Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 29

แบบฝึกหัดก่อนเรียน บทที่ 5

จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
1. เครื่องเชื่อมที่แบ่งตำมลักษณะกำรจ่ำยพลังงำนมี 2 6 .เครื่องเชื่อมที่เหมำะสมสำหรับงำนที่ต้องเคลื่อนย้ำย
ชนิด คืออะไร เครื่องบ่อยๆ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด
ก. เครื่องเชื่อมกระแสตรงและเครื่องเชื่อม ก. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter
กระแสสลับ ข. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ
ข. ชนิดกระแสคงที่และกระแสสลับ ค. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ
ค. ชนิดกระแสคงที่และแรงดันไฟฟ้ำคงที่ ง. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส
ง. ชนิดกระแสคงที่และกระแสตรง 7. กระจกกรองแสงเบอร์ 8 ตำมมำตรฐำน AWS จะใช้
2. เครื่องเชื่อมที่มีระบบที่เปลี่ยนควำมถี่ และสำมำรถ สำหรับกำรเชื่อมที่ใช้กระแสไฟฟ้ำเท่ำไร
กรองให้เรียบ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ก. 30 แอมป์ ค. 200 แอมป์
ก. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter ข. 75 แอมป์ ง. 400 แอมป์
ข. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 8. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำใช้สำหรับทำอะไร
ค. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ ก. ใช้สำหรับเป็นที่ยึดกระจกกรองแสง
ง. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส ข. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม
3. เครื่องเชื่อมที่สำมำรถผลิตกระแสเชื่อมได้ทั้ง AC และ ค. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม และรังสีต่ำงๆ ขณะ
DC คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ทำกำรเชื่อม
ก. เครื่องเชื่อมแบบInverter ง. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม รังสี สะเก็ดไฟเชื่อม
ข. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 9. สำยดินและอุปกรณ์ยึด ใช้สำหรับทำอะไร
ค. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ ก. ใช้จับยึดชิ้นงำน
ง. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส ข. ใช้จับยึดชิ้นงำนให้มั่นคง
4. เครื่องเชื่อมที่รับไฟฟ้ำกระสลับป้อนเข้ำมอเตอร์เพื่อ ค. ใช้ป้องกันไฟฟ้ำดูด
ใช้กับเจเนอเรเตอร์ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ง. ใช้จับยึดกับชิ้นงำนเพื่อให้วงจรไฟฟ้ำไหลครบจง
ก. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter จรอย่ำงสะดวก
ข. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 10. ข้อใดไม่ใช่กำรปรับกระแสไฟฟ้ำสำหรับเชื่อมของ
ค. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ
ง. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส ก. กำรปรับโดยต่อจำกขดลวดทุติยภูมิ
5 .ถ้ำเครื่องเชื่อมมีขนำด 300 แอมป์ควรเลือกใช้หัวจับ ข. กำรปรับโดยใช้วงจรไฟฟ้ำ
ลวดเชื่อมขนำดเท่ำไร ค. กำรปรับโดยใช้วิธีกล
ก. 100 แอมป์ ค. 300 แอมป์ ง. กำรปรับโดยวิธีทำงฟิสิกส์
ข. 200 แอมป์ ง. 400 แอมป์
แผนกำรสอนทฤษฎี หน่วยที่ 5
วิชำ งำนเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร สอนครั้งที่ 5
ชื่อหน่วย กำรเชื่อมไฟฟ้ำ

ชื่อเรื่อง กำรเชื่อมไฟฟ้ำ จำนวนคำบ 6 คำบ


จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม จุดประสงค์กำรเรียนกำรสอน
1. เพื่อให้นักเรียนรู้จักควำมหมำยของกำรเชื่อม 1. นักเรียนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจควำมหมำยของ
ไฟฟ้ำ กำรเชื่อมไฟฟ้ำ
2. เพื่อให้นักเรียนรู้จักหลักกำรทำงำนของเครื่อง 2. นักเรียนมีควำมรู้ควำมเข้ำใจหลักกำรทำงำน
เชื่อมไฟฟ้ำ ของเครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเชื่อม 3. นักเรียนสำมำรถใช้อุปกรณ์เชื่อมไฟฟ้ำได้อย่ำง
ไฟฟ้ำ ปลอดภัย
4. เพื่อให้นักเรียนปฏิบัติงำนเชื่อมไฟฟ้ำได้ 4. นักเรียนสำมำรถปฏิบัติงำนเชื่อมไฟฟ้ำได้

สำระสำคัญ
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมแบบอำร์คลวดหุ้มฟลักซ์แบ่งออกได้หลำยชนิด จึงต้องศึ กษำถึง
หลักกำรทำงำนของเครื่องเชื่อมชนิดต่ำง ๆ หลักกำรทำงำนของเครื่องมืออุปกรณ์ต่ำง ๆ และวิธีกำรเลือกใช้ให้
ถูกต้องเหมำะสมกับลักษณะของงำน
เนื้อหำ
1. ชนิดและกำรเลือกเครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ
2. เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเชื่อมไฟฟ้ำ
จุดประสงค์กำรเรียนรู้
หลังจำกศึกษำจบบทนี้แล้ว นักศึกษำสำมำรถ
1. จำแนกประเภทของเครื่องเชื่อมไฟฟ้ำได้
2. บอกหลักกำรทำงำนของเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรเชื่อมไฟฟ้ำชนิดต่ำง ๆ ได้
3. บอกวิธีกำรบำรุงรักษำอุปกรณ์ที่ใช้ในงำนเชื่อมไฟฟ้ำได้

กำรเชื่อมไฟฟ้ำ คือกำรเปลี่ยนพลังงำนไฟฟ้ำให้เป็นพลังงำนควำมร้อน ที่เ กิดจำกกำรอำร์คระหว่ำง


ชิ้นงำนกับลวดเชื่อม (Electrode) และลวดเชื่อมจะเป็นตัวเติมเนื้อโลหะลงในบ่อหลอมละลำย เพื่อให้ชิ้นงำน
นั้น ๆ หลอมละลำยติดกัน
เครื่องมือและอุปกรณ์ในการเชื่อมไฟฟ้า
เครื่องมือและอุปกรณ์ในกำรเชื่อไฟฟ้ำมีดังนี้
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้า (Arc Welding Machine)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำแบ่งตำมลักษณะกำรจ่ำยพลังงำน มี 2 แบบ คือ
1.1 เครื่องเชื่อมแบบจ่ำยกระแสคงที่
1.2 เครื่องเชื่อมแบบแรงเคลื่อนคงที่
2. เครื่องเชื่อมแบ่งตำมลักษณะกำลังกำรผลิต หรือต้นกำเนิดกระแส ได้แก่
2.1 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ (Transformer Welding Machines)
2.2 เครื่ อ งเชื่ อ มไฟฟ้ ำ แบบหม้ อ แปลง-เครื่ อ งเรี ย งกระแส (Transformer Rectifier
Machines)
2.3 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรง อำจแบ่งออกได้ 2 แบบ คือ
2.3.1 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ (Motor Generator Welding)
ลักษณะกำรทำงำนจะรับกระแสไฟฟ้ำสลับป้อนเข้ำมอเตอร์ เพื่อใช้ขับเจเนอเรเตอร์ แลเจเนอเรเตอร์จะจ่ำย
กระแสไฟตรงที่มีควำมเรียบนำไปใช้ในกำรเชื่อม เครื่องเชื่อมชนิดนี้ส่วนใหญ่จะใช้มอเตอร์ 3 เฟส

รูปที่ 5.1 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ากระแสตรงขับด้วยมอเตอร์


2.3.2 เครื่ องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรงขับด้ว ยเครื่องยนต์ (Engine Drive Welding)
ลักษณะกำรทำงำนจะใช้เครื่องยนต์เป็นต้นกำลัง เพื่อขับเจเนอเรเตอร์ ซึ่งเจเนอเรเตอร์จะจ่ำยกระแสไฟตรง
ออกมำ เครื่องชนิดนี้เหมำะกับงำนสนำมเพรำะสำมำรถเคลื่อนที่ได้

รูปที่ 5.2 เครื่องเชื่อมไฟฟ้ากระแสตรงขับด้วยเครื่องยนต์


เครื่องเชื่อมแบบจ่ายกระแสคงที่
เครื่องเชื่อมแบบจ่ำยกระแสคงที่ จะใช้กับเชื่อมแบบธรรมดำด้วยลวดเชื่อมหุ้มฟลักซ์ หรือกำรเชื่อม
แบบทิก (TIG) โดยทังสเตนเป็นตัวทำให้เกิดกำรอำร์ค มีแก๊สเฉื่อยเป็นตัวปกคลุมแนวเชื่อม อำจจะใช้ลวดเชื่อม
หรือไม่ใช้ก็ได้ แล้วแต่ร อยต่อชนิดของงำน กำรเชื่อมแบบคำร์บอนอำร์ค กำรเซำะร่อง และกำรเชื่อมสลั ก
(Stud)
เครื่องเชื่อมแบบแรงเคลื่อนคงที่
เครื่องเชื่อมแบบแรงเคลื่อนคงที่ จะใช้เฉพำะกับเครื่องเชื่อมที่ใช้ลวดเชื่อมแบบต่อเนื่อง แบบอัตโนมัติ
หรือกึ่งอัตโนมัติ เช่นกำรเชื่อมแบบมิก (MIG) เป็นกำรเชื่อมแบบกึ่งอัตโนมัติ ลวดเชื่อมจะป้อนเข้ำแนวเชื่อม
โดยกำรควบคุมของตัวป้อนลวดอยู่ตลอดเวลำในกำรเชื่อม และขณะเดียวกันจะมีแก๊สคำร์บอนไดออกไซด์ หรือ
แก๊สเฉื่อยเป็นตัวปกคลุมแนวเชื่อม กำรอำร์คใต้ฟลักซ์
กำรเชื่อมไฟฟ้ำมีทั้งกำรเชื่อมด้ว ยมือ (Manual Welding) กำรเชื่อมอัตโนมัติ (Semi Automatic
Welding) และกำรเชื่อมอัตโนมัติ (Automatic Welding) ไม่ว่ำจะเป็นกำรเชื่อมแบบใดก็ตำมที่สำคัญ คือ
ระหว่ำงกำรเชื่อมจะต้องมีกำรป้องกันไม่ให้ออกซิเจนจำกบรรยำกำศเข้ำรวมตัวกับบ่อหลอมละลำย ซึ่งจะทำให้
แนวเชื่อมไม่สมบูรณ์ และที่สำคัญคือควำมแข็งแรงไม่เพียงพอทำให้เป็นอันตรำยอย่ำงยิ่ง
กำรใช้เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำเชื่อมโลหะสำมำรถเชื่อมได้ทั้งกระแสตรง (DC) และกระแสไฟฟ้ำสลับ (AC)
กำรเชื่อมไฟฟ้ำจะมีประสิทธิภำพเพียงใดขึ้นอยู่กับส่วนประกอบหลำย ๆ อย่ำง เช่น กำรเลือกใช้ลวดเชื่อมให้
เหมำะสมกับชิ้นงำน กำรตั้งกระแสไฟเชื่อม ระยะกำรอำร์ค มุมตั้งของลวดเชื่อม ควำมเร็วในกำรส่ำยลวดเชื่อม
เป็นต้น
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำเป็นอุปกรณ์ที่สำคัญในกำรเชื่อมไฟฟ้ำ คือเป็นตัวกำเนิดพลังงำน โดยผลิตกระแส และ
แรงเคลื่อนออกมำอย่ำงคงที่ และเพียงพอที่จะทำให้กำรอำร์คเป็นไปอย่ำงต่อเนื่อง และชิ้นงำนสำมำรถหลอม
ละลำยได้ตลอดวำมหนำต่ำง ๆ
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำที่ใช้ในงำนอยู่ทั่ว ๆ ไป แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรง (Direct Current) เครื่องเชื่อม DC
2. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสสลับ (Alternating Current) เครื่องเชื่อม AC
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรง (Direct Current)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสตรงแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำแบบเจนเนอเรเตอร์ (Generator Welding) เป็นเครื่องเชื่อมที่กำเนิดกระแสที่
บังคับด้วย เจนเนอเรเตอร์ คือกำรทำงำนระยะแรก แรงเคลื่อนจะตก ขณะเดียวกันสำมำรถผลิตกระแสได้สูง
เครื่องเชื่อมกระแสตรงแบ่งออกได้ 2 ประเภทดังนี้
1.1 แบบมอเตอร์เจนเนอเรเตอร์ (Motor Generator) เป็นเครื่องเชื่อมที่ใช้ไฟฟ้ำเป็นตัวต้นกำลังใน
กำรขับเคลื่อนมอเตอร์โดยไฟฟ้ำกระแสสลับ และเพลำของมอเตอร์จะต่อร่วมกับเพลำของเจนเนอเรเตอร์
ซึ่งมีแรงเคลื่อนประมำณ 380 โวลต์
1.2 แบบเครื่องยนต์ขับเคลื่อน (Engine Motor Generator) เป็นเครื่องเชื่อมที่ใช้กำลังขับจำกเครื่องยนต์
เครื่องยนต์ที่ใช้จะเป็นเครื่องยนต์ดีเซลหรือแก๊สโซลีนก็ได้ เครื่องเชื่อมแบบนี้เหมำะกับงำนสนำม หรือพื้นที่ที่ไม่
มีไฟฟ้ำใช้ เพรำะสำมำรถเคลื่อนย้ำยได้สะดวก
2. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำแบบเรกติไฟเออร์ (Rectifier Welding) ประกอบไปด้วยหม้อแปลง และตัวเรียง
กระแส (Rectifier) เรกติไฟเออร์ เป็นตัวที่เปลี่ยนกระแสสลับให้เป็นกระแสตรง โดยใช้สำรกึ่งตัวนำ เช่น แผ่น
ซิลิกอน (Silicon) และซีลิเนี ยม (Selenium) ซึ่งสำรกึ่งตัว นำนี้จะยอมให้ กระแสไหลผ่ำนได้เพียงทำงเดียว
เท่ำนั้น
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสสลับ (Alternating Current)
เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำกระแสสลับนี้จะมีหม้อแปลง (Transformers) เป็นส่วนประกอบที่สำคัญ โดยจะ
แปลงแรงเคลื่อนไฟฟ้ำจำกภำยนอกให้เป็นแรงเคลื่อนสำหรับใช้เชื่อม หม้อแปลงนี้จะประกอบไปด้วย
1. ขดลวดปฐมภูมิ (Primary Winding) เป็นขดลวดขนำดเล็กพันรอบ ๆ แกนเหล็กจำนวนมำก ปลำย
ทัง 2 ข้ำงจะต่อกับกระแสไฟจำกภำยนอก เมือกระแสไหลผ่ำนขอลวดทำให้เกิดเส้นแรงแม่เหล็กหลวนในแกน
เหล็ก
2. ขดทุติยภูมิ (Secondary Winding) เป็นขดลวดที่มีขนำดใหญ่ และจำนวนรอบที่พันรอบ ๆ แกน
เหล็กมีน้อยกว่ำขอปฐมภูมิ ที่ขอลวดทุติยภูมิจะมีเส้นแรงแม่เหล็ก ซึ่งเกิดกำรกำรเหนี่ยวนำของขดลวดปฐมภูมิ
ไหลผ่ำนตัดกับขดลวดทุติยภูมิ ทำให้เกิดควำมต้ำนทำนต่ำ และมีกระแสสูงที่เรำนำไปใช้สำหรับเชื่อม
2. หัวจับลวดเชื่อม (Electrode Holder)
หัวจับลวดเชื่อมใช้สำหรับจั บลวดเชื่อมไฟฟ้ำ และเชื่อมโลหะได้ตำมต้องกำร มีหลำยแบบและหลำย
ขนำด ส่วนที่ใช้มือจับทำไว้ป้องกันไฟฟ้ำซ็อตได้ดี
3. หัวจับสายดิน (Ground Clamp)
ใช้สำหรับจับชิ้นงำนที่จะเชื่อม หรือเหล็กที่รองรับชิ้นงำน ทำให้วงจรเชื่อมครบวงจร ถ้ำหำกหัวจับสำย
ดินไม่แน่น หรือหลวมทำให้เกิดกำรสูญเสียพลังงำน และสำยเชื่อมจะร้อน
4. ลวดเชื่อมไฟฟ้า (Electrode)
ลวดเชื่อมไฟฟ้ำทำหน้ำที่เป็นตัวอำร์คกับโลหะงำน ทำให้เกิดควำมร้อนสูง จนกระทั่งชิ้นงำนหลอม
ละลำย ในขณะเดีย วกัน ตัว มัน ก็จ ะหลอมละลำยเติมลงบนเนื้ อโลหะไปด้ว ย และเมื่อเย็น ตัว ลงจะแข็งตั ว
กลำยเป็นแนวเชื่อม เพื่อให้แนวเชื่อมที่แข็งแรงลวดเชื่อมกับโลหะเชื่อมจะต้องเป็นโลหะชนิดเดียวกัน
ลวดเชื่อมไฟฟ้ำแบ่งออกได้ 2 ชนิด ดังนี้
1. ลวดเชื่อมเปลือย (Bare Electrode) เป็นลวดเชื่อมแบบเก่ำ คือเป็นแกนเหล็กธรรมดำซึ่งไม่มีฟ
ลักซ์ (Flux) หุ้ม ใช้สำหรับงำนเชื่อมบำงประเภทที่ไม่ต้องกำรคุณภำพของแนวเชื่อม
2. ลวดเชื่อมหุ้ มฟลั กซ์ (Flux Covered Electrode) เป็นลวดเชื่อมที่ทำด้วยเหล็ กกล้ ำไมลด์ส ตีล
หรือโลหะผสม มีส่วนผสมทำงเคมีดังนี้ คำร์บอน แมงกำนีส ฟอสฟอรัส ซัลเฟอร์ และซิลิกอน ลวดเชื่อมมี
ลักษณะเป็นเส้นกลมและหุ้มฟลักซ์ โดยฟลั กซ์จะทำหน้ำที่ป้องกันไม่ให้อำกำศเข้ำผสมเวลำเชื่อมโลหะ และ
ช่ ว ยลดแก๊ ส ออกซอเจนด้ ว ย ฟลั ก ซ์ มี ส่ ว นผสมดั ง นี้ เอสเบสทอส ไมกำ ไททำเนี ย มออกไซด์ แคลเซี ย ม
คำร์บอเนต แมกนีเซียมคำร์บอเนต สตีไทต์ และอะลูมิเนียม เป็นต้น
5. สายเชื่อมไฟฟ้า (Welding Cable)
สำยเชื่อมไฟฟ้ำทำหน้ำที่เป็นทำงผ่ำนของกระแสไฟจำกเครื่องเชื่อมไปยังบริเวณที่เกิดกำรอำร์ค สำย
เชื่อมจะมี 2 เส้น มีฉนวนสีดำหุ้มป้องกันกระแสไฟฟ้ำ และกันน้ำ สำมำรถม้วนได้สะดวก เส้นหนึ่งจะต่อจำก
เครื่องเชื่อมไปยังหัวเชื่อม อีกเส้นต่อจำกเครื่องเชื่อมไปยังชิ้นงำน ภำยในสำยเชื่อมประกอบไปด้วยทองแดงเส้น
เล็ก ๆ พันกันอยู่อย่ำงเป็นระเบียบประมำณ 800 ถึง 2,500 เส้น
6. เครื่องมือทาความสะอาด (Cleaning Tools)
เป็ น อุ ป กรณ์ ที่ ใช้ ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนเชื่ อม และแนวเชื่อ ม ประกอบไปด้ ว ย ค้อ นเคำะสแลก
(Chipping Hammer) ใช้ส ำหรั บ เคำะสแลกที่ปิดแนวเชื่ อมและเม็ดโลหะทั่ว ๆ ไปให้ ห ลุ ดออก แปรงลวด
(Wire Brush) ใช้สำหรับแปรงทำควำมสะอำดแนวเชื่อมให้สะอำด มีหลำยชนิด และหลำยขนำด ด้ำมถือทำ
ด้วยไม่มีลวดเหล็กทำหน้ำที่แปรง คีมจับชิ้นงำน (Pliers) ใช้สำหรับจับชิ้นงำนที่ร้อน เพื่อตรวจสอบกำรทำงำน
7. อุปกรณ์ป้องกันอันตราย (Protective Equipment)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับป้องกันอันตรำยรอบด้ำน เช่น แสง ควัน ควำมร้อน กระแสไฟ และเม็ดโลหะ
ที่ร้อน อุปกรณ์ต่ำง ๆ มีดังนี้
หน้า กากเชื่ อม เป็ น อุป กรณ์ที่ใช้ส ำหรับป้องกั นใบหน้ำและดวงตำจำกรังสี อัล ตรำไวโอเลต และรัง สี
อินฟรำเรด หรือเม็ดโลหะร้อนที่กระเด็นออกมำ หน้ำกำกเชื่อมมี 2 ชนิด คือ ชนิดสวมหัว และชนิดมือถือ
กระจกกรองแสง มีหน้ำที่ลดควำมเข้มของแสง และช่วยกรองรังสีอินฟรำเรด และรังสีอัลตรำไวโอเลต
กระจกกรองแสงจะมีเบอร์ควำมเข้มดังนี้
เบอร์กระจกกรองแสง ลักษณะงำนเชื่อม / กระแสไฟ
5 สำหรับงำนเชื่อมจุด
6-7 สำหรับงำนเชื่อมไฟฟ้ำด้วยลวดเชื่อม / ใช้กระแสไฟไม่เกิน 30 แอมแปร์
8 สำหรับงำนเชื่อมไฟฟ้ำด้วยลวดเชื่อม / ใช้กระแสไฟระหว่ำง 30 - 75 แอมแปร์
ส ำหรั บ งำนเชื่ อ มไฟฟ้ ำ ด้ ว ยลวดเชื่ อ ม / ใช้ ก ระแสไฟระหว่ ำ ง 75 - 200
10 แอมแปร์
ส ำหรั บ งำนเชื่อมไฟฟ้ ำ ด้ว ยลวดเชื่ อม / ใช้ก ระแสไฟระหว่ำง 200 - 400
12 แอมแปร์
สำหรับงำนเชื่อมไฟฟ้ำด้วยลวดเชื่อม / ใช้กระแสไฟตั้งแต่ 400 แอมแปร์ขึ้น
14 ไป

ชุดปฏิบัติงำนและชุดป้องกันกำรเชื่อม มีดังนี้ เสื้อหนัง ถุงมือหนัง ปลอกแขน ปลอกขำ รองเท้ำหัวเหล็ก


ห้องเชื่อม ป้องกันแสงและรังสีออกไปรบกวนสมำธิผู้ปฏิบัติงำนข้ำงเคียง หรือผู้ที่เดินผ่ำนไปมำ
การเริ่มต้นอาร์ค (Arc Welding)
สำหรับผู้เริ่มต้นฝึกหัดเชื่อมส่วนใหญ่จะมีปัญหำในกำรเริ่มต้นอำร์ค เพรำะจะเกิดควำมกลัวต่ำง ๆ เช่น
กลัวแสงไฟอำร์ค กลัวไฟฟ้ำดูด กลัวตำเจ็บ กลัวลวดเชื่อมติดกับชิ้นงำน สิ่ งต่ำง ๆเหล่ำนี้เป็นปัญหำสำหรับผู้
เริ่มต้นครั้งแรก วิธีกำรเริ่มต้นอำร์คครั้งแรกมักจะทำให้ลวดเชื่อมเกำะติดกับชิ้นงำนทุก ๆ คนวิธีแก้ก็คือต้อง
สะบัดให้หลุดออกจำกชิ้นงำน และเริ่มต้นใหม่เพื่อให้เกิดกำรอำร์คอย่ำงต่อเนื่อง ดังนั้นผู้ฝึกเชื่อมควรรู้วิธีกำร
อำร์คเสียก่อน
กำรเริ่มต้นกำรอำร์คโดยทั่วไปนิยมใช้กัน 2 วิธี คือ
1. กำรเคำะหรือแตะสัมผัส (Knock Method ) วิธีแบบนี้เหมำะกับผู้ที่มีควำมชำนำญแล้ว เพรำะวิธีกำร
อำร์คแบบนี้สำมำรถกระทำได้ตรงตำแหน่งที่เรำต้องกำรเชื่อม นั้นคือกำรใช้ลวดเคำะลงบนผิวหน้ำงำนเพียงเบำ
ๆ ตรงตำแหน่งที่เรำต้องกำรแล้วยกขึ้นเพื่อให้เกิดกำรอำร์ค จำกนั้นกดลวดเชื่อมลงเพื่อหำระยะอำร์คที่ถูกต้อง
2. กำรขีดหรือเขี่ยสัมผัส ( Scratch Method ) ผู้เริ่มต้นฝึกหัดเชื่อมควรใช้วิธีนี้ เพรำะกำรขีดหรือเขี่ย
แบบนี้โอกำสที่ลวดเชื่อมจะดูดติดกับชิ้นงำนมีน้อย เพรำะกำรขีดลำกแล้วยกขึ้นเป็นกำรที่ทำให้เกิดกำรอำร์คได้
ง่ำย เมื่อเกิดกำรอำร์คแล้วต้องรักษำระยะอำร์คให้ถูกต้อง และคงที่ กำรอำร์คแบบนี้จะทำให้จุดเริ่มต้นอยู่ห่ำง
จำกตำแหน่งที่จ ะเริ่ มต้นเชื่อม บำงครั้ งจะเกิดกำรหลอมละลำยของลวดเชื่อมหยดลงระหว่ำงทำงหรือหำ
จุดเริ่มต้นเชื่อมไม่พบทำให้แนวเชื่อมไม่สมบูรณ์ได้
กำรเชื่อมต่อแนวเชื่อม
เมื่อสิ้นสุดกำรเชื่อม จะปรำกฏมีแอ่งรำบเรียบตรงจุดสุดท้ำยที่หยุดเชื่อม (Crater) ซึ่งในกำรเชื่อม
บำงครั้งจำเป็นต้องเปลี่ยนลวดเชื่อม แล้วทำกำรเชื่อมต่อกับแนวเชื่อมแนวเดิมตรงจุดสุดท้ำยของกำรหลอม
ละลำย (Crater) กำรเชื่อมต่อตรงแนวนี้จะสร้ำงปัญหำให้กับผู้เริ่มต้นฝึกเชื่อมใหม่ ๆ เสมอ เช่น กำรต่อไม่ตรง
แนวเดิม กำรเติมลวดไม่เพียงพอ ทำให้ชิ้นงำนไม่แข็งแรง รอยเชื่อมไม่สวยงำม เป็นต้น
กำรต่อแนวเชื่อม จำเป็ นต้องเคำะสะแลกและทำควำมสะอำดบริเวณปลำยสุดของแนวเชื่อมก่อน
ก่อนที่จะเชื่อมทับปลำยสุดของแนวเชื่อม และควรหยุดให้ลวดเชื่อมอำร์คอยู่บริเวณนั้นชั่วขณะหนึ่ง เมื่อแน่ใจ
ว่ำมีกำรเติมเนื้อโลหะเพียงพอแล้วจึงเดินลวดเชื่อมต่อไป และเชื่อมจนกระทั่งสิ้นสุดแนวเชื่อม วิธีกำรเชื่อมแบบ
นี้จะทำให้แนวเชื่อมแข็งแรงและมีรอยต่อแนวเชื่อมเป็นแนวเดียวกัน
กำรถอนลวดเชื่อม
กำรถอนลวดเชื่อมออกจำกบ่อหลอมละลำยหลังสิ้นสุดกำรเชื่อม หรือเป็นกำรต่อลวดเชื่อม ในกำร
ถอนลวดเชื่อมออกจำกบ่อหลอมละลำย ไม่ควรถอนขณะที่ลวดเชื่อมทำมุมฉำกกับงำน กำรถอนลวดเชื่อมที่ดี
ได้บ่อหลอมละลำยครั้งสุดท้ำยที่สมบูรณ์ ไม่เป็นแอ่งลึกกว้ำง ควรเอนลวดเชื่อมให้นอนลงทำมุมกับชิ้นงำน
ประมำณ 15 – 30 องศำ และควรหยุดเดิน ให้ลวดเชื่อมเติมเนื้อโลหะในแอ่งหลอมละลำยชั่วขณะหนึ่ง เพื่อ
เติมเนื้อโลหะให้เพียงพอ แล้วจึงถอดลวดเชื่อมออก
การส่ายลวดเชื่อม
กำรเชื่อมเพื่อให้ได้แนวเชื่อมที่กว้ำง แคบ หรือมรกำรซึมลึกที่สมบูรณ์ ต้องใช้เทคนิควิธีกำรส่ำยลวด
เชื่อมดังนี้
1. กำรเคลื่อนที่เพื่อป้อนลวดโดยไม่ส่ำยลวดเชื่อม
2. กำรเคลื่อนที่และกำรส่ำยลวดเชื่อมสลับไขว้ไปมำทำงซ้ำยและทำงขวำ
3. กำรเคลื่อนเดินหน้ำ – ถอยหลังตำมแนวยำว
กำรส่ำยลวดเชื่อมไม่จำเป็นต้องใช้เสมอไป ควรเลือกใช้ตำมควำมต้องกำรสำหรับรอยเชื่อมนั้น ๆ ส่วน
มุมในกำรเชื่อมก็จะเปลี่ยนไปตำมตำแหน่งเชื่อมและพื้นที่ควำมลำดเอียงของกำรเชื่อมงำนนั้น ๆ
กำรเดินลวดเชื่อมมี 4 แบบดังนี้
3. กำรเดินลวดเชื่อมในแนวท่ำรำบ (Flat Surface)

4. กำรเดินลวดเชื่อมในแนวท่ำตั้ง (Vertical Line)


5. กำรเดินลวดเชื่อมในแนวนอน (Horizontal Line)

6. กำรเดินลวดเชื่อมเหนือศีรษะ (Overhead)

เทคนิคการเชื่อมไฟฟ้า
ในกำรเชื่อมไฟฟ้ำ จะมีเทคนิควิธีกำรเชื่อมที่แตกต่ำงกันตำมตำแหน่งกำรเชื่อมและรอยเชื่อมซึ่ง
ผู้ปฏิบัติงำนเชื่อมจำเป็นต้องศึกษำและฝึกให้มีควำมชำนำญ เพื่อให้ได้งำนเชื่อมที่มีคุณภำพ เทคนิคต่ำง ๆ มี
ดังนี้
1. กำรเชื่อมต่อชนท่ำรำบ (Flat Butt Joint) กำรเชื่อมท่ำรำบเป็นกำรเชื่อมที่สำมำรถควบคุมกำรเชื่อม
ได้ง่ำย โอกำสที่งำนเชื่อมจะสูญเสียนั้นมีน้อย ดังนั้นถ้ำสำมำรถเชื่อมท่ำรำบได้ก็ควรปฏิบัติ กำรเชื่อมท่ำรำบนั้น
ลวดเชื่อมจะทำมุมกับชิ้นงำน (มุมเดิน) ประมำณ 67 – 75 องศำ และทำมุมกับชิ้นงำนด้ำนข้ำง (มุมงำน)
ประมำณ 90 องศำ ทำกำรเชื่อมจำก ซ้ำยมือไปทำงขวำมือ

รูปที่ 5.3 การเชื่อมต่อชนท่าราบ


2. กำรเชื่อมต่อชนท่ำขนำนนอน (Horizontal Butt Joint) เป็นตำแหน่งท่ำเชื่อมที่ยำกตำแหน่งหนึ่ง
สำหรับผู้ฝึกเชื่อมใหม่ ๆ เนื่องจำกน้ำโลหะที่จะไหลย้อยลงมำตำมแรงดึงดูดของโลก ทำให้แนวเชื่อมที่ได้ไม่
สวยงำม และไม่แข็งแรงเท่ำที่ควร แต่สำมำรถเชื่อมได้ถ้ำได้รับกำรฝึกเชื่อมจนชำนำญ
รูปที่ 5.4 การเชื่อมต่อชนท่าขนานนอน
3. กำรเชื่ อ มต่ อ ชนท่ ำ ตั้ ง (Vertical Butt Joint) กำรเชื่ อ มต่ อชนท่ ำ ตั้ ง เป็ น วิ ธี ก ำรเชื่ อ มที่ ย ำกอี ก วิ ธี
สำหรับผู้ฝึกหัดเชื่อมใหม่ ๆ เนื่องจำกน้ำโลหะจะไหลย้อยลงตำมแรงดึงดูดของโลก ดังนั้นเทคนิควิธีที่จะทำให้
น้ำโลหะไหลย้อยน้อยลงก็คือ เมื่อเคลื่อนส่ำยลวดเชื่อมควรหยุดบริเวณขอบของรอยต่อชั่วขณะหนึ่ง ซึ่งจะเปิด
โอกำสให้แนวเชื่อมที่ขอบอีกข้ำงหนึ่งและตรงกลำงมีโอกำสแข็งตัว และลดกำรย้อยของโลหะได้

รูปที่ 5.5 การเชื่อมต่อชนท่าตั้ง


4. กำรเชื่อมต่อชนท่ำเหนือศีรษะ ( Overhead Butt Joint) กำรเชื่อมที่มีปัญหำและยำกที่สุดในกำร
เชื่อมสำหรับผู้ฝึกปฏิบัติงำนเชื่อมก็คือ กำรเชื่อมท่ำเหนือศีรษะ เนื่องจำกกำรควบคุมกระทำได้ยำก อีกทั้ง
ผู้ปฏิบัติงำนต้องคอยระวังน้ำโลหะเหลวที่ละลำย และเม็ดโลหะที่เชื่อ มตกลงมำใส่ ดังนั้นกำรเชื่อมท่ำเหนือ
ศี ร ษะต้ อ งมี ชุ ด อุ ป กรณ์ ก ำรเชื่ อ มที่ ป้ อ งกั น อั น ตรำยอย่ ำ งดี มุ ม เดิ น และมุ ม งำนของลวดเชื่ อ มกั บ ชิ้ น งำน
เหมือนกับท่ำรำบ

รูปที่ 5.6 การเชื่อมต่อชนท่าเหนือศีรษะ


5. กำรเชื่อมต่อตัวทีท่ำขนำนนอน (Horizontals T – Joint) กำรเชื่อมแนวแรกลวดเชื่อมทำมุมกับงำน
ขณะเดินประมำณ 65 – 70 องศำ และมุมงำนประมำณ 40 – 50 องศำกับชิ้นงำน กำรเชื่อม

รูปที่ 5.7 การเชื่อมต่อชนท่าขนานนอน


6. กำรเชื่อมต่อตัวทีท่ำตั้ง (Vertical T – Joint) กำรเชื่อมแนวแรกลวดเชื่อมมีมุมเดินประมำณ 70 –
80 องศำมุมงำนประมำณ 45 องศำ เพื่อไม่ให้น้ำโลหะไหลย้อยลงขณะว่ำยลวด ควรหยุดบริเวณขอบของแนว
เชื่อมชั่วขณะหนึ่ง เพื่อให้แนวเชื่อมบริเวณตรงกลำงและขอบอีกข้ำงเย็นตัวลง

รูปที่ 5.8 การเชื่อมต่อชนท่าตัวทีท่าตั้ง


7. กำรเชื่อมต่อมุมภำยนอกท่ำขนำนนอน (Horizontal Outside Corner Weld) กำรเชื่อมแบบนี้ลวด
เชื่อมทำมุมกับชิ้นงำนโดยมีมุมเดินประมำณ 65 – 75 องศำ มีมุมงำน 130 – 140 องศำ

รูปที่ 5.9 การเชื่อมต่อมุมภายนอกท่าขนานนอน


มุมของลวดเชื่อมที่กระทำต่อชิ้นงำน จะมีผลต่อกำรส่งผ่ำนน้ำโลหะไปยังบ่อหลอมละลำย ถ้ำมุมลวด
เชื่อมไม่ถูกต้องจะมีผลทำให้แนวเชื่ อมไม่สมบูรณ์ เช่น กำรซึมลึกไม่ดีเกิดรอยเว้ำที่ขอบงำน (Undercut) มุม
ในกำรเชื่อมจะประกอบด้วยมุม 2 มุม คือ มุมเดินลวดเชื่อม (Travel Angle) และมุมงำน (Work Angle)
1. มุมเดินลวดเชื่อม คือ มุมกำรเดินที่มีทิศทำงไปทำงเดียวกันกำรเดินแนวเชื่อม โดยปกติลวด
เชื่อมจะทำมุมกับชิ้นงำนประมำณ 65 – 75 องศำ
2. มุมงำน คือ มุมที่มีทิศทำงขวำงกับกำรเดินแนวเชื่อม หรือมุมที่ลวดเชื่อมทำมุมกับชิ้นงำนโดย
มองจำกด้ำนข้ำง

รูปที่ 5.10 ลักษณะของแนวเชื่อมและการหลอมละลาย การซึมลึกแบบต่าง ๆ


แบบฝึกหัดปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 1 จำนวน 1 คำบ
เรื่อง กำรเว้นช่องว่ำงเพื่อกำรขยำยตัวของโลหะ

จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม
4. เว้นระยะเผื่อของกำรเชื่อมโลหะท่ำต่อชนได้ถูกต้อง
5. อธิบำยเว้นรอยต่อที่มีผลต่อกำรซึมลึกได้
6. สำมำรถเชื่อมงำนต่อชนมีกำรซึมลึกได้ดี
กำรเชื่อมต่อชนเพื่อให้ชิ้นงำนทั้งสองชิ้นหลอมละลำยรวมตัวเป็นเนื้อเดียวกันตลอดควำมหนำของ
ชิ้นงำนนั้นจะต้องมีกำรเว้นช่องว่ำงเพื่อให้ลวดเชื่อมสำมำรถเข้ำไปหลอมละลำยที่ด้ำนล่ำงของขอบชิ้นงำนได้

ชิ้นงำนบำงไม่ต้องบำกหน้ำงำน ชิ้นงำนหนำต้องบำกหน้ำงำนเพื่อให้มีกำรซึมลึกตลอด
แต่ต้องเว้นช่องว่ำงเพื่อให้เกิดกำรซึมลึก ควำมหนำของชิ้นงำน

ชิ้นงำนหลอมละลำยตลอดควำมหนำ เชื่อมให้ชิ้นงำนหลอมละลำยเต็มควำมหนำ
ของชิ้นงำนเป็นแนวเชื่อมที่แข็งแรง ของชิ้นงำน

ถ้ำชิ้นงำนมีควำมหนำมำก กำรเชื่อมแนวเดียว ควำมร้อน


และกำรเติมลวดเชื่อมอำจมีเพียงพอในกำรที่
จะต้องทำให้เกิดกำรหลอมละลำยตลอดควำมหนำของชิ้นงำน
ดังนั้นอำจมีกำรเชื่อม 2 – 3 แนวได้
ในกำรเชื่อมต่อชน ผู้เชื่อมต้องสร้ำงรูกุญแจ (Key Hole) (บ่อหลอมละลำย) แล้วเติมลวดเชื่อมลงใน
บ่อ แล้วพยำยำมสร้ำงและรักษำกำรเติมลวดเชื่อมไว้จนสิ้นสุดกำรเชื่อม

โลหะเมื่อถูกควำมร้อนจะขยำยตัว ถ้ำเว้นช่องว่ำงเล็กเกินไป หรือมีช่องว่ำงเท่ำกันตลอดควำมยำว เมื่อ


โลหะขยำยตัวจะทำให้ชิ้นงำนทั้งสองติดกันได้ จนไม่สำมำรถสร้ำงรูกุญแจ (Key Hole) ได้มีผลทำให้กำรเชื่อม
ไม่สำมำรถหลอมละลำยได้ลึกตลอดควำมหนำของงำนได้ ดังนั้นกำรเว้นช่องว่ำง (Root Opening) ควรเว้น
ด้ำนที่สิ้นสุดกำรเชื่อมกว้ำงกว่ำจุดเริ่มต้นเชื่อม
แบบฝึกหัดปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 2 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรฝึกเริ่มต้นอำร์คและเดินแนวเชื่อม

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 1 ชิ้น 150 x 74 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำด
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. เตรียมตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมที่กำหนด 1. ผู้เริ่มต้นฝึกเชื่อมควรใช้กำรเริ่มต้นอำร์ค
หรือ DC 2. ทำควำมสะอำดชิ้นงำน แบบขีด
2. ค้อนเคำะสแลก 3. ร่ำงแบบโดยใช้เหล็กตอก
3. คีมจับงำนร้อน นำศูนย์ตอกให้เป็นรอยตำม 2. มุมเดินลวดเชื่อมใช้มุม 65 – 75 องศำ
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ แบบ มุมงำนใช้ 90 องศำ
5. แปรงลวดทำควำม 4. เริ่มเชื่อมที่ขอบทำงซ้ำยมือ
สะอำดแนวเชื่อม ของชิ้นงำน ยำว 30 มม.
6. ถุงมือหนัง เว้น 30 มม. จำนวน 3
7. เสื้อหนัง แถว
5. เชื่อมตำมกำหนดจนเสร็จ
6. ทำควำมสะอำดชิ้นงำนด้วย
แปรงลวด
7. เขียนชื่อ
8. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรฝึกเริ่มต้นอำร์ค และเดินแนวเป็นช่วงสั้น ๆ ตำมใบงำนที่ 2
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 40

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 3 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรฝึกต่อแนวเชื่อม

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 1 ชิ้น 150 x 74 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. นำชิ้นงำนที่ฝึกกำรเดินแนวระยะสั้น 1. เริ่มต้นอำร์คใกล้รอยต่อหรือบริเวณ
หรือ DC มำใช้ในกำรเชื่อมต่อแนวเชื่อม ที่แนวเชื่อมผ่ำน
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ทำควำมสะอำดชิ้นงำน 2. เมื่อเคลื่อนลวดเชื่อมเข้ำบริเวณ
3. คีมจับงำนร้อน 3. เชื่อมตำมกำหนดจนเสร็จ รอยต่อให้หยุดอยู่ชั่วขณะหนึ่งเอให้
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ 4. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง แน่ใจว่ำได้เติมเนื้อโลหะเพียงพอแล้ว
5. แปรงลวดทำควำม ลวด 3. เมื่อสิ้นสุดกำรเชื่อม ก่อนถอนลวด
สะอำดแนวเชื่อม 5. เขียนชื่อ เชื่อมควรเอนลวดเชื่อม ประมำณ 15
6. ถุงมือหนัง 6. ส่งตรวจ – 30 องศำจึงถอนลวดเชื่อมออก
7. เสื้อหนัง
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรฝึกต่อแนวเชื่อม ตำมใบงำนที่ 3
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติงานเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 4 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรเชื่อมเดินแนว

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 1 ชิ้น 150 x 50 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. ตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมกำหนดขนำด 1. ใช้เทคนิคเริ่มต้นอำร์คแบบเคำะ
หรือ DC 150 x 50 x 10 ม.ม. บริเวณด้ำนซ้ำยของชิ้นงำน
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ทำควำมสะอำดชิ้นงำน 2. ลวดเชื่อมใช้มุมเดิน 65 – 75 องศำ
3. คีมจับงำนร้อน 3. ร่ ำ งแบบงำนโดยใช้ เ หล็ ก ตอกน ำ มุมงำน 90 องศำ
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ ศูนย์ตอกให้เป็นรอยตำมเส้นตรง 3. สำยลวดเชื่อมแบบซิกแซกแบบ
5. แปรงลวดทำควำม 4. เชื่อมตำมกำหนดจนเสร็จ ก้ำงปลำ และส่ำยเป็นรูปวงกลม
สะอำดแนวเชื่อม 5. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง 4. เมื่อสิ้นสุดกำรเชื่อม ก่อนถอนลวด
6. ถุงมือหนัง ลวด เชื่อมควรเอนลวดเชื่อม ประมำณ 15
7. เสื้อหนัง 6. เขียนชื่อ – 30 องศำจึงถอนลวดเชื่อมออก
7. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรเชื่อมเดินแนว ตำมใบงำนที่ 4
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 5 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรเชื่อมเดินแนวท่ำตั้ง

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 1 ชิ้น 150 x 50 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. ตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมกำหนดขนำด 1. ควรใช้เทคนิคกำรเชื่อมแบบเคำะ
หรือ DC 150 x 50 x 10 ม.ม. 2. ควรส่ำยลวดดังภำพข้ำงล่ำง แต่ขณะ
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ทำควำมสะอำดชิ้นงำน เชื่อมควรหยุดบริเวณขอบของแนว
3. คีมจับงำนร้อน 3. ร่ ำ งแบบงำนโดยใช้ เ หล็ ก ตอกน ำ เชื่อมชั่วขณะหนึ่งและทำเช่นนี้ตลอด
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ ศูนย์ตอกให้เป็นรอยตำมเส้นตรง กำรเชื่อม
5. แปรงลวดทำควำม 4. ตรวจสอบเครื่องเชื่อม
สะอำดแนวเชื่อม 5. เริ่ ม ต้ น เชื่ อ มแนวแรกที่ ข อบงำน
6. ถุงมือหนัง ด้ำนล่ำงขึ้นไปยังขอบด้ำนบน
7. เสื้อหนัง 6. เชื่ อ มแนวที่ 2 และแนวที่ 3 ตำม
กำหนดจนเสร็จ
7. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง
ลวด
8. เขียนชื่อ
9. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรเชื่อมเดินแนวท่ำตั้ง ตำมใบงำนที่ 5
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อมที่เกิดจำกกำร
ส่ำยลวดเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ................................................................................................................................................................……………
.................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 6 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรเชื่อมต่อชนท่ำรำบ

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 2 ชิ้น 150 x 50 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. ตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมกำหนดขนำด 1. กำรเชื่อมยึดต้องเผื่อกำรขยำยตัว
หรือ DC 150 x 50 x 10 ม.ม. ของโลหะ โดยให้ด้ำนสิ้นสุดกว้ำงกว่ำ
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ทำควำมสะอำดชิ้นงำน ด้ำนเริม่ ต้น
3. คีมจับงำนร้อน 3. บำกหน้ำงำนแบบ Single – V 2. เพื่อให้เกิดกำรซึมลึก ขณะเชื่อมควร
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ 4. ตรวจสอบเครื่องเชื่อม สร้ำงบ่อหลอมละลำยให้เป็นแอ่ง
5. แปรงลวดทำควำม 5. เชื่อมจุดยึดหัวท้ำยชิ้นงำนทั้ง 2 ชิ้น ก่อน
สะอำดแนวเชื่อม 6. เริ่มต้นเชื่อมแนวแรกที่ขอบงำนจำก
6. ถุงมือหนัง ซ้ำยไปทำงขวำมือ
7. เสื้อหนัง 7. เชื่อมจนเสร็จ
8. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง
ลวด
9. เขียนชื่อ
10. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรเชื่อมเดินแนวท่ำตั้ง ตำมใบงำนที่ 6
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อมที่เกิดจำกกำร
ส่ำยลวดเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 7 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรเชื่อมต่อชนท่ำรำบ

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 2 ชิ้น 150 x 50 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. ตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมกำหนดขนำด 1. กำรเชื่อมต่อเกยที่แข็งแรงควรเชื่อม
หรือ DC 150 x 50 x 10 ม.ม. ทั้งข้ำงบนและข้ำงล่ำง
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ตรวจสอบเครื่องเชื่อม 2. เพื่อให้เกิดควำมแข็งแรงควรให้
3. คีมจับงำนร้อน 3. เชื่อมจุดยึดหัวท้ำยชิ้นงำนทั้ง 2 ชิ้น ชิ้นงำนต่อเกยกันไม่ตำกว่
่ ำ 5 เท่ำ
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ 4. เริ่มต้นเชื่อมแนวแรกที่ขอบงำนจำก ของควำมหนำ
5. แปรงลวดทำควำม ซ้ำยไปทำงขวำมือเชือ่ มจนเสร็จ 3. ควรเชื่อมให้เต็มควำมหนำของงำน
สะอำดแนวเชื่อม 5. พลิ ก ชิ้ น งำนขึ้ น ท ำกำรเชื่ อ มแนว
6. ถุงมือหนัง ด้ำนล่ำง
7. เสื้อหนัง 6. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง
ลวด
7. เขียนชื่อ
8. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรเชื่อมเดินแนวท่ำตั้ง ตำมใบงำนที่ 7
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อมที่เกิดจำกกำร
ส่ำยลวดเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดปฏิบัติการเชื่อมไฟฟ้า

วิชำ งำนช่ำงเชื่อมโลหะเพื่อกำรเกษตร รหัส 2501- 2405


ใบปฏิบัติงำนที่ 8 จำนวน 3 คำบ
เรื่อง กำรเชื่อมต่อตัวทีท่ำรำบ

80 Amp 2.6 มม. เหล็กแผ่น 2 ชิ้น 150 x 50 x 10 ม.ม.


กระแสไฟฟ้ำ ลวดเชื่อม วัสดุ จำนวน ขนำดชิ้นงำน
เครื่องมือและอุปกรณ์ ลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน เทคนิควิธี
1. เครื่องเชื่อมไฟฟ้ำ AC 1. ตัดชิ้นงำนให้ได้ตำมกำหนดขนำด 1. กำรเชื่อมต่อเกยที่แข็งแรงควรเชื่อม
หรือ DC 150 x 50 x 10 ม.ม. ทั้งข้ำงบนและข้ำงล่ำง
2. ค้อนเคำะสแลก 2. ตรวจสอบเครื่องเชื่อม 2. เพื่อให้เกิดควำมแข็งแรงควรให้
3. คีมจับงำนร้อน 3. เชื่อมจุดยึดหัวท้ำยชิ้นงำนทั้ง 2 ชิ้น ชิ้นงำนต่อเกยกันไม่ตำกว่
่ ำ 5 เท่ำ
4. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำ ให้ตั้งฉำกกันและติดกัน ของควำมหนำ
5. แปรงลวดทำควำม 4. เริ่มต้นเชื่อมจำกซ้ำยไปทำงขวำมือ 3. ควรเชื่อมให้เต็มควำมหนำของงำน
สะอำดแนวเชื่อม เชื่อมจนเสร็จ
6. ถุงมือหนัง 5. พลิกชิ้นงำนขึ้นทำกำรเชื่อมแนวอีก
7. เสื้อหนัง ด้ำน
6. ท ำควำมสะอำดชิ้ น งำนด้ ว ยแปรง
ลวด
7. เขียนชื่อ
8. ส่งตรวจ
แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน
ชื่อ............................................สกุล............................วันที่ปฏิบัติงำน................./............../................
ระดับชั้น ปวช.................กลุ่ม.....................................................แผนก. ช่ำงกลเกษตร
ชื่องำน กำรเชื่อมต่อตัวท่ำตั้ง ตำมใบงำนที่ 8
ระดับคะแนน
รำยกำรตรวจ 2 3 5
คะแนนที่ได้
ปำนกลำง ค่อนข้ำงดี ดี
1. กระแสไฟฟ้ำที่ใช้ในกำรเชื่อมสังเกตได้จำกแนวเชื่อม
2. กำรหลอมละลำยซึมลึก
3. กำรเริ่มต้นอำร์ค
4. ควำมเที่ยงตรงของแนวเชื่อม
5. ควำมหยำบ – ละเอียดของเกล็ดแนวเชื่อมที่เกิดจำกกำร
ส่ำยลวดเชื่อม
6. ไม่มีกำรทะลุของชิ้นงำน (Undercut)
7. ไม่มีกำรซ้อนกันของแนวเชื่อม (Overlap)
8. ควำมเรียบร้อย – ควำมสวยงำมโดยรวม
9. กำรใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรำย
10. พฤติกรรมขณะปฏิบัติงำน
รวม 50

บันทึกพิเศษ
.......................................................................................................................................................................................................
.......................................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.........................................ผู้ตรวจ
(............................................)
วันที่......../........../..........
แบบฝึกหัดหลังเรียน บทที่ 5
จงเลือกคำตอบที่ถูกต้องเพียงข้อเดียว
1. เครื่องเชื่อมที่แบ่งตำมลักษณะกำรจ่ำยพลังงำนมี 2 6 .เครื่องเชื่อมที่เหมำะสมสำหรับงำนที่ต้องเคลื่อนย้ำย
ชนิด คืออะไร เครื่องบ่อยๆ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด
จ. เครื่องเชื่อมกระแสตรงและเครื่องเชื่อม จ. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter
กระแสสลับ ฉ. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ
ฉ. ชนิดกระแสคงที่และกระแสสลับ ช. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ
ช. ชนิดกระแสคงที่และแรงดันไฟฟ้ำคงที่ ซ. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส
ซ. ชนิดกระแสคงที่และกระแสตรง 7. กระจกกรองแสงเบอร์ 8 ตำมมำตรฐำน AWS จะใช้
2. เครื่องเชื่อมที่มีระบบที่เปลี่ยนควำมถี่ และสำมำรถ สำหรับกำรเชื่อมที่ใช้กระแสไฟฟ้ำเท่ำไร
กรองให้เรียบ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ค. 30 แอมป์ ค. 200 แอมป์
จ. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter ง. 75 แอมป์ ง. 400 แอมป์
ฉ. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 8. หน้ำกำกเชื่อมไฟฟ้ำใช้สำหรับทำอะไร
ช. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ จ. ใช้สำหรับเป็นที่ยึดกระจกกรองแสง
ซ. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส ฉ. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม
3. เครื่องเชื่อมที่สำมำรถผลิตกระแสเชื่อมได้ทั้ง AC และ ช. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม และรังสีต่ำงๆ ขณะ
DC คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ทำกำรเชื่อม
จ. เครื่องเชื่อมแบบInverter ซ. ใช้ป้องกันแสงจำกกำรเชื่อม รังสี สะเก็ดไฟเชื่อม
ฉ. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 9. สำยดินและอุปกรณ์ยึด ใช้สำหรับทำอะไร
ช. เครือ่ งเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ จ. ใช้จับยึดชิ้นงำน
ซ. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส ฉ. ใช้จับยึดชิ้นงำนให้มั่นคง
4. เครื่องเชื่อมที่รับไฟฟ้ำกระสลับป้อนเข้ำมอเตอร์เพื่อ ช. ใช้ป้องกันไฟฟ้ำดูด
ใช้กับเจเนอเรเตอร์ คือเครื่องเชื่อมชนิดใด ซ. ใช้จับยึดกับชิ้นงำนเพื่อให้วงจรไฟฟ้ำไหลครบจง
จ. เครื่องเชื่อมแบบ Inverter จรอย่ำงสะดวก
ฉ. เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ 10. ข้อใดไม่ใช่กำรปรับกระแสไฟฟ้ำสำหรับเชื่อมของ
ช. เครื่องเชื่อมกระแสตรงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ำ เครื่องเชื่อมแบบหม้อแปลงไฟฟ้ำ
ซ. เครื่องเชื่อมแบบผสมหม้อแปลง-เรียงกระแส จ. กำรปรับโดยต่อจำกขดลวดทุติยภูมิ
5 .ถ้ำเครื่องเชื่อมมีขนำด 300 แอมแปร์ควรเลือกใช้หัว ฉ. กำรปรับโดยใช้วงจรไฟฟ้ำ
จับลวดเชื่อมขนำดเท่ำไร ช. กำรปรับโดยใช้วิธีกล
ค. 100 แอมแปร์ ค. 300 แอมแปร์ กำรปรับโดยวิธีทำงฟิสิกส์
ง. 200 แอมแปร์ ง. 400 แอมแปร์

You might also like