Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

นรีนุช ดำ�รงชัย

คณะภาษาและการสื่อสาร
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์

ญี่ปุ่นหลังสงครามโลกครั้งที่สองกับการ
เปลี่ยนผ่านทางความคิดและค่านิยมภายใต้
แนวคิด “เซะดะอิรง” (世代論)
บทคัดย่อ
การพ่ า ยแพ้ ส งครามโลกครั้ ง ที่ ส องและตกอยู ่ ภ ายใต้ ก ารปกครองของ
สหรัฐอเมริกา ส่งผลให้ญี่ปุ่นเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย ด้วยเหตุนี้ท�ำให้
มีผลงานทางวิชาการที่พยายามอธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวขึ้นอย่างมาก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในมิติเชิงประวัติศาสตร์และเศรษฐกิจ แต่ยังมีผลงานไม่กี่ชิ้นที่
พยายามสังเคราะห์ภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงทางแนวความคิดและค่านิยมของ
ชาวญี่ปุ่นตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองจนกระทั่งถึงปัจจุบัน จากการรวบรวมและ
สังเคราะห์เอกสารต่างๆ ทั้งหนังสือ งานวิจัย และหนังสือพิมพ์ บทความชิ้นนี้ท�ำการ
สรุปภาพรวมของการเปลี่ยนแปลงแนวความคิดและค่านิยมของประชากรญี่ปุ่นในยุค
ร่วมสมัยโดยจ�ำแนกช่วงอายุของประชากรออกเป็น 5 รุ่น ได้แก่ กลุ่มประชากรรุ่น
ยะเคะอะโตะ กลุ่มประชากรรุ่นดังคะอิ กลุ่มประชากรรุ่นชินจินรุอิ กลุ่มประชากร
รุ่นดังคะอิจูเนียร์ กลุ่มประชากรรุ่นซะโตะริ (หรือ รุ่นยุโตะริ) ผลจากการศึกษาพบว่า
ค่ า นิ ย มและความคิ ด ของชาวญี่ ปุ ่ น เปลี่ ย นแปลงไปโดยมี ค วามคล้ า ยคลึ ง กั บ
ค่านิยมความคิดของชาวตะวันตกมากยิ่งขึ้น ขณะที่ค่านิยมแบบดั้งเดิมซึ่งเป็นเสมือน
สามัญทัศน์ (stereotype) ของชาวโลกต่อชาวญี่ปุ่นในยุคก่อนก�ำลังเริ่มเลือนหายไป

คำ� สำ�คัญ
ญี่ปุ่นร่วมสมัย, การจ�ำแนกรุ่นประชากรตามช่วงอายุ,
เซะดะอิรง, การเปลี่ยนแปลงทางสังคม, ความเป็นญี่ปุ่น

86 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


Nareenoot Damrongchai
Graduate School of Language and Communication,
National Institute of Development Administration

Transition of Japanese Social Values


Since World War II: A Generational
Theory Approach
Abstract

Since the surrender of Japan, which brought World War II to a close,


and the subsequent occupation of Japan by the U.S., a myriad of changes
in Japan’s economy, society, and culture have occurred. Accordingly,
several researchers have attempted to explain these changes, particularly
from historical and economic perspectives; however, few researchers
have focused on the transformation of Japanese social values from
the post-war period to the present. By gathering a range of primary and
secondary sources (e.g., books, research papers, and newspapers), this
paper aims to analyze the transition of Japanese social values based on
generational theory. By separating the Japanese into five generations—
the Yakeato generation, the Dankai generation, the Shinjinrui generation,
the Dankai Junior generation, and the Satori (Yutori) generation—it was
revealed that Japanese social values have been changing to conform to
the Western democratic model, while conservatism, which has been a
Japanese stereotype, has become less supported.

Key words
Contemporary Japan, Generation, Sedairon,
Social Change, Japaneseness

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 87


1. บทน�ำ
ในประเทศญีป่ นุ่ ความตระหนักและความพยายาม ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา เพื่อสร้าง
ในการอธิ บ ายลั ก ษณะเฉพาะของกลุ ่ ม ประชากรใน ความเข้าใจที่ชัดเจนและทันสมัยยิ่งขึ้นเกี่ยวกับสังคม
แต่ละช่วงอายุ (Generation) มีให้เห็นค่อนข้างมาก ญี่ปุ่นในปัจจุบัน
และมีความเป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง โดยในประเทศ
ญี่ปุ่นนั้น ทฤษฎีที่พูดถึงรุ่นอายุที่แตกต่างกันเรียกว่า 2. การศึกษาเกี่ยวกับรุ่นอายุหรือ “เซะดะอิรง”
“เซะดะอิรง (Sedairon: 世代論)” ซึ่งช่วงอายุที่เป็น ในประเทศญี่ปุ่น
เป้าหมายในการศึกษามักเป็นช่วงอายุในวัยรุ่นและวัย นักวิชาการหลายฝ่ายอธิบายว่ารูปแบบการแบ่งรุน่
หนุ่มสาว (Nagayama, 2014) อย่างไรก็ดี สืบเนื่องจาก ตามช่วงอายุของประชากร (Generation) ในญี่ปุ่นนั้น
ประวัติศาสตร์ของประเทศญี่ปุ่นที่พลิกผันอย่างรวดเร็ว โดยรวมแล้ ว ยึ ด เอาเหตุ ก ารณ์ ก ารเกิ ด สงครามโลก
โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายหลังจากช่วงพ่ายแพ้สงครามที่ ครั้งที่สองเป็นเกณฑ์1 (Nagahama, 1970; Okamoto,
โหดร้าย การเปลีย่ นแปลงระบบความเชือ่ จากโครงสร้าง 2011) โดยแบ่งได้เป็นกลุ่มประชากรที่ใช้ชีวิตวัยรุ่น
ความเชื่ อ ในแนวตั้ ง อั น ได้ แ ก่ ความศรั ท ธาต่ อ องค์ ในช่วงก่อนเกิดสงคราม กลุ่มประชากรที่ใช้ชีวิตวัยรุ่น
จั ก รพรรดิ แ ละระบบการปกครองแบบผู ้ น ้ อ ยเคารพ ในช่วงระหว่างสงคราม และกลุ่มประชากรที่ใช้ชีวิต
ผู้ใหญ่ มาสู่โครงสร้างความเชื่อในแนวนอนที่ประชาชน วัยรุ่นในช่วงหลังสิ้นสุดสงคราม โดยหากพิจารณาตาม
มี สิ ท ธิ เ สรี ภ าพเท่ า เที ย มกั น ตามแนวความคิ ด แบบ ช่วงระยะเวลาแล้ว จะเห็นว่าระยะห่างของแต่ละรุ่นจะ
สหรัฐอเมริกา การพัฒนาเศรษฐกิจแบบก้าวกระโดด อยู่ที่ประมาณ 10-20 ปี แต่ภายหลังสิ้นสุดสงครามโลก
จนน�ำมาซึ่งการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอย่างรวดเร็ว ครั้งที่สอง การแบ่งรุ่นของประชากรดูจะมีช่วงระยะ
ท�ำให้ชอ่ งว่างระหว่างรุน่ ยิง่ มีมากและชัดเจนกว่าในสังคม เวลาที่แคบลง โดยมีการแบ่งประชากรรุ่นหลังสิ้นสุด
อื่นๆ ดังจะเห็นได้ว่าภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สงครามโลกออกเป็น 3 รุ่นย่อย ได้แก่ รุ่นแรก (เกิดช่วง
ญีป่ นุ่ ต้องเผชิญกับปัญหาความขัดแย้งระหว่างประชากร ปี ค.ศ. 1930-1932) จะมีลกั ษณะของความกระตือรือร้น
ในช่วงอายุที่แตกต่างกันมาโดยตลอด อันส่งผลกระทบ ที่จะทุ่มเทแรงกายแรงใจแม้จะทีละเล็กน้อยเพื่อสร้าง
ทั้งต่อประเด็นเกี่ยวกับการศึกษา แรงงาน สังคม ฯลฯ สังคมที่เป็นประชาธิปไตยให้เกิดขึ้น โดยร่วมมือกับ
(Nagahama, 1970) อย่างไรก็ดี Nagahama ได้ตั้ง ประชากรรุ่นที่มีประสบการณ์ในสงครามมาผ่านการท�ำ
ข้อสังเกตไว้ว่า เมื่อใดก็ตามที่เกิดเหตุการณ์ส�ำคัญต่อ กิจกรรมชมรมต่าง ๆ อย่างจริงจัง รุ่นที่สอง (เกิดช่วง
อนาคตการเมืองและสังคมญี่ปุ่น ประเด็นเกี่ยวกับรุ่น ปี ค.ศ. 1933-1935) ให้ความส�ำคัญกับการสานต่อ
ของประชากร หรือเซะดะอิรง มักได้รับการให้ความ เจตนารมณ์ ข องรุ ่ น ก่ อ นหน้ า ในการน� ำ พาสั ง คมไปสู ่
ส�ำคัญและหยิบยกขึ้นมาวิเคราะห์ร่วมกับเหตุการณ์ ความเป็นประชาธิปไตยเต็มตัว และรุ่นที่สาม (เกิดช่วง
นั้น ๆ โดยตลอด บทความชิ้นนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อ ปี ค.ศ. 1936-1940) เริ่มไม่สนใจกิจกรรมเพื่อสังคม
ท�ำการศึกษาและสังเคราะห์การเปลี่ยนแปลงไปของ และหันมาใส่ใจกับการใช้ชีวิตส่วนตัวมากขึ้น
ความคิด ค่านิยม และลักษณะเด่นของประชากรญี่ปุ่น นอกจากนี้ การจ�ำแนกรุ่นประชากรที่ได้รับการ
ในแต่ละรุ่น โดยเน้นศึกษาเฉพาะกลุ่มประชากรที่มีชีวิต พูดถึงอย่างกว้างขวางในประเทศญีป่ นุ่ มักเป็นการจ�ำแนก

แต่บางกรณีก็มีการแบ่งรุ่นออกตามยุคการปกครองขององค์จักรพรรดิ ได้แก่ ประชากรรุ่นเมจิ ประชากรรุ่นไทโช ประชากรรุ่นโชวะ


1

88 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


บนพื้นฐานทางสังคม โดยพยายามอธิบายพฤติกรรม และต้ อ งประสบปั ญ หาการว่ า งงานอั น สื บ เนื่ อ งจาก
ของกลุ่มประชากรในวัยที่ใกล้เคียงกัน มีแนวความคิด ภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำ และรุ่นยุโตะริ ส�ำหรับเรียกกลุ่ม
และรูปแบบพฤติกรรมที่คล้ายคลึงกัน ภายใต้ความเชื่อ ประชากรวัยรุ่นในปัจจุบัน
ว่าสภาพทางเศรษฐกิจและสังคมที่แตกต่างกัน ส่งผล
ให้พฤติกรรมของประชากรที่เติบโตในแต่ละยุคสมัยมี 3. เซะดะอิรงหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
ความแตกต่างกันตามไป (Kotani, 1998) การท�ำความ จากที่ได้กล่าวมาจะเห็นได้ว่าเซะดะอิรงในญี่ปุ่น
เข้าใจลักษณะเฉพาะของกลุ่มประชากรวัยรุ่นในแต่ละ มีความหลากหลายสูง กล่าวคือ ตั้งแต่หลังสงครามโลก
ยุคสมัย จึงถือได้ว่าเป็นเครื่องมือส�ำคัญที่จะช่วยสะท้อน ครั้งที่สองเป็นต้นมา มีการแบ่งช่วงวัยที่ค่อนข้างถี่และ
จุดเด่น ตลอดจนแนวคิด ค่านิยมของสังคมทีเ่ ปลีย่ นแปลง ซ�้ำซ้อนหรือมีความเหลื่อมล�้ำกันในช่วงเวลาค่อนข้าง
ไปในแต่ละยุคสมัยได้เป็นอย่างดี (Ichikawa, 2003: 123) มาก บางรุ่นมีการให้ค�ำจ�ำกัดความขึ้นมาแต่ไม่ได้รับการ
อย่างไรก็ดี การจ�ำแนกรุ่นของกลุ่มประชากรจะมีความ พูดถึงอย่างแพร่หลาย2 อย่างไรก็ตาม ในบทความชิ้นนี้
แตกต่างกันไปตามมุมมองที่มีต่อลักษณะเด่นของกลุ่ม ผู้เขียนเลือกที่จะหยิบยกแต่รุ่นที่มีอิทธิพลค่อนข้างสูง
ประชากร รวมถึงมุมมองต่อสภาพของเศรษฐกิจและ ต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมญี่ปุ่น โดย
สังคมของผู้จ�ำแนก จึงท�ำให้ช่วงเวลาที่ท�ำการจ�ำแนกรุ่น ได้จำ� แนกกลุม่ ประชากรญีป่ นุ่ ตัง้ แต่ชว่ งสงครามโลกครัง้
รวมถึงค�ำจ�ำกัดความของแต่ละรุ่นมีความหลากหลาย ที่สองออกเป็น 5 รุ่น ดังรายละเอียดต่อไปนี้
และซ�้ำซ้อน (Ichikawa, 2003: 124)
นอกจากนี้ ยั ง มี ก ารให้ ค� ำ จ� ำ กั ด ความต่ อ กลุ ่ ม ก. กลุ่มประชากรรุ่นยะเคะอะโตะ (Yakeato
ประชากรในรุ่นต่าง ๆ ที่แตกต่างออกไปจากที่กล่าวมา Sedai: 焼け跡世代) คือกลุ่มประชากรที่เกิดหรือ
ข้างต้น เช่น รุ่นเซนเคียวโต ส�ำหรับเรียกกลุ่มประชากร ใช้ชีวิตวัยเด็กในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง (เกิดในช่วง
ที่มีส่วนร่วมในกิจกรรมการจลาจลในรั้วสถานศึกษา ปี ค.ศ. 1929-1944) ความทรงจ�ำของประชากรกลุ่มนี้
ช่วงปลายทศวรรษ 1960 รุ่นชิระเกะ ส�ำหรับเรียก ที่ มี ต ่ อ สงครามมั ก เป็ น เรื่ อ งเกี่ ย วกั บ ความอดอยาก
กลุ่มประชากรที่เติบโตขึ้นมาภายหลังจากที่เหตุการณ์ และหิวโหยหลังพ่ายแพ้สงคราม ซึ่งถือเป็นยุคสมัยแห่ง
การจลาจลในรั้วสถานศึกษาจบลงด้วยความล้มเหลว ความแร้นแค้น ประชากรในรุ่นนี้จึงมีลักษณะเด่นคือ
ของกลุ่มนักศึกษารุ่นก่อน รุ่นบับเบิ้ล ส�ำหรับเรียกกลุ่ม ไม่ย่อท้อต่อความยากล�ำบาก มีความมุ่งมั่นที่จะสร้างตัว
ประชากรที่เติบโตขึ้นมาในยุคเศรษฐกิจฟองสบู่ ส่วน และไม่คอ่ ยมีความสนใจในเรือ่ งเกีย่ วกับการเมือง เป็นคน
ภายหลังเกิดภาวะฟองสบู่แตกตั้งแต่ช่วงต้นทศวรรษ ช่างสงสัย มีความรูส้ กึ ผิดชอบชัว่ ดีสงู (Livedoor, 2014)
1990 เป็นต้นมา ก็มคี ำ� เรียกกลุม่ ประชากรทีห่ ลากหลาย นอกจากนี้ ยังมีความเป็นอนุรกั ษ์นยิ ม โดยยังคงยึดมัน่ ใน
มากยิง่ ขึน้ ไม่วา่ จะเป็น รุน่ เฮียวงะกิ หรือบางแห่งเรียกว่า ขนบธรรมเนียมประเพณีแบบญี่ปุ่นดั้งเดิมไว้ค่อนข้างสูง
รุ่นอุชินะวะเระตะ หรือ รุ่นลอสเจเนอเรชั่น ส�ำหรับ อาจกล่าวได้วา่ ประชากรในยุคนีค้ อื ประชากรทีป่ พู นื้ ฐาน
กลุ่มประชากรที่เติบโตขึ้นหลังยุคแห่งทศวรรษที่หายไป ความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและสังคม อันน�ำไปสู่การ

เช่น รุ่นเพรชเชอร์ ที่ใช้เรียกกลุ่มประชากรที่อยู่ในช่วงอายุระหว่างรุ่นยุโตะริ กับรุ่นเฮียวงะขิ ซึ่งได้แก่กลุ่มคนที่เกิดระหว่างปี ค.ศ. 1983-1986


2

โดยนักเขียนบล็อกชื่อ sugio เป็นคนให้ค�ำจ�ำกัดความ และให้ค�ำอธิบายว่าคนรุ่นนี้เป็นกลุ่มคนที่ได้รับคาดหวังในการที่จะต้องแบกรับภาระของ


ประเทศที่ก�ำลังอยู่ในช่วงขาลงและเศรษฐกิจฝืดเคืองไว้ อีกทั้งยังต้องอดทนกับความสัมพันธ์กับคนรอบข้างที่ไม่ค่อยราบรื่น ท�ำให้เป็นกลุ่มคนที่
มีความทนทานต่อความกดดัน (pressure) รอบข้างได้เป็นอย่างดี

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 89


ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอ�ำนาจทางเศรษฐกิจให้กับประเทศ กระโดดทางเศรษฐกิ จ สาเหตุ ที่ “ชิ น จิ น รุ อิ ” หรื อ
ญี่ปุ่นในยุคต่อมาอีกทั้งยังเป็นต้นแบบของชาวญี่ปุ่นใน “มนุษย์ประเภทใหม่” ได้รับความสนใจและเป็นที่รู้จัก
วรรณกรรมนิฮนจินรง3 นั่นเอง อย่างกว้างขวางเนื่องจากเป็นชื่อที่สื่อความหมายถึง
กลุ่มวัยรุ่นที่มีลักษณะและพฤติกรรมที่แตกต่างไปจาก
ข. กลุ่มประชากรรุ่นดังคะอิ (Dankai Sedai: กลุ่มวัยรุ่นที่เคยมีมาในอดีตอย่างสิ้นเชิง ความแตกต่าง
団塊世代) คือกลุ่มประชากรที่เกิดช่วงหลังญี่ปุ่นแพ้ ดั ง กล่ า วเห็ น ได้ ชั ด ในพฤติ ก รรมและค่ า นิ ย มของกลุ ่ ม
สงครามจนกระทัง่ ถึงการสิน้ สุดของยุคแห่งความวุน่ วาย นักศึกษาจบใหม่ทที่ ำ� การสัมภาษณ์เข้าท�ำงาน รวมถึงกลุม่
หลังสงคราม4 (Post-war Crisis) (ราวปี ค.ศ. 1945- พนักงานที่เข้าท�ำงานใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจาก
1953) ยุคนีม้ ปี ระชาชนทีแ่ ต่งงานและมีบตุ รเพิม่ ขึน้ อย่าง พนักงานบริษทั ในยุคก่อน ๆ เช่น ไม่ยอมท�ำงานล่วงเวลา
รวดเร็ว จนเป็นทีม่ าของค�ำว่า “ดังคะอิ” ซึง่ มีความหมาย เพราะมี นั ด กั บ แฟน ไม่ ส นใจจะคบค้ า สมาคมกั บ
ว่า “กลุ่มก้อน” และเนื่องด้วยจ�ำนวนประชากรที่มีสูง5 เพือ่ นร่วมงาน ปฏิเสธค�ำชักชวนของเจ้านายอย่างไม่ใยดี
ท�ำให้ประชากรรุ่นนี้มีอิทธิพลต่อประชากรในยุคหลัง ลาออกจากงานอย่างกะทันหันโดยไม่มเี หตุผลอันสมควร
ทั้งในเชิงชีววิทยาและสังคมวิทยา (Kotani, 1998: 2; นอกจากนี้ การพัฒนาทางเทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง
Nakano, 1986) ประชากรกลุ่มนี้มีชีวิตอยู่ท่ามกลาง รวดเร็ว ยังส่งผลให้ประชากรกลุ่มนี้มีความสามารถ
ความเปลี่ยนแปลงอย่างมากของสังคม ทั้งนี้เนื่องจาก ในการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่ได้อย่าง
พวกเขาเกิดในช่วงทีป่ ระเทศตกต�ำ่ ทีส่ ดุ ทัง้ ด้วยในสภาพ คล่องแคล่ว ในขณะทีป่ ระชากรรุน่ ก่อนหน้านีไ้ ม่สามารถ
ทีย่ บั เยินหลังพ่ายแพ้สงคราม ประกอบกับอัตราการเกิด ก้าวตามเทคโนโลยีสมัยใหม่เหล่านี้ได้ทัน ซึ่งพฤติกรรม
ทีเ่ พิม่ ขึน้ อย่างรวดเร็ว ท�ำให้พวกเขามีชว่ งชีวติ ในวัยเยาว์ และค่ า นิ ย มเหล่ า นี้ ก ่ อ ให้ เ กิ ด ความกั ง ขาขึ้ น ในกลุ ่ ม
ทีแ่ ร้นแค้นขัดสน แต่พวกเขาเริม่ เข้าสูว่ ยั เรียนสภาวะทาง ประชากรรุ่นก่อนหน้าอย่างรุนแรง และเป็นที่มาของ
เศรษฐกิจและสังคมก็เริม่ ดีขนึ้ เรือ่ ย ๆ นับได้วา่ ประชากร ความพยายามในการศึกษาถึงพฤติกรรมของประชากร
กลุ่มนี้เติบโตมาพร้อมกับการเจริญเติบโตของประเทศ รุ ่ น นี้ อ ย่ า งกว้ า งขวางต่ อ มา (Kotani, 1998: 181)
โดยรวมแล้ ว กลุ ่ ม ประชากรในรุ ่ น นี้ คื อ ต้ น แบบของ นอกจากนี้ ยุคนี้ยังถือเป็นยุคที่สตรีเข้ามามีบทบาทใน
สามัญทัศน์ (Stereotype) เช่น ความมุมานะ ความบ้างาน สังคมอย่างเต็มตัว เนื่องจากการออกกฎหมายความ
กลุ่มนิยม ที่ชาวตะวันตกมองคนญี่ปุ่นนั่นเอง อาจกล่าว เสมอภาคในการจ้างงานระหว่างหญิงชายในปี ค.ศ. 1986
ได้วา่ ประชากรกลุม่ นีถ้ อื เป็นผูท้ สี่ ร้างชาติญปี่ นุ่ ในปัจจุบนั แต่เนื่องจากยังเป็นช่วงเปลี่ยนผ่านบทบาทของสตรี
ขึ้นมาก็ว่าได้ (Sedai Tokuchou Guide, 2014) ในสังคม จึงท�ำให้กลุ่มประชากรรุ่นนี้ยังคงมีค่านิยม
แบบอนุรักษ์นิยมต่อภาวะความเป็นชาย (Masculinity)
ค. กลุ่มประชากรรุ่นชินจินรุอิ (Shinjinrui: และภาวะความเป็นหญิง (Femininity) อยู่สูง ในขณะ
新人類) คือกลุ่มประชากรที่เกิดในราวปี ค.ศ. 1954- เดียวกันก็มค ี วามชืน่ ชอบและนิยมในวัฒนธรรมตะวันตก
1969 ซึ่ ง เป็ น ยุ ค สมั ย ที่ ป ระเทศญี่ ปุ ่ น เข้ า สู ่ ช ่ ว งก้ า ว และมีความสนใจวัฒนธรรมต่างชาติ

3
วรรณกรรมที่อธิบายเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะของสังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุ่นที่มีเอกลักษณ์และความแตกต่างจากสังคมอื่น
4
ช่วงปี ค.ศ. 1945-1950 หรือช่วงเวลาที่ญี่ปุ่นพ่ายแพ้สงครามโลกครั้งที่สองและตกอยู่ภายใต้การควบคุมของสหรัฐอเมริกา เป็นช่วงเวลาที่เกิด
ความวุ่นวายในประเทศญี่ปุ่นมากมาย ทั้งเรื่องปัญหาการขาดแคลนอาหาร ปัญหาประชากรคับคั่ง และปัญหาอาชญากรรมต่าง ๆ มากมาย
5
ในทางประชากรศาสตร์จึงเรียกกลุ่มประชากรกลุ่มนี้ว่ากลุ่มเบบี้บูมเมอร์ (baby boomers) ระยะแรก

90 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


โดยสรุ ป คนกลุ ่ ม นี้ มั ก อาศั ย ข้ อ มู ล จากแฟชั่ น เงินบ�ำนาญของพ่อแม่ในการด�ำรงชีวิต ถือเป็นปัญหา
และสื่อต่าง ๆ ในการสร้างสัมพันธ์กับผู้อื่น มีความเป็น สังคมรูปแบบใหม่ของญี่ปุ่นปัจจุบัน (Maita, 2016)
ปั จ เจกสู ง ให้ ค วามสนใจในเรื่ อ งที่ ต นเองชอบเป็ น ลักษณะเด่นทางประชากรศาสตร์ของคนรุ่นนี้
อย่างมากและไม่ใยดีต่อสิ่งที่ตนเองไม่ชอบ ด้วยลักษณะ คล้ายคลึงกับกลุม่ ประชากรรุน่ ดังคะอิ กล่าวคือ มีจำ� นวน
ดังกล่าวจึงท�ำให้มีการเกิดขึ้นของกลุ่มวัฒนธรรมย่อย ประชากรสูง ท�ำให้เป็นที่สนใจของสังคม ไม่ค่อยมีความ
ที่เรียกว่า “โอตะกุ (Otaku)” ขึ้น ซึ่งหมายถึงกลุ่มคน สนใจกับคนรอบตัว มุง่ ค้นหาตัวเอง และมีคา่ นิยมทางเพศ
ที่มีความสนใจและมีความรู้อย่างลึกซึ้งแต่เพียงสิ่งใด ที่ เ ปลี่ ย นแปลงไปจากค่ า นิ ย มของคนญี่ ปุ ่ น ในอดี ต
สิ่งหนึ่งเพียงอย่างเดียว และขาดสามัญส�ำนึกทางสังคม เป็นอย่างมาก เช่น ค่านิยมในเรื่องการขายเครื่องแบบ
อย่างไรก็ตาม ในอดีตวิถกี ารด�ำเนินชีวติ ทีส่ ามารถเลือกท�ำ นั ก เรี ย นหรื อ ชุ ด ชั้ น ในที่ ใ ช้ แ ล้ ว หรื อ ที่ เ รี ย กกั น ว่ า
แต่งานอดิเรกหรือสิ่งที่ตนสนใจเพียงอย่างเดียว ถือเป็น “บุรุเซะระ” การค้าประเวณีของเด็กนักเรียน หรือ
สิ ท ธิ พิ เ ศษของลู ก ผู ้ ที่ มี อั น จะกิ น เท่ า นั้ น แต่ ใ นยุ ค นี้ “เอ็นโจะโคซะอิ” และไม่ใส่ใจต่อค�ำวิพากษ์วิจารณ์ของ
กลับกลายเป็นลักษณะเฉพาะของประชากรกลุ่มหนึ่ง คนรอบข้าง โดยให้เหตุผลว่าไม่ได้ท�ำให้ผู้อื่นเดือดร้อน
ในสังคม จึงอาจกล่าวได้ว่าปรากฏการณ์โอตะกุถือเป็น (Ichikawa, 2003: 125) ในทางสังคมศาสตร์ Miyadai
ผลผลิตของสังคมที่มั่งคั่งและเป็นภาพตัวอย่างที่ชัดเจน (1994: 86-87) ได้ให้ค�ำอธิบายถึงสาเหตุของพฤติกรรม
ของการเปลี่ยนแปลงไปของลักษณะวัยรุ่นในยุคใหม่ เช่นนี้ว่าเป็นเพราะการเปลี่ยนแปลงของสภาพสังคม
(Ichikawa, 2003: 128) ภายหลั ง สงครามโลกครั้ ง ที่ ส อง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง
การกลายเป็นเมืองใหญ่ (urbanization) ที่ท�ำให้ชุมชน
ง. กลุ่มประชากรรุ่นดังคะอิจูเนียร์ (Dankai ท้องถิ่น (local community) ล่มสลาย พื้นที่สาธารณะ
Junior: 団塊ジュニア) คือกลุ่มประชากรที่เกิดใน และความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันระหว่างผู้คนในระดับ
ช่วงระหว่างปี ค.ศ. 1970-1983 ส่วนมากเป็นประชากร ชุมชนก็สูญหายไป จนในที่สุดค่อย ๆ ลดลงเหลือเพียง
รุ่นลูกของกลุ่มประชากรรุ่นดังคะอิ ประกอบกับอัตรา การคบค้าสมาคมในระดับกลุ่มย่อย ๆ ของคนที่มีความ
การเกิดที่เพิ่มสูงขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปี ค.ศ. สนใจในสิ่ ง ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น เท่ า นั้ น ท� ำ ให้ ค ่ า นิ ย มใน
1971-1974 จึงถือเป็นยุคเบบี้บูมเมอร์ระยะที่ 2 หลัง จริยธรรมสูญหายไปพร้อมกับความไม่ใส่ใจในความเป็น
สงครามโลกครั้งที่สองสิ้นสุดลง6 ประชากรรุ่นนี้จึงถูก หนึ่งเดียวกันในชุมชน และสายตาของคนรอบข้าง
เรี ย กว่ า ดั ง คะอิ จู เ นี ย ร์ ทั้ ง นี้ จ ากภาวะเศรษฐกิ จ เริ่ ม
ถดถอยในช่วงวัยรุ่นและวัยผู้ใหญ่ตอนต้น ท�ำให้อัตรา จ. กลุ่มประชากรรุ่นซะโตะริ หรือ รุ่นยุโตะริ
การแต่งงานและมีบุตรของคนรุ่นนี้เริ่มลดและช้าลง (Satori Sedai/Yutori Sedai: さとり世代/ゆとり
อย่างเห็นได้ชัด อีกทั้งเริ่มหันมาให้ความส�ำคัญกับการ 世代) คือกลุม ่ ประชากรทีเ่ กิดในช่วงปี ค.ศ. 1984-2004
จับจ่ายใช้สอยอย่างประหยัด นิยมเก็บออม นอกจากนี้ ที่ได้รับการศึกษาแบบยุโตะริ หรือการศึกษาที่มุ่งเน้นให้
เนื่องจากความยากล�ำบากในการหางานท�ำ จึงเริ่มเกิด เด็กมีอิสระ และความหลากหลายในการเรียนมากกว่า
กลุ่มคนที่เรียกว่า “พยาธิโสด (Parasite single)” ซึ่ง เน้นการเรียนด้านวิชาการอย่างเข้มงวดเพียงอย่างเดียว
ได้แก่คนทีไ่ ม่ออกไปท�ำกิจกรรมใด ๆ นอกบ้าน และอาศัย โดยค�ำว่า “ยุโตะริ” มีความหมายว่า “ผ่อนคลาย สบาย

ในช่วงระยะเวลาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1971-1974 มีอัตราการเกิดสูงกว่า 2 ล้านคนต่อปีอย่างต่อเนื่องทุกปี


6

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 91


ไม่อึดอัด” ส่วนชื่อ “ซะโตะริ” นั้นมาจากค�ำอธิบายถึง ทีส่ วยงาม แต่เนือ่ งจากความหลากหลายของช่องทางการ
ลั กษณะของประชากรกลุ่ม นี้ที่เริ่ม ตระหนักถึงความ รับข่าวสาร จึงท�ำให้สื่อบันเทิง ดนตรี งานอดิเรกต่าง ๆ
ไม่แน่นอนในชีวิต และรู้แจ้งถึงสัจธรรมเนื่องจากเกิดมา มีความหลากหลายมากขึน้ ไปด้วย ส่งผลให้ความนิยมใน
ในยุคที่เศรษฐกิจตกต�่ำ กลุ่มวัยรุ่นในยุคนี้จึงนิยมที่จะ สิ่งใดสิ่งหนึ่งอย่างถล่มทะลายมีโอกาสเกิดขึ้นได้น้อยลง
เรียกตัวเองว่า “ซะโตะริ” มากกว่า “ยุโตะริ” เนื่องจาก (Sedai Tokuchou Guide, 2014)
มองว่าค�ำว่า “ยุโตะริ” ที่ผู้ใหญ่เรียกพวกเขานั้นเป็น
เสมื อ นวาทกรรมที่ ใ ช้ ดู ถู ก พฤติ ก รรมที่ ข าดความ 4. รูปแบบการด�ำเนินชีวิตและค่านิยมของชาว
กระตือรือร้นของคนในรุ่นนี้ (Harada, 2013: 19) ทั้งนี้ ญี่ปุ่นในยุคสองทศวรรษแห่งการสูญเสีย7
เนื่ อ งจากประชากรกลุ ่ ม นี้ เ กิ ด มาในยุ ค ที่ เ ทคโนโลยี การจ� ำ แนกช่ ว งอายุ ข องประชากรในช่ ว งหลั ง
สารสนเทศทั้งโทรศัพท์มือถือและอินเทอร์เน็ตเฟื่องฟู สงครามโลกครั้งที่สองจนกระทั่งถึงช่วงก้าวกระโดด
นักวิชาการบางกลุ่มจึงเรียกประชากรกลุ่มนี้ว่ากลุ่ม ทางเศรษฐกิจนั้น หนึ่งช่วงอายุของคนญี่ปุ่นจะมีล�ำดับ
ประชากรดิจิทัลเนทีฟ (Degital Native) แบบแผนที่ชัดเจน กล่าวคือ เข้าโรงเรียน เรียนจบ
ประชากรกลุ ่ ม นี้ เ กิ ด มาในยุ ค ที่ ญี่ ปุ ่ น เปิ ด รั บ เริม่ ท�ำงาน แต่งงานในช่วงวัย 20-30 ปี เริม่ แยกครอบครัว
อารยธรรมตะวั น ตกอย่างเต็ม ตัว อัต ราการเกิด ของ มีลกู มีบา้ นเป็นของตัวเอง (Iwama, 1995) แต่ในปัจจุบนั
ประชากรลดลง ภาวะฟองสบู ่ แ ตกจนเข้ า สู ่ ช ่ ว ง 2 แบบแผนต่าง ๆ เหล่านี้เริ่มมีความหลากหลายและ
ทศวรรษที่หายไป (the lost 2 decades) และคุ้นเคย แตกต่ า งจากรู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ของชาวญี่ ปุ ่ น
กับข่าวการถูกไล่ออกจากบริษัท หรือข่าวการล้มละลาย ยุคก่อนไปค่อนข้างมาก ดังนั้น การจะท�ำความเข้าใจ
อยู่เป็นประจ�ำ ท�ำให้ถูกปลูกฝังค่านิยมในการจับจ่าย คนญีป่ นุ่ รุน่ ใหม่ภายหลังจากทีญ
่ ปี่ นุ่ ต้องตกอยูใ่ นสภาวะ
ใช้สอยที่เน้นความคุ้มค่าของสินค้าเป็นหลัก นอกจากนี้ เศรษฐกิจตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง จึงจ�ำเป็นต้องเข้าใจปัจจัย
รุ่นยุโตะริถือเป็นกลุ่มประชากรที่เติบโตมาพร้อมกับ ที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการด�ำเนิน
ความเจริญก้าวหน้าและการแพร่กระจายอย่างรวดเร็ว ชีวิตและค่านิยมของคนกลุ่มนี้ ซึ่งได้แก่
สู่ความเป็นสังคมเทคโนโลยีสารสนเทศ ท�ำให้การเป็น
เจ้ า ของโทรศั พ ท์ มื อ ถื อ คอมพิ ว เตอร์ รวมถึ ง การใช้ ก. ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ กล่าวคือ อัตรา
อินเทอร์เน็ตตั้งแต่เล็กถือเป็นเรื่องปกติ และเครือข่าย การเกิดที่ลดลง ส่งผลให้เกิดการลดลงของประชากร
สังคมออนไลน์ตา่ ง ๆ ทัง้ อีเมล์ ทวิตเตอร์ (Twitter) เฟสบุค๊ โดยรวมซึ่งมีมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี ค.ศ. 2008 เป็น
(Facebook) ไลน์ (LINE) กลายเป็นช่องทางหลักใน ต้นมา (Ministry of Land, Infrastructure, Transport
การสื่อสารที่ทุกคนต้องมี นอกจากนี้ สืบเนื่องจากภาวะ and Tourism, 2013)
การว่าจ้างแรงงานที่ยังคงตกต�่ำ เศรษฐกิจยังฝืดเคือง
อย่างต่อเนือ่ ง ท�ำให้ผหู้ ญิงส่วนหนึง่ เริม่ กลับมาใฝ่ฝนั ทีจ่ ะ ข. ภาวะเศรษฐกิจตกต�่ำอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้
เป็นแม่บ้าน (Yamada, 2015) ส่วนรูปแบบการบริโภค อัตราการว่าจ้างงานในประเทศถดถอยลง และจ�ำนวน
จะเน้นทีค่ วามเป็นตัวของตัวเองมากกว่าทีจ่ ะตามกระแส ผูว้ า่ งงานโดยเฉพาะอย่างยิง่ ในกลุม่ วัยรุน่ ช่วงอายุ 20-24
และเน้นทีป่ ระสิทธิภาพการใช้งานจริงมากกว่ารูปลักษณ์ ปี มีจ�ำนวนมากขึ้น จึงอาจกล่าวได้ว่าวัยรุ่นในยุคนี้ต้อง

ช่วงเวลาแห่งการตกต�่ำทางเศรษฐกิจของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งเริ่มตั้งแต่ปี ค.ศ. 1991 สืบเนื่องต่อมาจนกระทั่งปี ค.ศ. 2010


7

92 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


เผชิญหน้ากับปัญหาการว่างงานทีค่ อ่ นข้างสูง นอกจากนี้ อนาคต ตลอดจนความกังวลในเรือ่ งเกีย่ วกับการเรียนต่อ
ในแง่ของค่าครองชีพ เห็นได้ว่าที่ผ่านมาตั้งแต่ปี ค.ศ. การหางาน และการแต่งงาน
1970 จนกระทั่งถึงปี ค.ศ. 1998 นั้น ค่าครองชีพใน
ประเทศญี่ปุ่นสูงขึ้นมาโดยตลอด แม้ว่าหลังจากนั้น ข. ความตระหนั ก ที่ เ พิ่ ม ขึ้ น ในการเตรี ย มการ
เป็นต้นมาค่าครองชีพจะเริ่มต�่ำลงบ้าง แต่ก็สามารถ เพื่ออนาคต จากความกังวลต่ออนาคตส่งผลให้ความ
กล่าวได้วา่ วัยรุน่ ในยุคนีแ้ ทบจะเติบโตมาในยุคของภาวะ ตระหนักเกี่ยวกับการเตรียมตัวเพื่ออนาคตมีเพิ่มขึ้น ดัง
เงินฝืดก็ว่าได้ (Ministry of Land, Infrastructure, เห็นได้จากค่านิยมทีเ่ น้นการเก็บออมและพยายามลดการ
Transport and Tourism, 2013; Harada, 2013) ใช้จ่ายลง ต่างจากค่านิยมในการบริโภคอย่างฟุ่มเฟือย
เพื่อความสุขตรงหน้าดังเช่นในยุคฟองสบู่ โดยจากการ
ค. การก้าวเข้าสู่ยุคโลกาภิวัฒน์ นอกจากการ ส�ำรวจพบว่าอัตราส่วนของผู้ที่ไม่นิยมที่จะกู้ยืมเงินเพื่อ
ขยายแหล่งผลิตและแหล่งลงทุนไปยังต่างประเทศของ ซื้อสิ่งของต่างๆ มีสูงถึงร้อยละ 80 นอกจากนี้ ยังพบว่า
ธุรกิจเชือ้ สายญีป่ นุ่ แล้ว ชาวญีป่ นุ่ จ�ำนวนมากยังเดินทาง กลุ่มวัยรุ่นในช่วงอายุ 20 และ 30 ปี ให้ความส�ำคัญกับ
ออกไปท่ อ งเที่ ย วและศึ ก ษาต่ อ ยั ง ต่ า งประเทศเพิ่ ม การไตร่ตรองและเก็บข้อมูลต่าง ๆ ทางอินเทอร์เน็ตก่อน
มากขึน้ แทบทุกปี ในขณะเดียวกัน ชาวต่างชาติทเี่ ดินทาง ที่จะตัดสินใจซื้อสินค้าสูงกว่ากลุ่มอายุอื่น ๆ นอกจากนี้
เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศญี่ปุ่นก็มีอัตราที่เพิ่มสูงขึ้น พบว่ากลุ่มวัยรุ่นในยุคนี้มีค่านิยมที่ไม่รังเกียจการใช้
อย่างต่อเนือ่ งด้วยเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ การแพร่ขยาย ทรัพย์สนิ ต่าง ๆ ร่วมกัน หากเห็นว่าสามารถช่วยประหยัด
ของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและโซเชียลมีเดีย ก็ หรือลดรายจ่ายลงได้
ส่งผลให้รูปแบบพฤติกรรมการสื่อสาร และการใช้ชีวิต
เปลี่ยนแปลงไปอย่างมากอีกด้วย (Ministry of Land, ค. อัตราของผู้ที่มีความพึงพอใจในการใช้ชีวิตมี
Infrastructure, Transport and Tourism, 2013; เพิม่ มากขึน้ แม้ตอ้ งเผชิญกับปัญหาทัง้ ทางเศรษฐกิจและ
Harada, 2013) สังคมจนเกิดความกังวลกับอนาคตของตน แต่คนรุน่ ใหม่
ในยุคนีก้ ลับมีความพึงพอใจกับการด�ำเนินชีวติ ของตนใน
ปัจจัยดังกล่าวส่งผลต่อความตระหนักของกลุ่ม ปัจจุบันค่อนข้างสูง เนื่องมาจากเติบโตมาพร้อมเครื่อง
ประชากรที่เกิดและเติบโตขึ้นมาในยุคนี้ (Ministry of อ�ำนวยความสะดวกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นโทรทัศน์
Land, Infrastructure, Transport and Tourism, (ขาวด�ำ) เครื่องซักผ้า ตู้เย็น ที่กลายเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้า
2013) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มประชากรรุ่นซะโตะริ ประจ�ำบ้านตั้งแต่ญี่ปุ่นเริ่มเข้าสู่ยุคก้าวกระโดดทาง
กล่าวคือ ประชากรกลุ่มนี้จะมีลักษณะเด่นดังต่อไปนี้ เศรษฐกิจในช่วงปลายทศวรรษที่ 1950 ด้วยเหตุนี้เอง
ที่ส่งผลให้ความพึงพอใจในความสะดวกสบายในชีวิต
ก. ความวิตกกังวลในอนาคตของตน สืบเนื่องจาก ประจ� ำ วั น โดยเฉพาะในกลุ ่ ม วั ย รุ ่ น นั้ น มี อ ยู ่ สู ง กว่ า
สถานการณ์ทางเศรษฐกิจที่ไม่มีแนวโน้มจะฟื้นตัวขึ้น ประชากรในกลุ่มอายุอื่น
ตลอดจนอัตราการว่างงานที่มีแต่จะเพิ่มมากขึ้น ท�ำให้
คนรุ่นใหม่มีความกังวลใจกับอนาคตของตัวเองมากกว่า นอกจากนี้ Ministry of Land, Infrastructure,
ในยุคก่อนหน้า ดังจะเห็นได้วา่ ประชากรโดยรวมมีความ Transport and Tourism (2013) ยังท�ำการส�ำรวจ
กังวลเกี่ยวกับรายได้หรือทรัพย์สินทั้งในปัจจุบันและ รูปแบบการด�ำเนินชีวิต และค่านิยมของประชากรใน

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 93


ปัจจุบัน โดยเปรียบเทียบกับวงจรชีวิตของประชากรใน ส�ำคัญในการเลือกเข้าท�ำงาน ส่วนมากมักให้ความส�ำคัญ
ยุคก้าวกระโดดทางเศรษฐกิจว่า ในช่วงชีวติ ของชายญีป่ นุ่ กับความมัน่ คงในการงานควบคูไ่ ปกับต้องเป็นงานทีช่ อบ
ที่เกิดในยุคปี 1950 จะมีรูปแบบคล้ายกัน กล่าวคือ เริ่ม และสนุกทีไ่ ด้ทำ
� ซึง่ แสดงให้เห็นถึงการให้ความส�ำคัญกับ
ท�ำงานเมื่อจบการศึกษาระดับมัธยมปลาย หรือราวอายุ รสนิยมส่วนตัวของคนรุ่นใหม่ในยุคนี้นั่นเอง
18 ปี จากนั้นเมื่ออายุประมาณ 28 ปี จะแต่งงานและมี
ลูกคนแรกในปีถัดมา จนหลังจากเกษียณอายุในวัย 60 ข. ค่านิยมเกีย่ วกับบทบาทของสตรี อาจกล่าวได้วา่
ปี จะใช้ชีวิตวัยชราและเสียชีวิตลงในอายุประมาณ 75 ญี่ปุ่นในยุค 1980 เป็นยุคที่ผู้ชายท�ำงานนอกบ้านเพียง
ปี แต่หลังจากนั้นเป็นต้นมาพบว่าอัตราการศึกษาต่อที่ ฝ่ายเดียว ส่วนผู้หญิงมีหน้าที่เป็นแม่บ้านและดูแลความ
เพิม่ มากขึน้ ส่งผลให้อายุเฉลีย่ ในการเริม่ เข้าท�ำงาน อายุ เรียบร้อยภายในบ้าน แต่หลังจากนั้นเป็นต้นมา ค่านิยม
เฉลี่ยของการแต่งงานเพิ่มสูงขึ้น นอกจากนี้ อายุขัยที่มี ดังกล่าวก็ค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงไป จนกระทั่งในปี ค.ศ.
เพิ่มมากขึ้น ท�ำให้อายุเฉลี่ยของการเกษียณอายุมีสูงขึ้น 1997 ครอบครัวที่ท�ำงานทั้งสามีและภรรยาเพิ่มสูงขึ้น
ตามไปด้วย อีกทั้งค่านิยมในการแต่งงาน และการมีลูก จนมีจ�ำนวนมากกว่าครอบครัวที่สามีท�ำงานแต่เพียง
ที่มีความหลากหลายมากขึ้น ส่งผลให้วงจรชีวิตของชาว ฝ่ายเดียว และยังคงเพิม่ ขึน้ อย่างต่อเนือ่ ง (แผนภูมิ 1) ซึง่
ญีป่ นุ่ ในปัจจุบนั มีความหลากหลาย แตกต่างไปจากวงจร เป็นผลสืบเนือ่ งมาจากความต้องการทีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของ
ชีวติ ของชาวญีป่ นุ่ ในยุค 1950 โดยภาพรวมแล้วสามารถ ผูห้ ญิงในปัจจุบนั ทีต่ อ้ งการออกไปท�ำงานนอกบ้านพร้อม
สรุปการเปลี่ยนแปลงของค่านิยมของกลุ่มประชากร กันกับการดูแลครอบครัวของตนด้วยนั่นเอง นอกจากนี้
วัยรุ่นในปัจจุบันจากการส�ำรวจครั้งนี้ได้ดังต่อไปนี้ จากแผนภูมิ 2 จะเห็นได้ว่ารูปแบบชีวิตในอุดมคติของ
หญิงชาวญี่ปุ่นในปัจจุบัน มีความต้องการที่จะแต่งงาน
ก. ค่านิยมเกี่ยวกับการศึกษาและการท�ำงาน เมื่อ และออกมาเป็นแม่บ้านลดลง ในขณะที่ความต้องการที่
พิจารณาถึงสภาวะแวดล้อมเกี่ยวกับการศึกษา จะเห็น จะท�ำงานไปพร้อมกับการดูแลครอบครัว หรือการกลับ
ได้ว่าการให้ความส�ำคัญกับการศึกษายังคงมีอยู่อย่าง มาท�ำงานหลังจากลาคลอดมีเพิ่มสูงขึ้นกว่าในอดีต
ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม ด้วยปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ตกต�่ำ
ภายหลังภาวะฟองสบู่แตก ประกอบกับสภาพแวดล้อม
ทางสังคมที่ต้องมีการแข่งขันอย่างสูง ส่งผลให้จ�ำนวน
นั ก ศึ ก ษาจบใหม่ ที่ เ ข้ า ท� ำ งานในลั ก ษณะของลู ก จ้ า ง
ชั่วคราวที่ท�ำงานเพียงช่วงเวลาเดียว หรือทั้งไม่ท�ำงาน
และไม่เรียนต่อมีอตั ราเพิม่ สูงขึน้ อีกทัง้ จ�ำนวนผูท้ ที่ ำ� งาน
ไม่ถงึ 3 ปีแล้วลาออกจากงานก็มจี ำ� นวนสูงขึน้ ด้วยเช่นกัน
แผนภูมิ 1 การเปรียบเทียบระหว่างจ�ำนวนครอบครัวที่สามี
อาจกล่าวได้ว่าในยุคนี้มีกลุ่มวัยรุ่นที่ไม่มีงานท�ำ8 หรือ ท�ำงานฝ่ายเดียว กับครอบครัวที่ท�ำงานทั้งสามีภรรยา (หมื่น
ที่รู้จักในสังคมว่า ฟรีเตอร์ (furita: フリーター) หรือ ครัวเรือน) (Ministry of Land, Infrastructure, Transport
นีท (NEET: ニート)9 เพิม่ ขึน้ ทัง้ นีเ้ มือ่ พิจารณาถึงปัจจัย and Tourism, 2013)

คือกลุ่มประชากรวัยรุ่นในช่วงอายุ 15-34 ปี ที่ไม่ได้ใช้แรงงาน


8

ค�ำเรียกกลุ่มคนที่ไม่ได้ก�ำลังศึกษาอยู่ ไม่ได้ท�ำงานหรือเข้ารับการฝึกอบรมใด ๆ มาจากค�ำเต็มว่า Not in Education, Employment, or


9

Training

94 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


ต่อรูปแบบการด�ำเนินชีวิตที่เปลี่ยนแปลงไป กล่าวคือ
อัตราของวัยรุ่นที่พักอาศัยร่วมกับพ่อแม่ผู้ปกครองโดย
ไม่แยกออกไปอาศัยโดยล�ำพังมีจ�ำนวนเพิ่มมากขึ้น ดัง
เห็นได้จากผลการส�ำรวจในปี ค.ศ. 2011 พบว่าในวัยรุ่น
กลุ่มช่วงอายุ 20-29 ปี อาศัยอยู่กับผู้ปกครองถึงร้อยละ
53.1 ซึ่งมากกว่าครึ่งหนึ่งของจ�ำนวนประชากรวัยรุ่น
ทัง้ หมด ในขณะทีก่ ลุม่ อายุ 30-34 ปี มีรอ้ ยละ 27.6 ส่วน
แผนภูมิ 2 รูปแบบการด�ำเนินชีวิตในอุดมคติของหญิงชาว กลุ่มอายุ 35-39 ปี คิดเป็นร้อยละ 20.1 และพบว่ากลุ่ม
ญีป่ นุ่ (Ministry of Land, Infrastructure, Transport and อายุ 35-39 ปี มีอตั ราการเพิม่ ทีโ่ ดดเด่นทีส่ ดุ โดยเพิม่ ขึน้
Tourism, 2013) ถึงเท่าตัวหรือเพิ่มขึ้นถึง 85,000 คน ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1995
ถึงปี ค.ศ. 2010
ค. ค่านิยมเกี่ยวกับการแต่งงานและการมีบุตร
มีแนวโน้มที่ชายหญิงจะแต่งงานช้าลง หรือไม่แต่งงาน
เลยตลอดชีวิตเพิ่มมากขึ้น ดังจะเห็นได้ว่าอัตราการไม่
แต่งงานของชาวญีป่ นุ่ มีเพิม่ มากขึน้ ตัง้ แต่ปลายทศวรรษ
1970 เป็นต้นมา โดยในการส�ำรวจปี ค.ศ. 2010 พบว่า
ชายญี่ปุ่นวัย 25-29 ปี ไม่แต่งงานร้อยละ 71.8 วัย
30-34 ปี คิดเป็นร้อยละ 47.3 วัย 35-39 ร้อยละ 35.6
ส่วนหญิงชาวญี่ปุ่นในช่วงวัย 25-29 ปี มีผู้ไม่แต่งงาน
ร้อยละ 60.3 วัย 30-34 ปี ร้อยละ 34.5 และวัย แผนภูมิ 3 การเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนหญิงชายที่ไม่เคย
35-39 ปี ร้อยละ 23.1 นอกจากนี้ ชายหญิงที่อายุ แต่งงานตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950 คิดเป็นร้อยละ (Ministry of
มากกว่า 50 ปี และยังไม่เคยแต่งงานเลยก็มแี นวโน้มทีจ่ ะ Land, Infrastructure, Transport and Tourism, 2013)
เพิ่มสูงขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีการคาดคะเนว่าในปี ค.ศ. 2030
ชายญี่ปุ่นอายุมากกว่า 50 ปี 1 คน ในจ�ำนวน 3.6 คน
จะเป็นคนโสด
นอกจากการไม่แต่งงานแล้ว ญีป่ นุ่ ยังต้องเผชิญกับ
ภาวะที่ประชากรแต่งงานล่าช้าอีกด้วย โดยอายุเฉลี่ยที่
ผู้หญิงญี่ปุ่นแต่งงานเพิ่มขึ้นจากอายุ 24.7 ในปี ค.ศ.
1975 มาเป็นอายุ 29 ปี ในปี ค.ศ. 2011 ส่งผลให้อายุ
เฉลี่ยของหญิงที่มีบุตรคนแรกเพิ่มขึ้นตามไปด้วย โดย
ในปี ค.ศ. 1975 อายุเฉลี่ยของหญิงที่มีบุตรคนแรก
อยู่ที่ 25.7 ปี และกลายมาเป็น 30.1 ปี ในปี ค.ศ. 2011 แผนภูมิ 4 การเปลี่ยนแปลงของอัตราส่วนความต้องการ
นอกจากนี้ สืบเนื่องจากสภาพเศรษฐกิจที่ถดถอย แต่งงานของหญิงชายอายุต�่ำกว่า 35 ปี (Ministry of Land,
และสถานการณ์การว่าจ้างที่ไม่มีความแน่นอน ส่งผล Infrastructure, Transport and Tourism, 2013)

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 95


ง. ค่านิยมเกี่ยวกับการท่องเที่ยว พบว่ากลุ่มวัยรุ่น NHK Broadcasting Culture Research Institute,
ในปัจจุบันส่วนใหญ่ให้ความส�ำคัญกับการท่องเที่ยว 2008; 2015)
ทั้งภายในและนอกประเทศลดลง และไม่มีความสนใจ ข. รูปแบบพฤติกรรม: เกิดลักษณะพฤติกรรม
ที่จะออกไปท่องเที่ยวด้วยตนเอง เนื่องจากไม่ต้องการ เฉพาะของคนในรุ่นนี้ซึ่งเป็นที่รู้จักภายใต้ชื่อ “ผู้ชาย
สิ้นเปลืองงบประมาณและเวลา และพบว่าวัยรุ่นใน (ผู้หญิง) กินพืช (Soushoku Danshi/Jyoshi: 草食
ปัจจุบันเน้นเที่ยวหาความเพลิดเพลินในสถานที่ใกล้ตัว 男子/女子) ซึ่งหมายถึงลักษณะของคนที่ไม่กล้าได้
มากกว่าทีจ่ ะออกเดินทางไปเทีย่ วต่างจังหวัดหรือสถานที่ กล้าเสีย ไม่ชอบการผจญภัย ไม่มีความกระตือรือร้น
ที่ ต ้ อ งพั ก แรม ส่ ง ผลให้ ธุ ร กิ จ เกี่ ย วกั บ การท่ อ งเที่ ย ว อย่างไรก็ดี สามารถสรุปรูปแบบพฤติกรรมของวัยรุ่นใน
หรื อ สถานที่ ท ่ อ งเที่ ย วหลายแห่ ง ที่ ไ ด้ รั บ ความนิ ย ม ยุคนี้ได้ดังต่อไปนี้
ในยุค 1990 เช่น ลานสกี ต้องปิดตัวลง โดยปัจจัยหลัก ✓ งานอดิเรกคือการเล่นอินเทอร์เน็ตหรือการอยู่
ที่ ท� ำ ให้ วั ย รุ ่ น สนใจการท่ อ งเที่ ย วน้ อ ยลงสื บ เนื่ อ งมา กับโซเชียลมีเดีย ไม่นยิ มกิจกรรมนอกสถานที่ มีโลกส่วน
จากภาวะทางเศรษฐกิจ และไม่สามารถหาเพื่อนร่วม ตัวสูง (Komikawa, 2013) รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่าง
เดินทางได้ บุคคลจึงเป็นลักษณะของความสัมพันธ์ในเชิงแนวนอน
จากปั จ จั ย ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น ส่ ง ผลให้ ลั ก ษณะ มากกว่าแนวตั้ง และเป็นไปในรูปแบบของการคบหากัน
ความคิ ด และการใช้ ชี วิ ต ของประชากรรุ ่ น ซะโตะริ อย่างกว้าง ๆ แต่ไม่ลึกซึ้ง ดังนั้น วัยรุ่นในยุคนี้จึงไม่ได้มี
ค่อนข้างแตกต่างไปจากกลุม่ ประชากรทีใ่ ช้ชวี ติ อยูใ่ นยุค อัตลักษณ์เพียงรูปแบบเดียว แต่จะปรับเปลีย่ นอัตลักษณ์
แห่ ง ความมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ ที่ มี ร ายได้ คุ ้ ม ค่ า กั บ ของตนไปตามสังคมโซเชียลมีเดียเล็ก ๆ แต่ละสังคมที่
แรงงานที่ลงไป และสามารถใช้จ่ายสินค้าต่าง ๆ ตาม ตนเป็นสมาชิกอยู่ (Harada, 2013; Komikawa, 2013)
ความต้องการได้โดยไม่ต้องมีความกังวลมากมายต่อ นอกจากนี้ เนื่องจากสามารถหาข้อมูลต่าง ๆ ที่ต้องการ
อนาคตของตน (Komikawa, 2013; Tamura, 2012) ทางอินเทอร์เน็ตได้อย่างรวดเร็ว และความสะดวกสบาย
กล่าวโดยสรุปสามารถอธิบายลักษณะนิสัย รูปแบบ ในการได้ใกล้ชิดกับประสบการณ์แปลกใหม่ใกล้ตัว จึง
พฤติกรรม และค่านิยมในการบริโภคของคนรุน่ ใหม่ หรือ ท�ำให้มีความรู้สึกพึงพอใจเสมือนได้ผ่านประสบการณ์
ตั้งแต่รุ่นซะโตะริ เป็นต้นมาได้ดังนี้ นัน้ มาด้วยตนเอง ไม่คอ่ ยริเริม่ ทีจ่ ะท�ำอะไรเองก่อน หรือ
ก. ลักษณะนิสัย: มีความจริงจัง (Komikawa, ต้องการออกไปหาประสบการณ์ดว้ ยตนเอง ขาดความคิด
2013; Tamura, 2012) ประนีประนอม ไม่เรื่องมาก สร้างสรรค์ ไม่ค่อยอดทนต่อแรงกดดัน และความมุ่งมั่น
ไม่มีความทะเยอทะยาน ค่อนข้างเงียบ เฉื่อย พอใจใน กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเพียงสิ่งเดียวมีค่อนข้างต�่ำ (Tamura,
สิ่งเล็กๆ ที่เป็นและมีอยู่ (Harada, 2013; Tamura, 2012)
2012) ไม่นิยมการต่อสู้ ไม่ชอบการแก่งแย่งชิงดีชิงเด่น ✓ ไม่ชอบความเสี่ยง ไม่ชอบความล�ำบาก มัก
นอกจากนี้ มีลกั ษณะเด่นคือ มีความตัง้ ใจรับผิดชอบ ช่าง เลื อ กที่ จ ะท� ำ กิ จ กรรมที่ ส ามารถท� ำ ให้ รู ้ สึ ก ว่ า ตั ว เอง
สังเกต และนิยมท�ำงานร่วมกันเป็นทีม ไม่ชอบการแข่งขัน ดูดีได้ภายใต้ความเสี่ยงที่ต�่ำ มากกว่าจะเน้นที่ความ
(Harada, 2013; Tamura, 2012) ให้ความส�ำคัญกับความ สนุกสนานรื่นเริงเพียงอย่างเดียว ดังนั้น วัยรุ่นกลุ่มนี้จึง
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลมากกว่าการประสบความส�ำเร็จ ไม่นิยมที่จะดื่มเหล้าสังสรรค์เพื่อความบันเทิงกับกลุ่ม
ส่วนบุคคล (เช่น ความเจริญก้าวหน้าในอาชีพการงาน เพื่อนจนเมามายเหมือนวัยรุ่นในยุคเศรษฐกิจฟองสบู่
การท�ำงานเพื่อหารายได้ที่สูงขึ้น) (Tamura, 2012; แต่จะชอบการอยู่ร่วมกันและใช้เวลาสบายๆ ร่วมกันกับ

96 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


กลุ่มเพื่อน เช่น รวมตัวพูดคุยกันตามร้านกาแฟมากกว่า เน้นการใช้จ่ายที่คุ้มค่า (Cost Performance: コスト
(Harada, 2013; Tamura, 2012, Ministry of Land, パフォーマンス) มากกว่ายึดติดที่ความนิยมในยี่ห้อ
Infrastructure, Transport and Tourism, 2013) สินค้า (Harada, 2013; Tamura, 2012) เกณฑ์ในการ
✓ ให้ความส�ำคัญกับความกลมกลืนกันภายใน พิจารณาบริโภคสิง่ ใดสิง่ หนึง่ จะมองว่าการบริโภคสิง่ ๆ นัน้
กลุ่ม สนใจสายตาของคนรอบข้างและพยายามท�ำตัว จะท�ำให้เกิดผลในแง่ลบมากน้อยเพียงใด (Harada,
ไม่ให้คนรอบข้างรู้สึกไม่ดี หรือที่ในภาษาญี่ปุ่นเรียกว่า 2013)
“คูคิโวะโยะมุ (kuuki wo yomu: 空気を読む)”
ในทางกลับกัน หากใครที่ท�ำตัวโดดเด่นกว่าผู้อื่น หรือ 5. ภาพรวมการเปลีย่ นแปลงของประชากรญีป่ นุ่
ท�ำลายความกลมกลืนเป็นหนึ่งเดียวกันในกลุ่มลงไป ก็ ยุคร่วมสมัย
จะถูกคนรอบข้างรังเกียจ พฤติกรรมดังกล่าวส่งผลให้ เนื่องจากวรรณกรรมนิฮนจินรงเริ่มได้รับความ
ไม่ ค ่ อ ยมี ค วามกล้ า ได้ ก ล้ า เสี ย ที่ จ ะตั ด สิ น ใจท� ำ สิ่ ง ที่ นิ ย มลดลงตั้ ง แต่ ใ นช่ ว งทศวรรษ 1990 เป็ น ต้ น มา
แตกต่าง หรือโดดเด่นจากผู้อื่น (Harada, 2013) ดังนั้น จึงอาจกล่าวได้ว่านิฮนจินรงที่เป็นที่รู้จักกันโดย
✓ มีความสัมพันธ์ที่ดีและใกล้ชิดกับพ่อแม่ โดย ทั่วไปนั้น เกิดขึ้นในช่วงที่ประชากรรุ่นยะเคะอะโตะ
พ่อแม่เปรียบเสมือนเป็นเพื่อนคนหนึ่ง มากกว่าจะเป็น รุ่นดังคะอิ รุ่นชิระเขะเป็นกลุ่มประชากรส่วนมากใน
ผู้ที่ควรให้ความเคารพ (Harada, 2013) สังคม (ตาราง 1) ดังนั้น ภาพลักษณ์ของความเป็นญี่ปุ่น
✓ เรียนรู้ที่จะพอใจกับสิ่งที่ตนมีและเป็น ไม่ค่อย ทัง้ ในแง่ของพฤติกรรม ความคิด และรูปแบบการด�ำเนิน
มีความทะเยอทะยานที่จะอยากได้ อยากมี อยากเป็น ชีวิตที่ถูกอธิบายในวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับนิฮนจินรง
เนื่องจากมองว่าแม้ตนจะพยายามสักเพียงใด ก็ไม่ได้ ส่วนใหญ่ จึงเป็นเสมือนค�ำอธิบายถึงลักษณะเด่นของ
หมายความว่าตัวเองจะมีชีวิตที่ดีขึ้นได้ เหมือนเฉกเช่น ประชากรในรุ่นดังกล่าว โดยยังไม่สะท้อนครอบคลุมถึง
ในยุคก่อน (Komikawa, 2013; Harada, 2013) ประชากรรุ่นหลังจากนั้นเป็นต้นมา อันได้แก่ ประชากร
✓ ให้คณ ุ ค่ากับความทรงจ�ำและคุณค่าของความ รุ่นชินจินรุอิ รุ่นดังคะอิจูเนียร์ และรุ่นซะโตะริ หรือ
รู้สึก มากกว่าที่จะยึดติดกับตัวสินค้าเพียงอย่างเดียว กลุ่มประชากรยุค “หลังนิฮนจินรง” ที่ในความเป็นจริง
โดยมองว่าการใช้สนิ ค้าราคาแพงหรือมีของดี ๆ อย่างหนึง่ แล้วมีรูปแบบพฤติกรรมการด�ำเนินชีวิตและความคิดที่
อยู่เพียงคนเดียว ก็ไม่ได้มีคุณค่าเท่ากับการได้สนุกร่วม แตกต่างไปจากประชากรญี่ปุ่นในยุคก่อนค่อนข้างสูง
กันกับกลุ่มเพื่อนหลาย ๆ คน (Harada 2013; Kuga, และเป็นภาพที่แท้จริงของญี่ปุ่นในปัจจุบันก็ว่าได้ ดังนั้น
2012) การศึกษาเกี่ยวกับชาวญี่ปุ่นผ่านวรรณกรรมนิฮนจินรง
✓ มีชีวิตค่อนข้างนอกกรอบ ให้ความส�ำคัญกับ ที่ได้รับการยอมรับในอดีต จึงมีแนวโน้มที่จะท�ำให้ผู้
การเคารพสิทธิของตน และไม่ก้าวก่ายในสิทธิของผู้อื่น ที่ท�ำการศึกษาเกี่ยวกับหัวข้อนี้เกิดความคลาดเคลื่อน
เช่น สามารถปฏิเสธไม่ไปร่วมสังสรรค์กับผู้บังคับบัญชา จากความเป็ น ญี่ ปุ ่ น ที่ แ ท้ จ ริ ง ในปั จ จุ บั น ได้ ที่ มี ก าร
ซึ่งแตกต่างจากในอดีตที่ผู้ใต้บังคับบัญชาไม่สามารถ เปลี่ยนแปลงไปตามยุคสมัย
ปฏิเสธค�ำชวนของผู้บังคับบัญชาได้ (Harada, 2013) ในส่วนนีผ้ วู้ จิ ยั จึงท�ำการสรุปลักษณะทีเ่ ปลีย่ นแปลง
ค. ค่านิยมในการบริโภค: ประหยัด ให้ความส�ำคัญ ไปของความเป็ น ญี่ ปุ ่ น ในยุ ค หลั ง นิ ฮ นจิ น รง โดยจะ
และมักท�ำการตัดสินใจโดยพิจารณาจากสภาพแวดล้อม จ�ำแนกหัวข้อการวิเคราะห์ออกเป็น ก) รูปแบบการ
รอบตัวกับความคุ้มค่า (ผลดีและผลเสีย) ที่ได้ เช่น ด�ำเนินชีวิต ข) ค่านิยมโดยรวม ค) ค่านิยมในการท�ำงาน

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 97


และ ง) พฤติกรรมการบริโภค (ตาราง 2) เพื่อให้เกิด มากยิ่งขึ้นในช่วงของการเฟื่องฟูทางเศรษฐกิจในยุค
ความเข้าใจที่คลาดเคลื่อนน้อยที่สุดต่อความเป็นญี่ปุ่น ศตวรรษที่ 20 ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของแนวทางการใช้ชีวิต
และลักษณะของประชาชนชาวญี่ปุ่นที่เปลี่ยนแปลงไป รูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แต่อย่างไรก็ดี เมื่อ
ในปัจจุบัน โดยมีรายละเอียดดังนี้ ก้าวเข้าสู่ปลายศตวรรษที่ 20 จะเห็นได้ว่าค่านิยมในเชิง
อนุรักษ์นิยมได้กลับมาอีกครั้งและมีแนวโน้มที่จะเพิ่ม
ก. รูปแบบการด�ำเนินชีวิต เห็นได้ว่าประชากร มากขึน้ จากนีต้ อ่ ไป โดยเฉพาะอย่างยิง่ ค่านิยมทีเ่ กีย่ วข้อง
ในยุคยะเคะอะโตะและดังคะอิจะมีรูปแบบการใช้ชีวิต กับการด�ำเนินชีวิตพื้นฐาน เช่น การประหยัดอดออม
ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น คื อ เป็ น รู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต ที่ มี เป็นต้น แต่แนวความคิดที่เกี่ยวข้องกับปรัชญาแบบ
แบบแผนชัดเจน กล่าวคือ เมือ่ ถึงช่วงอายุหนึง่ จะเข้าเรียน ดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่นนั้น ทั้งแนวคิดแบบกลุ่มนิยมหรือ
และเมื่อถึงช่วงอายุต่อมาจะแต่งงาน มีบุตร ตามล�ำดับ การทุ่มเทเพื่อส่วนรวม ดูเหมือนจะมีลดลงเรื่อย ๆ และ
นอกจากนี้ ลักษณะครอบครัวแม้วา่ จะเริม่ มีครอบครัวเดีย่ ว แทนที่ด้วยค่านิยมแบบปัจเจกนิยม การให้ความส�ำคัญ
เพิ่มขึ้น แต่จะยังเป็นครอบครัวขยายอยู่เป็นส่วนมาก กับชีวติ ส่วนตัวมากกว่าความจ�ำเป็นของส่วนรวม การให้
อี ก ทั้ ง ยั ง มี ก ารแบ่ ง แยกบทบาทหน้ า ที่ ข องคนใน ความส�ำคัญกับระบบความสัมพันธ์แนวนอน การด�ำเนิน
สั ง คมที่ ค ่ อนข้ างชั ด เจน โดยเฉพาะอย่างยิ่งบทบาท ชีวิตอย่างมีระเบียบแบบแผนภายใต้กรอบของบทบาท
หญิงชาย ที่ค่อนข้างแบ่งแยกชัดเจนว่าผู้ชายเป็นฝ่าย หน้าที่ที่ชัดเจน
ท�ำงานนอกบ้านในขณะที่ผู้หญิงจะเป็นฝ่ายดูแลบ้าน
และครอบครั ว แต่ เ มื่ อ เข้ า สู ่ รุ ่ น ชิ น จิ น รุ อิ เ ป็ น ต้ น มา ค. ค่านิยมในการท�ำงาน การเปลี่ยนแปลงของ
จะเห็นได้ว่ารูปแบบการใช้ชีวิตจะมีความหลากหลาย ค่านิยมในการท�ำงานจะเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับ
มากขึ้นเรื่อย ๆ โดยแต่ละช่วงของชีวิตไม่ได้มีแบบแผน รูปแบบการด�ำเนินชีวิต กล่าวคือ ในรุ่นยะเคะอะโตะ
ที่ ชั ด เจนตายตั ว เหมื อ นดั ง เช่ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในประชากร และรุน่ ดังคะอิจะมีลกั ษณะคล้ายคลึงกัน คือเป็นรูปแบบ
รุ่นก่อนหน้าอีกต่อไป นอกจากนี้ การแบ่งบทบาทหน้าที่ การจ้างงานตลอดชีพ และเลื่อนขั้นตามอายุการท�ำงาน
ของคนในสังคมก็มีกรอบและความชัดเจนลดน้อยลง มีความตั้งใจท�ำงาน ยอมเสียสละเวลาและความสุข
โดยมุง่ เน้นความเท่าเทียมกันของคนในสังคมเพิม่ มากขึน้ ส่วนบุคคลเพื่อบริษัทและส่วนรวม การทุ่มเทท�ำงาน
ส่วนลักษณะครอบครัวก็มีความเป็นครอบครัวเดีย่ วมาก ล่วงเวลาหรือการท�ำงานในสุดสัปดาห์ หรือแม้กระทั่ง
และใช้ชีวิตด้วยความสะดวกสบาย และเสพติดการใช้ การไปสังสรรค์กับหัวหน้าหรือเพื่อนร่วมงานเป็นเรื่อง
เครื่ อ งมื อ สื่ อ สารต่ า ง ๆ เนื่ อ งจากพั ฒ นาการทาง ปกติ แต่เมื่อเริ่มเข้าสู่รุ่นชินจินรุอิ เป็นต้นมา รูปแบบ
เทคโนโลยีทกี่ า้ วหน้าขึน้ เรือ่ ย ๆ นัน่ เอง นอกจากนี้ จะเห็น การว่าจ้างดังกล่าวได้หมดสิ้นไป และกลายเป็นการ
ได้ว่าโดยรวมแล้ว รูปแบบการด�ำเนินชีวิตของชาวญี่ปุ่น จ้างงานแบบชั่วคราวหรือแบบสัญญาจ้าง ท�ำให้ความ
หลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น ค่อนข้างเปลี่ยนแปลงไป ศรัทธาต่อการทุ่มเทท�ำงานให้บริษัทมีลดน้อยลง ใน
ในลักษณะของความเป็นปัจเจกนิยม สันโดษมากยิ่งขึ้น ขณะที่คนส่วนมากหันมาให้ความส�ำคัญกับชีวิตส่วนตัว
เป็นล�ำดับ มากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ความนิยมท�ำงานเพียงระยะสั้น ๆ
เพื่ อ เก็ บ เงิ น ก้ อ น และกลั บ มาหางานท� ำ ใหม่ เ มื่ อ ใช้
ข. ค่านิยมโดยรวม เห็นได้วา่ มีแนวโน้มทีจ่ ะมีความ เงินหมด หรือที่เรียกว่า ฟรีแลนซ์ ก็มีเพิ่มขึ้นตั้งแต่ยุคนี้
เป็นสมัยใหม่และใกล้เคียงกับค่านิยมของชาวตะวันตก เป็นต้นมาด้วยเช่นกัน

98 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


ง. พฤติกรรมการบริโภค รูปแบบพฤติกรรมการ ความจ�ำเป็น อย่างไรก็ตาม เมื่อเข้าสู่ช่วงฟองสบู่แตก
บริ โ ภคของชาวญี่ ปุ ่ น ก็ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงไปตามยุ ค ชาวญี่ปุ่นจึงเริ่มหันมาให้ความส�ำคัญกับการประหยัด
สมัยด้วยเช่นกัน กล่าวคือ ในช่วงหลังสิ้นสุดสงครามโลก อดออมและการเลือกใช้จ่ายสินค้าอย่างคุ้มค่าและเกิด
ครั้งที่สอง ชาวญี่ปุ่นจะเน้นการบริโภคอย่างประหยัด ประโยชน์สูงสุดมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ ประชาชนญี่ปุ่น
และเห็ น คุ ณ ค่ า ของสิ่ ง ของ แต่ ต ่ อ มาเมื่ อ เข้ า สู ่ ยุ ค รุ่นใหม่ ยังกลับมาให้ความส�ำคัญกับการบริโภคสินค้า
เศรษฐกิจเฟื่องฟูการบริโภคสินค้าตามแฟชั่นได้กลาย ที่ตอบสนองความสนใจหรือรสนิยมส่วนบุคคลมากกว่า
เป็นเสมือนเครื่องมือในการแสดงความเป็นอัตลักษณ์ ที่จะเลือกซื้อของเพียงเพราะความนิยมของคนส่วนมาก
หรือตัวตน จนน�ำไปสู่การบริโภคที่อยู่เหนือพื้นฐานของ ในสังคมอีกด้วย

ตาราง 1 เปรียบเทียบช่วงอายุของประชากรญีป่ นุ่ แต่ละรุน่ ในยุคสมัยต่าง ๆ ตัง้ แต่หลังสงครามโลกครัง้ ทีส่ องกับช่วงเวลาของ


ความนิยมในการศึกษานิฮนจินรง

*หมายเหตุ 1) กรอบสี่เหลี่ยม “เส้นประ” ในตารางแสดงถึงระยะที่เริ่มมีการศึกษาเกี่ยวกับนิฮนจินรงในช่วงเริ่มต้น ส่วนกรอบสี่เหลี่ยม


“สีด�ำเข้ม” แสดงถึงช่วงระยะที่ความนิยมในการศึกษาเกี่ยวกับนิฮนจินรงมีอยู่อย่างกว้างขวาง 2) อายุที่ใช้แสดงในตารางนี้เป็นของผู้ที่
มีอายุมากที่สุดในรุ่นนั้น ๆ

ตาราง 2 การเปลี่ยนแปลงไปของคนญี่ปุ่นจ�ำแนกตามลักษณะโดยรวม รูปแบบการด�ำเนินชีวิต ค่านิยม และพฤติกรรมการ


บริโภค
ยุคนิฮนจินรง ยุคหลังนิฮนจินรง
ยะเคะอะโตะ
(และก่อนหน้า) ดังคะอิ ชินจินรุอิ ดังคะอิจูเนียร์ ซะโตะริ
สภาพสังคม บอบช�ำ้ จากการพ่ายแพ้ ถีบตัวจากความยากจน ก้ า วเข้ า สู ่ ค วามเป็ น เ ริ่ ม ก ้ า ว เ ข ้ า สู ่ ยุ ค เข้ า สู ่ ยุ ค โลกาภิ วั ต น์
สงคราม ล้มเหลวจาก กระทั่งประสบความ สังคมสมัยใหม่ภายใต้ โลกาภิวัตน์ กลายเป็น อย่ า งเต็ ม ตั ว ระบบ
ระบบเผด็จการทหาร ส� ำ เร็ จ ในการพั ฒ นา ระบบทุนนิยม บริโภค สั ง คมเมื อ งอย่ า งเต็ ม การศึกษาแบบยุโตะริ
และเริ่มหันมาพัฒนา เศรษฐกิ จ จนก้ า วสู ่ นิยมอย่างเต็มตัว การ รู ป แบบ มี ค วามเอื้ อ ความถดถอยทาง
ทางเศรษฐกิ จ การ ความเป็ น ผู ้ น� ำ ของ ขยายตั ว ของธุ ร กิ จ อาทรระหว่ า งคนใน เศรษฐกิจอย่างต่อเนือ่ ง
เปลีย่ นแปลงจากสังคม โลก ยุคเบบีบ้ มู ยุคแรก สื่ อ มวลชน มี ค วาม สังคมน้อยลง พร้อม ที่ ส วนทางกั บ ความ
ชนบทเป็นสังคมเมือง การกลายเป็นสังคม เอื้ออาทรระหว่างคน กับภาวะถดถอยทาง เจริ ญ ก้ า วหน้ า ทาง
เมือง ปัญหาสิง่ แวดล้อม ในสั ง คมน้ อ ยลง ได้ เศรษฐกิจ ยุคเบบี้บูม เทคโนโลยีสารสนเทศ
เริ่ ม เป็ น ที่ ส นใจของ รั บ การยอมรั บ จาก ยุ ค สอง ปั ญ หาการ
นานาชาติ การแข่งขัน นานาชาติ เป็ น ผู ้ น� ำ ว่ า งงาน ปั ญ หาการ
เพื่ อ เข้ า เรี ย นและ ทางเศรษฐกิจของโลก กลั่นแกล้งในโรงเรียน
ท�ำงาน เศรษฐกิจเฟื่องฟู การ (อิจิเมะ) การแข่งขัน
จ้างงานสูง เพื่อเข้าเรียน

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 99


ยุคนิฮนจินรง ยุคหลังนิฮนจินรง
ยะเคะอะโตะ
(และก่อนหน้า) ดังคะอิ ชินจินรุอิ ดังคะอิจูเนียร์ ซะโตะริ
รูปแบบ • มีรปู แบบการใช้ชวี ติ • มี รู ป แบบการใช้ • ครอบครั ว เดี่ ย ว • รู ป แ บ บ ชี วิ ต / • มีรปู แบบการใช้ชวี ติ
การด�ำเนิน และพัฒนาการของ ชีวิตและพัฒนาการ เพิ่มขึ้น พัฒนาการของช่วง และพัฒนาการของ
ชีวิต ช่วงชีวิตที่คล้ายคลึง ข อ ง ช ่ ว ง ชี วิ ต ที่ • มี ค วามสดใส ทั น ชีวิตหลากหลาย ช่วงชีวติ ทีห่ ลากหลาย
กัน คล้ายคลึงกัน ส มั ย ร ส นิ ย ม ดี • การแบ่งแยกบทบาท/ • การแบ่งแยกบทบาท
• แบ่ ง แยกบทบาท • แบ่ ง แยกบทบาท ชอบการเข้าสังคม ห น ้ า ที่ ข อ ง ค น และหน้ า ที่ ข องคน
และหน้าทีข่ องคนใน และหน้ า ที่ ข องคน • ให้ความส�ำคัญกับ ในสังคมไม่ชัดเจน ใ น สั ง ค ม เ ริ่ ม ไ ม ่
สังคมอย่างชัดเจน ในสังคมยังค่อนข้าง งานอดิ เ รกหรื อ • ครอบครั ว เดี่ ย ว/ ชัดเจน
• ครอบครัวขยาย ชัดเจน ความสนใจส่ ว น นิยมบุตรน้อย • ค ร อ บ ค รั ว เ ดี่ ย ว
• ช อ บ ค ว า ม เ ป ็ น • ครอบครัวขยาย บุคคล • เน้นสะดวกสบาย/ ลูกคนเดียว
ระเบี ย บแบบแผน • ชอบลองผิดลองถูก • เริ่ ม มี ชี วิ ต สะดวก เทคโนโลยี • นิ ย มบริ โ ภคเกม
ความสมบูรณ์แบบ การผจญภั ย และ สบายมากขึ้น • อาศัยร่วมกับพ่อแม่ แ ล ะ สื่ อ โ ซ เ ชี ย ล
ความท้าทาย • เริ่ ม ใช้ เ ทคโนโลยี • สือ่ สารด้วยเทคโนโลยี มีเดีย
สารสนเทศในการ
ติดต่อสื่อสาร

ค่านิยม • อนุรักษ์นิยม เคารพ • อ นุ รั ก ษ ์ นิ ย ม กึ่ ง • ประชาธิปไตย • ประชาธิปไตย • ป ร ะ ช า ธิ ป ไ ต ย /


โดยรวม จักรพรรดิ ประชาธิปไตย • มีความเป็นปัจเจก • มีความเป็นปัจเจกสูง อนุรักษ์นิยม
• เชื่อในวิถีบุชิโดและ • ยึ ด มั่ น กั บ ค ว า ม สูง ให้ความส�ำคัญ ใส่ใจคนรอบข้างต�่ำ • ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ
ชินโต เป็นกลุ่ม กับเรื่องส่วนตัว • ความเท่าเทียมหญิง ความกลมกลืนภายใน
• ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ • แสดงความเป็นตัวตน • วัฒนธรรมโอตะกุ ชาย กลุ่มย่อย
เกียรติยศ รักษาหน้า ด้ ว ยการบริ โ ภค/ • ผูห้ ญิงเริม่ มีบทบาท • มี ร สนิ ย มทางเพศ • เลีย่ งความเสีย่ ง โลก
รังเกียจการถูกเย้ยหยัน ต่อต้าน/เน้นความ ในสังคมแต่ยังคงมี ที่หลากหลาย ส่วนตัวสูง
หรือหัวเราะเยาะ รู้สึก ค่านิยมต่อบทบาท • อายุ เ ฉลี่ ย ในการ • หมดศรัทธาต่อความ
• อดทน อดกลั้น เก็บ • โ ห ย ห า สิ่ ง ใ ห ม ่ / ห ญิ ง ช า ย แ บ บ แต่งงานและมีบุตร พยายาม
ความรู้สึก ค้นหาตัวเอง อนุ รั ก ษ์ นิ ย มหลง เพิ่มขึ้น • ความเท่าเทียมหญิง
• ยึดมั่นในกรอบของ • ภาวะโมราโทเรี่ยม เหลืออยู่ • ไม่มั่นใจในอนาคต ชาย
สั ง คมที่ เ คร่ ง ครั ด • นิ ย มเดิ น ทางต่ า ง • ความสัมพันธ์กว้าง
แบ่งแยกบทบาทหญิง ประเทศ และตื้น
ชายอย่างชัดเจน • เน้ น ความสั ม พั น ธ์ • ใช้ ชี วิ ต นอกกรอบ
แคบ/ลึกซึ้ง ไม่ มี ก ารแบ่ ง แยก
บทบาทหน้าทีช่ ดั เจน

ค่านิยมใน • ทุ่มเทให้กับงานและ • ทุ ่ ม เทให้ กั บ งาน • ให้ความส�ำคัญกับ • ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ • ให้ ค วามส� ำ คั ญ กั บ


การท�ำงาน บริษัท และบริษัท (นักรบ ชีวิตส่วนตัว ชีวิตส่วนตัว ความสุขส่วนตัว
• การว่าจ้างตลอดชีพ วิสาหกิจ) • การว่าจ้างตลอดชีพ • การว่ า จ้ า งแบบ • การว่ า จ้ า งแบบ
• ระบบเลื่อนขั้นตาม • การว่าจ้างตลอดชีพ ลู ก จ้ า งชั่ ว คราว/ ลู ก จ้ า งชั่ ว คราว/
อายุการท�ำงาน • ระบบเลื่อนขั้นตาม ฟรีแลนซ์ ฟรีแลนซ์
• ความพยายามน�ำมา อายุการท�ำงาน • ขาดความศรั ท ธา • ไม่คาดหวังต่อความ
ซึ่งความส�ำเร็จ • ความพยายามน�ำมา ต่อแนวคิดว่าความ ส�ำเร็จในหน้าทีก่ ารงาน
• ผู้ชายท�ำงานผู้หญิง ซึ่งความส�ำเร็จ พยายามน� ำ มาซึ่ ง • ผู้หญิงท�ำงานได้รับ
เป็นแม่บ้าน • ผูช้ ายท�ำงาน/ผูห้ ญิง ความส�ำเร็จ การยอมรับ
แม่บ้าน • ความกระตือรือร้นต�ำ ่
มักน้อย

100 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1


ยุคนิฮนจินรง ยุคหลังนิฮนจินรง
ยะเคะอะโตะ
(และก่อนหน้า) ดังคะอิ ชินจินรุอิ ดังคะอิจูเนียร์ ซะโตะริ
พฤติกรรม ประหยัด อดออม ให้ เน้นความเป็นตัวของ นิ ย มการบริ โ ภคและ นิ ย ม บ ริ โ ภ ค ต า ม ประหยัดอดออม และ
การบริโภค ความส�ำคัญกับคุณค่า ตั ว เอง ชอบความ แสดงตั ว ตนผ่ า นการ แฟชั่น แต่เริ่มหันมา ให้ความส�ำคัญความ
ของสิ่งของ โดดเด่นจากผู้อื่น การ บริ โ ภค นิ ย มแฟชั่ น จั บ จ่ า ยใช้ ส อยอย่ า ง คุ้มค่าของการใช้จ่าย
ใช้ เ งิ น คล่ อ งตั ว ขึ้ น และการมีเหมือนผู้อื่น ประหยัด และหันมา นิยมบริโภคสินค้าที่มี
นิยมสินค้ามียหี่ อ้ นิยม สนใจในวั ฒ นธรรม เก็บออม ความเฉพาะตั ว และ
ท่องเทีย่ วต่างประเทศ ต่างชาติ ใช้จ่ายอย่าง ตอบสนองรสนิ ย ม
ฟุ่มเฟือย ส่วนบุคคล

6. สรุปและข้อเสนอแนะ
จากการทบทวนและประมวลภาพการเปลีย่ นแปลง พฤติกรรมของชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างสูง ท�ำให้ความเป็น
ของค่านิยมและแนวความคิดของชาวญี่ปุ่นผ่านแนวคิด เอกลักษณ์ที่โดดเด่นของชาวญี่ปุ่นซึ่งเป็นที่สนใจจาก
เกี่ยวกับความแตกต่างของรุ่นประชากร (Generation) นานาชาติตั้งแต่ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้น
ตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่สองเป็นต้นมา จะเห็นได้ว่า มานั้น ค่อย ๆ เลือนหายไป ดังนั้น การท�ำความเข้าใจ
รุ ่ น ชิ น จิ น รุ อิ เป็ น รุ ่ น ที่ เ ริ่ ม ต้ น ของการเปลี่ ย นแปลง ถึงการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว และน�ำมาเปรียบเทียบ
แนวความคิด รูปแบบการด�ำเนินชีวิตของคนญี่ปุ่นใน กับความเป็นญี่ปุ่นหรือสามัญทัศน์ที่คนส่วนมากมีต่อ
ด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างไปจากรุ่นก่อนหน้านี้ และหลัง ชาวญี่ปุ่นในอดีต จึงถือว่าเป็นสิ่งส�ำคัญอย่างยิ่งในการ
จากนั้นเป็นต้นมาการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวก็เริ่มมีความ ที่จะเข้าใจสังคมญี่ปุ่นในปัจจุบันได้อย่างถ่องแท้ และยัง
ชัดเจนขึน้ เรือ่ ย ๆ จนกระทัง่ ถึงในปัจจุบนั ทัง้ นีก้ ารเข้ามา อาจน�ำไปสูห่ นทางในการดึงความเป็นมหาอ�ำนาจกลับมา
ปกครองประเทศโดยสหรัฐอเมริกา และเปลี่ยนแปลง ให้กบั ประเทศญีป่ นุ่ อีกครัง้ อย่างไรก็ดี เนือ่ งจากบทความ
จากระบอบศักดินามาสู่ระบอบประชาธิปไตย ตลอดจน ชิ้นนี้มุ่งเน้นที่การศึกษาวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ
การกลายเป็ น มหาอ� ำ นาจทางเศรษฐกิ จ จนน� ำ ไปสู ่ ค่านิยมและแนวคิดของชาวญี่ปุ่นในแต่ละรุ่นอายุ ดังนั้น
ภาวะเศรษฐกิจฟองสบู่ที่เกิดขึ้นในทศวรรษที่ 1990 การศึกษาเปรียบเทียบวิถีความเป็นญี่ปุ่นในปัจจุบันกับ
และพัฒนาการของอินเทอร์เน็ตและระบบเทคโนโลยี ความเป็นญี่ปุ่นที่เคยถูกพูดถึงในอดีต จึงเป็นประเด็น
สารสนเทศ ส่ ง ผลต่ อ รู ป แบบการด� ำ เนิ น ชี วิ ต และ ส�ำคัญที่ควรท�ำการศึกษาอย่างลึกซึ้งต่อไป

นรีนุช ดำ�รงชัย | Nareenoot Damrongchai 101


เอกสารอ้างอิง (References)
[1] Livedoor. (2014). 「団塊の世代、ゆとり世代…○○世代の特徴まとめ」 Retrieved from
http://news.livedoor.com/article/detail/9442178
[2] NHK 放送文化研究所 (NHK Broadcasting Culture Research Institute). (2008). 『現代社会と
メディア・家族・世代』 新曜社: 東京.
[3] NHK 放送文化研究所 (NHK Broadcasting Culture Research Institute). (2015). 『現代日本人
の意識構造』 NHK ブックス: 東京.
[4] 市川孝一 (Ichikawa Koichi). (2003). 「若者論の系譜―若者はどう語られたか」. 『人間科学
研究』 vol. 25, 123-130.
[5] 岡本洋一 (Okamoto Yoichi). (2011). 「戦後日本における世代形成~消費社会と世代」 『同
志社社会学研究』 vol. 15, 43-56.
[6] 岩間夏樹 (Iwama Natsuki). (1995). 『戦後若者文化の光芒』日本経済新聞社: 東京.
[7] 久我尚子 (Kuga Naoko). (2012).「消費離れの今どきの若者たち、消費牽引の鍵は」ニッセイ
基礎研究所、Retrieved from http://www.nli-research.co.jp/report/detail/id=39796?site=nli
[8] 国土交通省 (Ministry of Land, Infrastructure, Transport and Tourism). (2013).「国土交通白
書」. 東京. Retrieved from http://www.mlit.go.jp/hakusyo/mlit/h24/hakusho/h25/
[9] 小谷敏 (Kotani Satoshi). (1998). 『若者たちの変貌:世代をめぐる社会学的物語』世界思想
社: 東京.
[10] 児美川考一郎 (Komikawa Koichiro). (2013).「若者の消費行動に見る日本社会の未来形~
モーレツからビューティフルへからの平凡な日常」『AD Study』. vol. 43, 10-15.
[11] 世代特徴ガイド (Sedai Tokuchou Guide). (2014). 「しらけ世代」、 Retrieved from
http://sedainet.web.fc2.com/sirakesedai.html
[12] 田村俊則 (Tamura Toshinori). (2012)「今どきの若者の特徴と背景~ゆとり世代を戦力化す
るために~」『産業セミナー』 大阪経済大学.
[13] 中野収 (Nakano Osamu). (1986). 『現代史のなかの若者』 三省堂: 東京.
[14] 長山 靖生 (Nagayama Yasuo). (2014). 『世代の正体: なぜ日本人は世代論が好きなのか』
河出書房新社: 東京.
[15] 長浜功 (Nagahama Isao). (1970).「わが国における戦後世代論の展開と課題」『北海道大学
教育学部紀要』. vol. 17, 1-15.
[16] 舞田敏彦 (Maita Toshihiko). (2016).「団塊、団塊ジュニア、ゆとり:3世代それぞれの人
生軌跡」ニューズウィーク日本版 Retrieved from http://www.newsweekjapan.jp/stories/
world/2016/01/post-4324_1.php
[17] 宮台真司 (Miyadai Shinji). (1994). 『制服少女たちの選択』 講談社:東京.
[18] 原田曜平 (Harada Yohei). (2013). 『さとり世代 盗んだバイクで走り出さない若者たち』角川
書店: 東京.

หน่วยงานผู้แต่ง: คณะภาษาและการสื่อสาร สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์


Affiliation: Graduate School of Language and Communication, National Institute of Development Administration
Corresponding e-mail: nareenoot.damrongchai@gmail.com

102 วารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 | jsn Journal Vol.7 no.1

You might also like