… ความชืน้ ของไม้
อนุมัติ
ทดสอบวันที่……………..….แผ่นที่..….
ชนิดไม้ ตัวอย่ าง
รายละเอียด ไม้ ………………… ไม้ ………………… ไม้ ………………
1 2 3 1 2 3 1 2 3
ความยาว L. (มม.)
1. มิติของไม้
ความกว้ าง B. (มม.)
ตัวอย่ าง
ความหนา T. (มม.)

2. น.น.ของไม้ ตัวอย่ างก่ อนอบแห้ ง W (กรัม)


(ORIGINAL WEIGHT)

3. น.น.ของไม้ ตัวอย่ างหลังอบแห้ ง WD (กรัม)


(OVEN DRY WEIGHT)

4. ปริมาณความชืน้ เป็ นร้ อยละ


M = (W-WD) / WD x100

5. ค่ าเฉลี่ยปริมาณความชืน้ เป็ นร้ อยละ

หมายเหตุ:

You might also like