Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

โดย ครูนิก ติวเขม สอบครูผู้ช่วย by ครูนิก

ครูนิก ติวเข้ม

สรุป
ก าร ศ ก
ึ ษ า
วิช า
ับราชการ
ตอ
 งไดร
ฉ น

สานฝน

สงวนลิขสิทธิ์ 199.
วิชาการศึกษา

1.หลักสูตร และการพัฒนาหลักสูตร
2.หลักการสอนที่เน้นการสอนวิเคราะห์ และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้
เรียนเป็นสําคัญ
3.จิตวิทยาการศึกษา และการแนะแนว
4.การพัฒนาผู้เรียน
5.การบริหารจัดการชั้นเรียน
6.การวิจัยทางการศึกษา
7.สื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา
8.การวัด และประเมินผล
9.ลักษณะงานที่ปฏิบัติตามตําแหน่ง
➖ ➖ ➖

หลักการศึกษา
1.ความหมาย
พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ กระบวนการเรียนรู้เพื่อความเจริญงอกงาม
พจนานุกรม การเล่าเรียน ฝึกฝน และอบรม
จอห์น ดิวอี้ การศึกษาคือชีวิต ไม่ใช่เตรียมตัวเพื่อชีวิต
ความเจริญงอกงาม
กระบวนการทางสังคม
สร้างประสบการณ์ชีวิต
ชุ้ลซ์ (Shultz) การศึกษาเป็นการลงทุน

2.หลักในการจัดการศึกษา (พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 2542)

l
ม.6 (มุ่ง) มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ คุณธรรม

ม.7 มุ่ง ปลูกจิตสํานึกการเมือง ระบบประชาธิปไตย king ประมุข

ม.8 ยึดหลัก ตลอด /ร่วม /ต่อ


ประชาชน /สังคม /สาระ
ม.9 จัดระบบโครงสร้าง ยึดหลัก เอก +กระจาย +มาตร +ครู +ทรัพย์ +ร่วม

ม.15 มี 3 รูปแบบ ใน (แน่นอน) + นอก (ยืดหยุ่น) + อัธ (สนใจ)

ม.16 มี 2 ระดับ ~ 1. ขั้นพื้นฐาน (ไม่น้อยกว่า 12 ปี)


ก่อน + ถม + ยม
2.1 ระดับตํ่ากว่าปริญญา
2. อุดมศึกษา (2 ระดับ)
2.2 ระดับปริญญา

2.หลักในการจัดการศึกษา (พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ 2542) (ต่อ)


ม.22 ** ยึดหลัก ~ ผู้เรียนทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด

ม.24 การจัดกระบวนการเรียนรู้ (เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ)


1.เนื้อหา/สาระ สอดคล้องความสนใจ/ถนัดของผู้เรียน โดยคํานึง ความแตกต่างระหว่าบุคคล
2.การเผชิญสถานการณ์
3.ประสบการณ์จริง
4.ผสมผสานความรู้ด้านๆ สมดุล ปลูกฝังค่านิยมที่ดี
5.จัดสภาพแวดล้อม สื่อ อํานวยความสะดวกแก่ผู้เรียน
6.จัดการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้ทุกเวลาทุกสถานที่
ม.27 กพฐ. กําหนด + เห็นชอบ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

สาระ ~ สถาน ม.23 การจัดการศึกษาเน้น 3 รูปแบบ

ถิ่น ~ เขต K+P+A


กรอบ ~ เขต
ปรัชญาแนวคิดทฤษฎีการศึกษา
ปรัชญา คือ Philsophy love of wisdom
ความรักในปัญญา , ความรักในความรู้ , ความรักในวิชาการ

ปรัชญาทางการศึกษา กําหนดทิศทาง
/ เป้าหมายทางการศึกษา
สารัตถนิยม หลักสูตร ~ ตายตัว [จินดามณี] สมัยอยุธยา
(วิลเลี่ยม ซี แบคเลย์)
• อนุรักษ์วัฒนธรรมและความเชื่อสังคม
• ครู(เป็นศูนย์กลาง เน้นบรรยาย [ อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น ]

นิรันตรนิยม หลักสูตร ~ เลิศทางวิชาการ :: บรรยาย


(โรเบิร์ด เอ็ม ฮัชชิน)

• เน้นเหตุผล และสติปัญญา ความเป็นเลิศทางวิชาการ

พิพัฒนาการนิยม / ประสบการณ์นิยม John Dewey

• สอนให้ผู้เรียนรู้จักคิดแก้ปัญหา (ลงมือปฏิบัติจริง)
• เน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ดูพัฒนาการเด็กรายบุคคล
• โครงการ เน้นเรื่องใกล้ตัว ไม่เน้นการทําซํ้า
• ชีวิตประจําวัน ส่งเสริมประชาธิปไตย

บูรณาการนิยม / ปฏิรูปนิยม ** หลักสูตรแกนกลาง 51 (โอดอร์บราเมลด์)

• การมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาสังคมและวิธีการทางประชาธิปไตย

อัตถิภาวนิยม เสรีภาพ Ex. เรียกในสิ่งที่เลือกเอง


(เซอเรน โอเบีย เคียร์ เดอกอร์)
• เด็กกล้าคิด กล้าตัดสินใจด้วยตนเอง (ผู้เรียนสําคัญที่สุด)

พุทธปรัชญา ดร. สาโรช บัวศรี


• วิธีแห่งปรัชญา อริยสัจ 4 / บัว 4 เหล่า
**สาเหตุแห่งความทุกข์ ตัณหา
แนวคิด ทฤษฎีทางการศึกษา

1. John Dewey :: Learning by doing ทางบวก


2. B.F. Skinner :: เรียนรู้แบบการกระทํา,เสริมแรง ทางลบ
3. Rousseau (รุสโซ) :: เด็กเปรียบเสมือนผ้าขาว (เข้าใจธรรมชาติเด็ก)
4. Thondike :: ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยง,ลองผิดลองถูก(connecting)
เน้นสิ่งเร้า (stimulus) การตอบสนอง (response)
กฎแห่งการเรียนรู้ 1. ฝึกหัด/ทําซํ้า (Exercise / Repetition)
2. กฎแห่งผล (Law of Effect)
3. กฎแห่งความพร้อม (Readiness)
5. Froebel :: บิดาอนุบาลศึกษา (หลักสูตรเด็กปฐมวัย) ~ หน้าที่ครู =การจัดสิ่งแวดล้อมรอบตัวเด็ก
6. Pestalozzi :: การศึกษาธรรมชาติ ===> เด็กเรียนรู้แตกต่างกัน
7. Marian :: การศึกษาทางด้านสัมผัส
8. Bloom :: จําแนกตามความยาวง่าย (Thxonomy) รวมเป็นสิ่งใหม่
1.พุทธพิสัย ===> จํา ใจ ใช้ วิ สัง ประ
2.จิตพิสัย
3.ทักษะพิสัย
9. Gange :: ออกแบบบทเรียน computer
10. Piaget (เพียเจต์) :: พัฒนาการเชาว์ปัญญา 4 ขั้น

1. 0-2 ปี 2. 2-7 ปี 3. 7-11 ปี 4. 12 ปี ขึ้นไป


ประสาทสัมผัส เตรียมความคิด มีเหตุผล มีเหตุผล
และกล้ามเนื้อ คิดก่อนปฏิบัติการ รูปธรรม นามธรรม
11. Bruner :: ลงมือปฏิบัติ สร้างองค์ความรู้เอง โดยมีพื้นฐานจากประสบการณ์ / ความรู้เดิม
12. Bandura :: การสังเกต / เลียนแบบ
13. Her bart :: หลักการสอน 5 ประการ
(เตรียมการ + สอน + สัมพันธ์ + สรุป + นําไปใช้ )

ประวัติความเป็นมาและระบบจัดการศึกษาไทย

หนังสือเล่มแรก :: ไตรภูมิพระร่วง (สุโขทัย)


แบบเรียนเล่มแรก :: จินดามณี (อยุธยา) อ่าน เขียน เลข

กรุงรัตนโกสินทร์

ร.1 ยอดฟ้า = มีการแต่งรามเกียรติ


ร.2 เลิศหล้า = ตั้งโรงทานหลวง (ในราชวัง) ให้การศึกษา
ร.3 นั่งเกล้า = ประถม ก กา และประถมมาลา
ร.4 จอมเกล้า = วิชาชีพ วิชาสามัญ วิทยาศาสตร์
ร.5 จุลจอม = โรงเรียนแห่งแรก = โรงเรียนตําหนักสวนกุหลาบ
= โรงเรียนหลวงสําหรับราษฎร = โรงเรียนมหรรณพาราม
ร.6 มงกุฏ = ประกาศ พรบ.การศึกษา
ร.7 ปกเกล้า = ประกาศใช้แผนการศึกษาแห่งชาติ
หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร

มวลประสบการณ์ความรู้ต่างๆ ที่จัดให้ผู้เรียนทั้งในและนอกห้องเรียน

เปรียบเสมือน เข็มทิศที่ใช้ในการจัดการศึกษา

องค์ประกอบ 4 องค์

1. ความมุ่งหมาย 2. เนื้อหาวิชา
3. การนําหลักสูตรไปใช้ 3. การประเมินผล
(การสอนเป็นหัวใจของการนําหลักสูตรไปใช้)

8 ประเภท * แกนกลาง = ตอบสนองความต้องการ / ความสนใจของผู้เรียน


** หลักสูตรที่ดี = คล่องตัว ยืดหยุ่น ปรับปรุง

(สาเหตุ)
การพัฒนาหลักสูตร
1.ปรัชญาการศึกษา 2.จิตวิทยา 3.สังคมและวัฒนธรรม
4.เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง 5.วิทยาการและเทคโนโลยี
"
หลักสูตรมี 4 ระดับ ==> ชาติ + ถิ่น + ถาน + ชั้น -

. .

หลักมีไว้อิง หลักสูตรนําไปสู่การปฎิบัติ
ที่วัดแสงสะท้อน ~ออกแบบหน่วยการเรียนรู้
หลักสูตรแกนกลาง 2551

สพฐ.กําหนด
เงื่อนไขเวลา
โครงสร้าง
เกณฑ์การวัด ปี พ.ศ. รร.ทั่วไป ปี พ.ศ.
สาระเรียนรู้แกนกลาง 2553 ป.1-6, ม.1, ม.4 2561
มาตรฐานการเรียนรู้ 2554 ป.1-6, ม.2, ม.5 2562
2555 ทุกชั้นเรียน 2563
เดิม ปรับปรุง

กําหนด+เห็นชอบ = กพฐ.
ประกาศใช้ = ศธ.
ลงนามประกาศใช้ = รมต.ศธ. (ลงนามเห็นชอบ)
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลง แก้ไข ยกเลิก = เลขาธิการ กพฐ.
จดีทํา = สพฐ.
** ปรับปรุงล่าสุด คําสั่ง 921/2561 (3 พฤษภาคม 2561)

วิสัยทัศน์

มนุษย์มีความสมดุลย์ ทุกคนสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ


โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
เขต ==> กําหนดกรอบสาระของหลักสูตรท้องถิ่น
โรงเรียน ==> จัดทําหลักสูตรสถานศึกษาหรือหลักสูตรโรงเรียน
หลักการ 6 ข้อ ใช้กับคนหลายคน)
โครงสร้าง เน้น ใน+นอก+อัธ
เอก + ชน + กระจาย + ยืดหยุ่น + ต่อผู้เรียน + ทุกกลุ่ม
ภาพของชาติ ปวงชน อํานาจ เป็นสําคัญ

มุ่งพัฒนาผู้เรียนเป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการ


จุดหมาย 5 ข้อ
ศึกษาต่อและประกอบอาชีพ (คนเดียวทําได้)
ความรู้ กายภาพ+จิต ประชาธิปไตย

คุณ + รู้ + สุข + จิต + รักชาติ สํานึกอนุรักษ์


ธรรม จริยธรรม
วัฒนธรรม+ภูมิปัญญา
ค่านิยม

สมรรถนะ 5 ข้อ ข้อ 2 ของจุดหมาย)

สื่อ + คิด + แก้ + ทัก + เทค


สาร ปัญหา ทักษะชีวิต โนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ข้อ สถานศึกษาเพิ่มเติมสอดคล้องบริบท/จุดเน้นตนเอง


ชาติ ==> รักชาติ ศาสนา กษัตริย์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันเพิ่งประสงค์
ซื่อ ==> ซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับพี่อื่นในสังคม ได้อย่างมี
นัย ==> มีวินัย ความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก
ใฝ่ ==> ใฝ่เรียนรู้ ป.4-6
เพียง ==> อยู่อย่างพอเพียง ม.1-3
ของหลักสูตร
งาน ==> มุ่งมั่นในการทํางาน ม.4-6
รัก ==> รักความเป็นไทย ^^หน่วยการเรียนรู้^^
จิต ==> มีจิตสาธารณะ
K,P เป้าหมายตามด้วยผู้เรียน
มาตรฐานการเรียนรู้ 55 มาตรฐาน
เป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียน
ต้องคํานึงถึง :: พัฒนาการทางสมองและพหุปัญญา
~ ให้เกิดความสมดุล
~ สะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร สอนอย่างไร และประเมินอย่างไร
~ ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึ่งรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
เมื่อเรียนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ตัวชี้วัด
2 ตัวชี้วัด มีความเฉพาะเจาะจงเป็นรูปธรรม
KPA
K P A
~ระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้ และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียน
>> นําไปใช้กําหนดเนื้อหา จัดทําหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน
>> เกณฑ์ สําคัญสําหรับการวัดประเมินผล -ตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
1) ชั้นปี ป.1- ม.3 >>สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้
2) ช่วงชั้น ม.4-6 ยกเว้น *** วิทย์/คณิต เป็นชั้นปี

EX :: สาระ นําหน้า มาตรฐาน

กลุ่มสาระการเรียน ว ๑.๑ ป.๑/๒ ตัวชี้วัดชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ข้อที่ 2


รู้วิทยาศาสตร์
สาระที่ 1 มาตรฐานที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้ ต ๒.๒ ม.๔-๖/๓ ตัวชี้วัดชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ข้อที่ 3


ภาษาต่างประเทศ
สาระที่ 2 มาตรฐานข้อที่ 2

****อักษรย่อรายวิชา ต. เวียดนาม น. ลาติน ป. สเปน อ. ภาษาอังกฤษ


การกําหนดรายวิชา 0 ==> ไม่กําหนดปีใดก็ได้
ม.1-3
ชั้นปี (ป.1-6)

กลุ่มสาระการเรียนรู้
ว21102 ลําดับรายวิชา 00-99

ช่วงชั้น 1 = พื้นฐาน Note :


1 ถม 2 = เพิ่มเติม
2 ต้น
3 ยม

สาระการเรียนรู้ มี 3 องค์ประกอบ 31 สาระ


รร

กําหนดให้ผู้เรียนทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานจําเป็นต้องรู้
1. องค์ความรู้ 2. ทักษะหรือกระบวนการเรียนรู้ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
พุทธพิสัย ทักษะพิสัย จิตพิสัย
8 กลุ่มสาระ 31 สาระ 55 มาตรฐาน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนะ + กิจ + โยชน์


เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกายสติปัญญาอารมณ์และสังคม
1. กิจกรรมแนะแนว ==> ผู้เรียนรู้จักตนเอง ==> วางแผนชีวิต อาชีพ/การเรียน/รักษ์สิ่งแวดล้อม
2. กิจกรรมนักเรียน ==> ความมีระเบียบวินัย ผู้นําผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทํางานร่วมกัน “รู้จัก
แก้ปัญหา”
2.1 ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บําเพ็ญ นักศึกษาวิชาทหาร AAR
2.2 ชุมนุม ชมรม
After , Action , Review
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ ==> จิตสาธารณะ
ประถม 60 ชม. ปีละ 10 ชม.
ม.ต้น 45 ชม. ปีละ 15 ชม. ม.ปลาย 60 ชม. ปีละ 20 ชม.
สรุป

ปี ประถม ไม่น้อย 5 ชม. 1,000/ปี


ประถม ไม่เกิน 1,000
ภาค ม.ต้น ไม่น้อย 6 ชม. 1,200/ปี ม.ต้น ไม่เกิน 1,200
ภาค ม.ปลาย ไม่น้อย 6 ชม. 3,600 รวม 3 ปี ** เพิ่มเวลารู้ 14:30 น.

ประถม 40 ชม./ปี
ม.ต้น 40 ชม./ปี ; 1 นก.
ประถม รวม 840 ชม./ปี
ม.ปลาย รวม 3 ปี 80 ชม. ; 2 นก.
ม.ต้น รวม 880 ชม./ปี =22 นก./ปี
ม.ปลาย รวม 1640(3ปี) =41 นก.

** สาระ นําหน้า มาตรฐาน

ประถม 120 ชม./ปี 2551 40/67

ม.ต้น 120 ชม./ปี 2560 38/75

ม.ปลาย รวม 3 ปี 360 ชม. 30/2561 33/75


921/2561 31/55
3 พ.ค.61
ประถม ไม่น้อย 40 ชม.
ม.ต้น ไม่น้อย 200 ชม (3 ปี ปีละ)
ม.ปลาย ไม่น้อย 1,600 ชม.
"
ถม + ต้น + ปลาย
จัดระดับการศึกษา 3 ระดับ
พื้นฐาน สํารวจ ทักษะ
ประถม ==> ทักษะ ~ อ่าน เขียน คิดเลข (บูรณาการ)
ม.ต้น ==> สําราจ ~ ความถนัดและความสนใจ (ศึกษาต่อ/อาชีพ)
ม.ปลาย ==> เพิ่มพูน ~ ความรู้และทักษะเฉพาะด้าน

หลักการจัดการเรียนรู้

ยึดหลัก ผู้เรียนมีความสําคัญที่สุด เชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้


คํานึงถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล

ผู้สอน ต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษา ให้เข้าใจถึง มฐ.การเรียนรู้


การออกแบบจัดการเรียนรู้
ตัวชี้วัด ****
เก่ง :1
>> 1.ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล ปานกลาง : 2
2.กําหนดเป้าหมาย อ่อน :1
3.เขียนแผน
>> สอดคล้องหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้

ระดับ ←
-

ก่อนเรียน ~ เพื่อค้นหาข้อบกพร่อง ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน


ระหว่าง ~ เพื่อปรับปรุงแก้ไข การเรียนการสอนระหว่างเรียน ชั้นเรียน
นร.บรรจุหน่วยการเรียนจุดประสงค์
หลังเรียน ~ เพื่อตัดสินผลการเรียน สถานศึกษา
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้

1. ประเมินเพื่อพัฒนาผู้เรียน ปรัชญา เพื่อค้นและพัฒนาสมรรถกายของนร.


สพฐ.
2. เพื่อตัดสินผลการเรียน ** เทียบเคียงมาตรฐาน

i
NT
ก้าวหน้า ตัดสิน/เกรด
ตัดสินนโยบายของชาติ
ง เ Pre o-net
สทศ.
มี 4 ระดับ >> ชั้น + ถาน + เขต + ชาติ
LAS
NT / O-net
การพัฒนาคุณภาพ
1. ระดับชั้นเรียน ==> ประเมินงานต่างๆ ในชั้นเรียน (สะท้อนที่สุด)
2. ระดับสถานศึกษา ==> ผลการเรียน (เกรด) รายปี/รายภาค ,กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ผลการอ่านคิด วิเคราะห์ เขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
(การออกแบบหน่วยการเรียนรู)้

เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
1. ตัดสินผลการเรียน
ประถม ==> เวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาเรียนทั้งหมด
มัธยม ==> เวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ในรายวิชานั้นๆ
ประถม ~ ผู้เรียนไม่ผ่านรายวิชาเกินครึ่ง
~ ป.1-2 อ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ คิดเลขไม่เป็น
มัธยม ~ GPA ตํ่ากว่า 1.00 , 0 ,ร , มส เกินครึ่ง
คํานึงถึง วุฒิภาวะ และ ความรู้
2. การให้ระดับผลการเรียน
ประถม ==> ระบบตัวเลข ตัวอักษร ร้อยละ ระบบที่ใช้คําสําคัญสะท้อนมาตรฐาน
มัธยม ==> ตัวเลข 8 ระดับ
0 1 1.5 2 2.5 3 3.5 4
ตํ่ามาก ผ่าน พอใช้ พอใจ คข.ดี ดี ดีมาก ดีเยี่ยม
ดีเยี่ยม ดี ผ่าน และ ไม่ผ่าน

¥=
~

ผ่าน และ ไม่ผ่าน


3.รายงานผลการเรียน (ปพ.6) รายงานผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่างน้อยภาค
เรียนละหนึ่งครั้ง
ปพ. = เอกสารประเมินผลตามหลักฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เอกสารหลักฐานการศึกษา 2 ประเภท
1. เอกสารหลักฐานที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด
ผู้จัดพิมพ์ ปพ.1-3 สกสค. ในกํากับ กระทรวงศึกษาธิการ
ป = ประถม บ = บังคับ พ = พื้นฐาน
ปพ.1 = ระเบียบแสดงผลการเรียน (Transcript)
[ จบ ลาออก ย้าย ]
ปพ.2 = ประกาศนียบัตร (วุฒิการศึกษา) ม.3 กับ ม.6
[รับรองสักและสิทธิ์แก่ผู้จบ] ศึกษาต่อ , สมัครงาน
ผู้ลงนามหัวหน้าสถานศึกษา และประธานคณะกรรมการสถานศึกษา
ปพ.3 = แบบรายงานผู้สําเร็จการศึกษาท (หัวหน้าสถานศึกษาสั่งซื้อ)
[อนุมัติการจบหลักสูตร]
2. เอกสารหลักฐานที่สถานศึกษากําหนด
ปพ.4 = รายงานผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ปพ.5 = ผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน (ผู้สอนรายวิชา) ตัดสินผลการเรียน
ปพ.6 = พัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (สื่อสารกับผู้ปกครอง)
ปพ.7 = ใบรับรองผลการศึกษา (ชั่วคราว) 120 วัน
ใช้แทน ระเบียนเพื่อนําไปสมัครสอบและสมัครงาน
ปพ.8 = ระเบียนสะสม [ประโยชน์ในการแนะแนว]
ปพ.9 = สมุดบันทึกผลการเรียนรู้ [ครูประจําชั้น]
[อย่าให้สถานศึกษาเพื่อนําไปเทียบโอนผลการเรียน]
ก่อนเปิดภาคเรียนแรก / ต้นภาคเรียนแรก

แกนกลาง 51
การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
(หลักสูตรอิงมาตรฐาน)
ต้องสอดคล้องกับความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น
•• วิสัยทัศน์
•• คุณลักษณะอันพึงประสงค์ กรรมการสถานศึกษา
•• สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน เห็นชอบ
•• โครงสร้างหลักสูตร
•• คําอธิบายรายวิชา ใช้ได้
•• เกณฑ์การวัดผลการเรียนรู้และการจบหลักสูตร

~ เห็นชอบหลักสูตรสถานศึกษา
เป้าหมายระดับท้องถิ่น ~ สพท.
คณะกรรมการสถานศึกษา และ
ประธานกรรมการสถานศึกษา
~ ลงนามอนุมัติ
ผอ.สถานศึกษา หรือ
ประธานกรรมการสถานศึกษา
การจัดการเรียนรู้

ครูควรมีพื้นฐาน 3 ประการ
1. เชื่อว่าทุกคนมีความแตกต่าง
2. เชื่อว่าทุกคนสามารถเรียนรู้ได้
3. เชื่อว่าการเรียนรู้เกิดได้ทุกที่ ทุกเวลา

**การเลือกวิธีการสอน = สอดคล้องกับจุดประสงค์ของบทเรียน**

1. โครงงาน (Project Method)


•• วางแผนการทํางานเลยคิดการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
•• หลากหลายทักษะประสบการณ์ตรงประยุคใช้ในการดําเนินงานต่างๆ
2. ปัญหาเป็นฐาน (Problem-besed Learning) (PBL)
•• ปัญหาที่เกี่ยวกับการดําเนินชีวิต
3. แบบค้นพบ (Discovery Method)
•• เน้นให้ผู้เรียนค้นหาคําตอบ หรือความรู้ด้วยตัวเอง
4. กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Proeess)
5. สืบสวนสอบสวน (The Inquiry Method)
•• คิดเป็น ทําเป็น และแก้ปัญหา ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
6. แบบแสดงบทบาทสมมติ (Role Playing Method)
•• สถานการณ์สมมติ
7. แบบแก้ปัญหา (Problem-Solving Method) John Dewey
••ตั้งปัญหา
8. การแก้ปัญหาตามหลักอริยสัจ 4 (สาโรช บัวศรี)
9. แบ่งกลุ่มระดมพลังสมอง (Brainstroming)
•• แบ่งกลุ่ม 8-10 คน ( 10-15 นาที )
10. แบบสาธิต (Demonstration Method)
•• การสาธิตแบบเงียบ โดยให้นักเรียนสังเกตเอง
11. แบบ บูรณาการ (Intergration Intruction)
12. L.T. (Learning Together)
•• แบ่งกลุ่ม เก่ง กลาง อ่อน จัดกลุ่มย่อย กลุ่มละ 4 คน
13. G.T. (Group Inverstigation) อ่อน เลือกเนื้อหาก่อน
14. STAD = Home Group คะแนนพัฒนาการ
15. Jigsaw
16. CIPPA Model ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
•• C - Construction - สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง
•• I - Interaction -มีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
•• P - Participating - ผู้เรียนมีส่วนร่วม
•• P - Process and Product - ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ
•• A - Application - นําความรู้ที่ได้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน
17. แบบนิรนัย (Deductive Method) ร่วม ==> ย่อย
•• Ex •• กฏเกณฑ์ ไปหาตัวอย่าง
18. แบบอุปนัย (Induction Method) ย่อย ==> รวม
•• Ex •• ตัวอย่าง ไปหากฏเกณฑ์
19. แบบอภิปราย (Discusion) แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
20. บทเรียนโปรแกรม (CAT)
21. Story Line เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (ผูกเรื่อง ลําดับเหตุการณ์)
22. กรณีตัวอย่าง (Case study) ผู้คิดค้น Steve Bel
23. การสอนโดยใช้หมวก 6 ใบ Dr.Edward de Bono
•• กําหนดบทบาทของผู้สวม
24. แบบศูนย์การเรียน (Learning center)
•• กลุ่มละ 4-6 คน แห่งละ 15 ถึง 20 นาที
25. การเรียนการสอน 4 MAT สมอง 2 ซีก อย่างสมดุล
•• สมองซีกซ้าย ~ ตรรกศาสตร์ การจํา วิเคราะห์
•• สมองซีกขวา ~ จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์
26. สถานการณ์จําลอง (Simulation) จําลองสถานการณ์
27. เพลงประกอบการสอน ใช้ได้ทุกขั้นตอนในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
28. โดยใช้เกม ใช้ได้กับผู้เรียนทุกชั้น
จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว

เป้าหมายของการศึกษาจิตวิทยา
1. เพื่ออธิบายพฤติกรรมบุคคล (ตํ่า)
2. เพื่อเข้าใจพฤติกรรมบุคคล
3. เพื่อทํานายพฤติกรรมบุคคล
4. เพื่อควบคุมพฤติกรรมบุคคล (สูง)
พฤติกรรม (Benavior)
1. ภายนอก (Overt) 2 ลักษณะ
โมลาร์ - สังเกตเห็นด้วยตาเปล่า เช่น กิน เดิน นั่ง นอน
โมเลคิวลาร์ - อาศัยเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ เช่น ความดัน คลื่นสมอง
2. ภายใน (Covert) - กระบวนการทางจิต ความรู้สึก อารมณ์

แนวคิดจิตวิทยากลุ่มต่างๆ

1. โครงสร้างจิต ~ วุ้นท์ ~ บิดาจิตวิทยาการทดลอง (Struturalium)


2. หน้าที่จิต ~ จอห์น ดิวอี้ ~ Functionalism
3. พฤติกรรมนิยม ~ วัตสัน ~ Behavior
4. จิตวิเคราะห์ ~ ฟรอยด์ ~ Psychoanalysis
5. เกสตัลท์ ~ แมกซ์เวอร์ไธเมอร์ ~ Gestalt Psychology
6. มนุษย์นิยม ~ มาสโลว์ ~ Hcemanism
หน้าที่จิต John Dewey [Learning by doing]
พฤติกรรมนิยม John B. Watson
~ พฤติกรรมทุกอย่างต้องมีสาเหตุ ==>> สิ่งเร้า ==> ตอบสนอง

จิตวิเคราะห์ Sigmund Freud


~ Id = ยังไม่ถึงขัดเกลา แสวงหาความสุขพอใจ ตนเป็นหลัก
~ Superego = คิดถึงผิดชอบชั่วดี
~ ego = ตัดสินใจจากสภาพความเป็นจริง

เกสตัลท์ (เวอร์ไธเมอร์) การรับรู้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้(หยั่งเห็น)


มนุษย์นิยม มาสโลว์

จิตวิทยาทางการศึกษาที่สําคัญ

การเรียนรู้ไม่ใช่วุฒิภาวะ แต่การเรียนรู้ อาศัยวุฒิภาวะ


* วุฒิภาวะ = เป็นไปตามธรรมชาติ
การเรียนรู้เกิดได้ง่าย >> ถ้าสิ่งที่เรียนเป็นสิ่งที่มีความหมายต่อผู้เรียน
ทฤษฎีการเรียนรู้ ==>> ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก

1.พาฟลอฟ => หมา กับ ผงเนื้อ vs นํ้าลาย vs กระดิ่ง


2.วัตสัน => บิดาพฤติกรรมนิยม, บิดาจิตวิทยาแผนใหม่
>> เด็กเล่นกับหนูขาว
3.ธอร์นไดค์ (Thorndike) => ลองผิดลองถูก +เชื่อมโยง + ตอบสนอง
กฏ 3 ข้อ 1. ฝึกหัด - ทําซํ้า (Exercise - Repetition)
2. ผล (Effect)
3. ความพร้อม (Reddiness)
4.การวางเงื่อนไข (Conditioning ) สกินเนอร์
>> บทเรียนโปรแกรม
>> การปรับพฤติกรรม
1. เสริมแรง + ให้สิ่งที่พอใจ
2. เสริมแรง - เอาสิ่งที่ไม่พอใจออก
3. ลงโทษ + ให้สิ่งที่ไม่พอใจ
4. ลงโทษ - เอาสิ่งที่พอใจออก
5.กลุ่มเกสตัลท์
6.ทฤษฎีสนามของเลวิส ==>> การเรียนรู้เกิดขึ้นจากการจัดกระบวนการรับรู้
>> ครูต้องมีวิธีทําให้ตัวครูเข้าไปอยู่ใน Life Space ของผู้เรียนให้ได้
7.การเรียนรู้ของโคล์เลอร์ (หยั่งเห็น) ==>> ลิงในการทดลอง
“การเรียนรู้เกิดจากการหยั่งเห็นและการหยั่งเห็นที่เกิดขึ้นต้องอาศัย
ประสบการณ์เดิมที่มีอยู่ก่อนนํามาแก้ปัญหาสถานการณ์ใหม่”

~ เกิดจาก ==> วุฒิภาวะ และการเรียนรู้


~ คนแตกต่างกัน ==> พันธุกรรม + สิ่งแวดล้อม
ซิกมัน ฟอยล์ >>> บิดาแห่งจิตวิทยาโลก , จิตวิเคราะห์
• การพัฒนาการทางเพศ 5 ขั้น
1. ขั้นปาก (Oral) 0-1 ขวบ = รักตนเอง พลัง Libido
2. ขั้นทวาร (Anal) 1-3 ขวบ = ขั้นขับถ่าย
3. ขั้นอวัยวะเพศตอนต้น 3-5 ขวบ =หวงแหน (ช.องดิบุส/ญ.อีเลคต้า)
4. ขั้นแฝง 6-11 ขวบ = เรียนรู้และปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนๆ
5. ขั้นอวัยเพศตอนปลาย 12 ขวบขึ้นไป

บุคลิกภาพ ==>> พันธุกรรม + สิ่งแวดล้อม


MASLOW ความต้องการของมนุษย์ 5 ขั้น

ขั้นที่ 1 ความต้องการทางกาย ปัจจัย 4 (Physiological Need)


ขั้นที่ 2 ความต้องการความมั่นคงปลอดภัย
(Safety and Security Needs)
ขันที่ 3 ความต้องการความรักและการเป็นที่ยอมรับของกลุ่ม
(Love and Belonging Needs)
ขั้นที่ 4 ความต้องการได้รับการยกย่องจากผู้อื่น
(Self - Esteem Needs)
ขั้นที่ 5 ความต้องการในการเข้าใจและรู้จักตนเอง
(Self - Actualization Needs)
>> กิจกรรมแนะแนว => ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน ให้รู้จักตนเอง
วางแผนชีวิตด้านการเรียนและอาชีพ
>> การแนะแนว => ช่วยเหลือเขา ให้เขาสามารถช่วยตนเองได้
>> ปรัชญา => บุคคลแต่ละคนย่อมมีความแตกต่าง

การแนะแนว 3 ประเภท
เป้าหมาย 3 ประการ
1.การศึกษา (Education) 1.ป้องกันปัญหา *สําคัญสุด
2.อาชีพ (Vocational) 2.แก้ไขปัญหา
3.ส่วนตัวและสังคม 3.ส่งเสริมพัฒนา

บริการแนะแนว 5 บริการ

1.สํารวจนักเรียนเป็นรายบุคคล (lndividual lnventory)


2.บริการสารสนเทศ (lnformation)
3.บริการให้คําปรึกษา ( การแนะแนว) Counseling
4.บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement)
5.บริการติดตามผล

>> บิดาการแนะแนว - Frank parsons


คณะทํางาน
ครูที่ปรึกษา ==>> บุคลากรหลัก
ทํา + นํา + ประสาน
5 ขั้นตอน ครูที่ปรึกษา ผอ.รอง หัวหน้างาน
1. การรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล
>> การเยี่ยมบ้านนักเรียน (ดีที่สุด)
>> การสัมภาษณ์เป็นรายบุคคล
>> ระเบียนสะสม ปพ.8
>> SDQ (แบบประเมินพฤติกรรมนักเรียน)
2. การคัดกรองนักเรียน 4 กลุ่ม
>> กลุ่มปกติ สร้างภูมิคุ้มกัน
ส่งเสริมและพัฒนา
>> กลุ่มพิเศษ
กิจกรรม homeroom
>> กลุ่มเสี่ยง
ป้องกันและแก้ไข

จัดประชุมผู้ปกครอง
>> กลุ่มมีปัญหา
ครูที่ปรึกษา~ ให้คําปรึกษาและแก้ไขเบื้องต้น
3. ส่งเสริมนักเรียน
>> โฮมรูม classroom meeting (ประชุมผู้ปกครองชั้นเรียน)
4. ป้องกันและแก้ไข (ช่วยเหลือ)
5. การส่งต่อ (กรณีที่อยากส่งต่อการแก้ไข)
>> ภายใน ~ ครูปกครอง ครูแนะแนว
>> ภายนอก - นักจิตวิทยา นักสังคมสงเคราะห์ จิตแพทย์
อายุขาด บิดา
I.Q. = X100
อายุจริง
Alfres Binet

Ex: เด็กอายุ 13 ปีอายุสมอง 13 ปี = IQ ?


(13/13) x100 = IQ 100 ปกติ

IQ ตํ่ากว่า 70 = ปัญญาอ่อน
90-110 = ปกติ
140 ขึ้นไป = อัจฉริยะ

พหุปัญญา = การ์ดเนอร์
จุดเน้นการพัฒนาผู้เรียนในระดับของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. ประถม (1-6) ==>> พื้นฐาน อ่าน เขียน คิดเลข
2. มัธยมตอนต้น ==>> สํารวจความถนัด + สนใจ
3. มัธยมตอนปลาย ==>> เพิ่มพูนทักษะเฉพาะด้าน
ทักษะและความสามารถ
ป.1-3 ~ อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น
ป.4-6 ~ อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่อง
ม.1-3 ~ ทักษะการคิดขั้นสูง
ม.4-6 ~ ทักษะการคิดขั้นสูง เพิ่มภาษาอังกฤษ
Note
คุณลักษณะตามวัย
ป.1-3 ~ ใฝ่ดี
ป.4-6 ~ ใฝ่เรียน
ม.1-3 ~ อยู่อย่างพอเพียง
ม.4-6 ~ มุ่งมั่นในการทํางานและการศึกษา

การจัดการฉันเรียนเพื่อส่งเสริมบรรยากาศการเรียนรู้
1.ท้าทาย (Challenge) ~ กระตุ้นให้กําลังใจนักเรียน
2.มีอิสระ ( Freedom) ~ มีโอกาสได้คิดได้ตัดสินใจ
3.การยอมรับ (Respect) ~ ครูรู้สึกว่านักเรียนเป็นบุคคลสําคัญ
4.อบอุ่น (Warmth) ~ ทําให้นักเรียนเกิดความรัก รักครู รักโรงเรียน
5. ควบคุม (control) ~ ฝึกให้นักเรียนมีระเบียบวินัย
6. ความสําเร็จ (Success) ~ ผู้เรียนเกิดความรู้สึกประสบความสําเร็จ

ลักษณะของการจัดฉันเรียนทางกายภาพที่ดี
==>> นักเรียนที่มีปัญหา = แยกออกมาอยู่ที่ว่างมากขึ้น
==>> นักเรียนที่มีความต้องการพิเศษ = นั่งใกล้ครูจะดี

การจัดที่นั่งของนักเรียน
1.ต้องเหมาะสม
2.จะต้องยืดหยุ่น
3.จะต้องมีที่ว่าง
4.จัดให้มีที่ว่างและที่ส่วนตัว
การจัดที่นั่งสําหรับครู
1. หลังห้อง >> เน้นนักเรียน (มองเห็นอย่างทั่วถึง)
2. หน้าห้อง >> การควบคุม
3. กลางห้อง >> ครู (อํานวยความสะดวก)
การจัดตกแต่งห้องเรียน ***ครูควรพิจารณาถึงลักษณะเด็กแต่ละวัย
>> อนุบาล ~ มีมุมเสริมประสบการณ์
>> ครู ~ มีบทบาทมากที่สุดในการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
เทคนิคการปกครองฉันเรียนของครู
1. หลักประชาธิปไตย 2. หลักความยุติธรรม
3. หลักพรหมวิหาร4 (นักเรียนเคารพ ศรัทธา) 4.หลักความใกล้ชิด
(บรรยากาศทางจิตวิทยา)
บุคลิกภาพของครู
ครู นักเรียน ครู นักเรียน
เป็นมิตร ~ อบอุ่น ปั่นปึง ~ กลัว
ยิ้มแย้ม ~ แจ่มใส เสียงดุดัน ~ หวัดกลัว
เสียงนุ่มนวล ~ อ่อนน้อม ท้อถอย ~ ท้อแท้
เรียบร้อย ~ เคารพ เฉยเมย ~ เฉื่อยชา
ยุติธรรม ~ นักเรียนศรัทธา เชื่องช้า~ เหงาง๋อย
เข้มงวด ~ หงุดหงิด ปล่อยประละเลย ~ ขาดระเบียบวินัย
หน้านิวคิวคิ้วขมวด ~ เครียด
ฉุนเฉียว ~ อึดอัด
เพื่อพัฒนา และแก้ไขปัญหา
วิจัย หาสาเหตุของพฤติกรรม

เป็นการแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
มี 5 บท
มี 5 ขั้น
1.บทนํา (ความเป็นมาและความสําคัญ)
1. ขั้นปัญหา
2.วรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
2. ขั้นสมมุติฐาน
3.วิธีการดําเนินงานวิจัย
3. ขั้นรวบรวมข้อมูล
~ รูปแบบการวิจัย
4. ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล
~ ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
5. ขั้นสรุป
~ เครื่องมือ ~ การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิจัยในชั้นเรียน ~ วิเคราะห์และสถิติที่ใช้
== การวิจัยเชิงปฎิบัติการหรือ 4.วิเคราะห์ข้อมูล
เฉพาะกิจ 5.สรุปและอภิปรายผล

ลักษณะของเครื่องมือที่ดี
1. ต้องมีความเที่ยงตรง ==>> วัดได้ในสิ่งที่ต้องการวัด
2. ความเชื่อมั่น ==>> วัดได้คงที่แน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลงไปมา ไม่ว่าจะวัด
กี่ครั้งกี่หนเมื่อไร ที่ไหน
3. ประสิทธิภาพ
4. อํานาจจําแนก
~ สมมุติฐานการวิจัย (คาดคะเนคําตอบ)
>> ตาม / สอดคล้อง
~ กลุ่มตัวอย่าง ==>> สมาชิกส่วนหนึ่งของประชากร
~ สุ่มอย่างง่าย ==>> สมาชิกทุกหน่วยมีโอกาสเท่าเทียมกันใน (กลุ่มที่ดี)

สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

~ สื่อการสอน = ตามวัตถุประสงค์การเรียนการสอน
~ ประเภทของสื่อ (ตามหลักวิชาการ)
1.วัสดุ (software)
2.อุปกรณ์ (Hardware)
3.วิธีการ (Techiques)
สื่อ ตามหลักสูตรแกนกลาง 3 ประเภท
1.สื่อสิ่งพิมพ์
2.สื่อเทคโนโลยี พิมพ์ เทค อื่น
3.สื่ออื่นๆ (บุคคล ธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม กิจกรรม วัสดุ เครื่องมือ)

กรวยประสบการณ์ =>>> เอดการ์ด


ตรง => รอง => แสดง => ธิต => นอกที่ => ธรรม => ทัศน์ => ยนตร์
=> เสียง => วิทยุ => ภาพนิ่ง => ทัศน => วาน

สื่อที่ดี “ ประสิทธิภาพ ตรงตามวัตถุประสงค์”


~ ป้ายนิเทศ ==>> 2x3 หรือ 4x2 ฟุต
~ หลักการใช้กระดานชอล์ก
- มุมดู 60 องศา จากกลางกระดาน
แบ่งได้ 3 ระยะ
- นร.นั่งห่างหน้ากระดาน 3 เมตร
1.มีการประดิษฐ์คิดค้น
- ลบกระดานจากบนลงล่าง
2.พัฒนาการ
- เริ่มเขียนซ้ายบนก่อน
3.การนําเอาไปปฏิบัติ
~ นวัตกรรม ==>> Innovation
- ขั้นสมบูรณ์ = นําเอาไปปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป

1111 สายด่วนรัฐบาล (คสช.)


1579 กระทรวง ศธ. web : www.more.go.th
สพฐ. ~ www.once.go.th
bec

คุรุสภา ~ www.ksp.or.th
ก.ค.ศ. ~ www.otepc.go.th
สทศ. ~ www.niets.or.th
สมศ. ~ www.onesqa.or.th
1.นามบัญญัติ (Nominal)
2.จัดลําดับ (Ordinal)
3.อันตภาคชั้น (Interval) ==>> ไม่มีศูนย์แท้
4.มาตราอัตราส่วน (Ratio) ==>> มีศูนย์แท้
***ประเมิน (Evaluation) เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากการวัด
เพื่อค้นหา และพัฒนาสรรถภาพของผู้เรียน
วินิจฉัย ==> หาข้อบกพร่อง

การสร้างคุณภาพของข้อสอบ
1.ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา IOC ผู้เชี่ยวชาญ 3 คนขึ้นไป
>> 0.5 ขึ้นไป วัดตรงเนื้อหา
2.ความเป็นปรนัยของข้อสอบ ==>> ความชัดเจนในตัวคําถาม
3.ความยากง่าย P = >0.2 P-<0.8
ยากมาก ง่ายมาก = ตัดทิ้ง
ดีสุด P =0.4-0.5
4.อํานาจจําแนก D =0.4ขึ้นไป (ดี) ดัชนีความสอดคล้อง
5.ความเชื่อมั่น R =0.6 ขึ้นไป (or 20,21)
>>บอกเป็นระดับนัยสําคัญ
x
= ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น
~การวัดและการประเมินจากสภาพจริง (Authontic Assessment)
~ Rubrics >> ต้องประเมิน “คุณภาพ” ของงานอย่างปรนัย
ประเมินศักยภาพผู้เรียนโดยการปฏิบัติ

วิ + มาณ + คล + ไป => คณะกรรมการเขต => สนง.เขต => รร.


1. วิชาการ 17 งาน
Ex. การนิเทศการศึกษา
การแนะแนว
2.งบประมาณ 22 งาน
3.บุคคล 20 งาน
4.บริหารงานทั่วไป 22 งาน
Ex.งานธุรการ
จัดทําสํามะโนผู้เรียน
การรับนักเรียน
การทัศนศึกษา
งานกิจการนักเรียน
เทคโนโลยีการศึกษา ==>>บิดา โคมินิอุส
=> นวัตกรรม => สิ่งใหม่ (ความคิด สิ่งประดิษฐ์ หรือการกระ ทําใหม่)
(Innovation)
ขอบข่าย 5 ข้อ การออกแบบ

ประเมินผล พัฒนา

จัดการ ใช้
แนวคิด
~ วัสดุ
1.ทางวิทยาศาสตร์กายภาพ
} เดิม
}
~ อุปกรณ์
2.พฤติกรรมศาสตร์ ใหม่
~ จิตวิทยา มนุษย์วิทยา
3.ปัญญาทัศนศาสตร์ ~ สติปัญญาเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์

กรวยแห่งประสบการณ์ (เอดการ์ด เดล)


วัจนสัญลักษณ์
นามธรรม
ทัศนสัญลักษณ์
ภาพนิ่ง/เสียง
ภาพยนตร์/วิดิทัศน์
นิทรรศการ
นอกสถานที่
สาธิต
แสดง
รอง
ตรง รูปธรรม
1. ประสิทธิภาพ (Efficieney)
(ผลผลิตเพิ่มขึ้น ลงทุนเท่าเดิม)
2. ประสิทธิผล (Effectiveness)
(ผลผลิตตรงตามต้องการ / วัตถุประสงค์)
3. คุณภาพ (Quality)
(มีความเป็นเลิศ)
4. ประหยัด (Economy)
(ใช้ซํ้าหลายครั้ง ได้ผลลัพธ์เหมือนเดิม)

(แนวคิดพื้นฐาน)

1. ความพร้อม
2. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา
3. การขยายตัวทางวิชาการและอัตราการเพิ่มประชากรกร
4. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
Tyler ~ เน้นหลักการและเหตุผลในการสร้างหลักสูตร
Taba ~ บทบาทครู
Sailor,Alexander,Lewis ~ ความต้องการของผู้เรียน
Oliva ~ ความต้องการ เน้นสังคม (ง่าย ครอบคลุม เป็นระบบ)
Armstrong ~ กระบวนการต่อเนื่องเป็นวัฏจักร
Hankins ~ กําหนดกรอบแนวคิดให้เป็นที่ยอมรับ

นําความรู้ที่สัมพันธ์กันเชื่อมโยงกัน

1.สอดแทรก => คนเดียว (เชื่อมโยงชีวิตจริง) สอนเรื่องเดียวกัน


2.ขนาน => ตามรูปแบบ 2 คนขึ้นไป ต่างวิชา (วางแผนร่วมกัน)
3.สห => คล้ายขนาน 2 คนขึ้นไป มอบหมายงานร่วมกันเชื่อมโยง
เนื้อหาหลายกลุ่มเข้าด้วยกัน
ครูไม่ครบ
4.ข้าม => คณะเป็นทีม (โครงการ + ผู้เรียน + ผู้สอน)

ครูครบ
มาตรฐานตําแหน่งครูผู้ช่วย 3 ด้าน
ปฏิบัติงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย

1. ด้านการจัดการเรียนการสอน
1.1 นําผลการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดหรือผล
การเรียนรู้ มาใช้ในการจัดทํารายวิชา และออกแบบหน่วยการเรียนรู้
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ
1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ อํานวยความสะดวก ส่งเสริมการเรียนรู้
1.4 เลือกและใช้สื่อ เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับกิจกรรม
การเรียนรู้
1.5 วัดและประเมินผล ด้วยวิธีที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับ
ตัวชี้วัด และจุดประสงค์

2. ด้านการบริหารการจัดการชั้นเรียน
2.1 จัดบรรยากาศส่งเสริมการเรียนรู้
2.2 ดําเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน
2.3 อบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และลักษณะอันพึง
ประสงค์ และค่านิยมที่ดี
3. ด้านการพัฒนาตนเอง
>>> พัฒนาตนเองเพื่อให้มีความรู้ความสามารถและมีส่วนร่วมในชุมชนการ
เรียนรู้ทางวิชาชีพ
วินัย คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
~ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
~ ดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
~ มีจิตวิญญาณความเป็นครู
~ สํานึกความรับผิดชอบในวิชาชีพครู

You might also like