Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

ระบบป้ องกันดินพัง

ระบบป้ องกันดินพังสำหรับการก่อสร้างชัน
้ ใต้ดินโครงการก่อสร้าง
ศูนย์ราชการ กระทรวงมหาดไทย เพื่อใช้งานเป็ นที่จอดรถ 3 ชัน
้ ขุด
ดินลึกสุดประมาณ 11 เมตร โดยก่อสร้างด้วยระบบ Diaphragm
wall (D-wall) ความหนา 0.80 เมตร และความลึก 28 เมตร ซึ่ง
ตำแหน่งที่จะก่อสร้างนัน
้ อยูใ่ กล้เคียงแม่น้ำเจ้าพระยา อาคารบ้าน
เรือนของประชาชน และถนนเจริญกรุง ดังนัน
้ เพื่อไม่ให้เกิดผลกระ
ทบกับพื้นที่ข้างเคียง จึงต้องใช้ระบบป้ องกันดินพังในการก่อสร้าง
ซึ่งมีรายละเอียดดังนี ้

1. ลักษณะชัน
้ ดิน

ประกอบด้วยชัน
้ ดินต่าง ๆ จากด้านบนลงด้านล่างคือ ชัน
้ ดินเหนียว
อ่อน (Soft Clay) ชัน
้ ดินเหนียวแข็งปานกลาง (Meduim Clay) ชัน

ทรายแน่นชัน
้ ที่ 1 (First Dense Sand) ชัน
้ ดินเหนียวแข็ง (Stiff
Clay) และชัน
้ ทรายแน่นชัน
้ ที่ 2 (Second Dense Sand) ซึ่งความ
หนาของชัน
้ ดินเหนียวอ่อนจะเปลี่ยนแปลงจากความหนา 7 – 15
เมตร โดยได้มีการเจาะสำรวจดินเพื่อหาคุณสมบัติทางวิศวกรรม
เพื่อใช้ประกอบการพิจารณาการก่อสร้าง Diaphragm wall เช่น
ค่าหน่วยน้ำหนักรวมของดิน กำลังรับแรงเฉือนของดิน ค่า SPT N-
value

2. รูปแบบการก่อสร้าง

Diaphragm wall จะเป็ นระบบกันดินขณะทำการขุดดินพร้อมค้ำ


ยัน การก่อสร้าง Diaphragm wall นี ้ จะทำการก่อสร้างด้วยวิธี
Bottom Up Construction โดยทำการขุดดินพร้อมติดตัง้ ค้ำยัน
เหล็กชั่วคราว (Temporary Steel Bracing) จนกระทั่งขุดดินถึง
ความลึกที่กำหนด จากนัน
้ ทำการก่อสร้างฐานรากและชัน
้ ใต้ดิน
จากระดับลึกขึน
้ สู่ระดับบน

สำหรับการขุดนัน
้ จะแบ่งพื้นที่ที่ต้องการขุดเป็ นตาราง ขนาด 6x6
เมตร หลังจากนัน
้ จึงเริ่มต้นทำการขุด โดยมีการใช้เหล็ก King post,
Strut และ Wale เพื่อเป็ น Platform ชั่วคราว สำหรับรองรับ
เครื่องจักรที่ใช้ในการขุดดิน ซึ่งในการก่อสร้างนี ้ ได้กำหนดให้มีการ
ทำระบบค้ำยันชั่วคราวไว้ไม่น้อยกว่า 3 ชัน

3. มาตรการความปลอดภัยและเครื่องมือวัด

ได้มีการกำหนดให้มีการติดตัง้ เครื่องมือวัด เพื่อตรวจสอบ


Diaphragm wall และโครงสร้างข้างเคียงขณะทำการก่อสร้าง
เช่น Inclinometer และ strain gauge สำหรับตรวจวัดแรงและ
การเคลื่อนตัวของ Diaphragm wall, Tiltmeter และ Vertical
beam sensors สำหรับตรวจวัดความเอียงตัวของโครงสร้างข้าง
เคียง และ Settlement Plate สำหรับการตรวจวัดการเคลื่อนตัว
ของผิวดินข้างเคียง เป็ นต้น ซึ่งการติดตัง้ เครื่องมือดังกล่าว เป็ นไป
ตาม มยผ. 1913 มาตรฐานการตรวจวัดพฤติกรรมความลาดเอียง
สำหรับงานขุดดินและถมดิน

นอกจากเครื่องมือตรวจวัดที่ทำการติดตัง้ แล้ว ขณะทำการก่อสร้าง


จะกำหนดมาตรการความปลอดภัยเพิ่มเติม โดยแบ่ง Trigger level
เป็ น 3 ระดับ ซึ่งจัดลำดับตามการเคลื่อนตัวของ Diaphragm wall
ที่วัดได้จาก Inclinometer จากค่าการเคลื่อนตัวน้อยไปหามาก คือ
Alarm level (แจ้งผู้ควบคุมงานและผู้ออกแบบทราบ เพื่อตรวจ
สอบขัน
้ ตอนการก่อสร้าง), Alert level (แจ้งผู้เกี่ยวข้องทุกท่าน
ทราบ เพื่อตรวจสอบขัน
้ ตอนการก่อสร้าง) และ Action level
(หยุดการก่อสร้าง และแจ้งผู้เกี่ยวข้องทุกท่านทราบ เพื่อพิจารณา
ปรับปรุงขัน
้ ตอนการก่อสร้าง)

You might also like