Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 18

บทที่ 4

ความปลอดภัยในการทางาน

สภาพเศรษฐกิจและสังคมปจั จุบนั ทาให้ผปู้ ระกอบอาชีพต้องทางานในสภาพของ


การแข่งขัน เร่งรีบ ทางานแข่งกับเวลา ไม่ว่าจะเป็ นงานอาชีพด้านใดก็ตามทุกคนต้อง
พยายามปรับตัวให้ทนั กับการเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ อย่างรวดเร็วในด้านเทคโนโลยีใหม่ๆ
เจ้าของกิจการมุ่งแต่ผลผลิตจนกระทังขาดความสนใจในเรื
่ ่องความปลอดภัย ซึ่งเป็ น
สาเหตุทท่ี าให้เกิดอันตรายจากการประสบอุบตั เิ หตุของคนงาน เกิดการบาดเจ็บ หรือเสีย่ ง
ต่อโรคภัยไข้เจ็บต่างๆ ได้เสมอ ทาให้เกิดการเจ็บปว่ ยทุกข์ทรมานทัง้ ทางด้านร่างกายและ
จิตใจจนกระทังเสี ่ ยชีวติ ได้ ส่งผลกระทบในระยะยาวถึงครอบครัว สังคมและประเทศชาติ
ต่อไปด้วย นอกจากนัน้ การเจ็บป่วยของผู้ปฏิบตั ิงานยัง ก่อให้เกิดผลกระทบกับ สถาน
ประกอบการเนื่องจากคนทีป่ ระสบอันตรายไม่สามารถมาทางานได้ ขาดคนทางาน ทาให้
ต้นทุนการผลิตสูงขึน้ และทาให้คนงานเสียขวัญและกาลังใจในการทางาน
ในปจั จุบนั สถานประกอบการให้ความสนใจในการดาเนินการเกี่ยวกับเรื่องความ
ปลอดภัยในการทางานกันมากยิง่ ขึ้น และในขณะเดียวกันเจ้าของกิจการก็จะคานึงถึง
ผลประโยชน์ในด้านการเพิม่ ผลผลิตและการป้องกันหรือลดการสูญเสียของกาลังงานกับ
วัตถุดบิ ไปพร้อมกันด้วย ดังนัน้ สถานประกอบการหรือเจ้าของกิจการก็จะพยายามพัฒนา
แรงงานให้เท่าทันเทคโนโลยีและผลักดัน ให้คนงานเพิม่ ขีดความสามารถ ด้ว ยวิธีการ
จัดการฝึ กอบรมให้การศึกษาอย่างต่อเนื่องและจัดสวัสดิการทีเ่ หมาะสมให้กบั คนงานเพิม่
มากขึน้ เพือ่ เป็ นการลดสถิตกิ ารเกิดอุบตั เิ หตุและความไม่ปลอดภัยในการทางานลงให้ได้

ความหมายของความปลอดภัยในการทางาน
ความปลอดภัย (Safety) หมายถึง สภาวะการปราศจากภัยหรือการพ้นภัย และ
รวมถึงปราศจากอันตราย (Danger) การบาดเจ็บ (Injury) การเสี่ยงภัย (risk) และการ
สูญเสีย (Loss)

HA 233 53
ภัย (Hazard) หมายถึง สภาวการณ์ซ่งึ มีแนวโน้มทีจ่ ะก่อ ให้เกิดการบาดเจ็บของ
บุ ค คล หรื อ เกิ ด ความเสี ย หายต่ อ ทรัพ ย์ ส ิ น รวมทั ง้ การกระทบกระเทื อ นต่ อ ขี ด
ความสามารถในการปฏิบตั งิ านตามปกติของบุคคล
อันตราย (Danger) หมายถึง สภาวะทีเ่ ป็ นอันตรายไม่วา่ จะอยู่ในระดับของความ
รุนแรงมากหรือน้อยขึน้ อยู่กบั สภาพของการทางานและการป้องกัน เช่น การทางานบนที่
สูง ซึ่งถือว่าเป็ นสภาพการณ์ ท่มี คี วามเสี่ยงที่จะมีโอกาสเกิดอันตรายขึ้นได้ถ้าหากเกิด
ความผิดพลาดเกิดขึน้ และอาจทาให้เกิดการบาดเจ็บหรือถึงกับชีวติ ได้
อุบตั ิ การณ์ (Incident) หมายถึง เหตุการณ์ ท่ไี ม่ปรารถนาจะให้เกิดขึน้ แต่เมื่อ
เกิดขึน้ จะทาให้เกิดการสูญเสียตามมาอีกมากมาย เช่น งานซ่อมบารุงเครื่องจักรต้องการ
เปลีย่ นชิน้ ส่วนอะไหล่ตามกาหนด แต่ปรากฏว่าได้อะไหล่ไม่ครบทาให้งานล่าช้าและเป็ น
ผลเสียกับระบบ
อุบตั ิ เหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ โดยไม่มใี ครคาดคิด ไม่ได้
ตัง้ ใจให้เกิดขึน้ ไม่สามารถควบคุมได้ และหลีกเลีย่ งไม่ได้ขณะนัน้ ทาให้เกิดความเสียหาย
ส่งผลกระทบต่อทัง้ ตัวเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติ
ความปลอดภัย ในการทางาน คือ การปฏิบตั ิงานให้สาเร็จลุล่ว งตามเป้าหมาย
โดยปราศจากเหตุ การณ์ ท่ที าให้เกิดความเสียหาย การสูญเสียทัง้ บุคคลและทรั พย์สนิ
การบาดเจ็บ ปว่ ยเป็ นโรคจนถึงขัน้ เสียชีวติ
อุบตั ภิ ยั ในการทางาน หมายถึง ภัยและความเสียหายอันเนื่องมาจากเหตุการณ์ท่ี
ไม่คาดคิดมาก่อน ทาให้ผปู้ ฏิบตั งิ าน บาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สนิ พิการหรือเสียชีวติ

ความสาคัญของความปลอดภัยในการทางาน
สถิตขิ องคนทางานทีต่ อ้ งประสบอุบตั กิ ารณ์เกิดการบาดเจ็บ สูญเสียทรัพย์สนิ เงิน
ทอง อวัยวะ จนกระทังถึ่ งชีวติ จากการประกอบอาชีพนัน้ มีแนวโน้ มสูงขึ้นทุกปี สาเหตุ
เนื่องมาจากลักษณะของงานทีท่ า อัตราเสีย่ ง สภาพการทางานทีเ่ ร่งรีบ การทางานบนที่
สูง หรือในหน่ วยงานใดก็ตาม ตัง้ แต่ปี พ.ศ.2535 แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีกาลัง
แรงงานรวมถึง 33 ล้านคน เป็ นผูม้ งี านทา 30 ล้านคน เป็ นผูท้ อ่ี ยู่ในภาคเกษตรกรรม 18
ล้านคน นอกภาคเกษตรกรรม 12 ล้านคน ซึ่งเป็ นลูกจ้างเอกชน 5.8 ล้านคน และเป็ น
ข้าราชการและลูกจ้าง 1.7 ล้านคน (กิตติ ปทุมแก้ว, 2536: 2) และจากสถิตกิ ารประสบ
54 HA 233
อันตรายจากการทางานของแรงงานของสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการ
ทางาน (ประเทศไทย) ในรอบ 5 ปี ทีผ่ า่ นมาดังนี้

ตารางที่ 2 สถิตกิ ารประสบอันตรายรอบปี พ.ศ.2534-2538


พ.ศ. จานวนราย เงินทดแทน (ล้านบาท)
2534 102,273 617.24
2535 131,800 753.31
2536 156,548 926.51
2537 186,053 1169.39
216,335 1370.03
แหล่งทีม่ าของข้อมูลสถิต:ิ สมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทางาน

จะเห็นได้ว่าอัตราความสูญเสียของผูป้ ระสบอันตรายในรอบ 5 ปี (ประเทศไทย)


ตามตารางนัน้ มีอตั ราเฉลีย่ ประมาณไม่น้อยกว่า 4.4 ต่อปี และนอกจากนัน้ แล้วยังมีการ
สู ญ เสีย อย่ า งต่ อ เนื่ อ งสัม พัน ธ์ ถึง ทรัพ ย์ ส ิน ของผู้ ป ระกอบการ สู ญ เสีย บุ ค คลที่เ ป็ น
ทรัพยากรที่มคี ่ายิ่ง รวมไปถึงครอบครัว เศรษฐกิจ สังคมและประเทศชาติ ซึ่งคิดเป็ น
มูลค่ามหาศาล ดังนัน้ ผูเ้ กีย่ วข้องจึงจาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องมีการศึกษาวิเคราะห์ถงึ สาเหตุ
ของการเกิดความสูญเสียดังกล่าว เพื่อหาแนวทางในการควบคุมป้องกันและแก้ไขให้กบั
ผูป้ ระกอบอาชีพ ให้สามารถทางานได้อย่างมีความสุข มีประสิทธิภาพ สามารถพัฒนาให้
ก้าวหน้ายิง่ ขึน้ ไปอันจะเป็ นประโยชน์ต่อประเทศชาติต่อไป

การสูญเสียเนื่ องจากการทางาน
ประเทศไทยเป็ นประเทศทีก่ าลังพัฒนา ทาให้เกิดมีโรงงานอุตสาหกรรมทัง้ ขนาด
เล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ่ เ กิด ขึ้น มากมาย การลงทุ น เกี่ย วกับ งานด้า นความ
ปลอดภัยในการทางานจึงเป็ นเรื่องทีท่ าได้ไม่มากเท่าทีค่ วร เนื่องจากมีการลงทุนค่อนข้าง
สูงและผลที่ได้รบั คืนมาไม่เห็นเป็ นปริมาณหรือตัวเลขอย่างชัดเจน โรงงานขนาดเล็กไม่
สามารถลงทุนด้านความปลอดภัยได้และยังไม่เห็นถึงความสาคัญ ของงานด้า นความ
ปลอดภัยอีกด้วย ทาให้ไม่มีการบันทึก ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ ต่อการจัดการด้านความ
HA 233 55
ปลอดภัย จึงไม่สามารถวิเคราะห์ถึงสาเหตุและแนวทางการแก้ไข สาเหตุของความไม่
ปลอดภัย ได้เ ลย จากการสรุ ป ของบทความ “อารยะ” ทางเศรษฐกิจ สู่ “หายนะ” ของ
แรงงานไทย ซึ่ง รศ.ดร.วรวิทย์ เจริญเลิศ ได้กล่าวถึงการวัดความสาเร็จของการพัฒนา
โดยการพิจารณาจากการขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP: Gross
Domestic Product) หรือรายได้ประชาชาติเพียงอย่างเดียว อาจจะไม่ได้สะท้ อนตัวเลข
แท้จริงเพราะยังไม่ได้นบั รวมต้นทุนทางสังคม (ปญั หาสิง่ แวดล้อมและสุขภาพ) ซึง่ ต้นทุน
เหล่านี้เป็ น “ต้นทุนแอบแฝง” ภายใต้กระบวนการเร่งรัดการพัฒนาอุตสาหกรรม รวมทัง้
ผลกระทบทางด้านคุณภาพชีวติ และจิตใจ ซึ่งไม่สามารถเรียกกลับคืนมาได้ ทาให้เกิด
เหตุ ก ารณ์ โ ศกนาฏกรรมแรงงานที่ย งั เกิด ซ้ า ซาก แม้ว่า ทางรัฐ บาลจะจัด ตัง้ กระทรวง
แรงงาน ออกกฎหมายและระเบียบของกระทรวงในการคุ้ม ครองแก่ค นงานได้อ ย่า งมี
ประสิทธิภาพ มีกองทุนเงินทดแทน การประกันสังคมและกฎหมายต่างๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับ
ความปลอดภัยในการทางาน รวมทัง้ การจัดตัง้ สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางาน ตลอดจนกองตรวจโรงงาน กรมโรงงานอุตสาหกรรม
แต่ก็ยงั ไม่สามารถป้องกันปญั หาได้ ดังเช่นเหตุการณ์ ตงั ้ แต่ปี พ.ศ.2536 จนถึงปจั จุบนั
มี ข่ า วที่ ส ร้ า งความสะเทื อ นขวัญ ไปทั ว่ โลก ได้ แ ก่ กรณี ไ ฟไหม้ โ รงงานเคเดอร์
(10 พฤษภาคม พ.ศ.2536) มีคนหนุ่มสาวเสียชีวติ ถึง 188 ราย และบาดเจ็บกว่า 400 ราย
กรณีโรงแรมรอยัลพลาซ่าถล่ม (13 สิงหาคม 2538) มีผูเ้ สียชีวติ 157 ราย บาดเจ็บกว่า
200 ราย กรณีไฟไหม้โรงแรมรอยัลจอมเทียนรีสอร์ท (11 กรกฎาคม 2540) มีผเู้ สียชีวติ
รวม 91 ราย บาดเจ็บกว่า 50 ราย และกรณีโรงงานอบลาไย บริษัท หงส์ไทยเกษตร
พัฒนา จากัด เกิดระเบิด (19 กันยายน 2542) ทาให้มผี ูเ้ สียชีวติ 36 ราย บาดเจ็บสาหัส
2 ราย ชุมชนบริเวณรอบโรงงานรัศมี 1 กิโลเมตร ได้รบั ความเสียหาย 571 หลังคาเรือน
ชาวบ้านบาดเจ็บ 160 ราย และสถิติจากสานักงานกองทุนเงินทดแทน พบว่าในเดือน
พฤษภาคม 2547 ที่ป ระสบอัน ตรายเนื่ อ งจากการท างาน รวมทัง้ สิ้น 215,534 ราย
ในจานวนนี้เสียชีวติ ถึง 600 ราย และการประสบอันตรายของคนงานก็ยงั คงเพิม่ สูงขึน้
อย่างต่อเนื่อง เมื่อคิดอัตราการประสบอันตรายในทุกกรณีเฉลีย่ ที่ 45 คนจากอัตราลูกจ้าง
1,000 คน ในปี 2535-2539 ส่วนหลังจากปี 2540 เป็ นต้นมา พบว่าอัตราการประสบ
อันตรายจากการทางานมีแนวโน้มลดลงเท่ากับ 39.5 ในปี พ.ศ.2540 มีค่าเท่ากับ 36.25
ในปี พ.ศ.2541 มีคา่ เท่ากับ 32.3 ในปี พ.ศ.2542 และ 29.9 ในปี พ.ศ.2546 เนื่องจากเกิด

56 HA 233
ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกิจภายในประเทศ และเปรียบเทียบกับสถิตกิ ารประสบอันตราย
จากการทางานกับประเทศสหรัฐอเมริกาหรืออังกฤษจะเห็นว่ามีอตั ราการประสบอันตราย
จากการทางานอยู่ทร่ี ะดับต่ากว่า 10 คนต่อจานวนลูกจ้าง 1,000 คน แสดงให้เห็นว่าประเทศ
ไทยยังมีอตั ราการประสบอันตรายจากการทางานในระดับทีค่ ่อนข้างสูงมาก นอกจากนัน้
ยังแสดงให้เห็นถึงการประสบอันตรายจากการทางานต่อมิตทิ างเพศไว้ดงั นี้คอื ลูกจ้างที่
ประสบอันตรายจากการทางานในปี พ.ศ.2547 จานวนทัง้ หมด 215,534 คน แยกเป็ นชาย
172,691 คน และหญิง 42,834 คน หรืออาจสรุปว่าคนงานชายประสบอันตรายจากการ
ทางานมากกว่าคนงานหญิงถึง 3 เท่าในแต่ละปี และปญั หาทีต่ ามมาก็คอื การจัดการกับ
ปญั หาครอบครัวทีต่ ่างกัน ถ้าในกรณีทเ่ี ป็ นผูห้ ญิงจะสามารถจัดการกับปญั หาครอบครัว
ได้ดกี ว่า จะเห็นความสาคัญของการศึกษาของเด็กกับอนาคตแต่กต็ อ้ งทางานหนักเพื่อหา
รายได้ให้เพียงพอกับรายจ่ายของครอบครัวทีจ่ ะต้องเป็ นทัง้ แม่และพ่อในขณะเดียวกัน ใน
กรณีทเ่ี ป็ นผูช้ ายก็ต้องมีบทบาทรับผิดชอบเป็ นทัง้ พ่อและแม่ เลีย้ งดูครอบครัวและลูกใน
ขณะเดียวกันนัน้ มักจะมีโอกาสทีจ่ ะทาให้ครอบครัวแตกแยกเกิดขึน้ ได้ ในกรณีพอ่ ติดเหล้า
ทิ้งลูก แต่งงานใหม่ หรือส่งลูกให้ยายหรือย่าเป็ นผูร้ บั ผิดชอบแทน หรือ อาจถูกปลดออก
จากงานเนื่องจากสาเหตุของการเจ็บป่วยจากการทางานกลายเป็ นคนตกงานอย่างถาวร
ไม่สามารถหางานในระบบได้ตอ้ งเผชิญกับปญั หาทางสังคม กลายเป็ น “คนชายขอบของ
สังคม” ทีต่ อ้ งเผชิญกับทัศนคติในทางลบของคนในสังคม
ความสูญเสียเนื่องจากอุบตั เิ หตุจากการทางานสามารถจาแนกออกเป็ น 2 ส่วน คือ
ความสูญเสียทางตรง ได้แก่ การรักษาพยาบาลและการทดแทน กับความสูญเสียทางอ้อม
หรือความสูญเสียแฝงเร้น ซึง่ เฮนริค (Heinrich): 1959 ได้กล่าวถึงความสูญเสียแฝงเร้นว่า
ประกอบด้วย
1. ค่าความสูญเสียเวลาของผูท้ ไ่ี ด้รบั บาดเจ็บ
2. ค่าความสูญเสียบุคคลที่ต้องหยุดงานเนื่องจากความอยากรูอ้ ยากเห็น ความ
สงสัย การนาผูป้ ว่ ยส่งโรงพยาบาลและอื่นๆ
3. ค่าความสูญเสียหัวหน้างาน ผู้ควบคุมงานและผู้จดั การในเรื่องการช่วยเหลือ
ผูบ้ าดเจ็บ การคัดเลือกและฝึกอบรมพนักงานใหม่ การจัดทารายงานอุบตั เิ หตุ
4. ค่าความสูญเสียเวลาในการปฐมพยาบาลและเจ้าหน้าทีส่ ถานพยาบาลต่างๆ
5. ค่าความสูญเสียเนื่องจากเครือ่ งจักรชารุด หรือทรัพย์สนิ อื่นๆ เสียหาย

HA 233 57
6. ค่ า ความสูญ เสีย ที่ท าให้ก ารผลิต ต้อ งชะงัก ไม่ส ามารถจัด ส่ง สิน ค้า ได้ต าม
กาหนดเวลา ไม่ได้รบั เงินรางวัล
7. ค่าใช้จ่ายทีน่ ายจ้างต้องสูญเสียเป็ นค่าสวัสดิการแก่ลกู จ้าง
8. ค่าจ้างที่นายจ้างต้องจ่ายเต็มให้กบั คนงานลูกจ้างที่เพิง่ หายจากการเจ็บป่วย
ซึง่ อาจจะยังทางานได้ไม่เต็มความสามารถ
9. ค่าความสูญเสียผลกาไรทีจ่ ะพึงได้จากผลผลิตของคนงานและเครื่องจักรทีไ่ ม่ม ี
คนงานผูใ้ ช้
10. ค่าความสูญเสียทีพ่ นักงานเสียขวัญจากเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้
11. ค่าใช้จ่ายอื่นๆ
ซึ่ง ในการด าเนิ น โครงการด้า นความปลอดภัย ในเชิง ธุ ร กิจ นัน้ ต้อ งการค่ า ของ
ผลตอบแทนที่คุ้ม ค่ า มากที่สุด และต้อ งมีก ารควบคุ ม ค่ า ใช้จ่ า ยต่ า งๆ อย่ า งรอบคอบ
โดยเฉพาะอย่างยิง่ งานด้านอาชีวอนามัย และความปลอดภัยที่อาจเกิดเหตุการณ์ความ
เสียหายทีไ่ ม่สามารถคิดคานวณออกมาเป็ นตัวเลขหรือตัวเงินได้กบั ค่าใช้จ่ายทีต่ อ้ งสูญเสีย
ไปเพือ่ การป้องกันมิให้เกิดความไม่ปลอดภัยจากการทางาน ได้แก่
1. ค่าใช้จ่ายเกีย่ วกับการนาเอาระบบความปลอดภัยเข้ามาใช้ (Pro-active costs)
เป็ นค่าใช้จ่ายในการวางแผนกาหนดมาตรการด้านการป้องกันเพือ่ มิให้เกิดโรค หรือความ
ไม่ปลอดภัยจากการทางานของหน่ วยงาน ซึ่งสามารถคานวณออกมาเป็ นตัวเลขหรือ
จานวนเงินได้ เช่น ค่าใช้จ่ายในการติดตัง้ ระบบควบคุมป้องกันเหตุอนั ตรายต่างๆ ค่าจ้าง
หรือ เงินเดือ นเจ้า หน้ า ที่ท่ีเกี่ย วข้อ ง ค่า อุ ป กรณ์ รวมทัง้ เงิน กองทุ น ทดแทนที่ ต้อ งจ่ า ย
เป็ นต้น
2. ค่าใช้จ่ายทีต่ ้องสูญเสียเนื่องจากรักษาพยาบาลของพนักงานคนงานทีเ่ ป็ นโรค
หรืออุบตั เิ หตุ ความไม่ปลอดภัยจากการทางาน (Re-active costs) ซึง่ อาจคิดคานวณเป็ น
ตัวเลขหรือจานวนเงินได้ (Tangible costs) เช่น ความเสียหายเกีย่ วกับเครื่องจักรกล
อาคารสถานที่ ผลผลิตขณะเกิดอุบตั เิ หตุ ค่าชดเชย ค่าปรับให้กบั กองทุน ค่าใช้จ่ายในการ
ฟื้ นฟูสมรรถภาพ และนอกจากนัน้ ยังมีค่าใช้จ่ายหรือความสูญเสียทีไ่ ม่สามารถบอกเป็ น
ตัวเลขออกมาได้ (Intangible costs) เช่น เวลาทีเ่ สียไปในช่วงของการเกิดเหตุการณ์ไม่
ปลอดภัย ขวัญกาลังใจของคนงาน ภาพพจน์ ของสถานประกอบการ การฟื้ นสภาพการ

58 HA 233
ทางานให้เป็ นไปตามปกติ ค่าใช้จ่ายในการฝึ กอบรมให้ความรู้ความเข้าใจ หรืออบรม
พนักงานทดแทน

ค่าใช้จ่ายด้าน Pro-active cost


อาชีวอนามัยและ Tangible costs
ความปลอดภัย Re-active costs
Intangible costs

ในการค านวณอั ต ราส่ ว นของค่ า ความสู ญ เสีย ทางอ้ อ มและทางตรง ว่ า มี


ค่าประมาณ 4:1 ต่อมา ดี รีมี (Dee Reame) 1980 ได้อา้ งถึงการศึกษาจากนักวิชาการว่า
อัตราส่วนนัน้ จะอยู่ระหว่าง 2.3:1 ถึง 101:1 ซึ่งอาจเปรียบได้เหมือนภูเขาน้ าแข็งใน
มหาสมุ ท ร จะมีส่วนที่โ ผล่ พ้นน้ า ขึ้น มาที่เ ปรีย บเหมือ นค่ า ความสูญ เสีย ทางตรงที่เ รา
สามารถรับสัมผัสได้โดยตรง กับส่วนที่จมอยู่ในน้ าเปรียบเหมือนกับว่าค่าความสูญเสีย
ทางอ้อ ม ที่บุ ค คลมัก จะไม่ ค่ อ ยค านึ ง ถึง หรือ มัก จะมองข้า มความส าคัญ ไป และมีค่ า
มากกว่าส่วนทีโ่ ผล่ขน้ึ เหนือน้า (ชัยยุทธ ชวลิตนิธกิ ุล, 2532: 9-10)

รูปที่ 6 ภูเขาน้าแข็ง : ความเสียหายจากอุบตั เิ หตุทเ่ี ห็นได้ชดั เจนมีเพียง 1 ส่วน อีก 4 ส่วนเป็ นความ
เสียหายทีไ่ ม่สามารถคานวณได้ ทีม่ า gotoknow.org./blog/pabsuryngam/304899

HA 233 59
ปัญหาการประสบอันตรายจากการทางาน
การประสบอันตรายจากการทางานนัน้ มีปจั จัยสาคัญที่เกี่ยวข้องกันตลอดเวลา
ได้แก่
1. ตัวบุคคล คือ ผูป้ ระกอบการลูกจ้างและบุคคลอื่นๆ ทีเ่ กี่ยวข้องกับการทางาน
ซึง่ เป็ นตัวสาเหตุใหญ่ทก่ี ่อให้เกิดอุบตั เิ หตุหรืออันตรายจากการทางาน โดยอาจจะเกิดจาก
การขาดความรู้ค วามเข้า ใจถึง วิธีก ารท างานอย่ า งปลอดภัย ขาดความตระหนั ก ถึง
ความสาคัญของสุขภาพ รวมทัง้ เจ้าหน้าทีภ่ าครัฐทีอ่ าจจะยังขาดทักษะในการตรวจบังคับ
ให้ถูกต้องตามกฎหมาย
2. สิง่ แวดล้อม คือ ตัวองค์กรหรือสถานประกอบการ สภาพของการทางานที่ม ี
องค์ป ระกอบต่ า งๆ เพื่อ ให้มีก ารด าเนิ น งานได้โ ดยรอบตัว ของผู้ป ฏิบ ัติง าน รวมทัง้
กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆ ทัง้ ในสถานประกอบการและของหน่ วยงานภาครัฐทีม่ หี น้าที่
รับผิดชอบยังขาดเอกภาพทีเ่ ด่นชัด และบางครัง้ ไม่เอื้ออานวยต่อการป้องกันควบคุมทีม่ ี
ประสิทธิภาพ
3. อุปกรณ์ เครือ่ งจักร เครือ่ งมือ คือ วัสดุอุปกรณ์ทจ่ี าเป็ นต้องใช้ในการปฏิบตั งิ าน
ในสถานประกอบการเพื่อการผลิตและบรรลุเป้าหมายในการทางาน ซึ่งอาจเสื่อมสภาพ
ขาดการตรวจสอบดูแลบารุงรักษา ขาดการควบคุมดูแลให้ปฏิบตั ติ ามคาแนะนา ขาดการ
จัดระเบียบ เป็ นต้น

มาตรการในการแก้ปัญหาการประสบอันตรายจากการทางาน
เพื่อให้การทางานของแรงงานได้รบั ความปลอดภัยสูงสุดและลดการเกิดอุบตั เิ หตุ
จากการท างาน ลดความสูญ เสีย จากการเกิด อุ บ ตั ิเหตุ จึง จาเป็ น ที่จ ะต้อ งมีม าตรการ
กาหนดเพือ่ การป้องกันและแก้ปญั หาต่างๆ เกิดขึน้
การสอบสวนอุบตั ิ เหตุ (Accident Investigation)
การเกิดเหตุอนั ตรายหรืออุบตั ิเหตุทุกครัง้ มีความจาเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมีการ
สอบสวนหาสาเหตุทแ่ี ท้จริง และมีการบันทึกรายละเอียดต่างๆ ทีเ่ กีย่ วข้องเพื่อเป็ นข้อมูล
แนวทางในการกาหนดมาตรการการป้องกันอย่างได้ผล ซึง่ วัตถุประสงค์ของการสอบสวน
ดังนี้

60 HA 233
1. เพื่อการค้นหาสาเหตุท่แี ท้จริงของการเกิดอุบตั เิ หตุและสภาพอันตรายต่างๆ
สาหรับเป็ นแนวทางการป้องกันและการแก้ไขอย่างถูกต้อง
2. เพื่อค้นหาความจริงขอการกระทาทีไ่ ม่ถูกต้องตามกฎข้อบังคับหรือการฝ่าฝื น
ระเบียบซึง่ เป็ นสาเหตุทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ
3. เพื่อการเปรียบเทียบการทางานที่เปลี่ยนแปลงว่ามีการแจ้ง ให้ทราบล่วงหน้ า
หรือไม่
4. เพื่อ ให้ท ราบผลของความเสีย หายอัน เนื่ อ งมาจากอัน ตรายที่เ กิด อุ บ ตั ิเ หตุ
เกิดการบาดเจ็บ ในการกระตุน้ เตือนให้ผทู้ เ่ี กีย่ วข้องทุกฝ่ายหันมาเห็นความสาคัญ ใส่ใจ
ในการป้องกันอันตรายจากอุบตั เิ หตุ
5. เพื่อ เก็บ รวบรวมข้อ มู ล สถิติ เป็ น ประโยชน์ ต่ อ การวิเ คราะห์แ ละสอบสวน
อุบตั เิ หตุ และความไม่ปลอดภัย
ในการสอบสวนอุบตั เิ หตุนนั ้ ต้องคานึงถึงสาเหตุทางสภาวะแวดล้อมและพฤติกรรม
ของบุ ค คลซึ่งได้ปรับ ปรุงแนวทางการค้น หาสาเหตุ ข องการเกิด อุบ ตั ิเหตุ มาจาก ASA
Standard Z16.2 (1962) เป็ นรูปแบบของ “Method of Recording Basic Facts Relating
to Nature and Occurrence of work Injuries” จาแนกสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุไว้
อย่างชัดเจน 7 ประการ ดังนี้
1. ลักษณะของการบาดเจ็บ (Nature of injuries)
2. อวัยวะของร่างกายทีไ่ ด้รบั ผลกระทบ (Part of body affected)
3. จุดทีท่ าให้เกิดการบาดเจ็บ (Source of injuries)
4. ชนิดของอุบตั เิ หตุ (Accident type)
5. สภาพของอันตราย (Hazardous conditions)
6. แหล่งกาหนดอุบตั เิ หตุ (Agency of accident)
7. การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe act)
เมื่อ ทราบสาเหตุ ด ัง กล่ า วแล้ว จึง น ามาเป็ น แนวทางในการสร้า งแบบส ารวจ
ตรวจสอบด้านความปลอดภัยในการทางานโดยเฉพาะงานอุตสาหกรรม ซึง่ ได้รปู แบบเป็ น
มาตรฐานเดียวกัน สามารถนาไปใช้ในการตรวจสอบเปรียบเทียบด้านความปลอดภัยได้
ตลอดเวลา

HA 233 61
การตรวจสอบความปลอดภัย (Safety Inspection)
ค้นหาสาเหตุของอันตรายเพื่อเป็ นแนวทางการกาหนดมาตรการในการป้องกัน
ซึง่ อาจเป็ นวิธกี ารทีเ่ ป็ นทางการหรือโดยบุคลากรในองค์กรทีม่ ปี ระสบการณ์และตระหนัก
ถึงความสาคัญของความปลอดภัยทีจ่ ะร่วมมือกันในการสังเกต ตรวจตรา เอาใจใส่ถงึ สิง่
ผิดปกติความบกพร่องทีอ่ าจเกิดมีขน้ึ ในการทางานก็ได้ ซึง่ โดยทัวไปจะมี ่ แบบสารวจเพื่อ
การตรวจสอบ และแจ้งผลไปยังผูเ้ กีย่ วข้อง หัวหน้างาน ผูจ้ ดั การ หรือคณะกรรมการความ
ปลอดภัยของหน่วยงานเพือ่ การแก้ไข ดังหัวข้อสาคัญๆ ดังนี้
1. เรือ่ งความเป็ นระเบียบเรียบร้อย และความสะดวกของสถานที่
2. การจัดสุขาภิบาลโดยทัวไป ่
3. เครือ่ งมือ อุปกรณ์ไฟฟ้า
4. เครือ่ งมือ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ลมความดันสูง
5. เครนหรือปนจั ั ้ นที
่ ใ่ ช้ในการเคลือ่ นย้ายหรือยกสิง่ ของหนัก
6. อุปกรณ์ในการยกหรือขนถ่ายวัสดุ
7. สัญญาณเตือนภัย เครือ่ งดับเพลิง ทางหนีไฟและประตูหนีภยั
8. สภาพแวดล้อมในการทางาน เช่น ความร้อน แสง เสียง การระบายอากาศ
ความชืน้
9. เครือ่ งจักรขนาดใหญ่
10. เครือ่ งมือช่างทัง้ หลาย
11. ทางเดิน บันได ทางออก
12. สัญลักษณ์ดา้ นความปลอดภัย
13. อุปกรณ์ปฐมพยาบาลและอุปกรณ์ชว่ ยชีวติ
14. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

ทฤษฎีแนวคิ ดการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ


1. ทฤษฎีโดมิโน (Domino Theory) ในปี ค.ศ.1931 นายเฮนริค (Heinrich) ได้
ค้นพบข้อเท็จจริงเกี่ย วกับการเกิดอุ บตั ิเหตุ ในงานอุตสาหกรรมว่าสาเหตุ ของการเกิด
อุ บ ตั ิเ หตุ เกิด จากการกระท าของคนเป็ น ส่ว นใหญ่ ร้อ ยละ 88 และเกิด จากสภาพที่ไ ม่
ปลอดภัยร้อยละ 12 และพยายามหาแนวทางในการป้องกันอุบตั เิ หตุด้วยการปรับปรุง
62 HA 233
สภาพแวดล้อมให้ปลอดภัยนัน้ ทาให้แนวคิดของเขาเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัวไป ่ และใช้
เป็ นเครือ่ งมือในการสอบสวนและตรวจสอบอุบตั เิ หตุ โดยใช้หลักของโดมิโน กล่าวคือ การ
บาดเจ็บและความเสียหายต่างๆ เป็ นผลสืบเนื่องมาจากอุบตั ิเหตุ หรือการกระทาที่ไม่
ปลอดภัย ซึ่งสามารถเปรียบเทียบได้กบั ตัวโดมิโนที่ตงั ้ เรีย งกันอยู่ 5 ตัว เมื่อตัวที่ 1 ล้ม
ก็ย่อมทาให้ไปกระทบตัวต่อไปและล้มตามกันไปด้วย เว้นเสียแต่ว่าจะป้องกันโดยการดึง
เอาตัวโดมิโนตัวใดตัวหนึ่งออกทาให้ตวั ที่ลม้ ก่อนหน้านัน้ ส่งผลกระทบมาไม่ถงึ ตัวต่อไป
ก็จะไม่ลม้ ตามไปด้วย เปรียบเสมือนอุบตั เิ หตุการบาดเจ็บและความเสี ยหาย ซึง่ สามารถ
อธิบายได้ดงั นี้
โดมิโนตัวที่ 1 บรรพบุรุษและสิง่ แวดล้อมทางสังคม (Ancestry and Social
Environment) หมายถึง สิง่ แวดล้อมทางสังคมและการประพฤติปฏิบตั สิ บื ทอดกันมาจาก
อดีตทาให้แต่ละคนมีพฤติกรรมที่แตกต่างกันออกไป เช่น ความประมาทเลินเล่อ ความ
สะเพร่า การขาดความคิดไตร่ตรอง ความดือ้ รัน้ ดันทุรงั ความชอบในการเสีย่ งอันตราย
ความตระหนี่ และลักษณะอื่นๆ ทีถ่ ่ายทอดทางพันธุกรรม
โดมิโนตัวที่ 2 ความบกพร่องและความผิดพลาดของคน (Falt of Person)
สุขภาพจิตและสิง่ แวดล้อมทางสังคม เป็ นสาเหตุทาให้เกิดความผิดพลาดของคน เช่น การ
ทางานทีข่ าดสติขาดความยัง้ คิด อารมณ์รุนแรง ประสาทอ่อนไหวง่าย ตื่นเต้น ขาดความ
รอบคอบ ละเลยต่อการกระทาทีป่ ลอดภัย เป็ นต้น
โดมิโนตัวที่ 3 การกระทาและสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe act and
Condition) การกระทาที่ไม่ปลอดภัย เช่น การยืนทางานภายใต้น้ าหนักที่แ ขวนอยู่ การ
ติดตัง้ เครื่องยนต์โดยไม่มกี ารแจ้งเตือ น การหยอกล้อ กันในขณะทางาน เป็ น ต้น และ
สภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ปลอดภัย เช่น ขาดเครือ่ งป้องกันจุดอันตราย หรือไม่มรี วั ้ กันจุดทีม่ กี าร
เคลือ่ นที่ เสียงดังเกิน แสงสว่างไม่เพียงพอ การระบายอากาศไม่ดี เป็ นต้น
โดมิโ นตัวที่ 4 การเกิดอุบ ตั ิเหตุ (Accident) เป็ น เหตุ ก ารณ์ ท่เี กิด จากป จั จัย ทัง้
3 ระดับมาแล้ว ส่งผลกระทบให้เกิดอุบตั กิ ารณ์ เช่น การตกจากทีส่ งู ลื่นหกล้ม เดินสะดุด
สิง่ ของตกมาจากทีส่ งู วัตถุกระเด็นใส่ ซึง่ อาจเป็ นสาเหตุของการบาดเจ็บ
โดมิโนตัวที่ 5 การบาดเจ็บหรือพิการ (Injury/Damage) คือการบาดเจ็บทีอ่ าจเกิด
กับร่างกาย เกิดบาดแผล การฉีกขาดของเนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ หรือกระดูกหัก ที่เป็ นผล
โดยตรงมาจากอุบตั เิ หตุ จนถึงขัน้ พิการได้

HA 233 63
รูปที่ 7 การดึงตัวใดตัวหนึ่งออกทาให้โดมิโนตัวถัดไปไม่ลม้ ทีม่ า :
http://translate.googleusercontent.com/translate_C?hl=en&sl=th&U=http://eu.lib.kmutt...

2. ทฤษฎีมลู เหตุเชิงซ้อน (Multiple Causation Theory) ถึงแม้ทฤษฎีโดมิโนของ


(Heinrich) จะใช้ป้องกันแก้ไขการเกิดอุบตั เิ หตุได้ แต่ความถี่และความรุนแรงยังไม่เป็ น
ศูนย์ การมองอุบตั เิ หตุยงั ไม่ครอบคลุมลึกลงไปถึงสาเหตุทแ่ี ท้จริงต่างๆ จึงทาได้เพียงการ
แก้ไ ขสภาพการกระท าของคน ดัง นัน้ จึง มีก ารเสนอทฤษฎีมูล เหตุ เ ชิง ซ้อ นของ แดน
ปี เตอร์สนั (Dan Peterson) 1971 จากหนังสือเรียนเทคนิคของการจัดการความปลอดภัย

64 HA 233
(Technique of safety Management) ซึง่ กล่าวไว้วา่ อุบตั เิ หตุย่อมเกิดขึน้ ได้จากเหตุ
ต่างๆ หลายอย่างซึง่ อยู่เบือ้ งหลัง และสาเหตุต่างๆ เหล่านัน้ รวมกันมากเข้าย่อมทาให้เกิด
อุบตั เิ หตุได้ นอกจากนัน้ ยังได้เสนอว่าไม่ควรแก้ไขสภาพและการกระทาที่ไม่ปลอดภัย
เท่านัน้ จะต้องคิดแก้ไขเบือ้ งหลังของสิง่ เหล่านัน้ นอกจากนัน้ ยังแสดงให้เห็นว่าสภาพและ
การกระทาเป็ นเพียงอาการทีป่ รากฏให้เห็นได้จากความบกพร่องของระบบการทางาน แต่
ความบกพร่องหรือสาเหตุท่แี ท้จริงที่ทาให้เกิดอุบตั เิ หตุ คือ การบริหารและการจัดการ
ตัวอย่า งเช่น อุ บ ตั ิเหตุ เกิดจากการตกบัน ไดของอาคารเรีย นที่โ รงเรีย น หากเป็ น การ
สอบสวนอุบตั เิ หตุตามแนวของทฤษฎีโดมิโนก็คอื
การกระทาทีไ่ ม่ปลอดภัย คือ การใช้บนั ไดทีม่ ขี นั ้ บันไดชารุด
สภาพไม่ปลอดภัย คือ บันไดทีม่ ขี นั ้ ชารุด
ข้อเสนอแนะในการแก้ไข คือ กาจัดบันไดขัน้ ชารุด ไม่นามาใช้อกี
แต่ถ้าเป็ นทฤษฎีมูลเหตุเชิงซ้อน อาจมีการวิเคราะห์สาเหตุของอุบตั เิ หตุโ ดยใช้
คาถามว่า
1. ทาไมไม่มกี ารตรวจบันไดทีช่ ารุดในขณะทีม่ กี ารตรวจปกติ
2. ทาไมยังปล่อยให้มกี ารใช้บนั ใดนี้
3. คนทีต่ กบันไดหรือผูท้ ไ่ี ด้รบั อุบตั เิ หตุนนั ้ รูห้ รือไม่วา่ เขาไม่ควรใช้บนั ไดนี้
4. มีการจัดการอบรมเรือ่ งความปลอดภัยหรือไม่
5. ผูเ้ กีย่ วข้องยังคงไม่ใช้บนั ไดนัน้ อีกหรือไม่
6. ผูค้ วบคุมดูแลการทางานได้มกี ารตรวจสภาพแวดล้อมก่อนลงมือทางานหรือไม่
เมือ่ ได้มกี ารพิจารณาอุบตั เิ หตุทเ่ี กิดขึน้ ทาให้ทราบถึงความบกพร่องต่างๆ ทีท่ าให้
เป็ นสาเหตุของอุบตั เิ หตุนนั ้ แล้วควรสรุปว่าควรแก้ไขดังนี้
1. ควรปรับปรุงการตรวจความปลอดภัย
2. ควรปรับปรุงการฝึกอบรมผูป้ ฏิบตั งิ าน
3. ควรกาหนดงานความรับผิดชอบให้ชดั เจน
4. ควรมีการวางแผน การนิเทศ การควบคุมการทางาน
โดยสรุปทฤษฎีมลู เหตุเชิงซ้อนนัน้ เน้นการป้องกันอุบตั เิ หตุโดยการบริหารจัดการ
โดยจัดให้มอี งค์กรความปลอดภัย

HA 233 65
สาเหตุของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุจากการทางาน
อุบตั เิ หตุจากการทางานนัน้ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 สาเหตุใหญ่ๆ คือ
1. สาเหตุจากการปฏิบตั งิ านทีไ่ ม่ปลอดภัย (Unsafe act) เป็ นการกระทาทีไ่ ม่
ปลอดภัยของคนงานในขณะปฏิบตั ิงานเป็ นผลทาให้เกิดอุบตั เิ หตุได้ถึงร้อยละ 88 ของ
อุบตั เิ หตุ เช่น
1.1 การใช้อุปกรณ์ เครื่องมือที่เป็ นเครื่องจักรกลต่างๆ โดยพลการหรือไม่
ได้รบั มอบหมาย
1.2 การทางานทีม่ อี ตั ราเร่งความเร็วของงานและเครือ่ งจักรเกินกาหนด
1.3 การถอดอุปกรณ์ป้องกันออกจากเครือ่ งจักรโดยไม่มเี หตุอนั สมควร
1.4 การดูแลซ่อมบารุงอุปกรณ์เครือ่ งจักรในขณะทีก่ าลังทางาน
1.5 การใช้เครือ่ งมืออุปกรณ์เครือ่ งจักรทีช่ ารุดและไม่ถูกวิธี
1.6 ไม่ใส่ใจในคาแนะนาหรือคาเตือนความปลอดภัย
1.7 ทาการเคลื่อนย้ายหรือยกวัสดุทม่ี ขี นาดใหญ่ มีน้ าหนักมาก ด้วยท่าทาง
หรือวิธกี ารทีไ่ ม่ปลอดภัย
1.8 ไม่สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
1.9 การคึกคะนองหรือเล่นตลกขณะทางาน
2. สภาพการทางานที่ไม่ปลอดภัย คือสภาพแวดล้อมทีไ่ ม่ปลอดภัยโดยรอบตัว
ของผูป้ ฏิบตั งิ านขณะทางานซึง่ อาจเป็ นสาเหตุของการเกิดอุบตั เิ หตุได้ เช่น
2.1 เครือ่ งจักรทีไ่ ม่มอี ุปกรณ์ป้องกันอันตราย
2.2 อุปกรณ์เครือ่ งมือเครือ่ งจักรทีอ่ อกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้งาน
2.3 บริเวณพืน้ ทีข่ องการปฏิบตั งิ านไม่เหมาะสม
2.4 การจัดเก็บวัสดุสงิ่ ของอย่างไม่ถูกวิธี
2.5 การจัดเก็บสารเคมีหรือสารไวไฟทีเ่ ป็ นอันตรายไม่ถูกวิธี
2.6 ไม่มกี ารจัดระเบียบและดูแลความสะดวกของสถานที่ทางานให้ถูกต้อง
ตามสุขลักษณะ
2.7 แสงสว่างไม่เพียงพอ
2.8 ไม่มรี ะบบระบายและถ่ายเทอากาศทีเ่ หมาะสม
2.9 ไม่มรี ะบบเตือนภัยทีเ่ หมาะสม

66 HA 233
สาเหตุของการเกิ ดอุบตั ิ เหตุ

การกระทาทีไ่ ม่
ปลอดภัย
- Innocence
- Ignorance - ผลผลิตลดลง
สาเหตุ - Intention - งานหยุดชะงัก
ของ - ทรัพย์สนิ
อุบตั เิ หตุ เสียหาย
อุบตั เิ หตุจาก - บาดเจ็บ พิการ
สภาพแวดล้อม
การทางาน ทีไ่ ม่ปลอดภัย - ตาย
- Physical
- Chemical
- Biological
- Social-
Economic

แนวทางการป้ องกันการประสบอันตราย
สถานประกอบการทีม่ ผี ปู้ ฏิบตั งิ านทุกแห่ง จาเป็ นอย่างยิง่ ทีจ่ ะต้องให้ความคุม้ ครอง
ดูแล ส่งเสริมให้บุคลากรทุกคนมีจติ สานึกในความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยเพื่อให้
สามารถปฏิบตั ิงานได้อย่างมีความสุขอยู่ในสังคมและสิง่ แวดล้อมร่วมกันได้อย่างสันติ
โดยปราศจากอัน ตรายใดๆ โดยการก าหนดมาตรการป้ อ งกัน และควบคุ ม อัน ตรายที่
เหมาะสมชัดเจนดังต่อไปนี้คอื
1. การกาหนดมาตรการความปลอดภัย โดยหน่ วยงานทีเ่ กี่ยวข้องในการทางาน
ควรศึกษาข้อมูลเกี่ยวข้องและผลกระทบต่างๆ ด้านความปลอดภัย เพื่อเป็ นแนวทาง
กาหนดมาตรฐานด้านความปลอดภัย เพื่อเป็ นแนวทางสาหรับผูเ้ กี่ยวข้องในการกาหนด
ระเบียบปฏิบตั ดิ า้ นความปลอดภัยของหน่ วยงานอย่างชัดเจนเหมาะสม เช่น มาตรฐานใน
การผลิตอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ สาหรับงานอุตสาหกรรม การกาหนดหลักการปฏิบตั ิ

HA 233 67
เกี่ย วกับ ความปลอดภัย ต่ า งๆ อัน ได้แ ก่ สัญ ลัก ษณ์ แ สดงถึง ความปลอดภัย อุ ป กรณ์
ป้องกันส่วนบุคคล การปฏิบตั เิ กีย่ วกับสุขภาพอนามัยของคนงาน เป็ นต้น
2. การตรวจความปลอดภัย โดยหน่วยงานทีเ่ กีย่ วข้องควรจัดให้มเี จ้าหน้าทีเ่ พือ่ ทา
การตรวจด้านความปลอดภัยในการทางานตามที่ระบุไว้ตามกฎหมายอย่างเหมาะสม
ถูกต้อง เพื่อเป็ นกฎข้อบังคับให้กบั นายจ้าง สถานประกอบการให้ยดึ ปฏิบตั ติ ามกฎหมาย
ความปลอดภัยและรับผิดชอบต่อสุขภาพและความปลอดภัยของคนงาน และให้คาแนะนา
กระตุน้ การปฏิบตั ติ ามมาตรการความปลอดภัยอย่างสม่าเสมอ
3. กฎหมายความปลอดภัย หน่ วยงานทีเ่ กีย่ วข้องโดยเฉพาะอย่างยิง่ กรมแรงงาน
ควรได้มกี ารพิจารณาปรับปรุงกฎหมายด้านความปลอดภัยในการทางานให้มขี อบเขต
สอดคล้องเหมาะสมและคุม้ ครองแรงงานได้อย่างเหมาะสมและมีการบังคับใช้อย่ างจริงจัง
ทัง้ ทางด้านสภาพการทางานและสภาพแวดล้อมในการทางานของสถานประกอบการ
ด้านค่าตอบแทน การรักษาพยาบาล การตรวจสุขภาพ สวัสดิการต่างๆ เพื่อให้เกิดความ
ปลอดภัยในการทางานมากยิง่ ขึน้
4. การศึกษาวิจยั ความปลอดภัย เพื่อการปรับปรุง พัฒนา งานวิชาการด้านความ
ปลอดภัยให้สอดคล้องกับการปฏิบตั งิ านอย่างปลอดภัยสูงสุด
5. ด้านการศึกษา สถาบันการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยในการทางาน
ควรมีการบรรจุวชิ าการด้านความปลอดภัยเพิม่ ในหลักสูตรการศึกษา เพื่อเป็ นการวาง
พืน้ ฐานและสร้างทัศนคติทด่ี ดี า้ นความปลอดภัยให้เกิดมีขน้ึ ในผูศ้ กึ ษาก่อ นทีจ่ ะออกไปสู่
ตลาดแรงงาน
6. การฝึ กอบรมด้านความปลอดภัย เพื่อสร้างเสริมความรูค้ วามเข้าใจที่ถูกต้อง
ด้านความปลอดภัยในการป้องกันอันตรายทีอ่ าจเกิดขึน้ ระหว่างการปฏิบตั งิ าน พร้อมทัง้
สร้างจิตสานึกด้านความปลอดภัยให้เกิดมีขน้ึ กับผูใ้ ช้แรงงานทุกคนทุกระดับ
7. การสร้างเสริมทัศนคติดา้ นความปลอดภัย ทุกองค์กรหน่วยงานควรจัดให้มกี าร
รณรงค์ การสร้า งเสริม ทัศ นคติท่ีดี และจิต ส านึ ก ด้า นความปลอดภัย อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง
สม่าเสมอ
8. การกาหนดมาตรการความปลอดภัยในสถานประกอบการ เพื่อให้ทุกคนทุก
ฝ่า ยปฏิบ ัติอ ย่ า งเคร่ ง ครัด โดยมีก ารแต่ ง ตัง้ เจ้า หน้ า ที่ห รือ คณะกรรมการด้า นความ

68 HA 233
ปลอดภัยในการกาหนดกฎ ระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์การ
ทางานอย่างต่อเนื่อง
9. การปรับปรุงสภาพการทางานและสิง่ แวดล้อมในการทางาน สถานประกอบการ
ควรมีการดาเนินการอย่างจริงจังเกีย่ วกับการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทางาน เพือ่ ให้
เกิดความปลอดภัย เพื่อดารงรักษาไว้ซ่งึ การมีสุขภาพอนามัยที่ดี มีคุณภาพชีวติ ที่ดขี น้ึ
เช่น การจัดระเบียบการทางานให้ถูกสุขลักษณะมีความปลอดภัยและสวัสดิการทีด่ ขี น้ึ
10. การประกันการประสบอุบตั เิ หตุ หน่ วยงานหรือสถาบันด้านการประกันการ
ประสบอันตรายควรมีส่วนร่วมในการส่งเสริมมาตรการการป้องกันอุบตั เิ หตุและโรคจาก
การทางานและเป็ นการปฏิบตั อิ ย่างจริงจัง

HA 233 69
70 HA 233

You might also like