Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

1

สรุปประเด็นการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


กันยายน 2559
วิเคราะห์การดาเนินงานเพื่อ Lean ของกลุ่มตรวจสอบภายใน
1. ภารกิจของกลุ่มตรวจสอบภายใน
1. บริการให้หลักประกันสร้างความเชื่อมั่น (Assurance Services) คือ การตรวจสอบหลักฐานอย่างเที่ยง
ธรรมเพื่อให้ได้มาซึ่งการประเมิน อย่างเป็นอิสระในกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุม และ
การก ากั บ ดู แ ลขององค์ ก ร เช่ น ให้ ค วามเชื่ อ มั่ น ในด้ า นต่ า งๆ การตรวจสอบด้ า นการเงิ น บั ญ ชี
การตรวจสอบด้ า นสารสนเทศ การตรวจสอบด้ า นกฎ ระเบี ย บ การตรวจสอบการด าเนิ น งาน
การตรวจสอบการบริหารงาน
2. บริการให้ คาปรึกษา (Consulting Service) คือ กิจกรรมการให้ คาปรึกษา แนะน า และการบริการ
ที่เกี่ยวเนื่องแก่ผู้ รับ บริการ โดยลั กษณะและขอบเขตของงานจะเป็นไปตามข้อตกลงที่ทาขึ้นร่วมกั บ
ผู้รับบริการ วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มคุณค่าและปรับปรุงกระบวนการบริหารความเสี่ยง การควบคุมและ
การกากับดูแลขององค์กร

2. มาตรฐาน กฎ ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องต่อการปฏิบัติงานกลุ่มตรวจสอบภายใน


ในการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการต้องระเบียบ มาตรฐานในการปฏิบัติงานที่ต้องถือ
ปฏิบัติ ดังนี้
1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบภายในของส่วนราชการ พ.ศ.2551 ซึ่งเป็นการ
กาหนดบทบาท ภารกิจที่กลุ่มตรวจสอบภายในต้องปฏิบัติตาม
2. มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ จะ
เป็นกรอบแนวทางการปฏิบัติงาน การบริหารงานตรวจสอบรวมถึงคุณธรรม จริยธรรมของผู้ตรวจสอบ
ภายในของส่วนราชการ
3. แนวทางการประกั น คุ ณ ภาพงานตรวจสอบภายในภาครั ฐ พ.ศ.2555 ของส านั ก ก ากั บ และ
พัฒนาการตรวจสอบภายใน กรมบัญชีกลาง ซึ่งต้องการพัฒนาคุณภาพการตรวจสอบภายในภาครัฐให้
ได้ตามมาตรฐานที่กาหนด และเทียบเท่าในระดับสากล ซึ่งมีกรอบประเด็นที่ใช้พิจารณาสาหรับการ
ประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ การกาหนดเกณฑ์การประเมินการประกันคุณภาพงาน
ตรวจสอบภายในภาครั ฐ ได้ ก าหนดตามกรอบมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริ ย ธรรมการ
ปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ซึ่งประกอบด้วยมาตรฐานหลัก ๒ มาตรฐาน คือ มาตรฐาน
ด้านคุณสมบัติและมาตรฐานด้านการปฏิบัติงานทั้งนี้ จากกรอบมาตรฐานดังกล่าวฯ สามารถกาหนด
ประเด็นที่ใช้ในการพิจารณาเพื่อประเมินการประกันคุณภาพงานตรวจสอบภายในภาครัฐ ได้ทั้งสิ้น ๑๖
ประเด็น ประกอบด้วยมาตรฐานด้านคุณสมบัติ มีจานวน ๖ ประเด็น และมาตรฐานด้านการปฏิบัติงาน
มีจานวน ๑๐ ประเด็น

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


2

3. การวิเคราะห์ กระบวนการตรวจสอบภายใน การเปรียบเทียบ (Benchmarking)


กระบวนการตรวจสอบ มี 3 ขั้นตอนใหญ่ ดังนี้
1. การวางแผน โดยเริ่มจากการสารวจข้อมูลเบื้องต้น การประเมินผลระบบควบคุมภายใน และ
การประเมินความเสี่ยง แล้วจึงดาเนินการ ดังนี้
1.1 การวางแผนการตรวจสอบ โดยการกาหนดวัตถุประสงค์ในการตรวจสอบแผนงาน/
โครงการ
1.2 การวางแผนการปฏิบัติงาน ดาเนินการกาหนดประเด็นการตรวจสอบ วัตถุประสงค์
การตรวจสอบ ขอบเขตการตรวจสอบ และแนวทางการตรวจสอบ
2. การปฏิบัติงานตรวจสอบ ประกอบด้วย ก่อนเริ่มปฏิบัติงานตรวจสอบ ระหว่างการปฏิบัติงาน
ตรวจสอบ และการปฏิบัติงานตรวจสอบเมื่อสิ้นสุด
3. การรายงานและติดตามผล ประกอบด้วย การรายงานผลการปฏิบัติงาน และการติดตามผล
ในแต่ ล ะกระบวนการข้ า งต้ น มี ขั้ น ตอนการท างานรายละเอี ย ดลงไปในแต่ ล ะขั้ น ตอน
กระบวนงานตรวจสอบภายใน ซึ่งไม่มีมาตรฐานกาหนดแน่นอนหรือชัดเจนของระยะเวลา หรือขั้นตอน
ย่อย จะมีเพียงในบ้างประเด็นที่ระบุไว้ชัดเจนซึ่งระบุได้ดังนี้
ระเบียบ ข้อบังคับ/มาตรฐาน/คู่เปรียบเทียบ รายละเอียดมีหลักเกณฑ์กาหนด
1.ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการตรวจสอบ หมวด 2 หน้าที่ความรับผิดชอบ
ภายในของส่วนราชการ พ.ศ.2551 ข้อ 13.ให้ ห น่ ว ยงานตรวจสอบภายใน มี ห น้ าที่
ความรับผิดชอบ
(6) เสนอแผนการตรวจสอบประจาปีต่อหั วหน้า
ส่วนราชการพิจารณาอนุมัติภายในเดือนกันยายน
ในกรณี ที่ ห น่ ว ยงานตรวจสอบภายในวาง
แผนการตรวจสอบภายในวางแผนการตรวจสอบ
ส่วนราชการมีระยะเวลาตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไปให้เสนอ
แผนการตรวจสอบระยะยาวต่ อ หั ว หน้ า ส่ ว น
ราชการ เพื่อประกอบการพิจารณาอนุมัติแผนการ
ตรวจสอบประจาปีด้วย
(7) เสนอรายงานผลการตรวจสอบต่อหัวหน้าส่วน
ราชการภายในเวลาอันสมควรหรืออย่างน้อยทุก 2
เดือนนับจากวันที่ดาเนินการตรวจสอบแล้วเสร็จ
ตามแผน กรณีเรื่องที่ตรวจพบเป็นเรื่องที่มีผลเสีย
หายต่อทางราชการให้ รายงานผลการตรวจสอบ
ทันที
2.มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม ๒๐๑๐.A๑ : การวางแผนการตรวจสอบภายใน
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ต้องกระทาอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง โดยใช้ข้อมูลที่
รวบรวมได้จากการประเมินความเสี่ยง และต้องนา
ข้อมูลข่าวสารของฝ่ายบริหาร มาใช้ประกอบการ
พิจารณาในการวางแผนการตรวจสอบด้วย

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


3

ระเบียบ ข้อบังคับ/มาตรฐาน/คู่เปรียบเทียบ รายละเอียดมีหลักเกณฑ์กาหนด


2.มาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรม ๒๐๑๐.C๑ : หัวหน้าหน่วยงานตรวจสอบภายใน
การปฏิบัติงานตรวจสอบภายในของส่วนราชการ ควรให้ มีงานบริการให้ คาปรึกษาเพื่อช่ว ยให้ เกิด
โอกาสที่ จ ะก่ อ ให้ เกิ ด การปรั บ ปรุ ง การบริ ห าร
จัดการความเสี่ยง การสร้างคุณค่าเพิ่ม และการ
ปรับปรุงการดาเนินงานของส่วนราชการ ซึ่งต้อง
ก าหนดงานบริ ก ารให้ ค าปรึ ก ษาดั ง กล่ า วไว้ ใ น
แผนการตรวจสอบด้วย

๒๔๐๐ : การรายงานผลการปฏิบัติงาน
ผู้ตรวจสอบภายในต้องรายงานผลการปฏิบัติงาน
ตามที่ได้รับมอบหมายอย่างทันท่วงที

๒๔๒๐ : คุณภาพของรายงานผลการปฏิบัติงาน
การรายงานผลการปฏิ บั ติงานต้อ งรายงานด้ว ย
ค ว าม ถู ก ต้ อ ง เที่ ย งธ รรม ชั ด เจ น รั ด กุ ม
สร้างสรรค์ ครบถ้วน และทันกาล

ส านั ก งานปลั ด กระทรวงสาธารณสุ ข ได้กาหนด 1.แผนการตรวจสอบภายในและการดาเนินการ


แนวทางการตรวจสอบภายในไว้ตามหนังสือที่ สธ ตรวจสอบภายในของทุกหน่วยงานในจังหวัดอย่าง
0207/18906 ลงวัน ที่ 21 มิถุน ายน 2559 น้อยปีละ 1 ครั้ง
เรื่ อ ง แนวทางติ ด ตามการด าเนิ น งานการตรวจ 2.กาหนดระยะเวลาการรายงานผลการตรวจสอบ
รา ช ก า รก ร ะ ท ร ว งส าธ าร ณ สุ ข ป ระ จ า ปี และการติดตาม (รูปประกอบ 1)
งบประมาณ พ.ศ.2559 คณะที่ 3 การพั ฒ นา
ระบ บบริ ห ารจั ด การ หั วข้ อ ธรรมาภิ บาล :
การตรวจสอบภายใน
กลุ่มตรวจสอบภายใน กรมสุขภาพจิต กระทรวง ข้อมูลระยะเวลาในการดาเนินงาน
สาธารณสุข (อ้างอิงข้อมูลจากเวปไซต์ ) 1. การวางแผนการตรวจสอบภายใน 30 วัน
- Flow chart การวางแผนการตรวจสอบภายใน 2. การรายงานผลการตรวจสอบภายใน 15 วัน
- Flow chart การรายงานผลการตรวจสอบภายใน 3. การติดตามการตรวจสอบภายใน 54 วัน
- Flow chart การติดตามการตรวจสอบภายใน

กลุ่มตรวจสอบภายใน กอ.รมน. (อ้างอิงข้อมูลจาก ข้อมูลระยะเวลาในการดาเนินงาน


เวปไซต์ ) 1. การวางแผนการตรวจสอบภายใน 42 วัน
- Flow chart การวางแผนการตรวจสอบภายใน 2. การรายงานผลการตรวจสอบภายใน 70 วัน
- Flow chart การรายงานผลการตรวจสอบภายใน 3. การติดตามการตรวจสอบภายใน ไม่ได้มีการ
- Flow chart การติดตามการตรวจสอบภายใน กาหนดรูปแบบที่ชัดเจน

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


4

รูปประกอบ 1

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


5

Flowchart ภาพรวมการปฏิบัติงานการตรวจสอบภายใน
แบบเดิม แบบใหม่

31 วัน
18 วัน

5-10 วัน 5-10 วัน

120 วัน 35 วัน

4. เป้าหมาย : การ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน


1. ลดการตรวจสอบที่ไม่เพิ่มคุณค่าให้องค์กร มุ่งเน้นการตรวจสอบที่ส่งเสริม สนับสนุน
การปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล
2. เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านบริการให้ความเชื่อมั่นและการให้คาปรึกษา
ความคาดหวังของผู้รับบริการต่อกลุ่มตรวจสอบภายใน
ผู้บริหาร ผู้ปฏิบัติ/ผู้รับตรวจ
1. การกากับดูแลมีระบบการควบคุมภายในที่ 1. ช่วยลดข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงาน
เพียงพอ เหมาะสม 2. ข้อเสนอแนะ การแก้ปัญหาสามารถนาเอาไป
2. ช่วยให้การบริหารจัดการที่ดีมีประสิทธิภาพมี ปฏิบัติได้ รวดเร็ว
ความโปร่งใส
3. มีข้อมูลที่ช่วยในการตัดสินใจทันท่วงที
ทันเวลา
4. ลดข้อทักท้วงจากหน่วยงานตรวจสอบภายใน

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


6

สรุปประเด็นการ Lean การวิเคราะห์ Downtime


ประเด็นการ Lean Downtime
1. การวางแผนการตรวจสอบภายใน Excessive Processing
1. ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีหลายขั้นตอนในการ
ดาเนินการและต้องร่วมกันทาหลายส่วนงาน
2. ข้อมูลที่ใช้ในการวางแผนงานมีปริมาณที่มาก
ซึ่งต้องเป็นการวิเคราะห์ภาพรวมทั้งองค์กร
และวิเคราะห์หน่วยรับตรวจ
2. การรายงานผลการตรวจสอบ Overproduction
1. จานวนเรื่องที่ตรวจสอบต่อ 1 หน่วยงานมี
ปริมาณมากกว่าจานวนบุคคลกรผู้ตรวจสอบ
ภายใน อีกทั้งความรู้ความสามารถ เชี่ยวชาญ
ของผู้ตรวจสอบภายในไม่เท่ากัน การสรุปผล
การตรวจสอบต่อ1 หน่วยงานจึงใช้ระยะ
เวลานาน
2. หน่วยงานตรวจสอบภายในมีการกาหนดให้
กลุ่มตรวจสอบภายในระดับกรมต้อง
ตรวจสอบในเรื่องต่างๆ เพิ่มขึ้น เช่น
กรมบัญชีกลาง สานักงานการตรวจเงิน
แผ่นดิน
3. การติดตามรายงานผลการตรวจสอบ Waiting
ระยะเวลาการรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยรับ
ตรวจตามข้อเสนอแนะของกลุ่มตรวจสอบภายใน
หน่วยรับตรวจส่งให้ล่าช้า เพราะต้องมีการรวบรวม
ข้อมูล เอกสารหลักฐาน พร้อมคาชี้แจง

การเปรียบเทียบ (Benchmarking)
ขั้นตอนการ ระเบียบ/มาตรฐาน กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กอ.รมน.
ปฏิบัติงาน ทั่วไปกาหนด
การวางแผนการ ไม่มีการกาหนด 18 วัน 5 ขั้นตอน 30 วัน 8 ขั้นตอน 42 วัน 4 ขั้นตอน
ตรวจสอบภายใน ชัดเจน
การรายงานผลการ ไม่มีการกาหนด 9 วัน 5 ขั้นตอน 15 วัน 3 ขั้นตอน 70 วัน 5 ขั้นตอน
ตรวจสอบภายใน ชัดเจน
การติดตามการ ไม่มีการกาหนด 35 วัน 6 ขั้นตอน 54 วัน 6 ขั้นตอน ไม่มีกาหนดไว้
ตรวจสอบภายใน ชัดเจน

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


7

ประเด็นในการ Lean ของกลุ่มตรวจสอบภายใน


กระบวนการ Lean Waste/ Value ทาอย่างไร ตัวชี้วัด ลูกค้าได้อะไร Value
1.ขั้ น ตอนการวิ เคราะห์ ค วาม Waste 1.พัฒนาระบบโดยใช้เทคโนโลยีมา 1.วัดความพึงพอใจของผู้รับ 1. รายงานผลการตรวจสอบ
เสี่ ย งเพื่ อ เป็ น ข้ อ มู ล ในการวาง 1. ขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลมีหลายขั้นตอน ช่วยในการประเมิน รวบรวมข้อมูล ตรวจต่อรายงานผลการ ครอบคลุมประเด็นความ
แ ผ น ก า รต ร ว จ ส อ บ ภ าย ใน เป็นข้อมูลของหน่วยรับตรวจ เบื้องต้น ตรวจสอบ เสี่ยงของหน่วยงาน ทาให้
ประจาปี 2. ใช้ระยะและคนในการรวบรวมมาก - แบบประเมินตนเองของผู้ตรวจสอบ 2.รายงานผลการตรวจสอบ แก้ปัญหาให้กบั หน่วยรับ
กิจกรรม เนื่องจาก ไม่มีฐานข้อมูลกลางที่สามารถดึง ภายในประจาหน่วยงานผ่านทาง มีประเด็นครอบคลุมตามผล ตรวจและเป็นข้อมูลให้
- การส ารวจข้ อมู ล เบื้ อ งต้ น ของ ข้อมูลไปใช้ ได้เลย ระบบ online การประเมินความเสี่ยงหน่วย ผู้บริหารในการกากับดูแล
หน่วยรับตรวจ 3. ผู้ตรวจสอบไม่นาข้อมูลที่ได้จากการ - จัดทาระบบการจัดเก็บรายงานผล รับตรวจ 2. เป็นสัญญาณเตือนภัยในเรื่อง
- การประเมิ น ผลระบบควบคุ ม วิเคราะห์ไปใช้ในการวางแผนการ การตรวจสอบภายในเป็นระบบ 3.มีระบบงานอิเล็กทรอนิกส์ การควบคุมภายใน บริหาร
ภายใน ตรวจสอบแต่ละหน่วยงาน อิเล็กทรอนิกส์ 2 ระบบ ความเสี่ยง ให้กลับผู้บริหาร
- การวิเคราะห์ความเสี่ยง 4. ข้อมูลที่ได้จากการรวบรวมไม่เป็นความ 2. ให้ผู้ตรวจสอบภายในประจา - แบบสารวจ/ประเมิน ในทุกระดับ
เสี่ยงที่แท้จริงของหน่วยรับตรวจ หน่วยงานเข้ามามีส่วนร่วม โดยให้ ตนเอง online
Value ช่วยประเมินตนเอง ระบบควบคุม - มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการ
มีฐานข้อมูลเบื้องต้นในการตรวจสอบ และเป็น ภายในของหน่วยงาน ตรวจสอบ 1 ระบบ
ข้อมูลเพื่อใช้วิเคราะห์ปัญหา ความเสี่ยงของ
หน่วยงาน

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


8

กระบวนการ Lean Waste/ Value ทาอย่างไร ตัวชี้วัด ลูกค้าได้อะไร Value


2.การรายงานผลการตรวจสอบ ปัญหาที่ออกรายงานช้าใช้ระยะเวลามาก 1. คู่มือ check list การประเมิน 1.วัดความพึงพอใจของผู้รับ 1.เพื่อให้เพิ่มคุณค่า(Value
ภายใน 1. รูปแบบรายงานไม่ชัดเจน ไม่กระชับ ไม่ ระบบควบคุมภายในสาหรับ ตรวจต่อรายงานผลการ add)ให้กับหน่วยรับตรวจ ช่วย
2.1 การลดระยะเวลาในการออก ตรงประเด็น ไม่สาคัญ รายละเอียดเยอะ เจ้าหน้าที่ตรวจสอบเพื่อให้การ ตรวจสอบ แก้ปัญหาได้ทันท่วงที ลดความ
รายงานผลการตรวจสอบ (รูปแบบชัดเจน : ข้อตรวจพบ สาเหตุ ปฏิบัติงานตรวจสอบได้รวดเร็ว 2.การตอบรายงานตาม เสี่ยงที่อาจเกิดข้อผิดพลาดจาก
ผลกระทบ ข้อเสนอแนะ) 2. กาหนด Flow chart ในการ ข้อเสนอแนะเร็วขึ้น การปฏิบัติงาน ผิดระเบียบ
2. กาหนดระยะเวลาการออกรายงานให้แล้ว ปฏิบัติงานให้ชัดเจนและเผยแพร่ 3.ผู้ตรวจสอบภายในออก 2.เป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารใน
เสร็จหลังปิดตรวจไม่ชัดเจนโดยกาหนด ให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ รายงานได้ตามกาหนด การตัดสินใจ สัญญาณเตือนภัย
3.ประเด็นเรื่องตรวจสอบจานวนมาก ตาม 3. นาผลประเมินความเสี่ยงหน่วย
กรมบัญชีกลาง สตง. กาหนด ซึ่งไม่สมดุลกับ รับตรวจมาวิเคราะห์และจัดทา
จานวนผู้ตรวจสอบ แผนการปฏิบัติงานให้สอดคล้อง
Value กับผลการประเมินความเสี่ยง
สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที เป็นสัญณาณ หน่วยรับตรวจ
และข้อมูลให้กับผู้บริหารได้รวดเร็วทันต่อ
เหตุการณ์

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


9

กระบวนการ Lean Waste ทาอย่างไร ตัวชี้วัด ลูกค้าได้อะไร Value


2.2 เนื้อรายงานผลการตรวจสอบ 1. เนื้อรายงานผลการตรวจสอบไม่น่าสนใจ 1.ลดจานวนเรื่องการตรวจที่ไม่มี 1.วัดความพึงพอใจผู้รับ 1.เพิ่มคุณค่ารายงานตรง
ไม่น่าสนใจ ไม่ตรงประเด็น ไม่ตรงประเด็น ข้อทักท้วง ข้อเสนอแนะ ความเสี่ยง (ความเสี่ยงหน่วยงานตรง ตรวจ ผู้บริหารต่อรายงาน ประเด็นโดยรูปแบบเป็นการ
ปฏิบัติได้ /ไม่ได้ ไม่เพิ่มคุณค่าให้หน่วยงาน ประเด็น) นาผลการวิเคราะห์ความ ผลการตรวจสอบ ออกรายงาน (performance
ไม่ช่วยลดข้อผิดพลาดให้หน่วยงาน เนื้อหา เสี่ยงมาใช้ 2.การตอบรายงานตาม audit)
เยอะ เรื่องที่ตรวจผู้บริหารไม่สนใจ 2.กาหนดรูปแบบให้ชัดเจน :โดยให้มี ข้อเสนอแนะของหน่วยรับ 2.เพื่อให้เพิ่มคุณค่า(Value
2. รูปแบบรายงานไม่ชัดเจน ไม่กระชับ ไม่ ข้อตรวจพบ สาเหตุ ผลกระทบ ตรวจรวดเร็วขึ้น add)ให้กับหน่วยรับตรวจ ช่วย
ตรงประเด็น ไม่สาคัญ รายละเอียดเยอะ ข้อเสนอแนะ โดยรูปแบบเป็นการ 3.ระยะเวลาการออก แก้ปัญหาได้ทันท่วงที ลดความ
(รูปแบบชัดเจน : ข้อตรวจพบ สาเหตุ ออกรายงาน (performance รายงานผลการตรวจสอบให้ เสี่ยงที่อาจเกิดข้อผิดพลาดจาก
ผลกระทบ ข้อเสนอแนะ) audit) มีวัตถุประสงค์การตรวจสอบ ผู้บริหารทราบเร็วขึ้น การปฏิบัติงาน ผิดระเบียบ
3. ประเด็นเรื่องตรวจสอบต่อหน่วยงานมีมาก คือการวัดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล 3.เป็นข้อมูลให้กับผู้บริหารใน
ลักษณะ เช่น ตามประกันคุณภาพงานและ และความคุ้มค่า การตัดสินใจ สัญญาณเตือนภัย
กรมบัญชีกลาง นโยบายพิเศษ(ใช้ประเมิน
ความเสี่ยง ประเด็นเรื่องแล้วใช้สุ่มตรวจสอบ)
Value
สามารถแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที เป็น
สัญณาณและข้อมูลให้กับผู้บริหารได้รวดเร็ว
ทันต่อเหตุการณ์

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


10

กระบวนการ Lean Waste ทาอย่างไร ตัวชี้วัด ลูกค้าได้อะไร Value


3.การติดตามประเมินผลรายงาน การติดตามประเมินผลรายงานผลการ 1. Flowchart แจ้งเวียนให้ทราบ 1.วัดความพึงพอใจผู้รับ 1.ช่วยแก้ปัญหาหน่วยรับตรวจ
ผลการตรวจสอบ ตรวจสอบ นาน ระยะเวลามาก หน่วยรับ ทาหนังสือทวงถาม นาเข้าที่ ตรวจ ผู้บริหารต่อรายงาน ทันเวลา ไม่มีข้อผิดพลาด
ตรวจรวบรวมล่าช้า ผู้บริหารหน่วยรับตรวจ ประชุมกรม ผลการตรวจสอบ ซ้าซาก
ไม่ให้สนใจ ระบบติดตามยังไม่ชัดเจน 2.แจ้งเตือนผ่านระบบ web site 2.การตอบรายงานตาม 2.ช่วยแก้ปัญหาให้หน่วยรับ
Value 3.ให้ผู้ตรวจสอบภายในประจา ข้อเสนอแนะของหน่วยรับ ตรวจอย่างแท้จริง ทันท่วงที
สร้างความเชื่อมั่นให้กับหน่วยรับตรวจและ หน่วยงานติดตาม (รายงานผ่าน ตรวจรวดเร็วขึ้น ปัญหาไม่ลุกลาม มีระบบ
ผู้บริหารว่ามีระบบควบคุมภายใน ที่เพียงพอ ระบบอิเล็กทรอนิกส์) ควบคุมภายในที่มีประสิทธิภาพ
และเหมาะสม องค์กรมีความน่าเชื่อถือกับ 3. ลดข้อทักท้วงจากหน่วยงาน
หน่วยงานภายนอก เช่น กรมบัญชีกลาง สตง. ภายนอก เช่น สตง.ปปท. ปปช.
ปปช. ปปท.

4. การให้คาปรึกษา 1.ช่องทางการให้คาปรึกษามีน้อยไม่เพียงพอ 1.มีช่อง กระบวนการให้ปรึกษา 1.ความพึงพอใจของ 1.การให้คาปรึกษามีความ


ต่อการให้บริการ มีเพียงการให้บริการทาง หลากหลายและรวดเร็ว ผู้รับบริการให้คาปรึกษามี สะดวกรวดเร็ว และมีหลาย
โทรศัพท์ - Line ความพึงพอใจ ช่องทางให้กับผู้รับการ
2.ผู้ตรวจสอบภายในไม่มีเวลาในการให้ - facebook 2.มีช่องทางการให้ ตรวจสอบ
คาปรึกษา มีการให้คาปรึกษาน้อย - อินโฟรกราฟฟิก คาปรึกษาหลายช่องทาง 2.จานวนข้อทักท้วงที่เกิดจาก
Value - คลิปวิดิโอ online การปฏิบัติงานด้านกฎ ระเบียบ
1. ช่วยลดข้อผิดพลาดให้กับหน่วยรับในขณะ 2.คู่มือ ปัญหาข้อตรวจพบ ข้อ ข้อบังคับลดน้อยลง
กาลังดาเนินงาน ปฏิบัติงาน ทักท้วง จุดเสี่ยงที่สอดคล้องและ
2.สร้างภาพลักษณ์ให้กลุ่มตรวจสอบภายใน รองรับการเปลี่ยนแปลงของกรม
เป็นผู้เชี่ยวชาญในการให้คาปรึกษาด้านระบบ อนามัยในปี 60
ควบคุมภายใน การบริหารความเสี่ยง
************

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559


11

สรุปการถอดบทเรียนการ Lean กลุ่มตรวจสอบภายใน ปี 2559

You might also like