สวิตช์สถิต

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 6

บทที่ 7 สวิตช์สถิต

บทที่7 สวิตช์สถิต

ไทริสเตอร์สามารถ On และ Off ทำางานเป็ นสวิตช์ได้โดยใช้เวลาในการทำางานเร็วมากเมื่อเปรียบเทียบกับสวิตช์ทางกลและอาจใช้อิเล็กทรอนิ กส์สวิตช์ชนิ ด


อื่นๆ เช่น เพาเวอร์ทรานซิสเตอร์หรือมอสเฟตได้เช่นกัน เนื่องจากสวิตช์ท่ีสร้างจากอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำาเหล่านี้ มีความเร็วในการทำางานสูงมาก ไม่มีการ
เคลื่อนที่ของหน้าสัมผัส และไม่มีการอาร์กที่หน้าสัมผัส เราจึงมักเรียกรวมกันว่า สวิตช์สถิต
การประยุกต์สวิตช์สถิตเพื่อนำาไปใช้งานอุตสาหกรรมได้หลายอย่าง เช่น วงจรตั้งเวลา วงจรป้ องกันแรงดันและกระแสเกินพิกัดหรือตำ่ากว่าพิกัด (Under and
over current and voltage detections) โดยออกแบบวงจรควบคุมสวิตช์สถิตที่สามารถตรวจจับสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงในระบบไฟฟ้ าและนำามาควบคุม
สวิตช์สถิต (Thyristor หรือ Power transistor ) ให้เปิ ด-ปิ ดเพือจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้กับโหลดได้

สวิตช์สถิตแบ่งออกได้ 2 แบบ คือ


1. วงจรสวิตช์ไฟสลับ (Ac Switch)
1.1 วงจรสวิตช์ไฟสลับแบบ 1 เฟส
1.2 วงจรสวิตช์ไฟสลับแบบ 3 เฟส
ความเร็วในการทำางานของวงจรสวิตช์ไฟสลับจะถูกจำากัดโดยความถี่ของแรงดันไฟสลับของแหล่งจ่ายและค่าเวลาหยุดนำากระแสของไทริสเตอร์และการสับ
เปลี่ยนเป็ นแบบ Line commutation
2. วงจรสวิตช์ไฟตรง (Dc Switch)
ใช้หลักการสับเปลี่ยนบังคับ (Forced commutation ) และความเร็วในการทำางานของสวิตช์ไฟตรงขึ้นอยู่กับวงจรที่ใช้การสับเปลี่ยนและพิกัดเวลาหยุดนำา
กระแสของไทริสเตอร์
วงจรสวิตช์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟส

รูปที่ 7.1 แสดงวงจรสวิตช์ไฟฟ้ าสลับใช้ไทริสเตอร์แบบ 1 เฟส

จากรูป 7.1 (a) สวิตช์ไฟสลับใช้ไทริสเตอร์ 2 ตัวต่อแบบกลับหลัง โดยต่อ T1 ให้ทำางานที่เวลา wt = และบังคับให้ T2 ทำางานที่เวลา wt = p เมื่อ T1 และ T2 ถูก
บังคับให้ทำางานที่เวลาดังกล่าว สวิตช์จะทำางานโดย T1 ทำางานในวัฏจักรบวกและ T2 ทำางานในวัฏจักรทำาให้แรงดันที่ RL เท่ากับ V (Vo = V) และ io จะร่วม
เฟสกับ Vo เนื่ องจาก RL เป็ นตัวต้านทานบริสุทธิ ์ ดังแสดงในรูป( b) ในรูป (c) รูปคลื่นของกระแสและแรงดันโหลด จะต่างเฟสกันเพราะเป็ นกรณีท่ีโหลดเป็ น
ตัวเหนี่ ยวนำากระแส io(t) จะล้าหลังแรงดันการบังคับให้T1 และ T2 ทำางานต้องบังคับในเวลาที่กระแส io(t) ผ่านจุดศูนย์คือให้ T1 ทำางานที่wt = f และ T2
ทำางานที่wt =p+ f มุมต่างเฟสระหว่าง io(t) และ Vo(t)และวงจรดังกล่าวอาจใช้ไทรแอก TR1 แทน T1 และ T2 ได้ด้ังรูป 7.2

รูปที่ 7.2 แสดงวงจรสวิตช์ไฟฟ้ ากระแสสลับที่ใช้ไทรแอก


วงจรสวิตช์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 1 เฟสสามารถปรับปรุงใหม่ได้ดังรูป 7.3 (a) โดยต่อขั่วแคโทดของ T1 และ T2 เข้าด้วยกันซึ่งทำาให้วงจรทริกเกอร์ท่ีสร้าง
สัญญาณ g1 และ g2 เพื่อกระตุ้น T1 และ T2 ออกแบบง่ายขึ้นเพราะสามารถใช้จุดแคโทดร่วมกันได้การทำางานของวงจร T1 และ D1 จะทำางานพร้อมกันที่เวลา
wt =0 และมีกระแส it1 ผ่านช่วงเวลา 0- p และ T1 และ D2 ทำางานพร้อมกันที่เวลา wt = p ซึ่งขณะนั้น T1 และ D1 จะหยุดทำางานเพราะผลของ Line
commutation และ T1 และ D2 จะนำากระแสไปเป็ นเวลา p-2p ดังแสดงในรูป 7.3(b)

รูปที่7.3 วงจรสวิตช์ไฟสลับแบบ 1 เฟส

อีกวิธีหนึ่ งที่สามารถสร้างสวิตช์ไฟกระแสสลับได้โดยใช้ไทริสเตอร์ 1 ตัวต่อร่วมกับวงจรเรียงกระแสแบบบริดจ์ 1 เฟส ดังแสดงในรูป 7.4 (a) และสร้างสัญญา


รจุดชนวนเกตของ T1 2 ชุดโดยจุดชนวนที่เวลา wt = 0 และ wt = p ในครึ่งวัฏจักร (0- p) T1. D1, D2 ทำางาน และครึ่งวัฏจักร (p-2 p) T1. D3, D4 ทำางานเกิด
รูปคลื่นแรงดัน Vo = V ตกคร่อมโหลด RL ดังรูป 7.4(b) การทำางานลักษณะนี้ เรียกว่า การสวิตช์ 2 ทาง (Bidirecttional switch)

รูปที่7.4 วงจรเรียงกระแส 1 เฟสบริดจ์และไทริสเตอร์ทำาหน้าที่เป็ นสวิตช์ไฟสลับ


วงจรสวิตช์ไฟฟ้ ากระแสสลับ 3 เฟส
โดยการใช้ไทริสเตอร์ 6 ตัว ต่อขนานกลับหลังกันจำานวน 3 ชุดแต่ละชุดต่อเข้ากับสายของแต่ละเฟส ดังในรูป 7.5(a) T1 และ T4 ต่อกับสาย A, T3 และ T6 ต่อ
กับสาย B, T2 และ T5 ต่อกับสาย C โดยมีโหลด 3 เฟสแบบสตาร์เป็ นตัวต้านทาน
รูปที่7.5 วงจรไทริสเตอร์สวิตช์ไฟสลับแบบ 3 เฟส

วงจรสวิตช์ไฟฟ้ ากระแสตรง
นิ ยมใช้งานสวิตช์ท่ีมีแหล่งจ่ายไฟตรง (Dc Switchs) โดยใช้ทรานซิสเตอร์กำาลัง,ไทริสเตอร์จีทีโอ ฯลฯ เป็ นสวิตช์ ซึ่งต้องบังคับให้สวิตช์กระแสตรง On และ Off
ได้ท่ีใช้งานง่ายที่สุดคือวงจรสวิตช์ไฟตรง 1 ขั้วที่ใช้ทรานซิสเตอร์เพราะบังคับให้ On ได้โดยจ่ายกระแสที่เบสและบังคับให้ Off โดยการหยุดจ่ายกระแสที่เบส
ดังแสดงในรูป 7.7

รูปที่7.7 วงจรสวิตช์ไฟตรง 1 ขั่วที่ใช้ทรานซิสเตอร์


รูปที่7.8 วงจรสวิตช์ไฟตรง 1 ขั่วที่ใช้ไทริสเตอร์
แต่ในกรณีท่ีต้องการกำาลังไฟฟ้ าสูงมากจ่ายให้กับโหลดควรใช้ไทริสเตอร์เป็ นสวิตช์ไฟตรง แต่การใช้ไทริสเตอร์เป็ นสวิตช์เรื่องการควบคุมให้ทำางานและการ
ควบคุมให้หยุดนำากระแสทำาได้ยากมาก จากรูป 7.8 ใช้การสับเปลี่ยนแบบพัลส์เรโซแนนซ์ โดยมี T2, T3 เป็ นตัวช่วยในการหยุดนำากระแสของ T1
สวิตช์ไฟตรงอีกแบบหนึ่ งที่นิยมใช้ คือ GTO เนื่ องจากควบคุมให้ทำางานได้ง่ายและหยุดนำากระแสได้ง่ายแต่พิกัดกระแสที่ผ่าน GTO ยังตำ่ากว่าเมื่อเทียบกับไทริ
สเตอร์

รูปที่7.9 วงจรสวิตช์ไฟตรง 1 ขั่วที่ใช้ GTO เป็ นสวิตช์


GTO นั้นควบคุมให้ On ได้โดยจ่ายพัลส์บวกให้กับเกตและบังคับให้ Off โดยการจ่ายพัลส์ลบให้กับเกตดังแสดงในรูปที่ 7.9

โซลิดสเตตรีเลย์
โซลิดสเตตรีเลย์เป็ นการนำาเอาสวิตช์สถิตไปใช้งานเพื่อควบคุมกำาลังไฟฟ้ ากระแสตรงและกระแสสลับ ใช้งานมากในงานอุตสาหกรรม เช่น ควบคุมการสตาร์
ตมอเตอร์แทนแมกเนติกคอนแทกเตอร์ ควบคุมหม้อแปลงไฟฟ้ าฯลฯ สำาหรับโซลิดสเตตรีเลย์ (SSR)แบบไฟฟ้ ากระแสตรงจะใช้ทรานซิสเตอร์เป็ นสวิตช์ โดย
รับสัญญาณควบคุมจากไฟกระแสตรงจำานวนเล็กภายนอก โดยผ่านทางหรือผ่าน Reed Relay ดังในรูป 7.10(a),(b) ลักษณะภายนอกของโซลิดสเตตรีเลย์
แบบไฟฟ้ ากระแสตรงแสดงในรูป 7.10(c)
รูปที่ 7.10 แสดงลักษณะของโซลิดสเตตรีเลย์แบบไฟตรง

สำาหรับโซลิดสเตตรีเลย์ท่ีควบคุมโหลดไฟสลับ นิ ยมใช้ไทรแอกเป็ นสวิตช์สถิต ดังในรูป 7.11(a) ใช้สัญญาณควบคุมป้ อนเข้าที่ Reed Relay และ
7.11(b) ใช้สัญญารควบคุมผ่านหม้อแปลงพัลส์และรูป 7.11(c) เป็ น Isolation แบบ Optocoupler โซลิดสเตตรีเลย์ท่ีขับโหลดไฟสลับแสดงในรูป 7.11(a) ,(b) ,
(c)
รูปที่ 7.11 โซลิดสเตตรีเลย์แบบไฟสลับ

You might also like