Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

หน่ วยที่1 สร้ างสั มพันธไมตรีกับภาคีนอกอาเซียน

การที่อาเซียนมีปฏิสัมพันธ์กบั ภายนอกโดยมีความสัมพันธ์และความร่ วมมือกับประเทศคู่เจรจา


(Dialogue Partners) และสร้างกรอบความร่ วมมือกับประเทศต่างๆ ก็เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนกับ
ประเทศต่าง ๆ ในโลกดารงอยูร่ ่ วมกันอย่างมีสันติ มีเสถียรภาพ และมีความมัง่ คัง่ ไพบูลย์ ตลอดจนผูกพัน
กันเป็ นหุ้นส่วนเพื่อการพัฒนาอย่างมีพลวัต และเป็ นชุมชนแห่งสังคมที่เอื้ออาทร ซึ่งเป็ นไปตามหลักการ
พื้นฐานของอาเซียน และวิสัยทัศน์อาเซียน พ.ศ. 2563 (ASEAN Vision 2020) ภายใต้กฎหมายระหว่าง
ประเทศของอาเซียน ที่เรี ยกว่ากฎบัตรอาเซียน โดยมีหมวด 12 ว่าด้วยความสัมพันธ์ภายนอก (External
Relations) ที่ได้กาหนดแนวทางและรู ปแบบการดาเนินความสัมพันธ์ในลักษณะต่างๆ ไว้
1. รูปแบบความสัมพันธ์ ของอาเซียนกับภายนอก
อาเซียนมีความร่ วมมือกับประเทศนอกอาเซียนเพื่อเสริ มสร้างการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่น
ดังปรากฎในรู ปแบบความสัมพันธ์หรื อกรอบความร่ วมมือ ดังต่อไปนี้
1. อาเซียน+1 (ASEAN Plus One: APO) เป็ นกรอบความร่ วมมือระหว่างอาเซียนกับอีก 1ประเทศหรื อ 1 กลุ่ม
ประเทศ หรื อ 1 องค์การระหว่างประเทศที่เป็ นคู่เจรจา ซึ่ งประกอบด้วย 4 ลักษณะ
1.1 อาเซียนกับประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปนุ่ แคนาดา
สหรัฐอเมริ กา เกาหลีใต้ อินเดีย จีน และรัสเซีย
1.2 อาเซียนกับประเทศคู่เจรจาเฉพาะด้าน (Sectoral Dialogue Partner) อาเซียนมีการเจรจาเฉพาะด้านกับปาก็
สถานเพียงประเทศเดียว
1.3 อาเชียนกับกลุ่มประเทศคู่เจรจา อาเชียนมีการเจรจากับสหภาพยุโรปเพียงกลุ่มประเทศเดียว

1.4 อาเชียนกับองค์การระหว่างประเทศคู่เจรจา อาเยนสถาปนาความสัมพันธ์กบั องค์การระหว่างประเทศเพียง


องค์การเดียว คือ สหประชาชาติ
2. อาเซียน+3 (ASEAN Plus Three: APT) เป็ นกรอบความร่ วมมือระหว่างอาเซียนกับอีก3 ประเทศในเอเชีย
ตะวันออก ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ โดยมีการประชุมครั้งแรกใน พ.ศ. 2540
3. อาเซียน+6 (ASEAN Plus Six : APS) เป็ นกรอบความร่ วมมือระหว่างอาเชียนกับอีก 6
ประเทศนอกอาเชียน ไต้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแลนฺด์ มีผนู ้ าประเทศเข้า
ร่ วมประชุมจานวน 16 ประเทศ โดยมีการประชุมครั้งแรกใน พ.ศ. 2548
ประเทศนอกอาเซียน ได้แก่ จีน ญี่ปุ่นเกหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ สหรัฐอเม
4.อาเซียน+8 (ASEAN Plus Eight : APE) เป็ นกรอบความร่ วมมือระหว่างอาเซียน มีผเู ้ ข้าร่ วมประชุมและ
ทางานร่ วมกันถึง 18 ประเทศ โดยมีการประชุมครั้งแรกใน
2. กลไกการดาเนินความสัมพันธ์ ของอาเซียน
กลไกสาคัญในการดาเนินความสัมพันธ์กบั คู่เจรจาของอาเซียน มีดงั นี้
1.การประชุมสุ ดยอดอาเซียน (ASEAN Summit) เป็ นการประชุมประจาปี ซึ่งมีการประชุมกับประเทศจีน ญี่ปุ่น
เกาหลี อินเดีย เป็ นประจาทุกปี แต่สาหรับประเทศสหรัฐอเมริ กาและรัสเซี ย ไม่เป็ นประจาทุกปี โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อหาอพบปะผูน้ าประเทศเหล่านี้ และแนวทางการดาเนินวามสัมพันธ์ร่วมกัน ตัวอย่างเช่น การ
ประชุมสุดยอดผูน้ าอาเซียนครั้งที่ ,
เดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุ งพนมเปญ ประเทศกัมพูชา ที่ประชุมได้ลงนามรับรองปฏิญญาว่าด้วย
สิ ทธิมนุษยชนอาเซียนและตัดสิ นใจประกาศเลื่อนกาหนดการเปิ ดประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
เป็ นเวลา 12 เดือน จากเดิมวันที่ มกราคม พ.ศ. 2558 ไปเป็ นในปี เดียวกัน เพราะมีขอ้ จากัดหลายประการ รวมไป
ถึงข้อตกลงและขั้นตอนต่างๆที่ประเทศสมาชิกยังตกลงกันไม่ได้ อาทิ ประเด็นเรื่ องการตรวจลงตรา ภาษีอากร
สิ นค้า กฎระเบียบร่ างว่าด้วยการลงทุนระหว่างกัน เป็ นตัน รวมทั้งที่ประชุมได้ดาเนินการอภิปรายเกี่ยวกับการ
เพิ่มความร่ วมในเอเชียตะวันออกและร่ วมกันรับมือกับวิกฤตต่าง ๆ อีกทั้งจะมีการประชุมระดับผูน้ าแบบพหุภาคี
กับญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สหรัฐอเมริ กา และรัสเชีย และการประชุมระดับผูน้ าแบบทวิภาคีกบั อินเดีย นิวซีแลนด์
และออสเตรเลีย
2. การประชุมระดับรัฐมนตรี (Post Ministerial Conference: PMC+1) ได้แก่ การ
ประชุมของรัฐมนตรี ของประเทศสมาชิกอาเซียนกับประเทศสหรัฐอเมริ กา แคนาดา จี น ญี่ปุ่น เกาหลีใ
อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซี ย และสหภาพยุโรป ตัวอย่างเช่น การประชุมรัฐมนตรี ต่างประเทศ
อาเชียนกับประเทศคู่เจรจา (จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้) เมื่อวันที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555 โดย
นายสุรพงษ์ โตวิจกั ษณ์ชยั กุล รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศได้เสนอให้มีการออกแถลงการณ์
ผูน้ าว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนด้านความเชื่อมโยงอาเซียน+ 3 (Leader's Statement on ASEAN Plus
Three Partnership on Connectivity)
3. การประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโส (Senior Officials' Meeting : SOM) เป็ นการหารื
ต้านการเมืองและความมัน่ คงเป็ นหลัก โดยมีการประชุมระดับนี้กบั ประเทศสหรัฐอเมริ กา แคนาดา จีน
ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ อินเดีย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซีย และสหภาพยุโรป ตัวอย่างเช่น การประชุน
เจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียน-จีน เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม พ. ศ. 2555 เมืองพัทยา จังหวัดซลบุรี ได้หารื อเกี่ยวกับ
การดาเนินการตามปฏิญญาว่าด้วยการปฏิบตั ิของภาคีในทะเลจีนใต้ (Declaration on the Conduct of
Parties in the South China Sea: DOC) โดยที่ประชุมเห็นพ้องในความสาคัญของการรักษาเสถียรภาพ
ในทะเลจีนใต้ และจะร่ วมมือกันเพื่อเสริ มสร้างความเชื่อมัน่ และความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างกัน เพื่อมุ่งไปสู่
การรับรองแนวปฏิบตั ิในทะเลจีนใต้
4. การประชุมระดับเจ้ าหน้ าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจ (Senior Economic Officials'Meeting: SEOM) เป็ นการ
หารื อความร่ วมมือด้านเศรษฐกิจการค้าระหว่างอาเชียนกับคู่เจรจารายประเทศ (+ 1) ตัวอย่างเช่น การประชุม
เจ้าหน้าที่อาวุโสเศรษฐกิจอาเซี ยน-คู่เจรจา FTA (FTA Partners)เมื่อวันที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2555 โดยนางศรี
รัตน์ รัษฐปานะ อธิบดีกรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศกระทรวงพาณิชย์พบปะหารื อกับ 3 ประเทศสาคัญ
ได้แก่ จีน เกาหลีใต้ และญี่ปุ่น เพื่อหารื อความคืบหน้าของความตกลงการค้าเสรี อาเขียน-จีน ความตกลงการค้า
เสรี อาเซียน-เกาหลีใต้ และความตกลงการค้าเสรี อาเซียน-ญี่ปนุ่ เป็ นต้นี
ความสั มพันธ์ ของอาเซียนกับภายนอก
ความสัมพันธ์ อาเซียน-ออสเตรเลีย

ความเป็ นมา
ออสเตรเลียเป็ นประเทศแรกที่สถาปนาความสัมพันธ์กบั อาเชียนในฐานะประเทศคู่เจรจากันและมี
ความสัมพันธ์กนั อย่างราบรื่ นมาโตยตลอด และได้ปรับเปลี่ยนลาดับความสาวมมือในสาขาต่าง ไปตาม
พัฒนาการทางเศรษฐกิจและความจาเป็ นอื่นๆ เพื่อตอบการของทั้งสองฝ่ าย ปัจจุบนั ความสัมพันธ์อาเชียนกับ
ออสเตรเลียครอบคลุมความร่ วมมือด้านและความมัน่ คง เศรษฐกิจ และสังคมและวัฒนธรรม
ความร่ วมมือ
ออสเตรเลียแรกเริ่ มของการเข้ามาออสเตรเลียได้ให้ความสาคัญด้านการเมืองและความมัน่ คง
อย่างมาก โดยเฉพาะเรื่ องการก่อการร้ายอาชญากรรมข้ามชาติ การเดินเรื อทะเล การค้ามนุษย์ และ
ยาเสพติด เนื่องจากมีผลกระทบต่อเสถียรภาพและความมัน่ คงโดยตรงของออสเตรเลีย ส่วนความร่ วมมือ
อื่นที่ออสเตรเลียให้ความสาคัญรองลงมาคงเป็ นด้านเศรษฐกิจและการศึกษา โดยด้านเศรษฐกิจนั้นมีการ
ตการค้าเสรี อาเซียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ (ASEAN Australia-New Zealand F
Area: AANZF TA) ใน พ.ศ. 2552 เพื่อเปิ ดเสรี การค้าระหว่างกัน ซึ่งเป็ นความสัมพันธ์แบบพหุภาคี ส่วน
ด้านการศึกษาอาเชียนและออสเตรเลียมีความร่ วมมือกันในโครงการเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเชียนและ
ทยาลัยออสเตรเลีย ดยมีการแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างอาเชียนและออสเต
และเมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 สานักข่าวต่างประเทศรายงานจากเมืองชิดนีย์ ประเทศ
ออสเตรเลียว่า รัฐบาลออสเตรเลียเตรี ยมยกระดับนโยบายกระชับความสัมพันธ์กบั อาเชียน เพื่อเสริ ม -
สร้างความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นระหว่างภูมิภาค โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้เผยแพร่ ร่างนโยบายที่มีชื่อว่า
"ออสเตรเลียในศตวรรษแห่งเอเชีย" ซึ่งมีสาระสาคัญเพื่อเสริ มสร้างและกระชับความสัมพันธ์กบั หลาย
ประเทศในเอเชียให้แน่นแฟันยิ่งขึ้น นโยบายดังกล่าวเป็ นนโยบายปฏิรูปประเทศโดยรัฐบาลออสเตรเลีย
ชุดปัจจุบนั ภายใต้การนาของนายกรัฐมนตรี จูเลีย กิลลาร์ด ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อการพัฒนาออสเตรเลีย
ให้ติดอันดับ 1 ใน 10 ประเทศที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในโลกภายใน 13 ปี โดยมุ่งเน้นการพัฒนา
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการศึกษา ด้วยการเตรี ยมให้นกั เรี ยนชาวออสเตรเลียเลือกเรี ยนภาษาจีน
เกาหลี ญี่ปุ่น อินโตนีเซีย หรื ออินเดีย อย่างน้อย 1 ภาษา จะเห็นได้ว่าเดิมออสเตรเลียให้ความสาคัญกับความ
ร่ วมมือด้านการเมืองและความมัน่ คงมาก แต่เมื่อการเมืองและความมัน่ คงมีเสถียรภาพแล้วได้หันมาให้
ความสาคัญด้านเศรษฐกิจและการศึกษาตามลาดับ และยิ่งตอกย้าอย่างแน่ชดั ว่าอาเชียนมีความสาคัญต่อ
ออสเตรเลียมาก เมื่อนายบ๊อบ คาร์ รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศออสเตรเลียได้แสดงความเชื่อมัน่ ว่า
ปัจจุบนั ไม่มีองค์กรความร่ วมมือใดในระดับภูมิภาคที่จะช่วยยกระดับนโยบายความมัน่ คงและเสริ มสร้างแรง
ขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจให้แก่ออสเตรเลียได้มากเท่าอาเซียนอีกแล้ว โดยอาเชียนมีฐานะเป็ นประทศคู่คา้ อันดับ 2
ซองออสเตรเลีย
ความสัมพันธ์ อาเซียน-นิวซีแลนด์
ความเป็ นมา
ความร่ วมมือทั้งทางด้านการเมืองและความมัน่ คง ด้านเศรษฐกิจ จะมีลกั ษณะเหมือนกับ
ออสเตรเลีย คือ มีการภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC)
ใน พ.ศ. 2548 การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่ วมมือต้านการเมืองและความมัน่ คงในภูมิภาคเอเชีย-
แปซิฟิก (ARF) การลงนามในปฏิญญาร่ วมอาเซียน-นิวซีแลนด์ว่าด้วยความร่ วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการ
ากล รวมถึงมีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเขียน ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ (AANZFTA) ใน
เพื่อเปิ ดเสรี การค้าระหว่างกัน
สาหรับความร่ วมมือที่เด่นที่สุดระหว่างอาเชียนกับนิวซีแลนด์ คือ ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาโดยการ
ตั้ง New Zealand Agency for International Development (NZAID) ใน พ.ศ. 2545 เพื่อทา
หน้าที่ดูแลความร่ วมมือด้านการพัฒนากับอาเชียน โดยมีวตั ถุประสงค์หลักในการให้ความช่วยเหลือกับ
ประเทศในบริ เวณภูมิภาคแปชิฟิกและกลุ่มประทศในอนุภูมิภาคแม่น้ าโซง รวมทั้งมีการรับรองเอกสาร
เพื่อเป็ นแนวทางการดาเนินความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา 2 ฉบับ ได้แก่
1) ปฏิญญาร่ วมว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนที่ครอบคลุมทุกด้านระหว่างอาเชียนและวซีแลนด์
2) แผนปฏิบตั ิการเพื่อปฏิบตั ิตามปฏิญญาร่ วมว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนที่ครอบคลุมทุกด้านระหว่างอาเชียนและ
นิวซีแลนด์ พ.ศ. 2553-2558
ปัจจุบนั นิวซีแลนด์ได้เข้ามามีส่วนร่ วมในการเชื่อมโยงอาเชียน (ASEAN Connectivity) โดยเน้น
การเชื่อมโยงทางทะเล ความมัน่ คงทางทะเล การพัฒนาเทคโนโลยีสะอาด และการจัดการเพื่อสิ่ งแวดล้อม
ที่ยงั่ ยืน นอกจากนี้ยงั ได้เสนอโครงการ lagship 4 โครงการ ดังนี้
1) โครงการให้ทุนแก่นกั ศึกษาอาเซียน ปี ละ 170 คน (ทุนละ 5 ปี )
2) โครงการแลกเปลี่ยนนักธุรกิจรุ่ นใหม่
3) โครงการจัดการภัยพิบตั ิ
4) โครงการแลกเปลี่ยนความรู้แนวทางปฏิบตั ิที่เป็ นเลิศต้านการเกษตรภายใต้แนวคิดเรื่ อง
Agricultural Diplomacy (ต่อมาได้ขยายครอบคลุมวิทยาศาสตร์เกษตร)
เมื่อวันที่ 22 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 เอกอัครทูตนิวซีแลนด์ประจาประเทศไทยได้แจ้งกับกระทรวง
ศึกษาธิการว่า นิวซีแลนด์จะมอบทุนการศึกษาระดับปริ ญญาโทด้านการสอนภาษาอังกฤษให้กบั ครู ไทย
ความสัมพันธ์ อาเชียน-ญี่ปนุ่
ความเป็ นมา
จากการเปลี่ยนแปลงระบบอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราของโลกเมื่อ พ.ศ. 251
เยนแข็งค่าขึ้นมาก ญี่ปุ่นจึงมียทุ ธศาสตร์ที่ตอ้ งการย้ายการผลิตที่ตอ้ งใช้แรงงานมาอยูใ่ นอาเซียน โดย
เฉพาะไทย เพื่อเป็ นฐานการผลิตสิ นค้าส่งออกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุนญี่ปุ่นจานวนมากได้
หลัง่ ไหลเข้ามาไทยในช่วง พ.ศ. 2516 ทั้งในรู ปการลงทุนถือหุ้นในบริ ษทั และการให้เงินกู้ และนี่ก็เป็ นเหตุ
จูงใจหนึ่งที่ญี่ปุ่นจะเข้ามามีบทบาทในภูมิภาคนี้ ทาให้ต่อมาญี่ปุ่นไต้ยกระดับความสัมพันธ์เป็ นประเทศ
คู่เจรจาของอาเชียนอย่างเป็ นทางการใน พ.ศ. 2520 หลังจากนั้นความสัมพันธ์อาเซียน-ญี่ปนุ่ ก็มีความ
สัมพันธ์กนั อย่างต่อเนื่องภายใต้แนวทางปฏิญญาโตเกียวว่าด้วยการเป็ น หุ้นส่วนที่มีพลวัตรและยัง่ ยืน
ระหว่างอาเขียน-ญี่ปุ่นในสหัสวรรษใหม่ โดยญี่ปุ่นถือเป็ นประเทศคู่เจรจาแรกที่ได้จดั ตั้งคณะผูแ้ ทนถาวร
ประจาอาเชียน ณ กรุ งจาการ์ตา
ความร่ วมมือ
ญี่ปนเป็ ุ่ นประเทศคู่เจรจาลาดับที่ 4 ที่มีการภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) โดยภาคยานฺวตั ิใน พ.ศ. 2547 และเป็ นประเทศแรกที่ร่วมมือกับอาเซียนใน
ด้านการก่อการร้ายโดยตรงภายใต้กรอบการประชุมความร่ วมมือต้านการก่อการร้าย (Counter Terrorism
Dialogue) แต่ตา้ นการเมืองและความมัน่ คงนั้นญีป่ ุ่ นไม่ได้ให้ความสาคัญเท่ากับด้านเศรษฐกิจและด้าน
ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา
ด้านเศรษฐกิจ ได้มีความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจอาเขียน-ญี่ปนุ่ (ASEAN-Japan Closer
Economic Partnership: AJCEP ) ใน พ.ศ. 2551 เพื่อรวบรวมความตกลงเขตการค้าเสรี ทวิภาคีระหว่าง
สมาชิกอาเชียนแต่ละประทศกับญี่ปุ่นเข้าไว้ดว้ ยกัน ความร่ วมมือต้านเศรษฐกิจของอาเชียนกับญี่ปุ่นถือว่า
ครอบคลุมหลายสาขา ได้แก่ กระบวนการที่เกี่ยวกับการค้า สภาพแวดล้อมทางธุรกิจ ทรัพย์สินทางปัญญา
พลังงาน ข้อมูลและเทคโนโลยีการสื่ อสาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
การท่องเที่ยว การขนส่งและโลจิสติกส์ เกษตรประมงและป่ าไม้ สิ่ งแวดล้อม และนโยบายการแข่งขัน ต่อ
มาในการประชุม AJCEP ครั้งที่ 6 เมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน -วันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554 ณ กรุ ง
โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ที่ประชุมไต้อนุมตั ิโครงการศึกษาคาร์บอนฟู๊ ตปริ้ นท์สาหรับพลังงานหมุนเวียน
ในประเทศสมาชิกอาเซียน (Carbon Footprint of Renewable Energy for ASEAN Countries)
มูลค่า 156,250 เหรี ยญสหรัฐ (ประมาณ 5 ล้านบาท) ที่เสนอโดยกระทรวงพลังานของไทย นับว่าเป็ น
โครงการแรกที่ไต้รับความเห็นชอบภายใต้ความร่ วมมือเขตการค้าเสรี อาเซียน-ญี่ปนุ่
ด้านความร่ วมมือเพื่อการพัฒนาอาเซียน ญี่ปุ่นได้สนับสนุนการรวมตัวของอาเซียน โดยจัดตั้ง
กองทุน Japan-ASEAN Integration Fund (JAIF) และยังเป็ นผูส้ นับสนุนรายใหญ่ที่สุดของกรอบซ้อ
ริ เริ่ มเพื่อการรวมตัวของอาเซียน (Initiative for ASEAN integration: (AI) รวมทั้งริ เริ่ มความร่ วมมือ
ประเทศลุ่มน้ าโขงกับญี่ปุ่น (Mekong-Japan Cooperation) เพื่อลดช่องว่างด้านการพัฒนา ตลอดจน
จัดตั้งคณะทางานเฉพาะกิจว่าด้วยความเชื่อมโยงของอาเซียน
ความสัมพันธ์ อาเชียน-แคนาดา
ความเป็ นมา
อาเซียนและแคนาตาเริ่ มความสัมพันธ์ในฐานะประเทศคู่เจรจาอย่างเป็ นทางการใน พ.ศ. 2520
โดยดาเนินความสัมพันธ์ระหว่างกันภายใต้ปฏิญญาว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนที่เพิ่มพูนระหว่างอาเซียนกับ
แคนาดา (Joint Declaration on the ASEAN-Canada Enhanced Partnership)
ความร่ วมมือ
แม้ว่าแคนาดาจะเป็ นคู่เจรจากับอาเซียนมา 30 กว่าปี แล้ว (เริ่ มใน พ.ศ. 2520) แต่แคนาตาพึ่งมี
การภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) และมีการลงนามใน
ลงการณ์ร่วมว่าด้วยการค้าและการลงทุน (Joint Declaration on Trade and Investm
2553 โดยที่ผ่านมาแคนาดาได้มีความร่ วมมือกับอาเชียนในต้านสังคมและวัฒนธรรมเป็ นส่วนใหญ่ ซึ่ง
แคนาดาได้ให้การสนับสนุนโครงการและกิจกรรมความร่ วมมือในเรื่ องสิ ทธิมนุษยชน ปัญหาอาชญากรรม
ข้ามชาติ การจัดการและบรรเทาภัยพิบตั ิ และการควบคุมโรคระบาต ในขณะที่อาเซียนได้เชิญชวนให้
แคนาดาขยายความร่ วมมือกับอาเชียนในกระบวนการสร้างประชาคมอาเซียน (ASEAN Community
Building) และการเสริ มสร้างความเชื่อมโยงในภูมิภาค (Connectivity) รวมทั้งความร่ วมมือในด้านอื่นๆ
ซึ่งแคนาตามีศกั ยภาพและความเชี่ยวชาญ ได้แก่ พลังงาน การจัดการข้ามแดน เทคโนโลยีและนวัตกรรม
การศึกษาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็ นต้น
ปัจจุบนั รัฐบาลแคนาดาได้ยืนยันเจตนารมณ์ที่แน่วแน่ในการขยายบทบาทของแคนาตาในภูมิภาค
เอเชีย-แปซิฟิก ซึ่ งใน พ.ศ. 2555 ผูส้ าเร็จราชการ นายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรี หลายท่านของแคนาดา
ได้เดินทางเยือนภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง อาทิ นายกรัฐมนตรี แคนาตาเยือนประเทศไทยอย่างเป็ นทางการ
และรัฐมนตรี ต่างประเทศแคนาตาเดินทางเยือนเมียนมาร์เป็ นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ในเดือนมีนาคม
พ.ศ. 2555 นอกจากนี้แคนาดายังได้มีทา่ ทีในเชิงบวกต่อพัฒนาการในเมียนมาร์ โดยได้ยกเลิกการ
คว่าบาตรเศรษฐกิจการเงิน และได้แต่งตั้งเอกครราชทูตและเปิ ดสถานเอกอัครราชทูตใน
กจากนี้นายเอ็ด ฟาสต์ รัฐมนตรี พาณิชย์แคนาดา ได้เยือนเมียนมาร์เมื่อวันที่
2555 นับเป็ นรัฐมนตรี พาณิชย์แคนาดาคนแรกที่เยือนเมียนมาร์ ซึ่งต่อมารัฐมนตรี พา
อนเวียดนามทย แะกัมพูชาดยแคนาดาต้องการกระชับความสัมพันธ์กั
ออกเฉียงใต้ เพราะเป็ นภูมิกาคที่เติบโตรวดเร็วที่สุดในโลก และอาเซียนก็เป็ นคู่คาาอันดับ 7 ของแคนต
ซึ่งมีมูลค่การค้าทริ ภาคีเมื่อ พ .ศ. 2544 อยูท่ ี่ 15,500 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ราว 480,500 ล้านบาท
ความสัมพันธ์อาเชียน-สหรัฐอเมริ กา
ความเป็ นมา
อาเซียนกับสหรัฐอเมริ กาเริ่ มต้นความสัมพันธ์อย่างเป็ นทางการเมื่อ พ.ศ. 2520 โดยก่อนหน้านี้
สหรัฐอเมริ กาเข้ามามีบทบาทอย่างมากในภูมิภาคนี้ต้งั แต่สมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 (พ.ศ. 2482-2489)
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริ กได้เล็งเห็นความสาคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใช้
ที่จะใช้เป็ นยุทธศาสตร์ของการสกัดกั้นการขยายตัวของฝ่ ายคอมมิวนิสต์ จึงพยายามเข้ามามีบทบาท
ด้วยการจัดตั้งองค์การสธิสัญญาป้องกันเอเชียตะวันออกเฉียงใต้หรื อซี โต้ (Southeast Asia Treaty
Organization: SEATO) ประเทศที่ร่วมลงนามในสนธิสัญญานี้มี 8 ประเทศ ได้แก่ สหรัฐอเมริ กา อังกฤษ
ฝรั่งเศส ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ปาก็สถาน ฟิ ลิปปิ นส์ และไทย โดยวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งชีโต้
ก็เพื่อธารงรักษาไว้ซ่ ึงสันติภาพและความมัน่ คง แต่เป้าหมายที่แท้จริ ง คือ เพื่อคานอานาจและต่อต้าน
การแผ่ขยายอานาจของฝ้ายคอมมิวนิสต์ที่มีจีนและสหภาพโซเวียตเป็ นผูน้ าในขณะนั้น ต่อมาซีโต้ได้
ล้มเลิกไปใน พ.ศ. 2520 ทาให้สหรัฐอเมริ กาหันเข้ามามีความสัมพันธ์กบั อาเชียนโดยตรง ความสัมพันธ์ใน
ระยะแรกเน้นความร่ วมมือต้านการพัฒนา ต่อมาขยายครอบคลุมความร่ วมมือด้านเศรษฐกิจ การค้าและ
การลงทุน โดยประเทศสมาชิกอาเชียนประสงค์ที่จะส่งเสริ มความร่ วมมือด้านเศรษฐกิจกับสหรัฐอเมริ กา
ทั้งในระดับทวิภาคีและในลักษณะกลุ่มประเทศ ปัจจุบนั ความร่ วมมืออยูภ่ ายใต้กรอบแถลงการณ์
วิสัยทัศน์ร่วมกันว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนเพิ่มพูนระหว่างอาเชียนกับสหรัฐอเมริ กาที่จดั ทาขึ้นใน
พ.ศ. 2548
ความร่ วมมือ
สหรัฐอเมริ กาได้ให้ความสาคัญต่อประเด็นต้านการเมืองและความมัน่ คงในภูมิภาคเอเชีย
เนื่องจากอาเชียนมีบทบาทสาคัญทางยุทธศาสตร์ ของสหรัฐอเมริ กา โดยเฉพาะการคานอานาจกับจีน
โดยที่จีนก็ได้พยายามเข้ามามีบทบาทในภูมิภาคนี้เช่นกัน สหรัฐอเมริ กาได้มีการจัดทาปฏิญญาร่ วม
ยน-สหรัฐอเมริ กา เพื่อความร่ วมในการต่อต้านการก่อการร้ายระหว่างประเทศ ใน
ร่ วมมือด้านความมัน่ คงในกรอบ ASEAN Regional Forum (ARF) และยังให้คว
สถานการณ์ในทะเลจีนใต้และพัฒนาการในเมียนมาร์
ด้านเศรษฐกิจอาเซี ยนและสหรัฐอเมริ กาได้มีการจัดทากรอบความตกลงการค้าและการลงทุน
(Trade and Investment Framework Arrangement: TIFA) ใน พ.ศ. 2549 ส่วนด้านความร่ วมมือ
เพื่อการพัฒนา สหรัฐอเมริ กาเชิญชวนให้ประเทศอาเชียนพิจารณาเข้าร่ วมในกรอบความร่ วมมือ Trans-
Pacific Partnership (TPP) กรอบของความริ เริ่ มแม่น้ าโซง Lower Mekong Initiative (LMI) ซึ่งเนันใน
เรื่ องคมนาคม การศึกษา สาธารณสุข และการส่งเสริ มการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างประชาชน การบริ หาร
จัดการภัยพิบตั ิ การสนับสนุนการสร้างประชาคมอาเชียนภายใน พ.ศ. 2558 และการพัฒนาความ
เชื่อมโยงในภูมิภาคของอาเซียน การให้ความสาคัญของสถาปัตยกรรมในภูมิภาคที่มอี าเชียนเป็ นศูนย์กลาง
และการมีบทบาทที่แข็งขันในการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (East Asia Summit: EAS)
ความสัมพันธ์ อาเซียน-เกาหลีใต้
ความเป็ นมา
สาธารณรัฐเกาหลีหรื อเกาหลีใต้เริ่ มมีความสัมพันธ์กบั อาเชียนตั้งแต่พ.ศ. 2532 ในฐานะคู่เจรจา
เฉพาะต้าน และได้รับสถานะเป็ นประเทศคู่จรจาอย่างเป็ นทางการใน พ.ศ. 2534 ต่อมาความสัมพันธ์
เริ่ มมีกรอบชัดเจนเมื่อ พ.ศ. 2547 ทั้งสองฝ้ายได้ลงนามปฏิญญาร่ วมว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนความร่ วม
มื่ออย่างรอบด้าน เพื่อส่งเสริ มความเป็ นหุ้นส่วนรอบด้าน จนกระทัง่ พ.ศ. 2553 ได้พฒั นาความสัมพันธ์
ภายใต้ปฏิญญาร่ วมว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนทางยุทธศาสตร์ เพื่สันติภาพและความรุ่ งเรื อง เพื่อดาเนิน-
การตามปฏิญญาตังกล่าว ระหว่าง พ.ศ. 2554-2558
ความร่ วมมือ
เกาหลีใต้ใด้มีภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Treaty
of Amity and Cooperation in Southeast Asia: TAC) ใน พ.ศ. 2547 และการลงนามในปฏิญญาร่ วม
ว่าด้วยความร่ วมมือเพื่อต่อต้านการก่อการร้ายสากลกับอาเชียนใน พ.ศ. 2548
ปัจจุบนั อาเซียนและเกาหลีใต้มีความร่ วมมือกันในต้านการค้า การลงทุน การขนส่ง การท่อง-
เที่ยว การเกษตร วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การรักษาสิ่ งแวตล้อม สาธารณสุข การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ การแลกเปลี่ยนทางด้านวัฒนธรรม และการลดช่องว่างการพัฒนาในอาเซียน ซึ่งความ
ร่ วมมือในด้านต่าง ๆ จะเป็ นในลักษณะการดาเนินโครงการร่ วมกับประเทศสมาชิกอาเชียน โดยรัฐบาล
เกาหลีใต้ได้จดั ตั้งกองทุน ASEAN-ROK Future Oriented Cooperation Projects (FOCP) และกองทุน
ASEAN-ROK Special Cooperation Fund (SCF)
ความสัมพันธ์ อาเซียน-อินเดีย
ความเป็ นมา
อาเซียนกับอินเดียเริ่ มต้นความสัมพันธ์อย่างเป็ นทางการใน พ.ศ. 2535 ในฐานะคู่เจรจาเฉพาะ
ด้าน และยกระดับขึ้นเป็ นคู่เจรจาอย่างสมบูรณ์เมื่อ พ.ศ. 2538 ปั จจุบนั ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซี ยนและ
อินเดียเป็ นความสัมพันธ์อย่างรอบต้านในฐานะหุ้นส่วน โดยมีเอกสาร ASEAN-India Partnership for
Peace, Progress and Shared Prosperity ที่ใช้กาหนดแนวทางในการดาเนินความร่ วมมือระหว่างกัน
เด้านการเมือง เศรษฐกิจ และความร่ วมมือ
ความร่ วมมือ
อินเดียได้ภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ใน
ศ. 2546 ซึ่งความร่ วมมือของอาเชียนและอินเดียโดดเด่นมากและส่งผลดีต่ออาเซียนอย่างยิ่ง
ความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา เพราะอินเดียได้ส่งเสริ มความ
ร่ วมมือกับอาเซียนในสาขาที่อินเดียมีศกั ยภาพ ดังนี้
1. วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อินเดียได้จดั ตั้งกองทุน ASEAN-India Science & Technology Fund
เพื่อพัฒนาความร่ วมมือในด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซ่ ึงอินเดียถือมีความเจริ ญก้าวหน้าในด้าน
อุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเป็ นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา อุตสาหกรรมเทคโนโลยี
สารสนเทศได้สร้างรายได้ให้กบั อินเดียจาก 150 ล้านดอลลาร์สหรัฐใน พ.ศ. 2534 เป็ นฐานที่ต้งั Microsoft office
ที่เมืองบังกาลอร์ ประเทศอินเดีย17.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐใน พ.ศ. 2545 ซึ่งเป็ นมูลค่าการส่งออกชอฟต์แวร์
และบริ การถึง 9.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และคาดเพิ่มขึ้นประมาณ 12 พันล้านดอลลาร์สหรัฐใน พ.ศ. 2547
ทั้งนี้เพราะอินเดียมีประชากรร้อยละ 6 ที่มีความเป็ นอยูแ่ ละการศึกษาดีในระดับนานาชาติ และมี
สถาบันการศึกษาคุณภาพสูงที่เน้นการผลิตบุคลากรต้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
2.การแพทย์ อินเดีได้สนับสนุนความร่ วมมือต้านการแพทย์แผนโบราณและแผน
โดยส่งเสริ มความร่ วมมือต้านการเภสัชกรรมและการผลิตยาเพื่อใช้ในระบบสาธารณสุขของรัฐ
3. การเชื่ อมโยงกับอาเซียน อินเดียให้ความสาคัญกับการเชื่อมโยงแบบรอบด้านและพยายาม
หาทางเชื่อมโยงกับอาเซียนผ่านทะเลอันตามัน โดยใช้ทะวายของเมียนมาร์เป็ นประตูสาคัญ ตังนั้นนอกจาก
อินเดียจะสนับสนุนการสร้างทางหลวงสามฝ่ าย ไทย-เมียนมาร์-อินเดีย แล้ว อินเดียยังมีสนับสนุนแนวคิด
ในกรอบอาเซียน+6 ที่มอบให้สถาบันวิจยั เศรษฐกิจเพื่ออาเซียนและเอเชียตะวันออก (ERIA) ศึกษาความ
เป็ นไปได้ในการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจแม่โขง-อินเดีย (โฮจิมินห์-พนมเปญ-กรุ งเทพ-ทะวาย-เจนไน)
เพื่อเชื่อมโยงภูมิภาคลุ่มแม่น้ าโขงกับอินเตียฝั่งตะวันออก โดยใช้เป็ นเส้นทางลัดสาหรับการขนส่ งสิ นค้า
ระหว่างกันพร้อมกับพัฒนาเขตเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมควบคู่กนั ไปด้วย
ความสัมพันธ์ อาเซียน-จีน
ความเป็ นมา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนกับจีนในฐานะคู่เจรจาของอาเชียน เริ่ มต้นขึ้นเมื่อนายเฉียน
ชีเชิน (Qian Qichen) รัฐมนตรี ว่าการกระทรวงการต่างประเทศจีน เข้าร่ วมพิธีเปิ ดการประชุมรัฐมนตรี
ต่างประเทศอาเชียน ครั้งที่ 24 พ.ศ. 2534 ที่กรุ งกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเชีย ในฐานะแซกของรัฐบาล
มาเลเซีย ซึ่งเป็ นช่วงที่มีการสิ้นสุดของสงครามเย็นแล้ว จีนจึงพยายามเช้ามามีบทบาทในภูมิภาคนี้ และ
จากการที่ได้เป็ นแขกเข้าร่ วมการประชุมดังกล่าว ทาให้จีนได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของอาเซียน โดยเฉพาะ
รจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเชียนในเวลาต่อมา (พ.ศ. 2535) เพราะมีส่วนสนับสนุนให้จีนบรรลุ
ในทางเศรษฐกิจได้ ส่งผลให้จีนพยายามเข้ามาเป็ นคู่เจรจาอย่างเต็มรู ปแบบกับอาเซียนใน พ.ศ. 2539
ความร่ วมมือ
จีนได้พยายามเข้ามีบทบาทในภูมิภาคอาเชียน โดยสร้างความร่ วมมือหลากหลายด้าน ซึ่งประเทศ
จีนถูกมองว่าเป็ นภัยคุกคามต่ออาเซียน เพราะได้ขยายอิทธิพลเข้ามาอย่างเชิงรุ ก โดยสร้างประวัติศาสตร์
ความร่ วมมือหรื อความสัมพันธ์กบั อาเซียนหลายเรื่ อง ที่สาคัญ คือ
1. จีนเป็ นประเทศคู่เจรจาประเทศแรกของอาเซียนที่ภาคยานุวตั ิ (ลงนามเป็ นภาคีในพิธีสารแนบ
ท้าย) ของสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) เมื่อ พ.ศ. 2546
ซึ่งสนธิสัญญา TAC นั้นได้จดั ทาขึ้นตั้งแต่ พ.ศ. 2519
2. จีนเป็ นประเทศคู่เจรจาแรกที่เสนอให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเชียน โดยอาเชียนและจีนได้
ร่ วมลงนามกรอบความตกลงความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ (Framework Agreement on Comprehensive
Economic Cooperation) ใน พ.ศ. 2545 ซึ่งกาหนดเป้าหมายให้มีการจัดตั้งเขตการค้าเสรี อาเชียน-จีน
3.จีนเป็ นเป็ นประเทศที่มอบทุนมหาศาลเข้ามาช่วยเหลือเมื่อประเทศสมากอาเซียนเกิดวิกฤตก
งเศรษฐกิจ เช่น ในกรณีวิฤตการณ์ พ.ศ. 2540 จีนได้แสดงบทบาทช่วยประเทศต่างๆ ในอาเธ
นจากปัญหาวิกฤตการณ์เศรษฐกิจด้วยให้ประเทศในอาเยนกูย้ ืมเงิน เช่น ประเทศไทยจาน
านเหรี ยญตอลลาร์สหรัฐ ประเทศอินดนีเยจานวน 500 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐ แ
ประเทศอื่นา ก็โดยไม่ผ่นกองทุนการเงินระหว่างประเทศ อีก 3, 150 ล้านเหรี ยญตอลลาร์สหรัฐ เป็ นด้
และจีนได้ประกาศทีจะไม่ดคาเงินหยวน ทาให้ประเทศต่งๆ ในอาเชียนสามารถฟื้ นตัวทางเศรษฐจ
ในระยะเวลาที่ไม่นานนัก
ความร่ วมมือระหว่างอาเชียนกับจีนที่เด่นที่สุดและประสบความสาเร็จมาก คือ ด้านความร่ วม.
มือเพื่อการพัฒนา โดยอาเชียนและจีนตกลงที่จะร่ วมมือกันใน 11 สาขาหลัก ได้แก่ (1) การเกษตร (2
เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสาร หรื อ ICT (3) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (4) การพัฒนาลุม่ แม่น้ า
โซง (5) การลงทุน (6) พลังงาน (7 การชนส่ง (8) วัฒนธรรม (9) สาธารณสุข (10) การท่องเที่ยว และ
(11) สิ่ งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ อาเซียน-รัสเชีย
ความเป็ นมา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเชียนและรัสเยเริ่ มต้นจากการที่รัสเยได้สถาปนาความสัมพันธ์ในฐานะ
คู่หารื อ (Consultative relations) กับอาเซียนใน พ.ศ. 2534 และพัฒนาความสัมพันธ์จนได้รับสถานะ
ประเทศคู่เจรจา (Dialogue Partner) ใน พ.ศ. 2539 โดยการเข้ามารัสเชียจะเข้ามาช่วงเดียวกับจีนและมี
เหตุผลทางการเมืองเป็ นหลักเช่นเดียวกับจีน เนื่องจากเป็ นประทศคอมมินิสต์ที่ตอ้ งการเข้ามามีบทบาท
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เช่นกัน
ความร่ วมมือ
ผลงานความร่ วมมือระหว่างอาเยนและรัสเยที่สาคัญในต้านการเมืองและความมัน่ คง คือ มี
การลงนามในเอกสารสาคัญหลายฉบับ ได้แก่ ปฏิญญาร่ วมอาเชียน-รัสเซียว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่ วนเพื่อ
สันติภาพ ความมัน่ คง ความมัง่ คัง่ และการพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก (พ.ศ. 2546) แถลงการณ์
อาเซียน-รัสเชียว่าด้วยความร่ วมมือในการต่อต้านการก่อการร้าย (พ.ศ. 2547) และรัสเซียได้ภาคยานุวตั ิ
สนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือ (พ.ศ. 2547) และแผนการทางานว่าด้วยการต่อต้านการก่
และอาชญากรรมข้ามชาติ (พ.ศ. 2552)
ทางต้านเศรษฐกิจ ได้มีารลงนามในความตกลงว่าด้วยความร่ วมมือทางเศรษฐกิจแล
พัฒนา พ.ศ. 2548 ซึ่งความร่ วมมือต้านเศรษฐกิจนี้เป็ นสาเหตุหลักอีกประการหนึ่งทีรัสเชียพยายามเช้าหา
อาเซียนในขณะนี้ โดยต้องการขายอาวุธให้แก่อาเซียน เนื่องจากภาะทางการเงินของอาเชียนสามารถนา
เงินมาซื้ออาวุธได้ อาทิ เวียดนาม อินโตนีเซีย มาเลเซีย ที่อตั ราความเจริ ญทางเศรษฐกิจค่อนช้างเติบโต
ประเทศสมาชิกอาเซียนเหล่านี้ชอบเครื่ องบินประจัญบานของวัสเชีย และได้สั่งซื้อมาประจาการ ส่วนไทย
ยังพึ่งอาวุธสหรัฐอมริ กาอยู่ อย่างไรก็ตาม อนาคตกองทัพไทยและกองทัพอื่นๆ ในอาเซียน ต้องการแหล่ง
อาวุธหลากหลาย อาจไม่พ่งึ พาประเทศใตเพียงประเทศเดียว ขณะนี้ความสัมพันธ์ไทยกับสหรัฐอเมริ กา
ขึ้นๆ ลง ๆ โดยไทยได้ขอซื้ออาวุธสหรัฐอเมริ กาในฐานะเป็ นพันธมิตรที่ไม่ได้เป็ นสมาชิกหลัทองค์การ
นาโตมานาน ซึ่งไม่ใด้รับการตอบรับแบบพันธมิตร ถ้าสถานการณ์ยงั คงเป็ นเช่นนี้ต่อไป อาจเป็ นไปได้ที่
ไทยจะเข้าหารัสเซี ย พราะไทยก็มีความต้องการในระยะยาวในการพัฒนากองทัพอากาศและกองทัพเรื อ
มากไปกว่านั้น อาเซียนได้ให้ความสนใจในเรื่ องความมัน่ คงทางทะเลมาก จึงไม่แปลกที่วสั เซียเข้ามาชาย
เรื อดาน้ าชนาดยักษ์ที่ใช้พลังนิวเคลียร์ให้แก่อาเซียน ซึ่งไทยก็สนใจเรื อดาน้ าของรัสเซียมาก เนื่องจากมี
ราคาถูกกว่าเรื อที่ต่อของสหรัฐอเมริ กาหรื ออังกฤษ
ประธานาธิบดีวลาติมีร์ ปูติน (Vadimir Putin)ของรัสเซี ย เป็ นผูท้ ี่มีความเป็ นผูน้ าและมี
บุคลิกภาพที่อาเซียนชื่นชอบ โดยเฉพาะในกัมพูชาและมาเลเซีย ปูตินรู้ดีว่าการเข้ามาพัวพันกับอาเซียน
จะต้องใจกว้างเรื่ องเงินช่วยเหลือและเปิ ดกว้างตลาดการค้า ในเรื่ องเงินช่วยเหลือ อาเซียนและรัสเซียได้จดั
ตั้งกองทุน ASEAN-Russia Dialogue Partnership Financial Fund (DPFF) ขึ้นเพื่อใช้ในการดาเนิน
กิจกรรมความร่ วมมือต่าง ๆ โดยรัสเซี ยเป็ นผูม้ อบเงินเข้ากองทุนฝ่ ายเดียว ส่วนเรื่ องการเปิ ดตลาดการค้า
ซึ่งในกรอบความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ รัสซียอาจจะเสนอเขตการค้าเสรี ใหม่ระหว่างอาเซียนกับสหภาพ
ยูเรเซีย (Eurasia Union) ซึ่งรัสเซียเป็ นผูท้ ี่มีอิทธิพลใหญ่ มีสมาชิกจากคาซัคสถาน เติร์กเมนิสถาน และ
ทาจิกิสถานอีกด้วย
ความสัมพันธ์ อาเซียน-ปากีสถาน
ความเป็ นมา
ปากีสถานเป็ นประเทศคู่เจรจาเฉพาะด้าน (Sectoral Dialogue Partner) ของอาเซียนต์
2536 ต่อมาใน พ.ศ. 2547 ปากีสถานได้ขอปรับสถานะเป็ นคู่เจรจาเต็มรู ปแบบ แต่มติที่ประชุมยังไม่เห็น
ด้วยอย่างเป็ นเอกฉันท์ ซึ่งต่อมาก็ได้พยายามขอปรับสถานะอย่างต่อเนื่อง แต่ที่ประชุมก็ยงั คงมีมติให้คง
สถานะเดิมไว้กอ่ นจนกว่าทั้งสองฝ่ ายจะมีกิจกรรมความร่ วมมือกันมากขึ้น
ล่าสุดในการประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเชียนเพื่อเตรี ยมการก่อนการประชุมสุดยอดอาเชียนครั้ง
ที่ 18 เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ได้มีการยกประเด็นความประสงค์ของปากีสถานในการที่จะ
ยกระดับความสัมพันธ์เป็ นประเทศคู่เจรจากับอาเซียนอย่างเต็มตัวขึ้น ซึ่งไทย ฟิ ลิปปี นส์ มาเลเซี ย และ
บรู ใน ได้สนับสนุนความประสงค์ของปาก็สถาน ส่วนสิ งโปร์ เห็นว่าอาเชียนควรพิจารณาผลประโยชน์
เชิงยุทธศาสตร์ของอาเชียน และสิ่ งที่อาเซียนจะได้รับจากประเทศคู่เจรจา จึงมีขอ้ สรุ ปว่าไม่ควรยกระดับ
ปากีสถานเป็ นประเทศคู่เจรจา เนื่องจากป่ าก็สถานไม่สามารถให้ผลประโยชน์ที่เป็ นรู ปธรรมแก่อาเซียน
ดังเห็นจากการที่ไม่มีโครงการความร่ วมมือที่เป็ นรู ปร่ างสาคัญจากการที่ปาก็สถานเป็ นประเทศคูเ่ จรจา
เฉพาะด้านมาหลายปี อีกทั้งไม่ประสงค์ที่จะนาปัญหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับปาก็สถานมาสู่ภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ ดังนั้นการปรับสถานะเป็ นประเทศคู่เจรจาเต็มรู ปแบบต้องได้รับฉันทามติจากประเทศ
อาเชียน จึงเป็ นผลให้ปากีสถานยังคงสถานะเป็ นคู่เจรจาเฉพาะด้านตามเติม
ความร่ วมมือ
แม้ว่าปากีสถานเป็ นประเทศคู่เจรจาเฉพะด้านมาแล้ว 20 ปี แต่ผลงานความร่ วมมือระหว่าง
อาเชียนและปากีสถานยังไม่เป็ นรู ปธรรม โดยปาก็สถานได้ภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความ
ร่ วมมือในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ใน พ.ศ. 2547 ส่วนความร่ วมมือในการต่อต้านการก่อการ
ร้าย ปากีสถานได้เสนอที่จะมีความร่ วมมือในลักษณะการแลกเปลี่ยนข้อมูลและข่าวสารเท่านั้น ทางด้าน
เศรษฐกิจ อยูร่ ะหว่างการศึกษาความเป็ นไปได้ในการจัดตั้งเขตการค้าเสรี ระหว่างอาเซียนกับปากีสถาน
ด้านความร่ วมมือเพื่อการพัฒนา เช่น การเชื่อมโยงต้านการศึกษาระหว่างสถาบันการ
ปากีสถานกับเครื อข่ายมหาวิทยาลัยอาเชียน (AUN) ก็ไม่ได้รับการตอบรับจากอาเซียน อย่างไรก็ตาม
มีการจัดตั้งกองทุนอาเซียน-ปากีสถาน (ASEAN-Pakistan Cooperation Fund) ซึ่งฝ่ ายปาก็สถานได้
สนับสนุนงบประมาณในกองทุนเป็ นเงิน 1 ล้านเหรี ยญสหรัฐ
ความสัมพันธ์ อาเซียน-สหภาพยุโรป
ความเป็ นมา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเซียนและสหภาพยุโรปมีความสัมพันธ์ในระดับกลุม่ ระหว่างกันมาเป็ น
เวลานาน โดยสหภาพยุโรปเป็ นคู่เจรจา (dialogue partner) อย่างไม่เป็ นทางการของอาเซียนตั้งแต่
พ.ศ. 2515 และได้พฒั นาเป็ นคู่เจรจาอย่างเป็ นทางการใน พ.ศ. 2520 ปั จจุบนั การดาเนินความสัมพันธ์
เชียน-สหภาพยุโรป เป็ นไปตามแผนปฏิบตั ิการเพื่อการดาเนินการในปฏิญญานูเร็ม
การเพิ่มพูนความเป็ นหุ้นส่วนระหว่างสหภาพยุโรปกับอาเซียน พ.ศ. 2550-2555 (Plan of Action to
nent the Nurembeig Declaration on an EU-ASEAN Enhanced Partnership
ต่อมาใน พ.ศ. 2555 ได้รับรองแผนปฏิบตั ิการบันดาร์เสรี เบกาวัน ว่าด้วยการสร้างความเข้มแข็งความเป็ น
หุ้นส่วนระหว่างอาเซี ยนกับสหภาพยุโรป พ.ศ. 2556-2560 (Bandar Seri Begawan Plan of Action
to Strengthen the ASEAN-EU Enhanced Partnership 2013-2017) เพื่อเป็ นแนวทางความร่ วมมือ
ในอีก 5 ปี ข้างหน้า โดยครอบคลุมความร่ วมมือทีจ่ ะสนับสนุนสามเสาหลักของการเป็ นประชาคมอาเซียน
และแผนแม่บทว่าด้วยการเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียน
ความร่ วมมือ
ผลงานความร่ วมมือระหว่างอาเชียนและสหภาพยุโรปที่สาคัญที่สุต คือ ต้านการเมืองและความ
มัน่ คง และด้านเศรษฐกิจ โดยสหภาพยุโรปได้ภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (TAC) ใน พ.ศ. 2555 และได้เข้าร่ วมการประชุมอาเชียนว่าด้วยความร่ วมมือด้าน
การเมืองและความมัน่ คงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก (ARF) ด้วย ปัจจุบนั สหภาพยุโรปเป็ นผูล้ งทุนอันดับ
1 ของอาเซียน คิดเป็ นสัดส่วนประมาณร้อยละ 26 ของมูลค่าการลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign direct
investment: FD!) ในอาเซียน และยังเป็ นคู่คา้ สาคัญลาดับที่ 3 ของอาเซียน รองจากญี่ปนและสหรั
ุ่ ฐอเมริ กา
ซึ่งในโอกาสที่อาเซียนจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนใน พ.ศ. 2558 นี้ อาเซียนและสหภาพยุโรปจึง
พยายามเร่ งการจัดทาความตกลงการค้าเสรี ระหว่างอาเชียน-สหภาพยุโรป (ASEAN - EU Free Trade
Agreement) ให้เป็ นที่ยอมรับร่ วมกัน เพื่อให้พร้อมกับประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยน
ความสัมพันธ์ อาเชียน-สหประชาชาติ
ความเป็ นมา
ความสัมพันธ์ระหว่างอาเชียนกับสหประชาชาติมีความสัมพันธ์กนั ในโครงการเพื่อการพัฒนาแห่ง
สหประชาชาติ (United Nations Development Programme : UNDP โดยเริ่ มขึ้นในช่วง พ.ศ. 2513
และ UNDP ได้รับสถานะเป็ นคู่เจรจา (Dialogue Partner) ของอาเซียนใน พ.ศ. 2520 โดย UNDP
ได้สนับสนุนต้านการเงินและผูเ้ ชี่ยวชาญเพื่อช่วยอาเชียนต้านข้อริ เริ่ มในความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ ซึ่ง
อาเซียนก็ได้มีความร่ วมมือระหว่างกันทั้งทางต้านอุตสาหกรรม เกษตรกรรมและบาไม้ การคมนาคม และ
การเงิน ตลอดจนการพัฒนาอนุภูมิภาคต่าง ๆ ผ่านการเสริ มสร้างขีดความสามารถ ทาให้ UNDP เห็นว่า
อาเซียนมีระตับการพัฒนาเป็ นที่น่าพอใจและเติบโตได้ดีกว่าอนุภูมิภาคอื่น ๆ จึงจากัดการสนับสนุนลงใน
ประเด็นทาให้อาเซียนไต้พิจารณาถึงสถานะความสัมพันธ์ และได้พยายามเจรจาขอปรับเป็ นคู่เจรจาเต็ม
รู ปแบบกับสหประชาชาติโดยตรง ซึ่งยังไม่สาเร็ จผล แต่อาเชียนก็ได้เป็ นผูส้ ังเกตการณ์ในที่ประชุมใหญ่
ของสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ (UN General Assembly : UNGA) ใน พ.ศ. 2549 ซึ่ งแสดงให้เห็นว่า
อาเชียนได้มีแนวทางในการสร้งสันติสุขและสันติภาพอันเป็ นแนวทางหลักของสหประชาชาติ
ความร่ วมมือ
แม้ว่าอาเซียนจะได้รับสถานะเป็ นองค์การผูส้ ังเกตการณ์ในสหประชาชาติได้ไม่นาน แต่อาเซียน
กับสหประชาชาติมีความสัมพันธ์และทางานร่ วมกันมาโดยตลอด ซึ่งผลงานความร่ วมมือที่สาคัญ มีดงั นี้
1. ความร่ วมมือทางการเมืองเพื่อแก้ไขปัญหากัมพูชาเมื่อต้นทศวรรษ 2520
2. การป้องกันโรคไข้หวัดนกระบาดเมื่อ พ.ศ. 2547
3. การร่ วมมือบรรเทาภัยพิบตั ิธรรมชาติเมื่อ พ.ศ. 2549 (ภัยพิบตั ิจากสึ นามิในประเทศไทย)
และ พ.ศ. 2551 (ภัยพิบตั ิจากพายุไซโคลนนาร์กีสในประเทศเมียนมาร์)
4. การส่งกองกาลังจานวน 5,000 คน เข้าร่ วมในปฏิบตั ิการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ
และมีหน่วยลาดตระเวนป้องกันโจรสลัดอยูท่ ี่แนวชายฝั่งทะเลอีเดนด้วย โดยเริ่ มตั้งแต่ พ.ศ. 2554
5. ความร่ วมมือเพื่อช่วยเหลือประเทศสมาชิกอาเซียนให้บรรลุเป้หมายการพัฒนาสหัสวรรษ
(Millennium Development Goals : MDGs) ใน พ.ศ. 2558 และการเชื่อมโยงในอาเซี ยน (ASEAN
Conectivity)
นอกจากนี้สหประชาชาติยงั ให้ความสาคัญกับอาเซียนได้โดยร่ วมกันหารื อในการพัฒนาทรัพยากร
มนุษย์ การสาธารณสุข การศึกษา สิ ทธิมนุษยชน อาชญากรรมข้ามชาติ ยาเสพติด และการสร้างสันติภาพ
และความมัน่ คง
อาเซียน +3
ความเป็ นมา
กรอบความร่ วมมืออาเชียน*3 ถือกาเนิดขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2540 ในช่วงที่หลายประเทศในเอเซีย
วันออกเผชิญกับวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย (Asian financial crisis) ห
ในประเทศไทยว่า "วิกฤตการณ์ตม้ ยากุง้ " เพราะเริ่ มต้นขึ้นจากประเทศไทยในเดือนกรกฎาคมของ
ปี เดียวกัน วิกฤตดังกล่าวส่งผลกระทบทัว่ เอเชีย โดยเฉพาะประเทศไทย ค่าเงินบาทลตลงอย่างมาก ค่า
ครองชีพสูงขึ้น มีคนตกงานมากขึ้น และมีภาระหนี้สาธารณะที่จะล้มละลายได้ และเมื่อวิกฤตตังกล่าว
ขยายออกนอกประเทศ ค่าเงินของประเทศส่วนใหญ่ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และญี่ปนก็ ุ่ ได้ทรุ ดตัวลง
เช่นกัน ตลาดหลักทรัพย์ปรับตัวลดลงและรวมไปถึงราคาสิ นทรัพย์อื่น ๆ และทาให้หนี้เอกชนเพิ่มสูงขึ้น
โดยอินโดนีเชีย เกาหลีใต้ และไทยได้รับผลกระทบมากที่สุด ฮ่องกง มาเลเซีย ลาว และฟิ ลิปปิ นส์ ก็
เผชิญกับปัญหาค่าเงินทรุ ดเช่นกัน แต่สาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย ไต้หวัน สิ งคโปร์ บรู ไนและ
เวียดนามได้รับผลกระทบน้อยกว่า
ต่อมาเตือนธันวาคมของ พ.ศ. 2540 นั้น ผูน้ าประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศได้พบ
กับผูน้ าของจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ที่มาเลเซีย เพื่อหารื อกันและแลกเปลี่ยนช้อคิดเห็นกันอย่างกว้างๆ
เกี่ยวกับการร่ วมมือกัน เพื่อรับมือและบรรเทาผลกระทบที่เกิดขึ้นจากวิกฤตทางการเงินรวมถึงการพัฒนา
ความร่ วมมือระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออก และนับแต่น้ นั มา การประชุมระดับผูน้ าของประเทศ
สมาชิกอาเขียนกับผูน้ าของจีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ หรื อที่เรี ยกว่า "การประชุมสุดยอดอาเชียน +3" ก็
ถูกจัดขึ้นเป็ นประจาทุกปี ในช่วงเดียวกันกับที่มีการประชุมสุดยอดอาเซียน
ความร่ วมมือ
กรอบความร่ วมมืออาเชียน*3 เริ่ มเป็ นรู ปร่ างภายหลังการออกแถลงการณ์ร่วมว่าด้วยคว
มือเอเชียตะวันออกเมือ่ พ.ศ. 2542 และการจัดตั้งกลุ่มวิสัยทัศน็เอเชียตะวันออก (East Asia Vilo
EAVG) ใน พ.ศ. 2542 เพื่อวางวิสัยทัศน์ความร่ วมมือในเอเชียตะวันออก ซึ่งใน
นอให้จดั ตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (East Asian community: EAc")
ตรการความร่ วมมือด้านต่าง ๆ เพื่อนาไปสู่การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก (EAc) จนกร
หนดให้การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออกเป็ นเป้าหมายระยะยาว ต่อมาในพ
บข้อริ เริ่ มของไทยในการออกแถลงการณ์ผนู ้ าว่าด้วยความเป็ นหุ้นส่วนความเชื่อมโย
eaders' Statement on ASEAN Plus Three Partnership on Conn
ความร่ วมมือด้านการเงินภายใต้มาตรการริ เริ่ มเชียงใหม่ (Chiang Mai Initiative-CMI) นัน
เป็ นสาขาความร่ วมมือทีม่ ีความก้าวหน้ามากที่สุดภายใต้กรอบความร่ วมมืออาเชียน+3 และความมัน่ คง
ทางต้านอาหารก็เป็ นอีกประเต็นหนึ่งที่ประเทศอาเชียน +3 ให้ความสาคัญ แต่สิ่งที่น่าสนใจที่สุดใน
ขณะนี้ของกรอบความร่ วมมืออาเชียน+3 คือ การจัดตั้งประชาคมเอเชียตะวันออก โดยอยูภ่ ายใต้
กรอบความร่ วมมือสาคัญ 6 ด้านที่เร่ งผลักตัน ได้แก่
1. การร่ วมกันกาหนดกฎระเบียบในภูมิภาค
2. การตั้งเขตการค้าเสร็เอเชียตะวันออก (East Asia free Trade Area: EAFTA)
3. ข้อตกลงความร่ วมมือทางการเงินและการคลัง
เขตความร่ วมมือและมิตรภาพเพื่อหลีกเลี่ยงการสะสมอาวุธ
5. การคมนาคมและเครื่ อข่ายการสื่ อสาร
6. ด้านสิ ทธิมนุษยชนและพันธะกรณีต่างๆ
กรอบความร่ วมมือข้างต้น จะเป็ นกลไกสาคัญในการผลักตันให้เกิดประชาคมเอเชียตะวันออกได้
อย่างแท้จริ ง แต่ถึงกระนั้นแต่ละประเทศก็ตอ้ งเร่ งแก้ไขปัญหาที่ส่งผลกระทบต่อภูมิภาคอย่างเร่ งด่วนก่อน
อาทิ ปัญหาดินแดนทับซ้อนและความมัน่ คง โดยเฉพาะในเซตทะเลจีนใต้ ที่ยงั เป็ นอุปสรรคในการสร้าง
ประชาคมเอเชียตะวันออก
หากมีการรวมกันระหว่างเขตการค้าเสรี ขฮงจีน ญี่ปนุ่ เกาหลีใต้ กับเขตการค้าเสรี อาเซียน (AFTA)
เพื่อจัดตั้งเป็ นเขตการค้าเสร็เอเชียตะวันออก (EAFTA) จะส่งผลให้ประเทศอาเชียน+3 มีเงินสารองกว่า
ครึ่ งหนึ่งของเงินสารองทัว่ โลก รวมทั้งเป็ นกลุ่มความร่ วมมือทางเศรษฐกิจที่มีมูลค่าผลิตภัณฑ์ประชาชาติ
(Gross Nation Product : GNP) ประมาณร้อยละ 50 ของทั้งโลก เป็ นกลุ่มเศรษฐกิจที่มีการลงทุนภายใน
ซึ่งมีการแลกเปลี่ยนทรัพยากร ทุน และเทคโนโลยีที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่งสามารถผลักดันการรวมตัวกันให้
ใเหตุผลที่ใช้ c ตัวเล็ก ในคาว่า commมn!y เพราะ EAG เป็ นป้าหมายระยะยาวที่ยงั ไม่มีการกาหนดรู ปแบบ
พรื อโลรงสร้างที่ชัตเจน ในขณะที่ประชาคมอาเซียน
(ASEAN Community) มีความชัดเจนทั้งในต้านโครงสร้าง องค์ประกอบ และเงื่อนไขเวลา
อาเซียน+6 และอาเซียน+8
ความเป็ นมา
ที่มาของกรอบความร่ วมมืออาเชียน 6 และอาเยียน+ : มาจากการประชุมสุดยอดเอเฮียดะวัน
ออก (East Asia Summit: EAS) โดยพัฒนามาจากกรอบความร่ วมมืออาเซียน +3 ซึ่งประกอบไปด้วย
ประเทศสมากอาเชียน 10 ประเทศ และ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ต่อจากนั้นมีการเพิ่มประเทศผูเ้ ข้าร่ วมอีก
3 ประเทศ ได้แก่ อ็นเดีย ออสเตรเลีย และนิวซีแสนด์เข้าไปด้วย และเรี ยกว่า อาเซี ยน+6 เพราะอาเชียน
เห็นว่า ควรเปิ ดกว้างให้ประเทศนอกกลุ่มอาเชียนได้เข้าร่ วมด้วย โตยได้กาหนดหลักเกณฑ์ 3 ประการ
สาหรับประเทศที่ตอ้ งการเข้าร่ วมเป็ นสมาชิก ได้แก่
1. การเป็ นคู่เจรจาเต็มตัวของอาเซียน
2. การมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟันกับอาเชียน
3. การภาคยานุวตั ิสนธิสัญญาไมตรี และความร่ วมมือ (Treaty of Amity and Cooperation:
ดังนั้น อินเดียซึ่งอยูใ่ นภูมิภาคเอเซียใต้ ออสเตรเลีย และนิวซีแสนด์ ซึ่งอยูใ่ นทวีปออสเตรเลียและ
โอเชียเนีย ทั้ง 3 ประเทศนี้มีคุณสมบัติตามกณฑ์ตงั กล่าวข้างตัน จึงสนใจเข้าร่ วมการประชุมสุดยอตเอเชีย-
ตะวันออก (EAS) หรื ออาเซียน+ 6 โดยมีการประชุมครั้งแรก ใน พ.ศ. 2548 ที่กรุ งกัวลาสัมเปอร์
ประเทศมาเลเซีย ซึ่งที่ประชุมได้ร่วมลงนามในเอกสารที่มีชื่อว่า ปฏิญญากัวลาลัมเปอร์ว่าด้วยการ
ประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (Kuala Lampur Declaration on East Asia Summit) เพื่อ
กาหนดให้ EAS เป็ นเวทีสาหรับหารื อทางยุทธศาสตร์ที่เปิ ดกว้างและโปร่ งใส
ต่อมาสหรัฐอเมริ กาภายใต้การนาของประธานาธิบดี บารัก โอบามา ได้มนี โยบายการต่างประเทศ
ที่ให้ความสนใจต่อทวีปเอเชียและอาเชียนมากขึ้น โดยเริ่ มจากการภาคยานุวตั ิสนธิสัญญามิตรภาพและ
ความร่ วมมือ (Treaty of amity and Cooperation: TAC) ใน พ.ศ.2552 ซึ่งเป็ นผลดีที่ประเทศมหาอานาจ
อย่างสหรัฐอเมริ กา หันมาสนใจและเล็งเห็นความสาคัญของประเทศในแถบอาเชียนมากยิ่งขึ้น และทาง
ต้านรัสเขียก็ได้เล็งเห็นผลประโยชน์ทางการเมืองและทางเศรษฐกิจของภูมิภาคอาเซียนที่เพิม่ มากขึ้นเช่น
กัน ตังนั้นเมื่อมีการประชุม EAS ครั้งที่ 6 ณ บาหลี ประเทศอินโดนีเชีย เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.
2554 รัสเซียและสหรัฐอเมริ กาจึงได้เข้าร่ วมการประชุมพร้อมกันเป็ นครั้งแรก ทาให้ประเทศที่เข้าร่ วมการ
OCEAN
ประชุมมี 18 ประเทศ ซึ่งที่ประชุมในครั้งนี้มีการลงนามปฏิญญาแห่งการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
กการเพื่อความสัมพันธ์เชิงประโยชน์ร่วมกัน(Declaration of the EAS on the P
for Mutually Beneficial Relations) ได้ลงนามรับรองปฏิญญาการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกครั้ง
ความเชื่อมโยงในอาเซียน (Declaration of the Sixth East Asia Summit on
Connectivity) ดังนั้นการประชุม EAS ครั้งนี้ที่ประกอบด้วยประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ กับ
อีก 8 ประเทศนอกอาเซียน ซึ่งได้แก่ จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ อินเต็ย ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ รัสเซีย และ
สหรัฐอเมริ กา จึงเป็ นที่มาของกรอบความร่ วมมือที่เรี ยกว่า อาเซี ยน+8 ซึ่งปั จจุบนั เราเรี ยกกรอบความ
ร่ วมมืออาเซียน+6 และอาเชียน+8 รวมกันอย่างเป็ นทางการว่า "การประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก
(EAS)" (บางครั้งอาจมีการประชุมเพียง 16 ประเทศ และบางครั้งอาจมีการประชุม 18 ประเทศ เพราะ
รัสเซี ยและสหรัฐอเมริ กามิได้เข้าร่ วมประชุมเป็ นประจาทุกปี )
แต่เบื้องลึกนั้น รัสเซียจะเป็ นผูท้ ี่คอยสนับสนุนนในประเด็นทางการเมืองหรื อรักษาผ
รัสเซี ยพยายามใช้เวทีการประชุมเอเชียตะวันออก (อาเซียน+8) เพื่อส่งเสริ มการพัฒนาในเขต
ร่ วมกัน เพื่อคานกับสหรัฐอเมริ กาและประเทศคู่เจรจาอื่นๆ ดังนั้นกรอบความร่ วมมืออาเซียน+8 จึงมี
ประเด็นทางการเมืองของมหาอานาจเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมาก อาจกล่าวได้ว่า ภูมิภาคเอเชียตะวันออก-
เฉียงใต้กลายเป็ นภูมิภาคที่มหาอานาจโลกอย่างสหรัฐอเมริ กาและมหาอานาจเอเชียอย่างญี่ปุ่น ต่าง
ต้องการเข้ามาช่วงชิงการมีบทบาทภูมิภาคนี้กบั จีน ในขณะที่จีนเองก็มีความจาเป็ นที่ตอ้ งขยายบทบาท
และรักษาอิทธิพลที่มีตอ่ อาเซียนเอาไว้ เพื่อให้คงสถานะเดิมและมีบทบาทมากยิ่งขึ้น
ความร่ วมมือ
ความร่ วมมือหลักของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออกที่สาคัญทั้ง 6 สาขา ได้แก่ ความมัน่ คง
ทางพลังงาน การเงิน การจัดการภัยพิบตั ิ การศึกษา สาธารณสุขระดับโลกและโรคระบาด ความเชื่อม-
โยง โดยความร่ วมมือของการประชุมสุดยอดเอเชียตะวันออก (EAS) ภายใต้กรอบความร่ วมมือ ที่เรี ยกว่า
อาเชียน+ 6 มีประเด็นสาคัญที่น่าจับตามอง คือ การที่ผนู ้ าอาเชียน+6 ประกาศว่าจะเปิ ดการเจรจาการจัด
ทาความตกลงพันธมิตรทางเศรษฐกิจระตับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic
Partnership : RCEP) อันเป็ นความตกลงที่มีผลกระทบสูงต่อเอเซ็ยและแปซิฟิก เพราะมีขนาดตลาด
ใหญ่ที่มีประชากรรวมถึง 3,358 ล้านคน ซึ่งจะกลายเป็ นเขตการค้าเสรี ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก
หลักการสาคัญของ RCEP คือ การสร้างผลประโยชน์ร่วมกัน โดยจะพัฒนาต่อยอดจากความ
ตกลงการค้าเสร็ที่อาเซียนมีอยูเ่ ดิม 5 ฉบับ กับ 6 ประเทศ ให้เป็ นความตกลงการค้าเสรี ร่วมกันฉบับ
เดียว โดยมีอาเซียนเป็ นศูนย์กลางของภูมิภาค ครอบคลุมทุกมิติ ทั้งด้านการเข้าถึงตลาด (การลดภาษี
และอุปสรรคทางการค้า การบริ การ การลงทุน) การอานวยความสะดวกทางการค้า การเยียวยา และ
ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจ เป็ นต้น หากการเจรจาประสบความสาเร็จ จะช่วยอานวยความสะดวกทางการ
คาและการส่งทุนของภาคเอกชนได้มากยิ่งขึ้น ทั้งนี้อาเซียนได้ต้งั คณะทางานขึ้น 3 คณะ คือ คณะทางาน
รค้าสิ นค้า คณะทางานต้านการค้าบริ การ และคณะทางานด้านการลงทุน เพื่อจัดทาแนวทาง
แต่ละต้าน (Guiding Principles) และเป็ นพื้นฐานร่ วมสาหรับการเจรจาเฉพาะด้านใน
อไป โดยคาดว่าจะเริ่ มเจรจได้ในต้นปี พ.ศ. 2556 และมีเป้าหมายจรจาให้แล้วเสร็ จใน พ.
พร้อมกับการเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
นอกจากนี้ยงั มีประเด็นอืน่ ๆ ที่น่าติดตาม คือ ความคืบหน้าการพิจารณารับฮ่องกงเช้า
ตามตกลงการค้าเสอาเขียน-จีน และการติดตามความคืบหน้าการเจรจาการค้าบริ การและการลง
ภายใต้กรอบอาเซียน-ญี่ปนุ่ และอาเซียน-อินเดีย
สาหรับความร่ วมมือของการประชุมสุตยอดเอเชียตะวันออก (EAS) ภายใต้กรอบความ
เรี ยกว่า อาเซี ยน 8 มีประเด็นสาคัญที่นาต้องจับตามอง คือ การประชุมสุดยอดผูน้ าเอเชียตะวันออกครั้ง
ที่ 7 เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555 ที่กรุ งพนมเปญ ประเทศกัมพูชา เพราะมีการพูดถึงปัญหาช้อ
พิพาททางทะเล โดยเฉพาะการอ้างสิ ทธิ์เหนือหมู่เกาะในทะเลจีนใต้ อันเป็ นประเด็นตึงเครี ยดที่สุดของ
กรอบความร่ วมมืออาเซียน+8 โดยมีมหาอานาจของโลกปัจจุบนั อย่างหรัฐอเมริ กาและจีนเข้าร่ วมประชุม
พร้อมกัน เน้นหารื อในปัญหาที่มีความสาคัญทางยุทธศาสตร์ ต่อสันติภาพและการพัฒนาในภูมิภาค
อย่างไรก็ตาม อาเซียนได้แสตงความเป็ นเอกภาพ โดยระบุว่ากลุ่มประเทศอาเซียนเห็นพ้องต้องกัน
ว่าจะไม่นาปัญหาข้อพิพาททะเลจีนใต้ยกระดับสู่เวทีนานาซาติ ขณะที่จีนก็ยืนกรานมาตลอดว่า ประเด็น
ข้อพิพาทนี้ควรที่จะนามาคุยกันในระดับทวิภาคี ไม่ตอ้ งผ่านการประชุมระดับภูมิภาคอย่างอาเซียน และ
ยังยืนกรานด้วยว่าบรรดาที่เกี่ยวข้องกับข้อพิพาทนี้ก็ไม่ควรนาสหรัฐอเมริ กาเข้ามาสนับสนุนในเรื่ องนี้
แต่ประธานาธิบดีของฟิ ลิปปิ นส์ นายเบนิกโน อากิโน ได้กล่าวโต้ตอบว่า ผูน้ ากลุ่มอาเซียนยังไม่ใด้บรรลุ
ข้อตกลง กรณีที่จะไม่นาเรื่ องข้อพิพาทในทะเลจีนใต้เข้าสู่ระดับเวทีนานาชาติ แต่ผนู ้ าอาเซียนไต้ร้องขอ
ให้จีนเริ่ มการเจรจาอย่างเป็ นทางการโดยเร็ วที่สุต เพื่อร่ างข้อตกลงที่มีผลทางกฎหมาย เพื่อป้องกันเหตุ
รุ นแรงในกรณีขอ้ พิพาทในทะเลจีนใต้
สาหรับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เกี่ยวข้องกับกรณีพิพาททะเลจีนใต้ มี 4 ประเทศ คือ บรู ไน
มาเลเซีย ฟิ ลิปปิ นส์ และเวียดนาม ที่ต่างก็อา้ งกรรมสิ ทธิ์เช่นเดียวกับจีนและไต้หวัน โดยพื้นที่ในทะเลจีน
ใต้โดยฉพาะหมู่เกาะสแปรตลียอ์ ุตมไปด้วยน้ ามัน แก๊สธรรมชาติ แร่ าตุ และสัตว์น้ า โดยเฉพาะปลาทูน่า

You might also like