Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

91

มทช.(ท) 606-2545
มาตรฐานการทดสอบปริมาณนา้ ในวัสดุยางแอสฟั ลต์ อิมัลชัน
(ASPHALT EMULSION)
------------
1. ขอบข่ าย
มาตรฐานการทดสอบนี ้ครอบคลุมถึงการหาปริ มาณน ้า ที่ผสมอยูใ่ นวัสดุยางแอสฟั ลต์ อิมลั ชัน

2. นิยาม
วัสดุยางแอสฟั ลต์ อิมลั ชันนี ้ หมายถึงวัสดุยางแคตอิออนิ กแอสฟั ลต์ อิมลั ชัน ที่แตกตัวเป็ นอนุภาคเล็ก ๆ
กระจายอยูใ่ นสารละลาย ซึง่ ประกอบด้ วยน ้า อิมลั ชีไฟอิงเอเจนต์ และอื่น ๆ ซึง่ อนุภาคของวัสดุยางแอสฟั ลต์ มีประจุ
ไฟฟ้ าบวก

3. วิธีทา
3.1 เครื่องมือและอุปกรณ์ ประกอบด้ วย
3.1.1 หม้ อกลัน่ ชนิดโลหะ เป็ นรูปทรงกระบอกตังตรง ้ ส่วนใหญ่ทา ด้ วยทองแดง ตอนบนมีขอบยื่นออกมา เพื่อให้
ฝาปิ ดได้ สนิท พร้ อมทังมี
้ ตวั ยึดฝาปิ ด ฝาปิ ดทาด้ วยโลหะอาจจะเป็ น ทองเหลืองหรื อทองแดง มีรูเจาะขนาด
เส้ นผ่านศูนย์กลางภายใน 25.4 มิลลิเมตร ขนาดและลักษณะของหม้ อกลัน่ แสดงไว้ ใน รูปที่ 1

รูปที่ 1 หม้ อกลัน่ ชนิดโลหะ

3.1.2 หม้ อกลัน่ ชนิดแก้ ว เป็ นขวดแก้ วก้ นกลม คอสัน้ ทาด้ วยแก้ วทนไฟ ขนาดความจุประมาณ 500 มิลลิลติ ร ดัง
แสดงไว้ ใน รูปที่ 2
92

A = 45 ถึง 55 มม.
B = 14 ถึง 16 มม.
C = 12 ถึง 16 มม.
D = 235 ถึง 255 มม.
E = 25 ถึง 38 มม.
F = 186 ถึง 194 มม.
H = 18 ถึง 19 มม.

C เส้ นผ่านศ.ก.ภายใน
รูปที่ 2 หม้ อกลัน่ ชนิดแก้ ว รูปที่ 3 ที่กกั น ้า
3.1.3 เครื่ องควบแน่น (CONDENSER) เป็ นแบบหลอดแก้ วใช้ น ้าเย็นผ่านหลอดแก้ ว หุ้มชันนอกยาวไม่ ้ น้อยกว่า
400 มิลลิเมตร หลอดควบแน่นชันในมี ้ ขนาดเส้ นผ่านศูนย์กลาง ภายนอก 9.5 ถึง 12.7 มิลลิเมตร และ
ปลายหลอดต้ องตัดหรื อฝนให้ เรี ยบ เฉียงทามุม 305 องศา กับแกนตังของเครื ้ ่ องควบแน่น
3.1.4 ที่กกั น ้า ทาด้ วยแก้ วทนไฟ มีขนาดและรูปร่างตามรูปที่ 3 มีขีดแบ่งในช่อง 0 ถึง 1 มิลลิลติ ร อ่านได้ ละเอียด
ถึง 0.1 มิลลิลติ ร และในช่วง 1 ถึง 20 มิลลิลติ ร อ่านได้ ละเอียด ถึง 0.2 มิลลิลติ ร
3.2 วัสดุท่ ใี ช้ ประกอบการทดสอบ
ใช้ XYLENE เป็ นตัวทาละลาย หรื อจะใช้ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมอื่นๆ ซึง่ มีคณ ุ สมบัติกล่าวคือ กลัน่ ที่อณ
ุ หภูมิ
120-250 องศาเซลเซียส ได้ ร้อยละ 98 การกลัน่ ให้ เป็ นไปตามวิธีการกลัน่ ผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม AASHTO T. 115
3.3 การเตรียมตัวอย่ างการทดสอบ
3.3.1 ถ้ าตัวอย่างที่จะทดสอบมีน ้าน้ อยกว่าร้ อยละ 25 ให้ ใช้ ตวั อย่างหนัก 1000.1 กรัมถ้ าตัวอย่างมีน ้ามากกว่า
ร้ อยละ 25 ให้ ใช้ ตวั อย่าง 500.1 กรัม ชัง่ ตัวอย่างใส่ในหม้ อกลัน่ แล้ วเติมตัวทาละลายปริ มาณเท่ากับ
ตัวอย่างลงไปกวนให้ เข้ ากัน โดยระวังไม่ให้ เกิดการสูญหายของตัวอย่าง
3.3.2 นาหม้ อกลัน่ ที่กกั น ้าและเครื่ องควบแน่นมาประกอบเข้ าด้ วยกัน โดยใช้ จกุ ไม้ คอร์ กที่แน่นพอดี ดังแสดงไว้ ใน
รูปที่ 1 หรื อ 2 ถ้ าใช้ หม้ อกลัน่ ชนิดโลหะให้ ใช้ กระดานหนารูปวงแหวน ซึง่ ทาให้ ชื ้นด้ วยตัวทาละลายสอดไว้
ระหว่างฝาปิ ดกับขอบที่ยื่นออกมา ก่อนจะขันเกลียวฝาปิ ด ใช้ ก้อนสาลีอดุ ไว้ ที่ปลายบนของหลอดควบแน่น
ทังนี
้ ้เพื่อป้องกันการควบแน่นของความชื ้นในอากาศ
3.4 แบบฟอร์ ม ใช้ แบบฟอร์ มที่ บฟ มทช.(ท) 606-2545
3.5 การทดสอบ
ถ้ าใช้ หม้ อกลัน่ ชนิดโลหะ ตังตะเกี
้ ยงวงแหวนให้ อยูส่ งู จากส่วนล่างสุดของหม้ อกลัน่ ประมาณ 72 มิลลิเมตร
แล้ วค่อย ๆ เลือ่ นตะเกียงวงแหวนนี ้ลงทีละน้ อย ในขณะที่ทาการกลัน่ พร้ อ มทังปรั ้ บความร้ อนให้ เกิดการควบแน่น
ที่ปลายหลอดควบแน่น ในอัตรา 2 ถึง 5 หยดต่อวินาที ดาเนินการกลัน่ ตามอัตราที่กาหนดนี ้ จนกระทัง่ มองไม่เห็น
93

น ้าในเครื่ องควบแน่น และปริ มาตรของน ้าในที่กกั น ้าคงที่กาจัดน ้าที่อาจค้ างอยูใ่ นหลอดควบแน่นออก โดยการเร่ง
อัตราการกลัน่ เป็ นเวลาประมาณ 2-3 นาที
ถ้ าใช้ หม้ อกลัน่ ชนิดแก้ ว ให้ ดาเนินการกลัน่ โดยปรับความร้ อนให้ เกิดการควบแน่น ในอัตราเช่นเดียวกับ
หม้ อกลัน่ ชนิดโลหะ

4. การคานวณ
จานวนปริ มาณน ้าหาได้ จากสมการต่อไปนี ้
ปริ มาณน ้าเป็ นร้ อยละ = (A/B) x 100
เมื่อ A = ปริ มาณน ้าในที่กกั น ้าเป็ นมิลลิลติ ร
B = น ้าหนักของตัวอย่างเป็ นกรัม
5. การรายงาน
ให้ รายงานปริ มาณน ้าเป็ นร้ อยละ ในแบบฟอร์ มใน ข้ อ 3.4

6. เกณฑ์ ตัดสินและความคลาดเคลื่อนที่ยอมให้
6.1 เกณฑ์ความคลาดเคลือ่ นเนื่องจากผู้ทดสอบ ผลการทดสอบ 2 ครัง้ โดยผู้ทดสอบคนเดียวกัน สาหรับตัวอย่างที่มี
ปริ มาณน ้าร้ อยละ 30-50 จะต้ องแตกต่างกันไม่เกินร้ อยละ 0.8
6.2 เกณฑ์ความคลาดเคลือ่ นเนื่องจากเครื่ องมือทดสอบ ผลการทดสอบจากห้ องทดสอบต่างกัน สาหรับตัวอย่างที่มี
ปริ มาณน ้าร้ อยละ 30-50 จะต้ องแตกต่างกันไม่เกินร้ อยละ 2.0

7. หนังสืออ้ างอิง
7.1 THE AMERICAN ASSOCIATION OF STATE HIGHWAY AND TRANSPORTATION OFFICIALS
“STANDARD SPECIFICATION FOR HIGHWAY MATERIALS AND METHOD OF SAMPLING AND
TESTING” PART II AASHTO T. 59-78
7.2 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม มอก. 371 แคตอีออนิกแอสฟั ลต์อิมลั ชัน สาหรับถนน
7.3 วิธีการทดสอบวัสดุก่อสร้ าง เล่มที่ 3 เดือนสิงหาคม 2524 กองวิเคราะห์และวิจยั กรมทางหลวง

************
94

โครงการ............................................ บฟ. มทช.(ท) 606-2545 ทะเบียนทดสอบ.....................


สถานที่ก่อสร้ าง.......………………….
………………………………………… (หน่วยงานที่ทาการทดสอบ) ผู้ทดสอบ
ผู้รับจ้ าง............................................. การทดสอบหาปริมาณนา้
ผู้นาส่ ง………………………………… ในวัสดุยางแอสฟั ลต์ อิมัลชัน ผู้ตรวจสอบ
ชนิดตัวอย่ าง……….ทดสอบครัง้ ที่…
ทดสอบวันที่…………….แผ่ นที่…… ชันคุ
้ ณภาพ...................................... ผู้รับรอง

ปริ มาณน ้าเป็ นร้ อยละ = ........................

You might also like