ONET6403

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 26

O-NET (มี.ค.

64) 1
23 Aug 2021

O-NET 64 รหัสวิชา 04 คณิตศาสตร์


วันเสาร์ที่ 27 มีนาคม 2564 เวลา 11.30 – 13.30 น.

ตอนที่ 1 แบบปรนัย 5 ตัวเลือก ข้อละ 3.125 คะแนน รวม 75 คะแนน


1. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 ถ้า √𝑏 เป็ นรากที่ 6 ของ 𝑎 แล้วข้อใดถูกต้อง
1 1 1
1. 𝑎 = 𝑏 12 2. 𝑎 = 𝑏6 3. 𝑎 = 𝑏3
4. 𝑎 = 𝑏3 5. 𝑎 = 𝑏12

2. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 10010 = 10100
2
ข) (−4)5 = √24
5

4
3 4 1 −3
ค) √( 1 )
< ( )
27 27
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

𝑥 1 12
3. กาหนดให้ (34 ∙ 24 ) = 24 ข้อใดถูกต้อง
1. 0 ≤ 𝑥 < 14 2. 14 ≤ 𝑥 < 12 3. 1
2
≤ 𝑥 < 1
4. 1 ≤ 𝑥 < 2 5. 2 ≤ 𝑥 < 4

4. กาหนดให้ 𝐴 = {5,6,7}
𝐵 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนคี่ที่มากกว่า 2 แต่นอ้ ยกว่า 8 }
และ 𝐶 = { 𝑥 | 𝑥 = 3𝑛 − 2 เมื่อ 𝑛 ∈ {1, 2, 3} }
(𝐴 ∪ 𝐵) − 𝐶 คือเซตในข้อใด
1. {5} 2. {1,2} 3. {1,4}
4. {3,5,6} 5. {5,6,7}
2 O-NET (มี.ค. 64)

5. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง เท็จ และจริงตามลาดับ


ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นจริง
1. 𝑝 ∧ (𝑞 ∨ ~𝑟) 2. 𝑝 ↔ (𝑞 → 𝑟) 3. (~𝑝 ∨ 𝑞) ∧ 𝑟
4. 𝑝 → (𝑞 ↔ 𝑟) 5. (𝑝 ↔ 𝑞) ∨ ~𝑟

6. กาหนดให้ประพจน์ “จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาและไม่ได้ใส่แว่นตา” มีคา่ ความจริงเป็ นจริง


และ “จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ” มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
1. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยไม่ได้ใส่แว่นตา
2. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยใส่แว่นตา
3. จ้อยใส่แว่นตาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ
4. จ้อยไม่ได้ใส่แว่นตาและไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ
5. จ้อยใส่แว่นตาแต่ไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ

7. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นลาดับเลขคณิต


พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 𝑎 = 𝑏 + 𝑐 − 𝑑
ข) 𝑏 = 𝑎 +2 𝑐
ค) 𝑑 = 𝑎 + 3𝑏 + 𝑐
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้

8. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛−1 , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต ที่มีอตั ราส่วนร่วมเป็ น −2


ถ้า 𝑎4 = 4 แล้ว 𝑎1 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −32 2. − 12 3. 14 4. 10 5. 32
O-NET (มี.ค. 64) 3

9. อัครกูเ้ งินจากสถาบันการเงินแห่งหนึง่ กาหนดชาระหนีท้ งั้ หมดในอีก 3 ปี ขา้ งหน้า มีอตั ราดอกเบีย้ 6% ต่อปี
โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าตลอด 3 ปี นอี ้ คั รไม่ได้กเู้ งินเพิม่ และไม่มีการชาระเงิน เมือ่ ครบ 3 ปี มียอด
เงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้ ที่ตอ้ งชาระเป็ นเงิน 11,940.52 บาท แล้วอัครกูเ้ งินกี่บาท
1. 11,940.52 (1.01)−18 2. 11,940.52 (1.01)−3 3. 11,940.52 (1.03)−6
4. 11,940.52 (1.03)−2 5. 11,940.52 (1.06)−6

10. เจตน์เปิ ดบัญชีฝากประจากับสถาบันการเงินแห่งหนึง่ ซึง่ กาหนดอัตราดอกเบีย้ 2% ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้ แบบ


ทบต้นทุกปี ถ้าเจตน์ฝากเงินปี ละ 1 ครัง้ ครัง้ ละ 500 บาท ณ วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี และเริม่ ฝากเงินครัง้ แรกใน
วันที่ 1 มกราคม 2564 โดยไม่ถอนเงินออกมาเลย แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2574 เจตน์จะมีเงินในบัญชีนกี ้ ี่บาท
1. 500 + 500(1.02) + 500(1.02)2 + ⋯ + 500(1.02)10 บาท
2. 500 + 500(1.02) + 500(1.02)2 + ⋯ + 500(1.02)11 บาท
3. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)10 บาท
4. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)11 บาท
5. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)12 บาท

11. ฟั งก์ชนั แสดงความสูงของต้นไม้ตน้ หนึง่ (มีหน่วยเป็ นเมตร) ในช่วงอายุตงั้ แต่ 5 ปี ถึง 10 ปี เป็ นฟั งก์ชนั เชิงเส้น
ถ้าต้นไม้นเี ้ มื่ออายุ 10 ปี สูงกว่าเมื่ออายุ 5 ปี อยู่ 7.5 เมตร แล้วต้นไม้นเี ้ มื่ออายุ 9 ปี สูงกว่าเมื่ออายุ 6 ปี อยูก่ ี่เมตร
1. 2.25 เมตร 2. 3 เมตร 3. 4.5 เมตร
4. 5.5 เมตร 5. 6 เมตร

12. นักสถิติคาดการณ์จานวนประชากรของชุมชนแห่งหนึง่ ว่า


“เมื่อถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2571 ชุมชนแห่งนีจ้ ะมีจานวนประชากร 7,000 คน
หลังจากนัน้ ไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2583 จานวนประชากรจะลดลงในอัตราร้อยละ 0.2 ต่อปี ”
ถ้าข้อคาดการณ์นเี ้ ป็ นจริง แล้ววันที่ 31 ธันวาคม 2583 ชุมชนแห่งนีจ้ ะมีประชากรอยูก่ ี่คน
1. 7,000 (0.2)12 คน 2. 7,000 (1 − 0.2)12 คน
3. 7,000 (1 − 0.002)12 คน 4. 7,000 (1 − 0.2)13 คน
5. 7,000 (1 − 0.002)13 คน
4 O-NET (มี.ค. 64)

13. กมลาต้องการระบายสีภาพดาวที่แบ่งออกเป็ น 5 ส่วนดังรูป


ถ้ากมลาจะระบายสีภาพข้างต้นด้วยสีไม้กล่องหนึง่ ที่มีสที ี่ตา่ งกันอยู่ 10 สี
โดยเลือกสีไประบายส่วนละหนึง่ สีจนครบทุกส่วนและไม่ใช้สซี า้ กัน
แล้วจานวนวิธีในการระบายสีที่แตกต่างกันมีทงั้ หมดกี่วิธี
1. 5!10!5! วิธี 2. 10!
5!
วิธี 3. 10! วิธี 4. 105 วิธี 5. 510 วิธี

14. บริษัทจาหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้าแจกรางวัลท่องเทีย่ ว 1 จังหวัด จาก 3 จังหวัด คือ เชียงใหม่ อุบลราชธานี และภูเก็ต
โดยให้ลกู ค้ากรอกแบบฟอร์มลุน้ รางวัลที่แนบมากับเครือ่ งใช้ไฟฟ้า พร้อมทัง้ เลือกจังหวัดทีต่ อ้ งการเพียง 1 จังหวัด
เมื่อครบกาหนดวันที่ระบุ พนักงานรวบรวมแบบฟอร์มที่ลกู ค้าส่งเข้ามาได้ขอ้ มูลดังตาราง

จานวนแบบฟอร์มที่ระบุจงั หวัด (ใบ)


เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
เชียงใหม่ อุบลราชธานี ภูเก็ต
โทรทัศน์ 5 3 1
ตูเ้ ย็น 3 8 9
เครือ่ งซักผ้า 1 5 10

ถ้าสุม่ แบบฟอร์มขึน้ มา 1 ใบเพื่อให้รางวัล แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้แบบฟอร์มจากการซือ้ ตูเ้ ย็นทีร่ ะบุ


จังหวัดเชียงใหม่หรือจังหวัดภูเก็ตเท่ากับเท่าใด
4
1. 15 2. 13 3. 49 4. 35 5. 23

15. กล่องทึบใบหนึง่ บรรจุสลากทัง้ หมด 20 ใบ เป็ นสลากหมายเลข 1, 2, 3, ... , 19, 20


ถ้าลุม่ หยิบสลากขึน้ มาพร้อมกัน 2 ใบ แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้สลากที่มีผลต่างของหมายเลขบนสลาก
เป็ น 10 เท่ากับเท่าใด
1 1 1
1. 40 2. 38 3. 20 4. 191 1
5. 10
O-NET (มี.ค. 64) 5

16. ร้านขนมแห่งหนึง่ ขายเค้ก 8 ชนิด เป็ นเค้กผลไม้ 4 ชนิด และเค้กอื่นๆ 4 ชนิด โดยจัดแสดงเค้กชนิดละ 1 ชิน้
ในตูก้ ระจกสองชัน้ ชัน้ บนวางเค้กเป็ นแถวได้ 4 ชนิด และชัน้ ล่างวางเค้กเป็ นแถวได้ 4 ชนิด ผูจ้ ดั การต้องการให้
พนักงานจัดแสดงเค้กในตู้ โดยให้วางเค้กผลไม้ไว้ที่ชนั้ บนและวางเค้กอื่นๆ ไว้ที่ชนั้ ล่าง ถ้าพนักงานจัดแสดงเค้ก
อย่างสุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่พนักงานจะจัดแสดงเค้กได้ตรงตามที่ผจู้ ดั การต้องการเท่ากับเท่าใด
1 1 1 1 1
1. 840 2. 420 3. 70 4. 48 5. 35

17. ร้านไอศกรีมแห่งหนึง่ ขายไอศกรีมรสวนิลา รสช็อกโกแลต และรสผลไม้ซงึ่ มี 4 รส ได้แก่ รสทุเรียน รสมะม่วง รสส้ม


และรสมังคุด ผลการสารวจรสไอศกรีมที่ลกู ค้าชอบ โดยให้ลกู ค้าแต่ละคนเลือกรสไอศกรีมทีช่ อบเพียง 1 รส เท่านัน้
แสดงด้วยแผนภูมิดงั นี ้
รสวนิลา รสทุเรียน 15 คน
30% รสมะม่วง 12 คน
รสผลไม้
รสช็อกโกแลต รสส้ม 10 คน
50% รสมังคุด 23 คน

จากแผนภูมิมีลกู ค้าเข้าร่วมการสารวจในครัง้ นีท้ งั้ หมดกี่คน


1. 140 คน 2. 220 คน 3. 240 คน 4. 300 คน 5. 600 คน

18. การสารวจกิจกรรมของนักเรียนกลุม่ หนึง่ เป็ นเวลา 4 เดือน ได้ผลการสารวจดังนี ้


จานวนนักเรียน (คน) เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4

20
15
10
5
0 กิจกรรม
อ่านหนังสือ ถ่ายภาพ ดูภาพยนตร์

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) จานวนนักเรียนที่อา่ นหนังสือในเดือนที่ 3 เป็ นสามเท่าของเดือนที่ 2
ข) กิจกรรมทีม่ ีจานวนนักเรียนลดลงมากที่สดุ ในเดือนที่ 4 เมื่อเทียบกับเดือนที่ 1 คือ กิจกรรมถ่ายภาพ
ค) ในเดือนที่ 1 มีนกั เรียนดูภาพยนตร์นอ้ ยกว่า 10 คน แต่ในเดือนที่ 2 มีนกั เรียนดูภาพยนตร์มากกว่า 15 คน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
6 O-NET (มี.ค. 64)

19. การสอบครัง้ หนึง่ มีขอ้ สอบ 8 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียน 11 คน แสดงด้วยแผนภาพลาต้นและใบ
ดังนี ้ 1 0 5 5
2 0 5
3 0 0 0 0 5 5
การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลชุดนี ้ ตรงกับข้อใด
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = มัธยฐาน = ฐานนิยม
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < ฐานนิยม และ ฐานนิยม = มัธยฐาน
4. มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และ ฐานนิยม = มัธยฐาน
5. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต

20. แผนภาพกล่องของคะแนนสอบ 2 วิชาของนักเรียนกลุม่ หนึง่ ดังนี ้

คะแนนสอบวิชาที่ 1

คะแนนสอบวิชาที่ 2

6 8 10 12 14 16 18 20

ข้อใดถูกต้อง
1. พิสยั ของคะแนนสอบวิชาที่ 2 เท่ากับ 3 คะแนน
2. มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาที่ 1 เท่ากับ 12.5 คะแนน
3. ควอร์ไทล์ที่ 1 ของคะแนนสอบวิชาที่ 1 เท่ากับ 12 คะแนน
4. เปอร์เซ็นไทล์ที่ 75 ของคะแนนสอบวิชาที่ 2 เท่ากับ 16 คะแนน
5. พิสยั ระหว่างควอร์ไทล์ของคะแนนสอบวิชาที่ 1 มากกว่าวิชาที่ 2
O-NET (มี.ค. 64) 7

21. แผนภาพกล่องแสดงอายุพนักงาน (ปี ) ของแผนกหนึง่ ที่มีพนักงาน 9 คน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ดังนี ้

24 26 28 30 32 34 36 38

ณ วันที่ 1 มกราคม 2562 พนักงานทัง้ เก้าคนยังคงทางานอยูท่ แี่ ผนกนี ้


และมีพนักงานใหม่เพิ่มอีก 2 คนอายุ 26 ปี และ 35 ปี
แผนภาพกล่องในข้อใดทีเ่ ป็ นไปได้มากที่สดุ ที่แสดงอายุพนักงานของแผนกนี ้ ณ วันที่ 1 มกราคม 2562

1.
24 26 28 30 32 34 36 38

2.
24 26 28 30 32 34 36 38

3.
24 26 28 30 32 34 36 38

4.
24 26 28 30 32 34 36 38

5.
24 26 28 30 32 34 36 38

22. ข้อมูลเชิงปริมาณจานวน 11 ตัวที่แสดงด้วยแผนภาพจุดในข้อใด มีพิสยั ระหว่างควอร์ไทล์นอ้ ยที่สดุ

1.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

2.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

3.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

4.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

5.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
8 O-NET (มี.ค. 64)

23. กาหนดข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่าง 3 ชุดดังนี ้


8
ข้อมูลชุดที่ 1 ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥8 และ ∑ (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 140
𝑖=1
10
ข้อมูลชุดที่ 2 ประกอบด้วย 𝑦1 , 𝑦2 , 𝑦3 , … , 𝑦10 และ ∑ (𝑦𝑖 − 𝑦̅)2 = 108
𝑖=1
15
ข้อมูลชุดที่ 3 ประกอบด้วย 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , … , 𝑧15 และ ∑ (𝑧𝑖 − 𝑧̅)2 = 112
𝑖=1
เมื่อ 𝑥̅ , 𝑦̅ , 𝑧̅ เป็ นค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ
ถ้า 𝑥̅ = √5 , 𝑦̅ = √2 , 𝑧̅ = 1 แล้ว ข้อใดเป็ นการเรียงลาดับชุดข้อมูลที่มกี ารกระจายจากน้อยไปมาก
1. ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 3
2. ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 3
3. ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 1
4. ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 2
5. ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 1

24. ข้อมูลเชิงปริมาณชุดหนึง่ ได้จากกลุม่ ตัวอย่าง 10 ตัว ดังนี ้


90 , 110 , 120 , 120 , 120 , 130 , 130 , 140 , 140 , 150
ถ้าเพิม่ ตัวอย่างอีกหนึง่ ตัวซึง่ มีขอ้ มูลเป็ น 125 แล้วค่าวัดทางสถิตใิ นข้อใดจะเปลีย่ นไป
1. พิสยั 2. ฐานนิยม 3. มัธยฐาน
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 5. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ตอนที่ 2 แบบระบายตัวเลขทีเ่ ป็ นคาตอบ เติมคาตอบ ข้อละ 3.125 คะแนน รวม 25 คะแนน


25. ผลการสารวจการเลือกคณะเข้าศึกษาต่อของนักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 50 คน พบว่า
1) มีนกั เรียนเลือกทัง้ คณะรัฐศาสตร์และคณะนิเทศศาสตร์ 10 คน
2) มีนกั เรียนเลือกคณะรัฐศาสตร์ แต่ไม่เลือกคณะนิเทศศาสตร์ 8 คน
3) มีนกั เรียนเลือกคณะอื่นๆ ที่ไม่ใช่คณะรัฐศาสตร์และที่ไม่ใช่คณะนิเทศศาสตร์ 12 คน
มีนกั เรียนเลือกคณะนิเทศศาสตร์กี่คน
O-NET (มี.ค. 64) 9

26. บริษัทรับเหมาสร้างอาคารแห่งหนึง่ ทาสัญญากับผูว้ า่ จ้าง


โดยระบุคา่ ปรับเป็ นรายวันในกรณีที่ บริษัทส่งมอบอาคารให้กบั ผูว้ า่ จ้างล่าช้า ดังนี ้
ส่งมอบอาคารล่าช้าหนึง่ วันคิดค่าปรับ 40,000 บาท
ส่งมอบอาคารล่าช้าสองวันคิดค่าปรับ 40,000 + 50,000 บาท
ส่งมอบอาคารล่าช้าสามวันคิดค่าปรับ 40,000 + 50,000 + 60,000 บาท
เป็ นเช่นนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะส่งมอบอาคาร
ถ้าบริษัทส่งมอบอาคารภายในเวลาที่กาหนดจะได้กาไร 5,000,000 บาท แต่หลังจากส่งมอบอาคาร
พบว่า บริษัท ได้กาไร 3,530,000 บาท แล้ว บริษัทส่งมอบอาคารล่าช้าไปกี่วนั

27. ภัทร์ฝากเงินที่สหกรณ์ออมทรัพย์จานวน 30,000 บาท โดยสหกรณ์ให้ดอกเบีย้ 3% ต่อปี และจ่ายดอกเบีย้ ทบต้น


ทุก 4 เดือน ถ้าภัทร์ฝากเงินจานวนนีเ้ ป็ นเวลา 8 เดือน แล้วภัทร์จะมีเงินฝากเพิม่ ขึน้ กี่บาท

28. ชื่นใจขายกระเป๋ าผ้าทางออนไลน์และได้ทาการสารวจตลาด พบว่า


สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคากระเป๋ ากับจานวนกระเป๋ าที่ขายได้ในหนึง่ สัปดาห์ คือ
𝑄(𝑥) = 140 − 2𝑥
เมื่อ 𝑥 แทนราคากระเป๋ าหนึง่ ใบ (บาท)
และ 𝑄(𝑥) แทนจานวนกระเป๋ าที่ขายได้ (ใบ)
ถ้าชื่นใจต้องการขายกระเป๋ าให้ได้เงินมากที่สดุ แล้วชื่นใจต้องขายกระเป๋ าใบละกี่บาท

29. ต้องการสร้างจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 150 จากเลขโดด 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยที่เลขโดดในแต่ละหลักไม่ซา้ กัน


จะสร้างได้ทงั้ หมดกี่จานวน
10 O-NET (มี.ค. 64)

30. ผลการสารวจจานวนหนังสืออ่านเล่นของนักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 50 คนดังนี ้


จานวนหนังสืออ่านเล่น (เล่ม) จานวนนักเรียน (คน)
4 6
5 8
6 16
7 20

ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนหนังสืออ่านเล่นของนักเรียนกลุม่ นี ้ เท่ากับกี่เล่ม

31. ข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วยจานวนเต็มบวก 5 จานวน โดยที่มมี ธั ยฐานเท่ากับ 6 และพิสยั เท่ากับ 7


ถ้ามัธยฐานมากกว่าฐานนิยมอยู่ 1 แล้วค่าทีม่ ากที่สดุ ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด

32. นาตาชาบันทึกความดันโลหิต (มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรปรอท) ในขณะที่หวั ใจบีบตัววันละหนึง่ ครัง้


เป็ นเวลา 15 วัน โดยเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี ้
116 , 117 , 120 , 120 , 121 , 123 , 124 , 124 ,
125 , 128 , 129 , 130 , 133 , 149 , 151
ถ้าค่านอกเกณฑ์คือ ข้อมูลที่มีคา่ น้อยกว่า 𝑄1 − 1.5(𝑄3 − 𝑄1 ) หรือ
ข้อมูลที่มีคา่ มากกว่า 𝑄3 + 1.5(𝑄3 − 𝑄1 )
แล้วผลบวกของค่านอกเกณฑ์ทงั้ หมดของข้อมูลข้างต้นเท่ากับเท่าใด
O-NET (มี.ค. 64) 11

เฉลย
1. 4 9. 3 17. 4 25. 30
2. 5 10. 4 18. 5 26. 14
3. 2 11. 3 19. 3 27. 603
4. 4 12. 3 20. 5 28. 35
5. 2 13. 2 21. 1 29. 34
6. 5 14. 1 22. 1 30. 6
7. 4 15. 4 23. 1 31. 12
8. 2 16. 3 24. 5 32. 300

แนวคิด
1. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงที่มากกว่า 1 ถ้า √𝑏 เป็ นรากที่ 6 ของ 𝑎 แล้วข้อใดถูกต้อง
1 1 1
1. 𝑎 = 𝑏 12 2. 𝑎 = 𝑏6 3. 𝑎 = 𝑏3
4. 𝑎 = 𝑏3 5. 𝑎 = 𝑏12
ตอบ 4
6
√𝑏 เป็ นรากที่ 6 ของ 𝑎 แปลว่า (√𝑏) = 𝑎
1 6
(𝑏 )2 = 𝑎
𝑏3 = 𝑎

2. พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 10010 = 10100
2
ข) (−4)5 = √24
5

4
3 4 −
ค) √( 1 ) < ( 1 ) 3
27 27
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
2
ก) 10010 = 10100 ข) (−4)5 = √24
5

(102 )10 = 10100 5 5


√(−4)2 = √24
1020 = 10100  5
√16
5
= √16 
4
4 1 −3
ค) 3
√( 1 ) < (27) 1 4 1 −4
27 (3) < (3)
4 4
1 3 1 − 3
(27) < (27) 1 4
(3) < 34
4 4

1 3 3 1 3 3 1
((3) ) < ((3) ) < 81 
81
12 O-NET (มี.ค. 64)

𝑥 1 12
3. กาหนดให้ (34 ∙ 24 ) = 24 ข้อใดถูกต้อง
1. 0 ≤ 𝑥 < 14 2. 14 ≤ 𝑥 < 12 3. 1
2
≤ 𝑥 < 1
4. 1 ≤ 𝑥 < 2 5. 2 ≤ 𝑥 < 4
ตอบ 2
𝑥 1 12
(34 ∙ 24 ) = 24
𝑥 12 1 12
(34 ) ∙ (24 ) = 24
33𝑥 ∙ 23 = 24
33𝑥 ∙ 8 = 24
33𝑥 = 31
3𝑥 = 1
1 1 1 1 1 1
𝑥 = 3 → เนื่องจาก 3
อยูร่ ะหว่าง 4
กับ 2
ดังนัน้ 4
≤ 𝑥 < 2

4. กาหนดให้ 𝐴 = {5,6,7}
𝐵 = { 𝑥 | 𝑥 เป็ นจานวนคี่ที่มากกว่า 2 แต่นอ้ ยกว่า 8 }
และ 𝐶 = { 𝑥 | 𝑥 = 3𝑛 − 2 เมื่อ 𝑛 ∈ {1, 2, 3} }
(𝐴 ∪ 𝐵) − 𝐶 คือเซตในข้อใด
1. {5} 2. {1,2} 3. {1,4}
4. {3,5,6} 5. {5,6,7}
ตอบ 4
จานวนคี่ที่มากกว่า 2 แต่นอ้ ยกว่า 8 จะมี 3, 5, 7 ดังนัน้ 𝐵 = { 3, 5, 7 }
เมื่อ 𝑛 = 1, 2, 3 จะได้ 3𝑛 − 2 = 1, 4, 7 ดังนัน้ 𝐶 = { 1, 4, 7 }
ดังนัน้ (𝐴 ∪ 𝐵) − 𝐶 = ({ 5, 6, 7 } ∪ { 3, 5, 7 }) − { 1, 4, 7 }
= { 3, 5, 6, 7 } − { 1, 4, 7 }
= { 3, 5, 6 }

5. กาหนดให้ 𝑝, 𝑞 และ 𝑟 เป็ นประพจน์ที่มีคา่ ความจริงเป็ นจริง เท็จ และจริงตามลาดับ


ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นจริง
1. 𝑝 ∧ (𝑞 ∨ ~𝑟) 2. 𝑝 ↔ (𝑞 → 𝑟) 3. (~𝑝 ∨ 𝑞) ∧ 𝑟
4. 𝑝 → (𝑞 ↔ 𝑟) 5. (𝑝 ↔ 𝑞) ∨ ~𝑟
ตอบ 2
แทน 𝑝 เป็ นจริง 𝑞 เป็ นเท็จ และ 𝑟 เป็ นจริง ในแต่ละข้อ
1. T ∧ (F ∨ ~T) 2. T ↔ (F → T) 3. (~T ∨ F) ∧ T
T ∧ (F ∨ F ) T↔ T ( F ∨ F) ∧ T
T∧ F T F ∧T
F F
4. T → (F ↔ T) 5. (T ↔ F) ∨ ~T
T→ F F ∨ F
F F
O-NET (มี.ค. 64) 13

6. กาหนดให้ประพจน์ “จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาและไม่ได้ใส่แว่นตา” มีคา่ ความจริงเป็ นจริง


และ “จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ” มีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
ประพจน์ในข้อใดมีคา่ ความจริงเป็ นเท็จ
1. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยไม่ได้ใส่แว่นตา
2. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยใส่แว่นตา
3. จ้อยใส่แว่นตาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ
4. จ้อยไม่ได้ใส่แว่นตาและไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ
5. จ้อยใส่แว่นตาแต่ไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ
ตอบ 5
ให้ 𝑝 แทน จ้อยตรงต่อเวลา 𝑞 แทน จ้อยใส่แว่นตา และ 𝑟 แทน จ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือ
จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาและไม่ได้ใส่แว่นตา เป็ นจริง จ้อยเป็ นคนตรงต่อเวลาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ เป็ นเท็จ
𝑝 ∧ ~ 𝑞 𝑝 ↔ 𝑟
T F
T ∧ T T ↔ F
~ F ดังนัน้ 𝑟 เป็ นเท็จ
ดังนัน้ 𝑝 เป็ นจริง , 𝑞 เป็ นเท็จ
แทน 𝑝 เป็ นจริง , 𝑞 เป็ นเท็จ และ 𝑟 เป็ นเท็จ ในตัวเลือก
1. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยไม่ได้ใส่แว่นตา 2. ถ้าจ้อยใส่นาฬกิ าข้อมือแล้วจ้อยใส่แว่นตา
𝑟 → ~ 𝑞 𝑟 → 𝑞
F → F →
T T
3. จ้อยใส่แว่นตาก็ตอ่ เมื่อจ้อยใส่นาฬิกาข้อมือ 4. จ้อยไม่ได้ใส่แว่นตาและไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ
𝑞 ↔ 𝑟 ~ 𝑞 ∧ ~ 𝑟
F ↔ F ~ F ∧ ~ F
T T ∧ T
T
5. จ้อยใส่แว่นตาแต่ไม่ได้ใส่นาฬิกาข้อมือ
𝑞 ∧ ~ 𝑟
F ∧
F

7. กาหนดให้ 𝑎, 𝑏, 𝑐 และ 𝑑 เป็ นจานวนจริงใดๆ โดยที่ 𝑎, 𝑏, 𝑐, 𝑑 เป็ นลาดับเลขคณิต


พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) 𝑎 = 𝑏 + 𝑐 − 𝑑
ข) 𝑏 = 𝑎 +2 𝑐
ค) 𝑑 = 𝑎 + 3𝑏 + 𝑐
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ข) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
14 O-NET (มี.ค. 64)

ตอบ 4
ลาดับเลขคณิต คือ ต้องบวกเพิ่มทีละเท่าๆ กัน
สมมุติให้บวกเพิ่มทีละ 𝑘 จะได้ลาดับ 𝑎, 𝑏 , 𝑐 , 𝑑
คือ 𝑎, 𝑎+𝑘 , 𝑎 + 2𝑘 , 𝑎 + 3𝑘
ก) 𝑎 = 𝑏 + 𝑐 − 𝑑
𝑎 = (𝑎 + 𝑘) + (𝑎 + 2𝑘) − (𝑎 + 3𝑘)
𝑎 = 2𝑎 + 3𝑘 − 𝑎 − 3𝑘 
𝑎+𝑐 𝑎+𝑏+𝑐
ข) 𝑏 = 2
ค) 𝑑 = 3
𝑎+(𝑎+2𝑘) 𝑎+(𝑎+𝑘)+(𝑎+2𝑘)
𝑎+𝑘 = 𝑎 + 3𝑘 =
2 3
2𝑎+2𝑘 3𝑎+3𝑘
𝑎+𝑘 =  𝑎 + 3𝑘 =
2 3
𝑎 + 3𝑘 = 𝑎+𝑘 

8. กาหนดให้ 𝑎1 , 𝑎2 , 𝑎3 , … , 𝑎𝑛−1 , 𝑎𝑛 เป็ นลาดับเรขาคณิต ที่มีอตั ราส่วนร่วมเป็ น −2


ถ้า 𝑎4 = 4 แล้ว 𝑎1 มีคา่ เท่ากับเท่าใด
1. −32 2. − 12 3. 14 4. 10 5. 32
ตอบ 2
จากสูตรลาดับเรขาคณิต 𝑎𝑛 = 𝑎1 𝑟 𝑛−1 แทน 𝑛 = 4 จะได้ 𝑎4 = 𝑎1 𝑟 4−1 โจทย์ให้ อัตราส่วนร่วม 𝑟 = −2
4 = 𝑎1 (−2)3
4 = 𝑎1 (−8)
1
− 2 = 𝑎1

9. อัครกูเ้ งินจากสถาบันการเงินแห่งหนึง่ กาหนดชาระหนีท้ งั้ หมดในอีก 3 ปี ขา้ งหน้า มีอตั ราดอกเบีย้ 6% ต่อปี
โดยคิดดอกเบีย้ แบบทบต้นทุก 6 เดือน ถ้าตลอด 3 ปี นอี ้ คั รไม่ได้กเู้ งินเพิม่ และไม่มีการชาระเงิน เมือ่ ครบ 3 ปี มียอด
เงินกูพ้ ร้อมดอกเบีย้ ที่ตอ้ งชาระเป็ นเงิน 11,940.52 บาท แล้วอัครกูเ้ งินกี่บาท
1. 11,940.52 (1.01)−18 2. 11,940.52 (1.01)−3 3. 11,940.52 (1.03)−6
4. 11,940.52 (1.03)−2 5. 11,940.52 (1.06)−6
ตอบ 3
12
กู้ 𝑃 บาท คืน 11,940.52 บาท
ดอกเบีย ้ ทบต้
น ทุ
ก 6 เดือน คือปี ละ = 2 งวด
6
6%
ดอกเบีย้ 6% ต่อปี = 2 = 3% ต่องวด → 𝑟 = 0.03
ปี นี ้ 3 ปี หน้า
ผ่านไป 3 ปี คิดเป็ น 3 × 2 = 6 งวด → 𝑛=6
จากสูตรมูลค่าเงิน จะได้ มูลค่าใน 3 ปี หน้า = 𝑃(1 + 𝑟)𝑛
11,940.52 = 𝑃(1 + 0.03)6
11,940.52
(1.03)6
= 𝑃
11,940.52(1.03)−6 = 𝑃
O-NET (มี.ค. 64) 15

10. เจตน์เปิ ดบัญชีฝากประจากับสถาบันการเงินแห่งหนึง่ ซึง่ กาหนดอัตราดอกเบีย้ 2% ต่อปี โดยคิดดอกเบีย้ แบบ


ทบต้นทุกปี ถ้าเจตน์ฝากเงินปี ละ 1 ครัง้ ครัง้ ละ 500 บาท ณ วันที่ 1 มกราคม ของทุกปี และเริม่ ฝากเงินครัง้ แรกใน
วันที่ 1 มกราคม 2564 โดยไม่ถอนเงินออกมาเลย แล้ว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2574 เจตน์จะมีเงินในบัญชีนกี ้ ี่บาท
1. 500 + 500(1.02) + 500(1.02)2 + ⋯ + 500(1.02)10 บาท
2. 500 + 500(1.02) + 500(1.02)2 + ⋯ + 500(1.02)11 บาท
3. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)10 บาท
4. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)11 บาท
5. 500(1.02) + 500(1.02)2 + 500(1.02)3 + ⋯ + 500(1.02)12 บาท
ตอบ 4
ดอกเบีย้ 2% ต่อปี คือ 𝑟 = 0.02 ดังนัน้ 1 + 𝑟 = 1.02
ใช้สตู ร เงินฝาก = 𝑃(1 + 𝑟)𝑛 เพื่อหามูลค่าเงินฝากแต่ละครัง้ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2574 จะได้
500 บาท ที่ฝากวันที่ 1 มกราคม 2564 พอถึง 31 ธันวาคม 2574 คือผ่านไป 2574 − 2564 + 1 = 11 ปี
จะเพิ่มเป็ น 500(1.02)11 บาท
500 บาท ที่ฝากวันที่ 1 มกราคม 2565 พอถึง 31 ธันวาคม 2574 คือผ่านไป 10 ปี จะเพิ่มเป็ น 500(1.02)10 บาท
500 บาท ที่ฝากวันที่ 1 มกราคม 2566 พอถึง 31 ธันวาคม 2574 คือผ่านไป 9 ปี จะเพิ่มเป็ น 500(1.02)9 บาท

500 บาท ที่ฝากวันที่ 1 มกราคม 2574 พอถึง 31 ธันวาคม 2574 คือผ่านไป 1 ปี จะเพิ่มเป็ น 500(1.02)1 บาท
จะได้เงินรวมทัง้ หมด = 500(1.02)11 + 500(1.02)10 + 500(1.02)9 + … + 500(1.02)1
ซึง่ เมื่อเขียนเรียงใหม่จากขวาไปซ้าย จะตรงกับตัวเลือกข้อ 4

11. ฟั งก์ชนั แสดงความสูงของต้นไม้ตน้ หนึง่ (มีหน่วยเป็ นเมตร) ในช่วงอายุตงั้ แต่ 5 ปี ถึง 10 ปี เป็ นฟั งก์ชนั เชิงเส้น
ถ้าต้นไม้นเี ้ มื่ออายุ 10 ปี สูงกว่าเมื่ออายุ 5 ปี อยู่ 7.5 เมตร แล้วต้นไม้นเี ้ มื่ออายุ 9 ปี สูงกว่าเมื่ออายุ 6 ปี อยูก่ ี่เมตร
1. 2.25 เมตร 2. 3 เมตร 3. 4.5 เมตร
4. 5.5 เมตร 5. 6 เมตร
ตอบ 3
ให้ 𝑥 แทนอายุ (ปี ) และ 𝑓(𝑥) แทนความสูง
โจทย์ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั เชิงเส้น ดังนัน้ 𝑓(𝑥) ต้องอยูใ่ นรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏
10 ปี สูงกว่า 5 ปี อยู่ 7.5 เมตร → 𝑓(10) − 𝑓(5) = 7.5
(𝑎(10) + 𝑏) − (𝑎(5) + 𝑏) = 7.5
10𝑎 + 𝑏 − 5𝑎 − 𝑏 = 7.5
5𝑎 = 7.5
𝑎 = 1.5
ดังนัน้ 9 ปี สูงกว่า 6 ปี อยู่ = 𝑓(9) − 𝑓(6)
= (𝑎(9) + 𝑏) − (𝑎(6) + 𝑏)
= 9𝑎 + 𝑏 − 6𝑎 − 𝑏
= 3𝑎
= 3(1.5) = 4.5
16 O-NET (มี.ค. 64)

12. นักสถิติคาดการณ์จานวนประชากรของชุมชนแห่งหนึง่ ว่า


“เมื่อถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2571 ชุมชนแห่งนีจ้ ะมีจานวนประชากร 7,000 คน
หลังจากนัน้ ไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2583 จานวนประชากรจะลดลงในอัตราร้อยละ 0.2 ต่อปี ”
ถ้าข้อคาดการณ์นเี ้ ป็ นจริง แล้ววันที่ 31 ธันวาคม 2583 ชุมชนแห่งนีจ้ ะมีประชากรอยูก่ ี่คน
1. 7,000 (0.2)12 คน 2. 7,000 (1 − 0.2)12 คน
3. 7,000 (1 − 0.002)12 คน 4. 7,000 (1 − 0.2)13 คน
5. 7,000 (1 − 0.002)13 คน
ตอบ 3
ลดลงร้อยละ 0.2 คือ ลดลง 0.2% → เหลือ 100% − 0.2% = 99.8%
99.8
31 ธ.ค. 2571 มี 7,000 คน → 31 ธ.ค. 2572 (ผ่านไป 1 ปี ) จะเหลือ = 7,000 × คน
100
99.8
→ 31 ธ.ค. 2573 (ผ่านไป 2 ปี ) จะเหลือ = ปี ที่แล้ว × 100
99.8 99.8
= 7,000 × 100 × 100
99.8 2
= 7,000 × (
100
) คน
99.8 3
จะเห็นว่าแต่ละปี คูณเพิ่มทีละ 99.8
100
→ 31 ธ.ค. 2574 (ผ่านไป 3 ปี ) จะเหลือ 7,000 × ( 100 ) คน

→ 31 ธ.ค. 2583 (ผ่านไป 2583 − 2571 = 12 ปี )
99.8 12
จะเหลือ 7,000 × (
100
) = 7,000 × (0.998)12
= 7,000 × (1 − 0.002)12 คน

13. กมลาต้องการระบายสีภาพดาวที่แบ่งออกเป็ น 5 ส่วนดังรูป


ถ้ากมลาจะระบายสีภาพข้างต้นด้วยสีไม้กล่องหนึง่ ที่มีสที ี่ตา่ งกันอยู่ 10 สี
โดยเลือกสีไประบายส่วนละหนึง่ สีจนครบทุกส่วนและไม่ใช้สซี า้ กัน
แล้วจานวนวิธีในการระบายสีที่แตกต่างกันมีทงั้ หมดกี่วิธี
1. 5!10!5! วิธี 2. 10!
5!
วิธี 3. 10! วิธี 4. 105 วิธี 5. 510 วิธี
ตอบ 2
จะเห็นว่าชิน้ ส่วนทัง้ 5 ส่วนในดาว ไม่เหมือนกันเลย จึงไม่ตอ้ งห่วงเรือ่ งการหมุนหรือพลิกรูปแล้วเกิดแบบซา้
และ ทัง้ 5 ส่วนนี ้ สามารถแทนตาแหน่งที่แตกต่างกัน 5 ตาแหน่ง ที่จะนาสีแต่ละสีจะมาเรียงลงไป
10! 10!
เรียงสี 10 สี ลงใน 5 ตาแหน่ง จะเรียงได้ = P10,5 = (10−5)! = 5!
O-NET (มี.ค. 64) 17

14. บริษัทจาหน่ายเครือ่ งใช้ไฟฟ้าแจกรางวัลท่องเทีย่ ว 1 จังหวัด จาก 3 จังหวัด คือ เชียงใหม่ อุบลราชธานี และภูเก็ต
โดยให้ลกู ค้ากรอกแบบฟอร์มลุน้ รางวัลที่แนบมากับเครือ่ งใช้ไฟฟ้า พร้อมทัง้ เลือกจังหวัดทีต่ อ้ งการเพียง 1 จังหวัด
เมื่อครบกาหนดวันที่ระบุ พนักงานรวบรวมแบบฟอร์มที่ลกู ค้าส่งเข้ามาได้ขอ้ มูลดังตาราง

จานวนแบบฟอร์มที่ระบุจงั หวัด (ใบ)


เครือ่ งใช้ไฟฟ้า
เชียงใหม่ อุบลราชธานี ภูเก็ต
โทรทัศน์ 5 3 1
ตูเ้ ย็น 3 8 9
เครือ่ งซักผ้า 1 5 10

ถ้าสุม่ แบบฟอร์มขึน้ มา 1 ใบเพื่อให้รางวัล แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้แบบฟอร์มจากการซือ้ ตูเ้ ย็นทีร่ ะบุ


จังหวัดเชียงใหม่หรือจังหวัดภูเก็ตเท่ากับเท่าใด
4
1. 15 2. 13 3. 49 4. 35 5. 23
ตอบ 1
จานวนแบบที่สนใจ : ตูเ้ ย็นที่ไปเชียงใหม่ = 3 ใบ ตูเ้ ย็นที่ไปภูเก็ต = 9 ใบ
ดังนัน้ ตูเ้ ย็นที่ไปเชียงใหม่หรือภูเก็ต = 3 + 9 = 12 ใบ
จานวนแบบทัง้ หมด : จานวนแบบฟอร์มทัง้ หมด = 5 + 3 + 1 + 3 + 8 + 9 + 1 + 5 + 10 = 45 ใบ
จะได้ความน่าจะเป็ น = 12
45
=
4
15

15. กล่องทึบใบหนึง่ บรรจุสลากทัง้ หมด 20 ใบ เป็ นสลากหมายเลข 1, 2, 3, ... , 19, 20


ถ้าลุม่ หยิบสลากขึน้ มาพร้อมกัน 2 ใบ แล้วความน่าจะเป็ นที่จะได้สลากที่มีผลต่างของหมายเลขบนสลาก
เป็ น 10 เท่ากับเท่าใด
1 1 1
1. 40 2. 38 3. 20 4. 191 1
5. 10
ตอบ 4
จานวนแบบที่สนใจ : จะมี (1, 11), (2, 12), (3, 13), … , (9, 19), (10, 20)
ซึง่ จะมีทงั้ หมด 10 แบบ (ดูจากตัวแรกของคูอ่ นั ดับ)
20×19
จานวนแบบทัง้ หมด : หยิบ 2 ใบจาก 20 ใบ จะหยิบได้ (20 2
) = 2 = 190 แบบ
10 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 190 = 19

16. ร้านขนมแห่งหนึง่ ขายเค้ก 8 ชนิด เป็ นเค้กผลไม้ 4 ชนิด และเค้กอื่นๆ 4 ชนิด โดยจัดแสดงเค้กชนิดละ 1 ชิน้
ในตูก้ ระจกสองชัน้ ชัน้ บนวางเค้กเป็ นแถวได้ 4 ชนิด และชัน้ ล่างวางเค้กเป็ นแถวได้ 4 ชนิด ผูจ้ ดั การต้องการให้
พนักงานจัดแสดงเค้กในตู้ โดยให้วางเค้กผลไม้ไว้ที่ชนั้ บนและวางเค้กอื่นๆ ไว้ที่ชนั้ ล่าง ถ้าพนักงานจัดแสดงเค้ก
อย่างสุม่ แล้วความน่าจะเป็ นที่พนักงานจะจัดแสดงเค้กได้ตรงตามที่ผจู้ ดั การต้องการเท่ากับเท่าใด
1 1 1 1 1
1. 840 2. 420 3. 70 4. 48 5. 35
ตอบ 3
จานวนแบบทัง้ หมด : ทุกตาแหน่งในตูแ้ ตกต่างกัน → เรียงเค้ก 8 ชนิด ในตาแหน่งทีแ่ ตกต่างกัน จะเรียงได้ 8! แบบ
จานวนแบบที่สนใจ : เรียงเค้กผลไม้ 4 ชนิด ที่ชนั้ บน จะเรียงได้ 4! แบบ
18 O-NET (มี.ค. 64)

เรียงเค้กอื่นๆ 4 ชนิด ที่ชนั้ ล่าง จะเรียงได้ 4! แบบ


จะได้จานวนแบบที่สนใจ = 4! × 4! แบบ
4!×4! 4×3×2×1 × 4×3×2×1 1
จะได้ความน่าจะเป็ น = 8!
= 8×7×6×5×4×3×2×1
= 70

17. ร้านไอศกรีมแห่งหนึง่ ขายไอศกรีมรสวนิลา รสช็อกโกแลต และรสผลไม้ซงึ่ มี 4 รส ได้แก่ รสทุเรียน รสมะม่วง รสส้ม


และรสมังคุด ผลการสารวจรสไอศกรีมที่ลกู ค้าชอบ โดยให้ลกู ค้าแต่ละคนเลือกรสไอศกรีมทีช่ อบเพียง 1 รส เท่านัน้
แสดงด้วยแผนภูมิดงั นี ้
รสวนิลา รสทุเรียน 15 คน
30% รสมะม่วง 12 คน
รสผลไม้
รสช็อกโกแลต รสส้ม 10 คน
50% รสมังคุด 23 คน

จากแผนภูมิมีลกู ค้าเข้าร่วมการสารวจในครัง้ นีท้ งั้ หมดกี่คน


1. 140 คน 2. 220 คน 3. 240 คน 4. 300 คน 5. 600 คน
ตอบ 4
พิจารณาค่าเปอร์เซ็นต์ วนิลา 30% และ ช็อกโกแลต 50% → เหลือ 100% − 30% − 50% = 20% เป็ นรสผลไม้
จากรายละเอียดในช่องทีแ่ ตกออก จะได้รสผลไม้ = 15 + 12 + 10 + 23 = 60 คน
20
สมมุติให้ทงั้ หมดมี 𝑥 คน จะได้ 100 ∙ 𝑥 = 60
𝑥 = 300 คน

18. การสารวจกิจกรรมของนักเรียนกลุม่ หนึง่ เป็ นเวลา 4 เดือน ได้ผลการสารวจดังนี ้


จานวนนักเรียน (คน) เดือนที่ 1 เดือนที่ 2 เดือนที่ 3 เดือนที่ 4

20
15
10
5
0 กิจกรรม
อ่านหนังสือ ถ่ายภาพ ดูภาพยนตร์

พิจารณาข้อความต่อไปนี ้
ก) จานวนนักเรียนที่อา่ นหนังสือในเดือนที่ 3 เป็ นสามเท่าของเดือนที่ 2
ข) กิจกรรมทีม่ ีจานวนนักเรียนลดลงมากที่สดุ ในเดือนที่ 4 เมื่อเทียบกับเดือนที่ 1 คือ กิจกรรมถ่ายภาพ
ค) ในเดือนที่ 1 มีนกั เรียนดูภาพยนตร์นอ้ ยกว่า 10 คน แต่ในเดือนที่ 2 มีนกั เรียนดูภาพยนตร์มากกว่า 15 คน
จากข้อความ ก) ข) และ ค) ข้างต้น ข้อใดถูกต้อง
1. ข้อความ ก) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 2. ข้อความ ข) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้
3. ข้อความ ค) ถูกต้องเพียงข้อเดียวเท่านัน้ 4. ข้อความ ก) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
5. ข้อความ ข) และ ค) ถูกต้องเท่านัน้
ตอบ 5
O-NET (มี.ค. 64) 19

ก) อ่านหนังสือ → ดูกราฟกลุม่ แรก เดือนที่ 3 มี 15 คน


:
เดือนที่ 2 ประมาณ 11 หรือ 12 คน
เดือนที่ 3 ไม่ใช่ 3 เท่าของเดือนที่ 2 แน่ๆ → ก. ผิด
ข) เทียบเดือนที่ 4 กับเดือนที่ 1 ต้องดูกราฟแท่งที่ 4 (แท่งขวาสุด) เทียบกับแทนที่ 1 (แท่งซ้ายสุด) ของแต่ละกิจกรรม
จะเห็นว่ากลุม่ อ่านหนังสือ กับกลุม่ ดูภาพยนตร์ กราฟแท่งขวาสุด สูงกว่ากราฟแท่งซ้ายสุด → นักเรียนเพิ่มขึน้
มีเพียงกราฟกลุม่ ถ่ายภาพเท่านัน้ ที่กราฟแท่งขวาสุด ต่าว่ากราฟแท่งซ้ายสุด จึงถือว่าลดลงมากทีส่ ดุ → ข. ถูก
ค) ดูภาพยนต์ → ดูกราฟกลุม่ ที่ 3 : เดือนที่ 1 ประมาณ 8 หรือ 9 คน ซึง่ น้อยกว่า 10 คนแน่ๆ
เดือนที่ 2 ประมาณ 18 หรือ 19 คน ซึง่ มากกว่า 15 คนแน่ๆ → ค. ถูก

19. การสอบครัง้ หนึง่ มีขอ้ สอบ 8 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียน 11 คน แสดงด้วยแผนภาพลาต้นและใบ
ดังนี ้ 1 0 5 5
2 0 5
3 0 0 0 0 5 5
การเปรียบเทียบค่าเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน และฐานนิยมของข้อมูลชุดนี ้ ตรงกับข้อใด
1. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = มัธยฐาน = ฐานนิยม
2. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน < ฐานนิยม
3. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < ฐานนิยม และ ฐานนิยม = มัธยฐาน
4. มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต และ ฐานนิยม = มัธยฐาน
5. ฐานนิยม < มัธยฐาน < ค่าเฉลีย่ เลขคณิต
ตอบ 3
เขียนข้อมูลเป็ นตัวๆ ออกมา โดยใช้หลักแรกเป็ นหลักสิบ แต่หลักทีเ่ หลือทางขวาเป็ นหลักหน่วย จะได้
10 , 15 , 15 , 20 , 25 , 30 , 30 , 30 , 30 , 35 , 35 → 11 จานวน
ค่าเฉลีย่ เลขคณิต = 10+15+15+20+25+30+30+30+30+35+35
11
=
275
11
= 25 คะแนน
𝑁+1 11+1
มัธยฐาน = ตัวที่ 2 = ตัวที่ 2 = ตัวที่ 6 = 30 คะแนน
ฐานนิยม = ข้อมูลที่ซา้ มากที่สดุ = 30 คะแนน
ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิต < มัธยฐาน = ฐานนิยม

20. แผนภาพกล่องของคะแนนสอบ 2 วิชาของนักเรียนกลุม่ หนึง่ ดังนี ้

คะแนนสอบวิชาที่ 1

คะแนนสอบวิชาที่ 2

6 8 10 12 14 16 18 20

ข้อใดถูกต้อง
1. พิสยั ของคะแนนสอบวิชาที่ 2 เท่ากับ 3 คะแนน
2. มัธยฐานของคะแนนสอบวิชาที่ 1 เท่ากับ 12.5 คะแนน
20 O-NET (มี.ค. 64)

3. ควอร์ไทล์ที่ 1 ของคะแนนสอบวิชาที่ 1 เท่ากับ 12 คะแนน


4. เปอร์เซ็นไทล์ที่ 75 ของคะแนนสอบวิชาที่ 2 เท่ากับ 16 คะแนน
5. พิสยั ระหว่างควอร์ไทล์ของคะแนนสอบวิชาที่ 1 มากกว่าวิชาที่ 2
ตอบ 5
แผนภาพกล่อง จะบอก ค่าน้อยสุด , Q1 , Q2 , Q3 , ค่ามากสุด ตามลาดับ
1. วิชาที่ 2 : พิสยั = มากสุด − น้อยสุด = 18 − 13 = 5 คะแนน 
2. วิชาที่ 1 : มัธยฐาน = Q2 = ค่าขีดตรงกลางของกล่อง = 13 คะแนน 
3. วิชาที่ 1 : Q1 = 11 คะแนน 
4. วิชาที่ 1 : P75 = Q3 = 15 คะแนน 
5. พิสยั ระหว่างควอไทล์ = Q3 − Q1 → วิชาที่ 1 คือ 15 − 11 = 4 คะแนน
วิชาที่ 2 คือ 17 − 14 = 3 คะแนน
→ วิชาที่ 1 มากกว่า 

21. แผนภาพกล่องแสดงอายุพนักงาน (ปี ) ของแผนกหนึง่ ที่มีพนักงาน 9 คน ณ วันที่ 1 มกราคม 2560 ดังนี ้

24 26 28 30 32 34 36 38

ณ วันที่ 1 มกราคม 2562 พนักงานทัง้ เก้าคนยังคงทางานอยูท่ แี่ ผนกนี ้


และมีพนักงานใหม่เพิ่มอีก 2 คนอายุ 26 ปี และ 35 ปี
แผนภาพกล่องในข้อใดทีเ่ ป็ นไปได้มากที่สดุ ที่แสดงอายุพนักงานของแผนกนี ้ ณ วันที่ 1 มกราคม 2562

1.
24 26 28 30 32 34 36 38

2.
24 26 28 30 32 34 36 38

3.
24 26 28 30 32 34 36 38

4.
24 26 28 30 32 34 36 38

5.
24 26 28 30 32 34 36 38

ตอบ 1
จากแผนภาพกล่อง 1 ม.ค. 2560 ที่กาหนดให้ จะได้ min, Q1, Q2, Q3, max คือ 25, 27, 31, 32, 34 ปี ตามลาดับ
วันที่ 1 ม.ค. 2562 คือผ่านไป 2 ปี พนักงานเก่าทัง้ 9 คน จะมีอายุเพิ่มขึน้ คนละ 2 ปี ทกุ คน
O-NET (มี.ค. 64) 21

ดังนัน้ min, Q1, Q2, Q3, max ของพนักงานเก่าทัง้ 9 คน จะเพิ่มขึน้ 2 ปี ทกุ ค่า ได้เป็ น 27, 29, 33, 34, 36 ปี
จากนัน้ มีพนักงานใหม่เพิ่ม 2 คน ซึง่ มีอายุ 26 ปี และ 35 ปี
 26 ปี น้อยกว่า min ของพนักงานเก่า (27 ปี ) ดังนัน ้ min ใหม่จะเปลีย่ นจาก 27 ปี เป็ น 26 ปี
 35 ปี ยังไม่เกิน max ของพนักงานเก่า (36 ปี ) ดังนัน ้ max จะยังเป็ น 36 ปี เท่าเดิม
 Q 2 เดิมคือ 33 ปี แสดงว่าพนักงานที่อยูต ่ าแหน่งตรงกลาง มีอายุ 33 ปี (Q2 = Med)
เนื่องจาก 26 < 33 < 35 ดังนัน้ พนักงานใหม่ 2 คน จะมีอายุคร่อมหน้าคร่อมหลังคนที่อยูต่ รงกลาง
ทาให้คนตรงกลาง จะยังคงมีตาแหน่งอยูต่ รงกลางเหมือนเดิม ดังนัน้ Q2 ใหม่ จะยังเป็ น 33 ปี เหมือนเดิม
พิจารณาตัวเลือก จะเห็นว่าข้อที่ min = 26 ปี max = 36 ปี และ Q2 = 33 ปี จะตรงกับข้อ 1
หมายเหตุ : อันที่จริง แผนภาพในข้อ 1 ยังคลาดเคลือ่ นจากที่ควรจะเป็ นเล็กน้อย
เนื่องจาก 26 ปี น้อยกว่า Q1 เดิม (= 29 ปี ) ดังนัน้ Q1 ใหม่ จะน้อยลงเล็กน้อย จะไม่เท่าเดิมเหมือนข้อ 1
และ 35 ปี มากกว่า Q 3 เดิม (= 34 ปี ) ดังนัน ้ Q3 ใหม่ จะมากขึน้ เล็กน้อย จะไม่เท่าเดิมเหมือนข้อ 1
แต่ถา้ ต้องให้เดาเกณฑ์ทใี่ ช้วดั ว่าข้อไหนเป็ นไปได้มากที่สดุ ก็คงจะเป็ นข้อ 1

22. ข้อมูลเชิงปริมาณจานวน 11 ตัวที่แสดงด้วยแผนภาพจุดในข้อใด มีพิสยั ระหว่างควอร์ไทล์นอ้ ยที่สดุ

1.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

2.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

3.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

4.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

5.
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

ตอบ 1
พิสยั ระหว่างควอร์ไทล์ หาได้จากสูตร Q3 − Q1
ตาแหน่งของ 𝑄𝑟 จะอยู่
ข้อมูลมี 11 จานวน ดังนัน้ Q1 อยูต่ วั ที่ 14 ∙ (11 + 1) = 3
3
ตัวที่ 𝑟4 ∙ (𝑁 + 1)
Q 3 อยูต
่ วั ที่ 4 ∙ (11 + 1) = 9 (คือตัวที่ 3 นับจากท้าย)
ดังนัน้ หาพิสยั ระหว่างควอร์ไทล์ของแผนภาพในแต่ละข้อได้จากสูตร ตัวที่ 3 จากท้าย − ตัวที่ 3 จากหัว
1. 7 − 3 = 4 2. 9 − 4 = 5 3. 8 − 3 = 5
4. 9 − 2 = 7 5. 9 − 2 = 7
22 O-NET (มี.ค. 64)

23. กาหนดข้อมูลจากกลุม่ ตัวอย่าง 3 ชุดดังนี ้


8
ข้อมูลชุดที่ 1 ประกอบด้วย 𝑥1 , 𝑥2 , 𝑥3 , … , 𝑥8 และ ∑ (𝑥𝑖 − 𝑥̅ )2 = 140
𝑖=1
10
ข้อมูลชุดที่ 2 ประกอบด้วย 𝑦1 , 𝑦2 , 𝑦3 , … , 𝑦10 และ ∑ (𝑦𝑖 − 𝑦̅)2 = 108
𝑖=1
15
ข้อมูลชุดที่ 3 ประกอบด้วย 𝑧1 , 𝑧2 , 𝑧3 , … , 𝑧15 และ ∑ (𝑧𝑖 − 𝑧̅)2 = 112
𝑖=1
เมื่อ 𝑥̅ , 𝑦̅ , 𝑧̅ เป็ นค่าเฉลีย่ เลขคณิตของข้อมูลชุดที่ 1, 2 และ 3 ตามลาดับ
ถ้า 𝑥̅ = √5 , 𝑦̅ = √2 , 𝑧̅ = 1 แล้ว ข้อใดเป็ นการเรียงลาดับชุดข้อมูลที่มกี ารกระจายจากน้อยไปมาก
1. ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 3
2. ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 3
3. ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 1
4. ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 1 , ข้อมูลชุดที่ 2
5. ข้อมูลชุดที่ 3 , ข้อมูลชุดที่ 2 , ข้อมูลชุดที่ 1
ตอบ 1
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ในการเทียบการกระจายของข้อมูลหลายๆ กลุม่ จะต้องใช้ “สัมประสิทธิ์การแปรผัน” ซึง่ หาได้จากสูตร |ค่าเฉลี่ยเลขคณิต|
2
𝑖 −𝑥̅ )
ข้อมูลทัง้ 3 ชุดในข้อนี ้ เป็ น “กลุม่ ตัวอย่าง” ดังนัน้ ต้องหา ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน 𝑠 จากสูตร √∑(𝑥𝑛−1
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2
ข้อมูลชุดที่ 1 มี 8 ตัว : √
𝑛−1
140
= √8−1 = √20 → สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
√20
𝑥̅
=
√20
√5
= √4

∑(𝑦𝑖 −𝑦̅)2
ข้อมูลชุดที่ 2 มี 10 ตัว : √
𝑛−1
108
= √10−1 = √12 → สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
√12
𝑦̅
=
√12
√2
= √6

∑(𝑧𝑖 −𝑧̅)2
ข้อมูลชุดที่ 3 มี 15 ตัว : √
𝑛−1
= √
112
15−1
= √8 → สัมประสิทธิ์การแปรผัน =
√8
𝑧̅
=
√8
1
= √8

เนื่องจาก √4 < √6 < √8 ดังนัน้ จะเรียงการกระจายได้เป็ น ชุดที่ 1 , ชุดที่ 2 , ชุดที่ 3

24. ข้อมูลเชิงปริมาณชุดหนึง่ ได้จากกลุม่ ตัวอย่าง 10 ตัว ดังนี ้


90 , 110 , 120 , 120 , 120 , 130 , 130 , 140 , 140 , 150
ถ้าเพิม่ ตัวอย่างอีกหนึง่ ตัวซึง่ มีขอ้ มูลเป็ น 125 แล้วค่าวัดทางสถิตใิ นข้อใดจะเปลีย่ นไป
1. พิสยั 2. ฐานนิยม 3. มัธยฐาน
4. ค่าเฉลีย่ เลขคณิต 5. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ตอบ 5
1. พิสยั หาได้จาก ข้อมูลมากสุด (150) ลบ ข้อมูลน้อยสุด (90)
จะเห็นว่า 125 อยูร่ ะหว่างข้อมูลมากสุด และข้อมูลน้อยสุดของเดิม
ดังนัน้ ถ้าเพิ่ม 125 เข้ามา จะไม่ทาให้ขอ้ มูลมากสุด หรือข้อมูลน้อยสุด เปลีย่ น → พิสยั เท่าเดิม
2. ฐานนิยมคือข้อมูลทีซ่ า้ มากที่สดุ (คือ 120 ซึง่ มี 3 ตัว)
จะเห็นว่าข้อมูลเดิม ไม่มี 125 อยูเ่ ลย
ดังนัน้ การเพิ่ม 125 เข้ามา จะไม่ทาให้ขอ้ มูลที่ซา้ มากที่สดุ เปลีย่ นไป → ฐานนิยมเท่าเดิม
3. มัธยฐาน คือข้อมูลที่มตี าแหน่งอยูต่ รงกลาง คือ ตัวที่ 𝑁+1 2
10+1
= 2 = 5.5 → ระหว่างตัวที่ 5 กับตัวที่ 6
O-NET (มี.ค. 64) 23

ซึง่ ในข้อมูลชุดเดิม คือระหว่าง 120 กับ 130 → มัธยฐานเดิม = 120 +2 130 = 125
ดังนัน้ ถ้าเพิ่ม 125 จะเข้าไป มันจะไปแทรกอยูต่ าแหน่งตรงกลางพอดี
90 , 110 , 120 , 120 , 120 , 125 , 130 , 130 , 140 , 140 , 150
ซึง่ จะทาให้ มัธยฐานใหม่ = 125 เท่าเดิม
4. ผลรวมข้อมูลเดิม = 90 + 110 + 120 + 120 + 120 + 130 + 130 + 140 + 140 + 150 = 1250
ดังนัน้ ค่าเฉลีย่ เลขคณิตเดิม = 1250
10
= 125
ถ้าเพิม่ 125 เข้าไป จะได้ผลรวมข้อมูลใหม่เพิ่มเป็ น 1250 + 125 = 1375
1375
แต่ขอ้ มูลจะเพิ่มเป็ น 11 จานวน จะได้ ค่าเฉลีย่ ใหม่ = 10+1 = 125 เท่าเดิม
∑(𝑥𝑖 −𝑥̅ )2
5. โจทย์ให้ขอ้ มูลเป็ นกลุม่ ตัวอย่าง → ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 𝑠 = √ 𝑛−1
∑(𝑥𝑖 −125)2
= √ 10−1
(𝑥̅ = 125 จากข้อก่อนหน้า)
(90−125)2 +(110−125)2 +(120−125)2 + … +(150−125)2
= √ 9
ถ้าเพิม่ 125 เข้าไปอีกตัว ตัวเศษจะเพิ่มขึน้ (125 − 125) = 0 → คือตัวเศษเท่าเดิม
2

แต่ขอ้ มูลจะเพิ่มเป็ น 11 จานวน → ตัวส่วน จะเปลีย่ นเป็ น 11 − 1 = 10


เนื่องจาก เศษเท่าเดิม แต่ตวั ส่วนเปลีย่ นจาก 9 เป็ น 10 (และเศษ > 0) ดังนัน้ 𝑠 จะเปลีย่ น

25. ผลการสารวจการเลือกคณะเข้าศึกษาต่อของนักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 50 คน พบว่า


1) มีนกั เรียนเลือกทัง้ คณะรัฐศาสตร์และคณะนิเทศศาสตร์ 10 คน
2) มีนกั เรียนเลือกคณะรัฐศาสตร์ แต่ไม่เลือกคณะนิเทศศาสตร์ 8 คน
3) มีนกั เรียนเลือกคณะอื่นๆ ที่ไม่ใช่คณะรัฐศาสตร์และที่ไม่ใช่คณะนิเทศศาสตร์ 12 คน
มีนกั เรียนเลือกคณะนิเทศศาสตร์กี่คน
ตอบ 30
จากข้อมูลที่โจทย์ให้ จะวาดแผนภาพเวนน์ได้ดงั รูป รัฐศาสตร์ นิเทศ
จะเห็นว่าส่วนที่อยูน่ อกวงนิเทศ จะมี 12 + 8 = 20 คน 8 10
12
แต่ทงั้ หมดมี 50 คน → วงนิเทศจะมี 50 − 20 = 30 คน

26. บริษัทรับเหมาสร้างอาคารแห่งหนึง่ ทาสัญญากับผูว้ า่ จ้าง


โดยระบุคา่ ปรับเป็ นรายวันในกรณีที่ บริษัทส่งมอบอาคารให้กบั ผูว้ า่ จ้างล่าช้า ดังนี ้
ส่งมอบอาคารล่าช้าหนึง่ วันคิดค่าปรับ 40,000 บาท
ส่งมอบอาคารล่าช้าสองวันคิดค่าปรับ 40,000 + 50,000 บาท
ส่งมอบอาคารล่าช้าสามวันคิดค่าปรับ 40,000 + 50,000 + 60,000 บาท
เป็ นเช่นนีไ้ ปเรือ่ ยๆ จนกว่าจะส่งมอบอาคาร
ถ้าบริษัทส่งมอบอาคารภายในเวลาที่กาหนดจะได้กาไร 5,000,000 บาท แต่หลังจากส่งมอบอาคาร
พบว่า บริษัท ได้กาไร 3,530,000 บาท แล้ว บริษัทส่งมอบอาคารล่าช้าไปกี่วนั
ตอบ 14
ส่งมอบช้าจึงต้องจ่ายค่าปรับ ทาให้กาไรลดลง → จะสรุปได้วา่ ค่าปรับที่ตอ้ งจ่าย เท่ากับกาไรที่สดลง
24 O-NET (มี.ค. 64)

จากข้อมูลค่าปรับที่โจทย์ให้ จะเห็นว่า ค่าปรับเป็ นอนุกรมเลขคณิต ที่มี 𝑎1 = 40,000 และ 𝑑 = 10,000


แทนในสูตรอนุรมเลขคณิต 𝑆𝑛 = 𝑛2 (2𝑎1 + (𝑛 − 1)𝑑)
𝑛
จะได้คา่ ปรับ =
2
(2(40,000) + (𝑛 − 1)(10,000)) เมื่อ 𝑛 คือจานวนพจน์ (= จานวนวัน)
และกาไรลดลง คิดเป็ นเงิน = 5,000,000 − 3,530,000 = 1,470,000 บาท
ดังนัน้ 𝑛
2
(2(40,000) + (𝑛 − 1)(10,000))
= 1,470,000
2
40,000𝑛 + 5,000𝑛 − 5,000𝑛 = 1,470,000
5,000𝑛2 + 35,000𝑛 = 1,470,000
𝑛2 + 7𝑛 = 294
2
𝑛 + 7𝑛 − 294 = 0
(𝑛 − 14)(𝑛 + 21) = 0
𝑛 = 14 , −21 (จานวนวัน เป็ นลบไม่ได้)

27. ภัทร์ฝากเงินที่สหกรณ์ออมทรัพย์จานวน 30,000 บาท โดยสหกรณ์ให้ดอกเบีย้ 3% ต่อปี และจ่ายดอกเบีย้ ทบต้น


ทุก 4 เดือน ถ้าภัทร์ฝากเงินจานวนนีเ้ ป็ นเวลา 8 เดือน แล้วภัทร์จะมีเงินฝากเพิม่ ขึน้ กี่บาท
ตอบ 603
ทบต้นทุก 4 เดือน = ปี ละ 12 4
= 3 งวด → ดอกเบีย้ 3% ต่อปี คิดเป็ นตอกเบีย้ ต่องวด 𝑟 = 3 = 1%
3%

ฝาก 8 เดือน คิดเป็ นจานวนงวด 𝑛 = 84 = 2


นั่นคือ เงินต้น 𝑃 = 30,000 ฝาก 2 งวด ได้ดอกเบีย้ งวดละ 1%
1 2
จะไดเงินรวม = 30,000 (1 + 100) = 30,000(1.01)2
= 30,000(1.0201) = 30,603 → เพิ่มขึน้ 603 บาท

28. ชื่นใจขายกระเป๋ าผ้าทางออนไลน์และได้ทาการสารวจตลาด พบว่า


สมการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคากระเป๋ ากับจานวนกระเป๋ าที่ขายได้ในหนึง่ สัปดาห์ คือ
𝑄(𝑥) = 140 − 2𝑥
เมื่อ 𝑥 แทนราคากระเป๋ าหนึง่ ใบ (บาท)
และ 𝑄(𝑥) แทนจานวนกระเป๋ าที่ขายได้ (ใบ)
ถ้าชื่นใจต้องการขายกระเป๋ าให้ได้เงินมากที่สดุ แล้วชื่นใจต้องขายกระเป๋ าใบละกี่บาท
ตอบ 35
เงินที่ขายกระเป๋ าได้ = ราคากระเป๋ าหนึง่ ใบ × จานวนกระเป๋ าที่ขายได้
= 𝑥 × (140 − 2𝑥)
= 140𝑥 − 2𝑥 2 = −2𝑥 2 + 140𝑥 → เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง
เมื่อเทียบกับรูปทั่วไปของฟังก์ชนั กาลังสอง 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 จะได้ 𝑎 = −2 , 𝑏 = 140 และ 𝑐 = 0
𝑏 140
ใช้สตู รค่าน้อยสุดมากสุด → เนื่องจาก 𝑎 < 0 จะได้คา่ มากสุด เกิดขึน้ เมื่อ 𝑥 = − 2𝑎 = − 2(−2) = 35
O-NET (มี.ค. 64) 25

29. ต้องการสร้างจานวนนับที่นอ้ ยกว่า 150 จากเลขโดด 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยที่เลขโดดในแต่ละหลักไม่ซา้ กัน


จะสร้างได้ทงั้ หมดกี่จานวน
ตอบ 34
จานวนนับที่นอ้ ยกว่า 150 จะมีได้ไม่เกิน 3 หลัก → จะแบ่งกรณีตามจานวนหลัก
กรณีเลข 1 หลัก : เลขหลักเดียว น้อยกว่า 150 แน่นอน → มีเลขโดด 5 ตัว จะสร้างเลข 1 หลักได้ 5 แบบ
กรณีเลข 2 หลัก : เลข 2 หลัก น้อยกว่า 150 แน่นอน → หลักสิบ เลือกได้ 5 แบบ
หลักหน่วย เลือกจากตัวทีเ่ หลือ จะเลือกได้ 4 แบบ
รวม จะเลือกได้ 5 × 4 = 20 แบบ
กรณีเลข 3 หลัก : หลักร้อยต้องเป็ น 1 เท่านัน้ → เลือกได้ 1 แบบ
หลักสิบ เป็ น 2, 3, 4 ก็ได้ → เลือกได้ 3 แบบ
หลักหน่วย เป็ นอะไรก็ได้ใน 5 ตัว ที่ไม่ใช่ 2 หลักแรก → เลือกได้ 5 − 2 = 3 แบบ
รวม จะเลือกได้ 1 × 3 × 3 = 9 แบบ
รวมจานวนแบบทัง้ หมด = 5 + 20 + 9 = 34 แบบ

30. ผลการสารวจจานวนหนังสืออ่านเล่นของนักเรียนกลุม่ หนึง่ จานวน 50 คนดังนี ้


จานวนหนังสืออ่านเล่น (เล่ม) จานวนนักเรียน (คน)
4 6
5 8
6 16
7 20

ค่าเฉลีย่ เลขคณิตของจานวนหนังสืออ่านเล่นของนักเรียนกลุม่ นี ้ เท่ากับกี่เล่ม


ตอบ 6
หาค่าเฉลีย่ ของข้อมูลที่แจกแจงความถี่ ต้องใช้ความถี่ทเี่ ป็ นจานวนตัว มาคูณกับข้อมูล เป็ นผลรวมของข้อมูลค่านัน้ ๆ ก่อน
จานวนหนังสืออ่านเล่น (เล่ม) จานวนนักเรียน (คน) ผลรวมข้อมูลของแต่ละแถว
4 6 4× 6 = 24
5 8 5× 8 = 40
6 16 6 × 16 = 96
7 20 7 × 20 = 140
300
300 → ค่าเฉลีย่ = 50
= 6

31. ข้อมูลชุดหนึง่ ประกอบด้วยจานวนเต็มบวก 5 จานวน โดยที่มมี ธั ยฐานเท่ากับ 6 และพิสยั เท่ากับ 7


ถ้ามัธยฐานมากกว่าฐานนิยมอยู่ 1 แล้วค่าทีม่ ากที่สดุ ของข้อมูลชุดนีเ้ ท่ากับเท่าใด
ตอบ 12
มัธยฐาน = 6 แสดงว่า ตัวทีม่ ีตาแหน่งตรงกลาง = 6 → จะได้ขอ้ มูลทัง้ 5 คือ ___ , ___ , 6 , ___ , ___
มัธยฐาน มากกว่าฐานนิยมอยู่ 1 แสดงว่า ฐานนิยม = 6 − 1 = 5
แต่ฐานนิยมต้องมีความถี่มากที่สดุ ดังนัน้ ต้องมี 5 อย่างน้อย 2 ตัว
26 O-NET (มี.ค. 64)

เนื่องจาก 6 อยูต่ าแหน่งตรงกลาง จึงมีขอ้ มูลที่นอ้ ยกว่า 6 ได้แค่ 2 ตัว ดังนัน้ ทัง้ 2 ตัวที่นอ้ ยกว่า 6 ต้องเป็ น 5 ทัง้ คู่
→ จะได้ขอ้ มูลทัง้ 5 คือ 5 , 5 , 6 , ___ , ___
พิสยั = 7 แสดงว่า ข้อมูลมากสุด − ข้อมูลน้อยสุด = 7
ข้อมูลมากสุด − 5 = 7
ข้อมูลมากสุด = 12

32. นาตาชาบันทึกความดันโลหิต (มีหน่วยเป็ นมิลลิเมตรปรอท) ในขณะที่หวั ใจบีบตัววันละหนึง่ ครัง้


เป็ นเวลา 15 วัน โดยเรียงข้อมูลจากน้อยไปมากดังนี ้
116 , 117 , 120 , 120 , 121 , 123 , 124 , 124 ,
125 , 128 , 129 , 130 , 133 , 149 , 151
ถ้าค่านอกเกณฑ์คือ ข้อมูลที่มีคา่ น้อยกว่า Q1 − 1.5(Q3 − Q1 ) หรือ
ข้อมูลที่มีคา่ มากกว่า Q3 + 1.5(Q3 − Q1 )
แล้วผลบวกของค่านอกเกณฑ์ทงั้ หมดของข้อมูลข้างต้นเท่ากับเท่าใด
ตอบ 300
1 1
จากสูตรตาแหน่งควอไทล์ : Q1 จะอยูต
่ วั ที่ 4
× (𝑁 + 1) = 4
× (15 + 1) = 4 → นับตัวดู จะได้ Q1 = 120
3 3
Q 3 จะอยูต
่ วั ที่ 4
× (𝑁 + 1) = 4
× (15 + 1) = 12 → นับตัวดู จะได้ Q 3 = 130
ดังนัน้ Q1 − 1.5(Q3 − Q1 ) = 120 − 1.5(130 − 120) = 105
และ Q3 + 1.5(Q3 − Q1 ) = 130 + 1.5(130 − 120) = 145
ดังนัน้ ค่านอกเกณฑ์ของข้อมูลชุดนี ้ คือ ข้อมูลที่มีคา่ น้อยกว่า 105 หรือมากกว่า 145
จากข้อมูลที่ให้ จะเห็นว่าไม่มีขอ้ มูลที่นอ้ ยกว่า 105 แต่มีขอ้ มูลที่มากกว่า 145 สองจานวนคือ 149 กับ 151
ดังนัน้ ผลบวกของค่านอกเกณฑ์ของข้อมูลชุดนี ้ คือ 149 + 151 = 300

เครดิต
ขอบคุณ ข้อสอบ จาก อ. ปิ๋ ง GTRmath
ขอบคุณ เฉลยละเอียด จาก อ. ศิลา สุขรัศมี
ขอบคุณ คุณ ธนพล สาราญรืน่
และ คุณ Chonlakorn Chiewpanich
และ คุณ Pawarit Karusuporn ที่ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของเอกสาร

You might also like