Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

533221 Surveying การวัดมุม

การวัดมุมที่จดุ ใดจุดหนึ่ ง คือ


การวัดขนาดของมุมโดยมีแขนของมุมด้านหนึ่งเป็ นด้านอ้างอิงและทําการวัดมุมไปยัง
แขนของมุมอีกด้านหนึ่ง
Angle, Bearing, and Azimuth

การระบุตาํ แหนงของจุ
ดใดๆ คือ
การระบุตาํ แหน่งของจุดทีต่ อ้ งการด้วยการบอกมุมเทียบกับทิศทางหนึ่งพร้อมระยะทาง
ทีอ่ ยูห่ า่ งออกไปจากจุดนัน้ N

ทิศทางการวัดมุม
B
Dr. Surames Piriyawat ขนาดของมุม

มมุ
ของ องิ
อา้ ง
Department of Civil Engineering α AB

ดา้ น
DAB
Faculty of Engineering
Burapha University A

Dr. Surames Piriyawat 1 Dr. Surames Piriyawat 2

ประเภทของการวัดมุม การวัดมุมราบ
การวัดมุมในงานสํารวจจะมีการวัดมุมบนระนาบสองระนาบ คือ การวัดมุมราบในงานสํารวจมี 3 ประเภท คือ
ƒ การวัดมุมภายในหรือมุมภายนอก (Interior or exterior angles):
ƒ มุมบนระนาบราบ: มุมราบ (Horizontal angle) ใช้อา้ งอิงถึงตําแหน่ง การวัดมุมภายใน หรือมุมภายนอกของรูปปิ ด (Closed polygon)
ของจุดบนระนาบราบ
ƒ การวัดมุมเวียนขวาหรือเวียนซ้าย (Angle to the right or to the left):
ƒ มุมบนระนาบดงิ่: มุมดิง่ (Vertical angle) ใช้อา้ งถึงตําแหน่งของจุด การวัดมุมตามเข็มนาฬิกา หรือทวนเข็มนาฬิกา ตามลําดับ เมือ่ เทียบกับ ทิศทางการ
ในแนวดิง่ ว่าอยูส่ งู หรือตํ่ากว่าเป็ นมุมเท่าใด กวาดมุมไปข้างหน้า
ƒ การวัดมุมเบีย่ งเบน (Deflection angle):
การวัดขนาดมุมของเส้นข้างหน้าทีเ่ บนออกไปจากแนวเดิมหรือแขนของมุมอ้างอิงทีต่ อ้
ไปข้างหน้า หากเบีย่ งเบนไปทางขวา จะใช้สญ ั ลักษณ์ R หรือ (+) ต่อท้ายค่ามุม ถ้า
เบีย่ งเบนไปทางซ้ายจะใช้สญ
ั ลักษณ์ L หรือ (-) ต่อท้ายค่ามุม

Dr. Surames Piriyawat 3 Dr. Surames Piriyawat 4


การวัดมุมดงิ่ Direction of Line
การวัดมุมดิง่ ในงานสํารวจแบ่งออกเป็ น 2 ชนิดตามการใช้เส้นอ้างอิงใน การแสดงทิศของเส้นบนแผนทีห่ รือทิศทีใ่ ช้ในการนําหน (Navigation) จะมี
การวัด คือ แนวเส้นอ้างอิงทีเ่ ป็ นมาตรฐาน เรียกว่า เส้นเมริเดียน (Meridian) ซึง่ ได้แก่
เส้นวงกลมใหญ่ (Great circle) ทีล่ ากผ่านแนวเหนือใต้ของโลก แบ่งได้ 4
ิ่
ƒ มุมดงบน (Zenith angles):
ชนิด คือ
ค่ามุมบนระนาบดิง่ ทีว่ ดั อ้างอิงกับเส้นดิง่ โดยให้ทศิ 0o อยูเ่ หนือศีรษะ เป็ น
การวัดมุมรอบจุด ดังนัน้ 90o จะอยูใ่ นแนวราบ ิ ยนดาราศาสตร์ (Astronomic meridian):
ƒ เส้นเมรเดี
ƒ มุมดงิ่ (Vertical angle): เส้นเมริเดียนทีไ่ ด้จากรูปร่างและค่าแรงโน้มถ่วงของโลกมีชอ่ื เรียกอีก
อย่างว่า เส้นเมริเดียนจีออเดติก (Geodetic meridian)
ค่ามุมบนระนาบดิง่ ทีว่ ดั เทียบกับแนวราบเป็ นทิศ 0o ถ้าค่ามุมกวาดขึน้ เหนือ
แนวราบ ค่ามุมจะเป็ นบวก เรียกว่า มุมเงย ถ้าค่ามุมกวาดลงตํ่ากว่า ิ ยนแมเหล็
ƒ เส้นเมรเดี ่ ก (Magnetic meridian):
แนวราบค่ามุมเป็ นลบ เรียกว่า มุมก้ม เส้นเมริเดียนทีไ่ ด้จากสนามแม่เหล็กเหนือใต้ของโลก

Dr. Surames Piriyawat 5 Dr. Surames Piriyawat 6


ระบบการบอกทศ
ิ ยนสมมติ (Assumed meridian):
ƒ เส้นเมรเดี
ระบบการบอกทิศของเส้นเทียบกับเมริเดียน สามารถบอกได้ 2 วิธี คือ
การสมมติเส้นแนวเส้นเมริเดียนขึน้ มาใช้ซง่ึ มีขอ้ จํากัดคือข้อมูลต่างๆ ใน
ระบบนี้ไม่สามารถนําไปใช้รว่ มกับข้อมูลในระบบอ้างอิงอื่นได้โดยตรง ƒ ระบบแบรงส์ ิ (Bearings):
การบอกทิศของเส้นจากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดปลายด้วยค่ามุมทีว่ ดั เทียบกับ
ƒ เส้นเมริ เดียนกรดิ (Grid meridian): เส้นเมริเดียนทีผ่ า่ นจุดเริม่ ต้นนัน้ ไปทางทิศตะวันออกหรือตะวันตก เมือ่ จุด
เส้นเมริเดียนในระบบพิกดั บนระนาบ เป็ นการฉายเส้นเมริเดียนบนผิว ปลายอยูท่ างทิศเหนือ ค่ามุมจะอ้างอิงกับทิศเหนือ และเมือ่ จุดปลายอยูท่ าง
โลกลงสูร่ ะนาบ ในกรณีน้ีเส้นทีเ่ ป็ นเส้นเมริเดียนกลางจะเป็ นแนว ทิศใต้ ค่ามุมจะอ้างอิงกับทิศใต้ โดยบอกทิศอ้างอิงเหนือหรือใต้ตามด้วยค่า
เดียวกันกับเส้นเมริเดียนจริง (True meridian) นอกนัน้ จะไม่ใช่เส้น มุมและทิศของจุดปลายนัน้ ทางตะวันออกหรือตะวันตก
เดียวกัน
Note: การบอกค่ามุมในระบบแบริงส์คา่ มุมจะมีคา่ ไม่เกิน 90o และมีชอ่ื เรียกชนิดของ
ทิศแบริงส์ตามชนิดของเส้นเมริเดียนทีใ่ ช้อา้ งอิงในการบอกทิศ คือ Geodetic
bearings, Magnetic bearings, Assumed bearings และ Grid bearings

Dr. Surames Piriyawat 7 Dr. Surames Piriyawat 8


ความสัมพันธ์ทิ ศไปและกลับของเส้น
ƒ ระบบแอซมั ิ ท (Azimuths):

ƒ การเรียกทศไปข้ างหน้ า:
การบอกทิศของเส้นจากจุดเริม่ ต้นไปยังจุดปลายของเส้นโดยอ้างอิงกับเส้น
เมริเดียนด้วยค่ามุมทีว่ ดั ตามเข็มนาฬิกา (Clockwise) รอบจุดเริม่ ต้น ปกติ Forward bearings, Forward azimuths
ค่ามุมแอซิมทั จะวัดเทียบกับทิศเหนือของเส้นเมริเดียน ชนิดของแอซิมทั จะ ิ
ƒ การเรียกทศทางย้ อนกลับ:
เรียกตามชนิดของเส้นเมริเดียนทีใ่ ช้ คือ Geodetic azimuths, Magnetic Backward bearings, Backward azimuths
azimuths, Assumed azimuths และ Grid azimuths
ความสัมพันธ์ระหว่างทิศไปและกลับของเส้นในแต่ละระบบ แบ่งเป็ น

1. ทศไปและกลั ิ
บระบบแบรงส์

2. ทศไปและกลั ิ ท
บระบบแอซมั

Dr. Surames Piriyawat 9 Dr. Surames Piriyawat 10

่ ิ รงส์
ความสัมพันธ์ระหวางทศแบ ิ และแอซมั
ิ ท ิ
การคํานวณทศของเส้ ่ ม
นจากคามุ
Bearings quadrant Bearings Relation Azimuth Azimuth quadrant ƒ การคํานวณทิศแบริงส์
NE N 49 E o
= 49o 0 − 90
o o

SE o
S 35 E 180 − 35
o o
145 o
90o − 180o ƒ การคํานวณทิศแอซิมทั

NW
SW S 50o W
N 20o W
180o + 50o
360 − 20o o
230o
340 o
180o − 270o
270o − 360o
ิ ดระนาบและการคํานวณคาพกั
ระบบพกั ่ ิ ด
North
ΔE AB = HDAB sin Az AB
N
Azimuth quadrant Azimuth Relation Bearings Bearings quadrant ΔN AB = HDAB cos Az AB
B ( EB , N B )
0 − 90
o o
49 o
N 49 E o o
N 49 E NE
S (180o − 145o ) E SE
E B = E A + ΔE AB
90 − 180
o o o o Az AB
145 S 35 E
ΔN AB
180o − 270o 230o S (230o − 180o )W S 50o W SW HDAB
N B = N A + ΔN AB
270 − 360
o o
340 o
N (360 − 340 )W
o o o
N 20 W NW A (EA , N A ) ΔE AB
HDAB = ( X B − X A ) 2 + (YB − YA ) 2
East
(0,0) (X B − X A)
Az AB = tan −1
(YB − YA )
Dr. Surames Piriyawat 11 Dr. Surames Piriyawat 12

You might also like