Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 16

Chapter 4

Energy Analysis in the Opened System

1
ระบบเปิ ด หรือปริมาตรควบคุม
Opened System or Control Volume

⚫ ระบบทีอ่ นุญาติให ้ทัง้ มวลและพลังงานสามารถ


เคลือ
่ นทีเ่ ข ้าหรือออกจากระบบได ้
⚫ ตัวระบบเรียกว่าปริมาตรควบคุม (Control volume: CV)
ขอบเขตของระบบเรียกว่าผิวควบคุม (Control Surface)

Energy Mass
มวลและอ ัตราการไหล
Mass and Flow Rate

⚫ อัตราการไหลเชงิ มวล (Mass flow rate: m) หมายถึงปริมาณของมวลสารของ


ของไหลทีไ่ หลผ่านหน ้าตัดทีก
่ านดภายในหนึง่ หน่วยเวลา (มีหน่วยเป็ น kg/s)
m=AV

⚫ อัตราการไหลเชงิ ปริมาตร (Volume flow rate: ) หมายถึงปริมาตรของของไหล


ทีไ่ หลผ่านพืน
้ ทีห
่ น ้าตัดทีก
่ าหนดให ้ภายในหนึง่ หน่วยเวลา (มีหน่วยเป็ น m3/s)

=AV
กฏทรงมวล

ผลรวมของมวลทีเ่ ข ้าสูร่ ะบบ - ผลรวมของมวลทีอ


่ อกจากระบบ
= การเปลีย
่ นแปลงมวลสุทธิในปริมาตรควบคุม

min - mout = mCV


หรือ
min - mout = mCV
in - out = CV

⚫ mCV=0 → สภาวะคงตัว
⚫ mCV  0 → สภาวะไม่คงตัว
4
ต ัวอย่าง

ตัวอย่าง 4.1 น้ าไหลเข ้าถั งปริมาตร 100 m3 ในอัตรา 2 m3/min ขณะทีม ่ รี อยรั่ วทาให ้

น้ าไหลออกในอัตรา 0.2 m3/min ต ้องใชเวลานานเท่ าใดน้ าจึงจะเต็มถั ง หากขณะ
เริม
่ ต ้นในถั งไม่มน
ี ้ าอยูเ่ ลย
วิธท
ี า จากกฏทรงมวลจะได ้ว่า
CV = in - out

จึงได ้ว่า CV = 2 – 0.2 = 1.8 m3/min


่ งจากถั งมีปริมาตร =100 m3 ดังนั น
เนือ ้
้ จึงใชเวลา
=/t → t = / = 100/1.8 = min

5
กฏทรงพล ังงาน

การทรงพลังงานในระบบเปิ ดให ้นิยามดังนี้

Q - W + (Ein - Eout) = ECV

⚫ ECV=0 → สภาวะคงตัว
⚫ ECV  0 → สภาวะไม่คงตัว

ระบบปิ ด: E=U+KE+PE
ระบบเปิ ด: E=U+P+KE+PE
=H+KE+PE
เมือ
่ H=U+P
6
การถ่ายเทความร้อน

⚫ เป็ นการถ่ายเทพลังงานเนือ ่ งจากผลของความแตกต่างของอุณหภูม ิ


⚫ กระบวนการทีไ่ ม่มกี ารถ่ายเทความร ้อนเรียกว่า “Adiabatic process” → หุ ้มฉนวน
อย่างดี หรือทาให ้อุณหภูมริ ะหว่างขอบเท่ากัน
⚫ ความร ้อน Q (kJ) และอัตราการถ่ายเทความร ้อน Q (kJ/s หรือ kW)
ความร ้อนต่อหน่วยมวล q=Q/m (kJ/kg) และอัตราการถ่ายเทความร ้อนต่อหน่วย
มวล q (kW/kg)
⚫ ให ้ความร ้อนกับระบบ (ระบบได ้รั บความร ้อน) Q →+, ระบบเสย ี ความร ้อน Q →-

7
งาน

⚫ ่ เดียวกับความร ้อน
เป็ นพลังงานรูปแบบหนึง่ เชน
⚫ งาน W (kJ) และอัตราการทางานหรือกาลังงาน W (kJ/s หรือ kW)
งานต่อหน่วยมวล w=W/m (kJ/kg) และกาลังงานต่อหน่วยมวล w
(kW/kg)
⚫ ใหงานกั
้ ี
บระบบ (ระบบได ้รับงาน) W →-, ได ้งานจากระบบ (ระบบเสย
งาน) W →+

8
พล ังงาน

⚫ พลังงานไม่สามารถสร ้างขึน ้ หรือทาลายได ้ แต่เปลีย


่ นรูปได ้ (ทรงพลังงาน)
⚫ สาหรั บระบบเปิ ด พลังงานอยูใ ่ นรูปของความร ้อน (Q) งาน (W) และพลังงานรวม
(E) มีความสัมพันธ์กันดังนี้
Q – W + (Ein - Eout) = ECV
โดยที่ E = KE+PE+H
และ H คือเอ็นทาลปี (สาหรั บก๊าซอุดมคติ H=CpT)
หมายเหตุ: - หากเป็ นระบบหยุดนิง่ KE, PE  0
- ระบบทีไ่ ม่มก
ี ารถ่ายเทความร ้อน (adiabatic) Q=0
- ระบบคงตัว (steady) ECV=0
จึงได ้
Q – W = Eout - Ein → Q–W = Hout – Hin 9
อุปกรณ์ทางวิศวกรรม
เทอร์ไบน์ ปั๊ม คอมเพลซเซอร์

⚫ เทอร์ไบน์หรือกังหัน เป็ นอุปกรณ์ทเี่ ปลีย


่ นพลังงานการไหลให ้เป็ นงาน (ผลิตงาน)
⚫ ชนิดของกังหัน เชน่ กังหันก๊าซ กังหันไอน้ า กังหันน้ า กังหันลม

⚫ ปั๊ ม เป็ นอุปกรณ์ทเี่ พิม


่ ความดันให ้กับของเหลว (ของไหลทีอ ่ ัดตัวไม่ได ้)
⚫ เครือ ่ งอัดไอ เป็ นอุปกรณ์ทเี่ พิม
่ ความดันให ้กับก๊าซ (ของไหลทีอ ่ ัดตัวได ้)

⚫ สมมุตฐิ านทีม ้
่ ักใชในการคานวณ
- การถ่ายเทความร ้อนน ้อยมาก (Q0)
- การเปลีย ่ นแปลงพลังงานศักย์น ้อยมาก (PE0) จาก Q – W = Eout - Ein
- การเปลีย่ นแปลงพลังงานจลน์น ้อยมาก (KE0) จึงได ้ –W = Hout – Hin
- เป็ นกระบวนการแบบคงตัว (E=0)
10
ต ัวอย่าง

ตัวอย่าง 4.2 อากาศเข ้าเครือ


่ งอัดอากาศทีอ ่ ณ
ุ หภูม ิ 280 K ความดัน 100 kPa และออก
ที่ 400 K ความดัน 600 kPa ทีอ่ ัตราการไหล 0.02 kg/s อย่างคงตัว ถ ้าเกิดการ
สูญเสย ี ความร ้อนในขณะอัดอากาศ 1.6 kJ/kg หากการเปลีย ่ นแปลงพลังงานจลน์
และศักย์น ้อยมาก จงหากาลังทีต ้
่ ้องใชในการอั ดอากาศ
ี า ความสัมพันธ์ของพลังงานสาหรั บระบบปิ ดแบบคงตัวคือ
วิธท
Q–W = Hout – Hin = m(h2 – h1)
กาหนดให ้อากาศเป็ นก๊าซอุดมคติ จึงได ้ h=cpT ดังนั น
้ จึงได ้
Q–W = mCp(T2-T1)
แทนค่าได ้เป็ น
(0.02kg/s)(-1.6kJ/kg)–W = (0.02kg/s)(1.005kJ/kgK)(400K-280K)
W = -2.732 kJ/s
11
อุปกรณ์ทางวิศวกรรม
เครือ
่ งแลกเปลีย่ นความร้อน

⚫ ใชถ่้ ายเทความร ้อนระหว่างของไหลทางานทีม ่ อี ณ


ุ หภูมต
ิ า่ งกัน
⚫ ของไหลทีแ ่ ลกเปลีย ่ นความร ้อนกันจะไม่สัทผั สกันโดยตรง แต่เกิดการถ่ายเทความ
ร ้อนผ่านตัวกลาง
สมมุตฐิ านทีม ้
่ ักใชในการค านวณ
- ไม่มงี านมาเกีย ่ วข ้อง (W0)
- ไม่มก ี ารสูญเสย ี ความร ้อนจากระบบ (Q0)
- การเปลีย ่ นแปลงพลังงานจลน์และศักย์น ้อยมาก
(KE0, PE0)
- เป็ นกระบวนการแบบคงตัว (E=0)
จาก Q – W = Eout – Ein → 0 = Hout – Hin 12
ดังนั น
้ จึงได ้ (m12h2 + m34h4) – (m12h1 + m34h3) = 0
อุปกรณ์ทางวิศวกรรม
เครือ
่ งรวมการไหล

⚫ ้
ใชรวมของไหลที ส
่ ามารถรวมกันได ้แต่สภาวะต่างกัน
⚫ จุดประสงค์เพือ ่ ปรั บเปลีย่ นอุณหภูมข
ิ องของไหลให ้เหมาะสม
⚫ สมมุตฐิ านทีม ้
่ ักใชในการค านวณ 2
1
- ไม่มงี านมาเกีย ่ วข ้อง (W0)
- ไม่มก ี ารสูญเสย ี ความร ้อนจากระบบ (Q0)
- การเปลีย ่ นแปลงพลังงานจลน์และศักย์น ้อยมาก
(KE0, PE0)
- เป็ นกระบวนการแบบคงตัว (E=0)
จาก Q – W = Eout – Ein → 0 = Hout – Hin
ดังนั น
้ จึงได ้ m3h3 – (m1h1 + m2h2) = 0 3 13
โดยที่ m3 = m1+m2
คาถามท้ายบท

⚫ เครือ
่ งแลกเปลีย
่ นความร ้อนทีห่ ุ ้มฉนวนอย่างดี ใชท ้ าความร ้อนให ้กับน้ าทีอ่ ณ
ุ หภูม ิ
15oC ด ้วยอัตรา 5 kg/s โดยการใชอากาศร้ ้อนทีอ
่ ณุ หภูม ิ 90oC ทีไ่ หลด ้วยอัตรา 5
kg/s ถ ้าอากาศทีท่ างออกมีอณุ หภูม ิ 20oC จงหาอุณหภูมข ิ องน้ าทีท
่ างออก
(a) 27oC (b) 32oC (c) 52oC (d) 85oC (e) 90oC

⚫ เครือ
่ งแลกเปลีย ่ นความร ้อนทาให ้น้ าเย็นทีเ่ ข ้าเครือ
่ งอุณหภูม ิ 15oC ด ้วยอัตรา 2 kg/s

โดยใชอากาศร ้อนอุณหภูม ิ 100oC ทีไ่ หลด ้วยอัตรา 3 kg/s ถ ้าเครือ ่ งหุ ้มฉนวนไม่ดแี ละ
เกิดการสูญเสย ี ความร ้อนไปในอัตรา 40 kJ/s ถ ้าอากาศทีท ่ างออกมีอณ ุ หภูม ิ 20oC จง
หาอุณหภูมข ิ องน้ าทีท ่ างออก
(a) 44oC (b) 49oC (c) 39oC (d) 72oC (e) 95oC

14
คาถามท้ายบท

⚫ ห ้องอาบน้ าทีม
่ น
ี ้ าเย็นอุณหภูม ิ 10oC ทีอ
่ ัตราการไหล 5 kg/min ผสมเข ้ากับน้ าร ้อน
60oC ทีไ่ หลเข ้าด ้วยอัตรา 2 kg/min จงหาอุณหภูมข ิ องน้ าทีผ
่ สมแล ้ว
(a) 24.3oC (b) 35.0oC (c) 40.0oC (d) 44.3oC (e) 55.2oC

⚫ ระบบทาความอุน ่ ให ้บ ้านเครือ
่ งหนึง่ นาอากาศภายนอกอุณหภูม ิ 10oC ทีอ ่ ัตราการไหล
6 kg/min มาผสมกับอากาศทีท ่ าให ้ร ้อนที่ 70oC อัตรา 3 kg/min หากไม่มก ี
ี ารสูญเสย
ความร ้อนเกิดขึน
้ ในระบบ จงหาอุณหภูมข ิ องอากาศทีผ ่ สม
(a) 30oC (b) 40oC (c) 45oC (d) 55oC (e) 85oC

⚫ อากาศอุณหภูม ิ 50oC ทีอ


่ ัตราการไหล 2 kg/s ถูกทาให ้ร ้อนขึน
้ ในระหว่างการไหลใน

ท่อโดยใชขดลวดความร ้อนขนาด 8 kW จงหาอุณหภูมข ิ องอากาศทางออก
(a) 46.0oC (b) 50.0oC (c) 54.0oC (d) 55.4oC (e) 58.0oC 15
การบ้าน # 4

อากาศไหลเข ้าท่อทีม ้ านศูนย์กลาง 28 cm ด ้วยอัตราการไหลคงที่ โดยทีท


่ เี สนผ่ ่ างเข ้ามี
ความดัน 200 kPa อุณหภูม ิ 20oC ด ้วยความเร็ ว 5 m/s อากาศได ้รั บความร ้อนใน
ระหว่างการไหลและออกจากท่อด ้วยความดัน 180 kPa อุณหภูม ิ 40oC จงหา (ก) ปริ
มาตรการไหลของอากาศเข ้าสูท ่ อ
่ (ข) อัตราการไหลเชงิ มวลของอากาศ (ค)
ความเร็ วและปริมาตรการไหลของอากาศทีท ่ างออก

16

You might also like