Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 27

Cephalometric

Prof. Dr. Wattana Mathurasai


Dr. Pipat Laohavinitkul

Cephalometrics
• Definition
Cephalo = ศีรษะ

Metric = การวัด

Cephalometrics หมายถึง การศึกษาอย่างเป็นระบบเกี่ยว


กับการวัดกะโหลกศีรษะโดยดูความสัมพันธ์ของ Specific
Reference Point เพื่อประเมิน Facial Growth and
Development รวมถึง Soft tissue profile

Historical Perspective
• 1899 Edward Angle - Classification of Malocclusion

• 1915 Vanloon - เป็นคนแรกที่นำวิธีการวัดกะโหลกศีรษะมาใช้ในทางทันตกรรม


จัดฟัน

• 1922 Paccini - มีการกำหนดจุดลงบนภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะได้แก่


Go,Pog,Na and ANS

•  1922 Paul Simon - ให้แนวความคิดในการ Diagnosis Dental Deformities โดยใช้


Plane และ Angle

• 1923 Charles Mcowen - มีการนำภาพ lateral ceph มาใช้ในทาง Ortho

• 1931 Broadbent - แนะนำเทคนิคการถ่ายภาพรังสีกะโหลกศีรษะให้มีมาตรฐานเพื่อ


ใช้ในการศึกษาการเจริญเติบโตของโครงสร้างใบหน้า โดยใช้เครื่องมือที่มีกำลังมากขึ้น
และประดิษฐ์เครื่องยึดกะโหลกศีรษะให้อยู่ในตำแหน่งเดิมสามารถนำมาเปรียบเทียบกันได้
Type of Cephalogram
• ภาพถ่ายกะโหลกศีรษะแบ่งได้ 2 แบบ

1. Lateral Cephalogram ภาพถ่ายรังสีกะโหลก


ศีรษะด้านข้าง

2. Frontal Cephalogram เป็นภาพถ่ายรังสีกะโหลก


ศีรษะในแนว Postero-Anterior จะให้ภาพ Structure
บริเวณด้านหน้าของกะโหลกศีรษะชัดมากกว่าด้าน
หลังเพราะ Structure ด้านหน้าอยู่ใกล้ Film
มากกว่า

Frontal Cephalogram Lateral Cephalogram

Technical Aspect
• ส่วนประกอบหลักในการถ่ายภาพ Lateral Cephalogram

มี 3 ส่วน คือ

1. X-ray Apparatus
เครื่องฉายรังสี ประกอบด้วย X-ray
Tube, Transformers ,
Colimators ,Filters และ Coolant
System
High Voltage 60-90 kvp
Generating Capability 100 mA
Technical Aspect

2. Image Receptor System


Image Receptor System เป็นรับรังสีหลังจากรังสี
ผ่านวัตถุมาแล้วทำให้เกิดภาพขึ้นประกอบด้วย Extra
Oral Film , Intensifying Screen ,Cassette , Grid , Soft
tissue shield

Technical Aspect

3. Cephalostat or Headholder
Cephalostat เป็นเครื่องมือยึดกะโหลกศีรษะให้อยู่กับที่และ
อยู่ในตำแหน่งเดิมทุกครั้งสมารถนำมาเปรียบเทียบกันได้ แรก
เริ่มที่แนะนำโดย Broadbent จะยึดตำแหน่งศีรษะโดยให้
Frankfort Horizontal Plane ขนานกับพื้น ประกอบด้วย Ear
rod , Infra orbital Pointer , Nasion Rest
*** แต่ปัจจุบันถ่ายภาพรังสีโดยใช้ Natural Head Position แล้ว ***

Cephalostat

ระยะจาก X-ray Source ถึง Midsagital Plane = 60 inch (152.4 cm)


ระยะจาก Midsagital Plane ถึง Film = 6 inch (15 cm)
X-ray Source

แนวรังสีผ่านระดับ สายตา
แนวรังสีผ่านกึ่งกลาง รูหู

FHP Vs NHP
• เหตผลที่เปลี่ยนจากตำแหน่งศีรษะที่ให้ FHP ขนานพื้น มาใช้
Natural Head Position แทนเนื่องจาก

1. ในบางคน มี Variation มาก FHP ต่างจาก True

Horizontal Line ทำมุมต่างกันเกิน 10 องศา

2. Landmark ที่จะระบุ FHP ซึ่งคือ Porion , Orbitale

หาได้ลำบากในภาพถ่ายรังสี

Natural Head Position


• Broca ได้ให้นิยามไว้ในปี 1861 “ เมื่อให้คนไข้ยืนตรงและมองไปที่
ไกลๆโดยให้ระดับสายตาขนานกับแนว True Horizontal Line จะเรียก
ตำแหน่งศีรษะขณะนั้นว่า Natural Head Position”

• วิธีการที่ง่ายที่สุดที่จะทำให้ได้ภาพถ่ายรังสีกะโหลกศีรษะด้านข้าง
ในตำแหน่ง NHP คือจัดให้คนไข้นั่งตัวตรงและให้คนไข้มองไปไกลๆ
Focus ที่จุดที่อยู่ในระดับสายตาเพื่อให้ ระดับศีรษะถูกกำหนดโดย Internal
Physiological Mechanism

• การถ่ายภาพรังสีในตำแหน่ง NHP นั้น Ear rod ไม่ได้ใช้เพื่อยึด


ศีรษะให้นิ่งอยู่กับที่แต่ใช้เพื่อบังคับให้แนว Midsagital Plane ขนานกับ
Film
Choice of Horizontal
Reference Line
• Frankfort Horizontal Plane - จากการประชุมนานาชาติของ
Anatomist และ Physical Anthropologist ที่จัดขึ้นที่เมือง
Frankfort ,Germany ในปี 1882 กำหนดว่า เส้น Frankfort horizontal
plane( Po-Or ) เป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของ Natural Orientation ของ Skull

• True Horizontal Plane - จะใช้ True Horizontal Plane เป็น


Reference Plane ได้ก็ต่อเมื่อถ่ายภาพรังสีในตำแหน่ง NHP เท่านั้น

• SN Line - ปกติแล้ว SN Line จะทำมุมต่างกับ Frankfort Horizontal


Plane ประมาณ 6-7 องศา ถ้าทำมุมต่างกันเกินนี้ SN line จะน่าเชื่อถือ
มากกว่า

Cephalometric Analysis
• Cephalometric Analysis ถูกใช้เพื่อประเมินแสดงและทำนายความ
สัมพันธ์ในทุกระนาบของ Soft Tissue , Craniofacial and Dentofacial
Complexที่เวลาใดเวลาหนึ่งหรือคนละช่วงเวลากัน

• Cephalometric Analysis แบ่งตามวัตถุประสงค์ได้ 2 แบบ

1. Objective Evaluation เป็นการประเมินดูปริมาณความ


สัมพันธ์ในระนาบต่างๆโดยการวัดค่ามุมและความยาว

2. Subjective Evaluation เป็นการประเมินดูการเปลี่ยนแปลงที่


เกิดขึ้นกับความสัมพันธ์ในระนาบต่างๆโดยสังเกตจาก Anatomical
Landmark ภายในคนไข้คนเดียวกันแต่ต่างช่วงเวลา

Application in Orthodontics

• Cephalometric Analysis ถูกใช้ใน 3 ส่วนหลักๆคือ

1. Morphologic Analysis เป็นการปรเมินความสัมพันธ์ทั้งในแนว


Sagital และ Vertical ของ Dentition , Skelletal และ Soft tissue profile

2. Growth Analysis เป็นการนำภาพ Cephalogram ตั้งแต่ 2 ภาพขึ้นไป


ที่ถ่ายในช่วงเวลาที่ต่างกัน มาเปรียบเทียบดูการเปลี่ยนแปลง

3. Treatment Analysis เป็นการเปรียบเทียบดูการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น


ก่อนการรักษาและหลังการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน
Goal of Cephalometric
Analysis
• เพื่อประเมินความสัมพันธ์ ทั้งในแนว Horizontal และ
Vertical ของ Five Major Component of Face ได้แก่
1. The Cranium & Cranial Base
2. The Skeletal Maxilla
3. The Maxillary dentition and alveolar process
4. The Mandibular dentition and alveolar process
5. The Skeletal Mandible

Five Major Component of Face

The Cranium & Cranial Base

The Skeletal Maxilla

The Maxillary dentition and


alveolar process
The Mandibular dentition and
alveolar process

The Skeletal Mandible

ข้อควรระวังในการใช้
Cephalometrics

• มันให้ภาพที่เป็นมุมมอง 2 มิติ ของวัตถุที่เป็น 3 มิติ

• ความน่าเชื่อถือของ Cephalometrics ไม่ได้มีความ


แม่นยำ 100% เพราะมันมี Error ที่เกิดจากการ
identify landmarks และ การทำ Tracing ได้อยู่
Tracing of Cephalogram
• ก่อนการทำ Tracing จะต้องมีความรู้เรื่อง Gross Anatomy เป็นอย่างดี
ก่อน

• ถ้าส่วนใดที่เป็น Bilateral Structure แล้วมันมี 2 เส้นไม่ทับกันให้เราใช้


เส้นกึ่งกลางระหว่าง 2 เส้นนั้นแล้ววาดเป็นเส้นเฉลี่ยขึ้นมา

Tracing Supplies and


Equipments
• Lateral Cephalogram
• กระดาษ Tracing ( Acetate Paper หนา 0.003 นิ้ว,ขนาด 8*10
นิ้ว )

• ดินสอ , ยางลบ , ไม้บรรทัด , ที่วัดมุม ,วงเวียน

• Template รูปฟัน,ear rod

• เทปกาว

• Veiw Box

General Consideration for


Tracing
• การทำ Tracing จะหันหน้าคนไข้บน Film ไปทางขวามือเสมอ

• ควรทำจุดอ้างอิงเป็นเครื่องหมาย + บน Film 3 จุด โดยทำบริเวณ


กะโหลก 2 จุด กระดูกคอ 1 จุด เพื่อเวลากระดาษ Tracing เคลื่อน จะได้ใส่
กลับที่เดิมได้

• แปะกระดาษ Tracing ทับลงบน Film โดยเอาด้านมันลงหันด้านที่เขียนได้


ขึ้นบน

• วาดเครื่องหมาย + บนกระดาษ Tracing ทับบน Film ทั้ง 3 จุดทำเป็น


Reference Point

• เริ่ม Tracing โดยวาดให้เส้นต่อเนื่องนำ้หนักเส้นเท่าๆกันตลอด


General Consideration for
Tracing
การทำ Reference Point บน Film

Lateral
Cephalogram

Cephalometric Landmarks

• Cephalometric Landmarks เป็นจุดที่ถูกใช้เป็น Guide ใน


การวัด หรือ ใช้ในการสร้าง Plane สามารถแบ่งได้ 2 ชนิด

Anatomic Landmarks เป็น landmark ที่มีอยู่บน Skull จริงๆ


ไม่ได้พบได้เฉพาะใน Film

Constructed Landmarks เป็น landmark ที่สมมุติขึ้นมาบน ภาพถ่ายรังสี


ไม่ได้อยู่บน Skull จริงๆ พบได้ใน film เท่านั้น
Anatomic Landmarks

Constructed Landmarks
S

Ptm
Ar

Criteria for landmark


Selection
• Landmark ควรจะต้องเห็นได้ชัดบน Film สามารถหาได้
ง่าย ขอบเขตชัดสม่ำเสมอ สามารถวาดซำ้ได้

• Line หรือ Plane จะต้องมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญ


กับ Vector of Growth in specific area

• Landmark ควรจะต้องทำให้สามารถวัดค่าเชิงปริมาณ
ของเส้นและมุมต่างๆที่ออกมาจากจุด landmark ได้
Criteria for landmark
Selection

• การวัดจุดหรือค่าต่างๆควรมีความสัมพันธ์อย่างมี
นัยสำคัญกับข้องมูลที่เราต้องการค้นหา
• การวัดค่าต่างๆต้องสามารถนำมาวิเคราะห์ทางสถิติ
ได้ แต่ไม่ต้องถึงกับที่ต้องใช้วิธีพิเศษทางสถิติใดๆ
ในการวิเคราะห์ข้อมูล

Major Cephalometric
Landmarks

Ro

Cl
Te

Pt

Kr

Unilateral Landmarks
• Nasion(Na) - เป็นจุดที่อยู่หน้าสุดในแนวกลางใบหน้า
อยู่ระหว่าง Frontal Bone และ Nasal Bone บริเวณ Fronto
Nasal Suture

Na
Na
Unilateral Landmarks
• Anterior Nasal Spine(ANS) - Tip of The sharp bony
process of The Maxilla in the midline

ANS

Unilateral Landmarks
• Prosthion( Pr,Superior Prosthion , Supradentale )
- เป็นจุดที่อยู่ตำ่สุดและหน้าสุดในแนวกลาง ของ Maxillary
Alveolar Process อยู่ระหว่างฟัน Upper Central Incisor

Pr

Unilateral Landmarks
• Subspinale ( Point A ) - เป็นจุดที่เว้าลึกที่สุดในแนว
กลางอยู่ระหว่าง ANS และ Alveolar Crest , อยู่ระหว่างฟัน
Upper Central Incisor 2 ซี่

Tip - จุด A มักจะอยู่บริเวณระดับปลายรากฟันหน้าบน


Unilateral Landmarks
• Upper Central Incisor Tip ( Ui ) - จุดปลายฟันหน้า
บน

Ui

Unilateral Landmarks
• Lower Central Incisor Tip ( Li ) - จุดปลายฟันหน้า
ล่าง

Li

Unilateral Landmarks
• Infradentale ( Id ) - จุดสูงสุดและหน้าสุดของ Lower
Alveolar Bone ในแนวกลาง ระหว่าง Lower Central
Incisor 2 ซี่

Id
Unilateral Landmarks
• Supramentale ( Point B ) - จุดที่ลึกที่สุดในแนวกลาง
อยู่ระหว่าง Alveolar Crest กับ Metal Process

Tip - จุด B มักจะอยู่บริเวณระดับปลายรากฟันหน้าล่าง

Unilateral Landmarks
• Pogonion ( Pog ) - จุดหน้าสุดในแนวกลางบริเวณ
Symphysis

Pog

Unilateral Landmarks
• Menton ( Me ) - จุดตำ่สุด ในแนวกลาง บริเวณ
Symphysis

Me
Unilateral Landmarks
• Gnathion ( Gn ) - จุดหน้าสุดและตำ่สุดบริเวณ
Symphysis ของคาง

Gn

Tips หาได้จากลากเส้นแบ่งครึ่งมุมที่เกิดจาก Mandibular Plane กับ


Facial Plane จุดที่เส้นแบ่งครึ่งมุมนี้ตัดกับ Symphysis คือจุด Gn

วิธีการหาจุด Gnathion
Tips หาได้จากลากเส้นแบ่งครึ่งมุมที่เกิดจาก Mandibular Plane กับ
Facial Plane จุดที่เส้นแบ่งครึ่งมุมนี้ตัดกับ Symphysis คือจุด Gn

Unilateral Landmarks
• Basion ( Ba ) - จุดกึ่งกลาง บนขอบด้านหน้าของ Foramen
Magnum

Ba
Ba
วิธีการหา Basion

Ba
แนว Palatal Plane

Odontoid Process(C2)

Tips - จุด Basion จะชี้ตรงกับ จุดยอดของ Odontoid Process (C2)


และมีระนาบ Palatal Plane พาดกลาง

Unilateral Landmarks
• Posterior Nasal Spine ( PNS ) - The most posterior
point in the bony hard palate in the sagittal plane Marks
the distal limit of Maxilla

PNS

Tips - เมื่อลากเส้นตรงแนวดิ่งจาก Pterygomaxillary Fissure


มันจะตรงกับแนว Ascending ramus ลากลงมาจะมาเจอจุด PNS

Unilateral Landmarks
• Glabella ( G ) - จุดที่นูนที่สุดของ Forehead ในระนาบ
Mid-sagital Plane
Unilateral Landmarks
• Subnasale ( Sn ) - เป็นจุดที่ขอบล่างสุดของจมูก บรรจบ
กับ ขอบนอกสุดของ Upper Lip

Bilateral Landmarks
• Orbitale ( Or ) - จุดตำ่สุดบน the inferior bony margin
of the orbit

Or

วิธีการหา Orbitale
Tips - Or มันจะสัผัสกับ Zygomatic Process
Bilateral Landmarks
• Gonion ( Go ) - จุดที่อยู่หลังสุดและตำ่สุดบริเวณมุมขา
กรรไกรล่าง

Go

วิธีการหา Gonion
• Tips - ลากเส้นแบ่งครึ่งมุมที่เกิดจาก เส้นสัมผัสขอบหลังของ Ramus ทำกับ เส้น
สัมผัสขอบล่างของ Mandible จุดที่เส้นแบ่งครึ่งมุมนี้ตัดกับ มุมขากรรไกรล่าง คือ จุด
Go

Bilateral Landmarks
• Condylion ( Co ) - The most Superior Point บนหัว
Condyle

Co
Bilateral Landmarks
• Articulare ( Ar ) - จุดตัดระหว่าง Inferior border of
Cranial Base กับ Posterior Border of Ramus

Ar

Bilateral Landmarks
• Pterygomaxillary Point ( Ptm ) - เป็นจุดตัดของ
inferior border of foramen rotundum กับ Posterior wall
of Pterygomaxillary fissure

Ptm

Note มันมีลักษณะเป็นเงาดำรูปหยดนำ้ใน Film X-ray


เป็น Bilateral Landmark

Bilateral Landmarks
• PT Point -Point at junction between Ptm and foramen
rotundum (at 11 o'clock from Ptm)

PT
Unilateral Landmarks
• Sella ( S ) - จุดกึ่งกลางของ Sella Turcica

• Sella Posterior ( Sp ) - จุดสัมผัสขอบด้านหลังสุดของ Sella Turcica

• Sella Inferior ( Si ) - จุดสัมผัสขอบด้านล่างสุดของ Sella Turcica

Sp

Si

Note Sella Turcica เป็นที่อยู่ของต่อม Pituitary Gland

Bilateral Landmarks
• Porion ( Po ) - The Highest bony point on the upper
margin of The external ordinary meatus

Po

วิธีการหา Porion
1. ลากเส้นเชื่อม จุด Clinoidale(Cl) กับ Roof of Orbit(RO)
เส้นนี้เรียกว่า Supraorbital Plane

2. ลากเส้นเชื่อม จุด Orbitale(Or) กับ จุด Sella Inferior (Si)


เส้นนี้เรียกว่า Infraorbital Plane

3. ลากเส้นแบ่งครึ่งมุมที่เกิดจาก Supraorbital Plane กับ


Infraorbital Plane เรียก เส้นนี้ว่า Optic Plane

4. Frankfort Horizontal Plane ( Po-Or ) จะขนานกับOptic


Plane และอยู่ตำ่กว่า Optic Plane นี้ประมาณ 2 cm
วิธีการหา Porion

4. Frankfort Horizontal Plane ( Po-Or ) จะขนาน


1. ลากเส้นเชื่อม
3.
2.5.ลากเส้นแบ่งครึ่งมุมที่เกิดจาก
ลากเส้นเชื่อม
จุด Po จะอยู่บนเส้น
จุด Clinoidale(Cl)
จุด Orbitale(Or)
Frankfortกับ Horizontal
กับ
RoofจุดofSella
Supraorbital Orbit(RO)
Plane
Inferior
กับOptic Plane และอยู่ตำ่กว่า Optic Plane นี้ประมาณ 2
เส้นนี้เรียกว่า
กับ
(Si)
Planeเส้นนี้เรียกว่า
Infraorbital
Supraorbital
Plane เรียก เส้นนี้ว่า
Infraorbital
Plane Plane Optic Plane
cm

Bilateral Landmarks
• Bolton Point ( Bo ) - The highest point at the posterior
condylar notch of the occipital bone

Bo

Bilateral Landmarks
• Key Ridge ( Kr ) - The lowest most point on the
contour of the anterior wall of the infratemporal fossa

Kr

Note ตำแหน่งของ Key Ridge จะตรงกับ Mesio Buccal Root ของฟัน Upper First Molar
Bilateral Landmarks
• Clinoidale ( Cl ) - The most superior point on the
contour of Anterior Clinoid

Cl

Bilateral Landmarks
• Roof of Orbit ( Ro ) - roof of orbital cavity is formed
by the bone between the anterior cranial fossa above and
the orbital cavity below

Ro

Bilateral Landmarks
• Temporale ( Te ) - Temporale is the intersection of the
shadow of ethmoid and the anterior wall of the infra -
temporal fossa

Te
Example

Lines and Plane in


Cephalometric

• Cephalometric มีการใช้เส้นและplane ที่แน่นอน


เส้นเหล่านี้ได้มาจากการลากเส้นเชื่อมจุด
Cephalometric landmark ตั้งแต่ 2 จุดขึ้นไป
• Line และ Plane ที่ใช้ใน Cephalometric สามารถร
จำแนกตามการวางตัวได้ 2 แนวคือ Horizontal และ
Vertical

Horizontal Planes
• SN Plane - เป็น Cranial line ระหว่าง Center of Sella
Tursica กับ จุด Nation

• SN Plane - เป็น ตัวแทนของ Anterior Cranial Base


Horizontal Planes
• Frankfort Horizontal Plane - เส้นที่ลากเชื่อม
ระหว่างจุด Porion กับ Orbitale

SN line กับ FHP จะทำมุมกันประมาณ 6-7 องศา

Horizontal Planes
• Occlusal Plane - มี 3 แบบ

1. Bisecting Occlusal Plane - เส้นที่ลากจาก จุดกึ่งกลางจุดสบ


บริเวณ First Molar ไปยัง จุดกึ่งกลาง Over jet และ Over Bite บริเวณฟัน
หน้า

2. Functional Occlusal Plane - เส้นที่ลากผ่านจุดกึ่งกลางจุดสบ


ของฟัน premolar และ first molar

3. Upper Occlusal Plane - เส้นที่ลากจาก ยอด Cusp Upper


firstmolar ไปยัง ปลายฟัน Upper Central Incisor

Occlusal Plane

Bisecting Occlusal Plane


Occlusal Plane

Functional Occlusal Plane

Occlusal Plane

Upper Occlusal Plane

Horizontal Planes
• Mandibular Plane - มี Mandibular Plane หลายแบบที่ถูกใช้ ใน Cephalometrics
Analysis ขึ้นกับว่าใช้ใน Analysis ของใคร Most Common used ได้แก่

1. เส้นสัมผัสขอบล่างของ Mandible

ถูกใช้ใน Tweed’s Analysis

2. เส้นเชื่อมระหว่าง Gonion(Go) กับMention(Me)

ถูกใช้ใน Sassouni’s Analysis , Ricketts’ Analysis , Down’s Analysis

3 . เส้นเชื่อมระหว่าง Gonion (Go) กับ Gnathion (Gn)

ถูกใช้ใน Steiner’s Analysis


Horizontal Planes
• Palatal Plane - เส้นเชื่อมระหว่างจุด ANS กับ จุด PNS

Horizontal Planes
• Basion-Nasion - เป็นเส้นที่ลากเชื่อมระหว่าง จุด Ba กับ
จุด Na

Ba-Na Plane เป็นตัวแทนของ Cranial Base

Vertical Planes
• A-Po Line - เป็นเส้นที่ลากจาก จุด A บน Maxilla ไปยัง
จุด Pog บน Mandible
Vertical Planes
• Facial Plane - เส้นที่ลากเชื่อมระหว่าง จุด Na กับ จุด
Pog

Vertical Planes
• Bolton’s Plane - เส้นที่ลากเชื่อมระหว่าง จุด Bolton’s
point กับ จุด Na

Vertical Planes
• Facial Axis - เส้นที่ลากเชื่อมระหว่างจุด PT point กับ จุด
Gn
Vertical Planes
• Esthetic Plane( E Plane ) - เส้นที่ลากเชื่อมระหว่าง
ปลายจมูก กับ ปลายคาง

Cephalometric Analysis
• Down’s Analysis ( 1948 )
• Bjork Analysis
• Steiner Analysis ( 1953 )
• Tweed’s Analysis ( 1954 )
• Sassouni Analysis ( 1955 )
• Harvold Analysis ( 1974 )
• Wits Analysis ( 1975 )
• Ricketts Analysis ( 1979 )
• McNamara Analysis ( 1983 )
• Counterpart Analysis
• Template Analysis
• Jarabak Analysis ( 1972 )

Cephalometric Analysis

• Sassouni Analysis ( 1955 )


• Steiner Analysis ( 1953 )
• Tweed’s Analysis ( 1954 )
• Bjork Analysis
• Ricketts Analysis ( 1979 )

You might also like