Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 4

1.

1 การหารพหุนาม 4) หารพจนที่ 1 ของผลลบที่ไดจากขอ 3) ดวยพจนที่ 1 ของตัวหาร จะไดพจนที่ 2


นักเรียนเคยศึกษาเกี่ยวกับการหารพหุนามดวยเอกนามมาแลว หัวขอตอไปนี้จะมาศึกษา ของผลหาร
เกี่ยวกับการหารพหุนามดวยพหุนามที่มีสัมประสิทธิ์ของแตละพจนเปนจํานวนเต็ม ซึ่งสามารถ x - 4 (-4x) ÷ x = -4
2
x + 1 x - 3x - 4
ทําไดโดยใชวิธีตั้งหารยาว ดังตัวอยางตอไปนี้ x2 + x
ตัวอย่างที่ 1
- 4x - 4
จงหาผลลัพธของการหาร x2 - 4 - 3x ดวย x + 1 5) คูณตัวหารดวยพจนที่ 2 ของผลหารที่ได แลวนําไปลบออกจากตัวตั้ง โดยพจนที่มี
วิธีทํา 1) เรียงลําดับพจนในพหุนามทั้งตัวตั้งและตัวหาร จากพจนที่มีดีกรีมากไปพจนที่มี ดีกรีเทากันใหวางในตําแหนงตรงกัน จะเห็นไดวา ผลลบที่ไดเปนพหุนาม 0 นั่นคือ
ดีกรีนอยแลวนํามาตั้งหาร ไมมีจํานวนใหหารตอแลว จึงหยุดการหาร
ดีกรีเทากับ 0 ดีกรีเทากับ 0 x2 - 4
x + 1 x - 3x - 4
T hinking Time
ตัวตั้ง x2 - 4 - 3x ตัวหาร x + 1 0 ÷ (x + 1) มีผลหารเทากับ
ดีกรีเทากับ 1 x2 + x
ดีกรีเทากับ 2 ดีกรีเทากับ 1 เทาใด
- 4x - 4
เรียงลําดับพจนในพหุนามของตัวตั้ง เรียงลําดับพจนในพหุนามของตัวหาร - 4x - 4 (x + 1) × (-4) = -4x - 4
จากพจนที่มีดีกรีมากไปพจนที่มีดีกรีนอย จากพจนทมี่ ดี กี รีมากไปพจนทมี่ ดี กี รีนอ ย 0 (-4x - 4) - (-4x - 4) = 0
จะได x2 - 3x - 4 จะได x + 1
ดังนั้น x2 - 3x - 4 หารดวย x + 1 ไดผลหารเทากับ x - 4 ตอบ
เมื่อนํามาตั้งหาร จะได
x + 1 x2 - 3x - 4 ลองทําดู

2) หารพจนที่ 1 ของตัวตั้งดวยพจนที่ 1 ของตัวหาร จะไดพจนที่ 1 ของผลหาร จงหาผลลัพธของการหารพหุนามในแตละขอตอไปนี้


1) x2 + 6 - 5x หารดวย x - 2
x x2 ÷ x = x พจนที่ 1 พจนที่ 2 พจนที่ 3
2
x + 1 x - 3x - 4 2) x2 + 2x - 15 หารดวย x + 5
ตัวตั้ง 2 x -3x-4
ตัวหาร x 1
จากการหารพหุนามในตัวอยางที่ 1 จะเห็นวา การหาร x2 - 4 - 3x ดวย x + 1
3) คูณตัวหารดวยพจนที่ 1 ของผลหารที่ได แลวนําไปลบออกจากตัวตั้ง โดยพจนที่มี ไดผลหารเปน x - 4 และไมมีเศษเหลือ หรือมีเศษเปน 0 กลาวไดวา การหาร x2 - 4 - 3x
ดีกรีเทากันใหวางในตําแหนงตรงกัน ดวย x + 1 เปนการหารลงตัว (exact division) ซึ่งเขียนสมการแสดงความสัมพันธไดวา
x2
x + 1 x - 3x - 4 x2 - 4 - 3x = (x + 1)(x - 4)
x2 + x (x + 1) × x = x2 + x
- 4x - 4 (x2 - 3x - 4) - (x2 + x) = -4x - 4

การแยกตัวประกอบ
4 ของพหุนาม 5
ตัวอย่างที่ 2 ¤³Ôµ¹‹ÒÃÙŒ กิจกรรม คณิตศาสตร
จงหาผลลัพธของการหาร x2 + 2x - 5 ดวย x - 2 การหารพหุ น ามด ว ยพหุ น าม ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹µÃǨÊͺ¼ÅÅѾ¸¢Í§¡ÒÃËÒèӹǹàµçÁ´ŒÇ¨ӹǹàµçÁ·Õ¡è Ó˹´ áŌǵͺ¤Ó¶ÒÁ
วิธีทํา จากวิธีทําในตัวอยางที่ 1 จะไดวา จะดําเนินการหารไปเรื่อย ๆ จน µ‹Í仹Õé â´Â·Óŧã¹ÊÁØ´
x2 ÷ x = x กระทั่ง ผลลบที่ไดจากการนํา
4x ÷ x = 4 ตัวตั้งลบดวยผลคูณระหวางตัว ตัวตั้ง ตัวหาร ผลลัพธ เศษ
x + 4 หารกับผลหารเปนศูนยหรือเปน 7,182 21
x - 2 x2 + 2x - 5 พหุนามที่มีดีกรีนอยกวาตัวหาร …………………………… ……………………………
8,227 32 …………………………… ……………………………
x2 - 2x (x - 2) × x = x2 - 2x
40,950 75 …………………………… ……………………………
4x - 5 (x2 + 2x - 5) - (x2 - 2x) = 4x - 5
4x - 8 (x - 2) × 4 = 4x - 8 1. นักเรียนใชวิธีการใดในการตรวจสอบผลลัพธขางตน
3 2. จากตาราง นักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธระหวางตัวตัง้ ตัวหาร และผลลัพธของการหาร
(4x - 5) - (4x - 8) = 3
จํานวนเต็มดวยจํานวนเต็มไดวาอยางไร
ดังนั้น x2 + 2x - 5 หารดวย x - 2 ไดผลหารเทากับ x + 4 เศษ 3 ตอบ 3. ใหนักเรียนใชความสัมพันธในขอ 2. ชวยในการตรวจสอบผลลัพธของการหารพหุนามดวย
พหุนามในตัวอยางที่ 1 และ 2 แลวพิจารณาวาสามารถใชความสัมพันธในขอ 2. ตรวจสอบ
ลองทําดู ผลลัพธของการหารพหุนามดวยพหุนามไดหรือไม
จงหาผลลัพธของการหารพหุนามในแตละขอตอไปนี้
1) x2 - 5x - 4 หารดวย x - 6 จากกิจกรรมคณิตศาสตรจะเห็นไดวา ความสัมพันธระหวางตัวตั้ง ตัวหาร และผลลัพธของ
2) x2 + 9x + 20 หารดวย x + 7 การหารจํานวนเต็มดวยจํานวนเต็ม เปนดังนี้
ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ
จากการหารพหุนามในตัวอยางที่ 2 จะเห็นวา การหาร x2 + 2x - 5 ดวย x - 2 ไดผลหาร
เปน x + 4 และมีเศษเปน 3 กลาวไดวา การหาร x2 + 2x - 5 ดวย x - 2 เปนการหารไมลงตัว เมื่อใชความสัมพันธขางตนในการตรวจสอบผลลัพธในตัวอยางที่ 1 และ 2 จะได
(inexact division) ซึ่งเขียนสมการแสดงความสัมพันธไดวา ตัวอยางที่ 1 (x + 1)(x - 4) = x2 - 4x + x - 4
= x2 - 3x - 4
x2 + 2x - 5 = (x - 2)(x + 4) + 3 ตัวอยางที่ 2 (x - 2)(x + 4) + 3 = x2 + 4x - 2x - 8 + 3
= x2 + 2x - 5
จะเห็นวา ความสัมพันธระหวางตัวตั้ง ตัวหาร และผลลัพธของการหารพหุนามดวย
Thinking Time พหุนาม เปนเชนเดียวกับความสัมพันธระหวางตัวตั้ง ตัวหาร และผลลัพธของการหารจํานวนเต็ม
นักเรียนคิดวา การหาร x2 + 2x - 5 ดวย x + 4 จะมีผลลัพธเปนเทาใด ดวยจํานวนเต็ม ดังนี้
ตัวตั้ง = (ตัวหาร × ผลหาร) + เศษ
เมื่อผลหารเปนพหุนาม และเศษเปนศูนยหรือเปนพหุนามที่มีดีกรีนอยกวาดีกรีของตัวหาร
การแยกตัวประกอบ
6 ของพหุนาม 7
ตัวอย่างที่ 3 ตรวจสอบคําตอบ
จงหาผลลัพธของการหาร x3 + 5x2 - 7x - 39
ดวย x + 3 พรอมตรวจสอบคําตอบ (2x - 5)(2x2 + 2x + 5) + 8
2
x + 2x - 13 = 4x3 + 4x2 + 10x - 10x2 - 10x - 25 + 8
วิธีทํา x + 3 x3 + 5x2 - 7x - 39 = 4x3 - 6x2 - 17
x3 + 3x2 ตรวจสอบคําตอบ
2x2 - 7x (x + 3)(x2 + 2x - 13)
ลองทําดู
2x2 + 6x = x3 + 2x2 - 13x + 3x2 + 6x - 39
= x3 + 5x2 - 7x - 39 จงหาผลลัพธของการหารพหุนามในแตละขอตอไปนี้ พรอมตรวจสอบคําตอบ
- 13x - 39
1) 8x3 + 6x + 55 หารดวย 2x + 3
- 13x - 39
2) 6x3 + 14x2 - 7x - 13 หารดวย 3x + 4
0
ดังนั้น x3 + 5x2 - 7x - 39 หารดวย x + 3 ไดผลหารเทากับ x2 + 2x - 13 ตอบ ตัวอย่างที่ 5

จงหาผลลัพธของการหาร 5y3 + 6y2 - 17y - 31 ดวย y2 - 4y - 5 พรอมตรวจสอบคําตอบ


ลองทําดู 5y + 26
จงหาผลลัพธของการหารพหุนามในแตละขอตอไปนี้ พรอมตรวจสอบคําตอบ วิธีทํา y - 4y - 5 5y3 + 6y2 - 17y - 31
2
á¹Ðá¹Ç¤Ô´
1) x3 - 3x2 - 6x + 16 หารดวย x - 2 5y3 - 20y2 - 25y 112y + 99 เปนพหุนามที่
2) x3 + 4x2 - 7x + 30 หารดวย x + 6 2
26y + 8y - 31 เปนตัวตัง้ มีดีกรีเทากับ 1 ซึง่
2 มีดีกรีนอ ยกวา y2 - 4y - 5
26y - 104y - 130 เปนพหุนามที่เปนตัวหารมี
ตัวอย่างที่ 4 112y + 99 ดีกรีเทากับ 2 ดังนัน้ จึงหยุด
จงหาผลลัพธของการหาร 4x3 - 6x2 - 17 ดวย 2x - 5 พรอมตรวจสอบคําตอบ ดังนั้น ผลลัพธของการหาร 5y + 6y - 17y - 31 การหาร
3 2

2x2 + 2x + 5 ดวย y2 - 4y - 5 เทากับ 5y + 26 เศษ 112y + 99 ตอบ


วิธีทํา 2x - 5 4x3 - 6x2 + (0)x - 17 á¹Ðá¹Ç¤Ô´
ตรวจสอบคําตอบ
4x3 - 10x2 พิจารณา 4x3 - 6x2 - 17 (y2 - 4y - 5)(5y + 26) + (112y + 99)
4x2 + (0)x จะเห็ น ว า เป น พหุ น ามที่ = 5y3 + 26y2 - 20y2 - 104y - 25y - 130 + 112y + 99
4x2 - 10x ประกอบดวยพจนที่มีดีกรี 3,
2 และ 0 ตามลําดับ ซึง่ ไมมี = 5y3 + 6y2 - 17y - 31
10x - 17 พจน ที่ มี ดี ก รี เ ท  า กั บ 1
10x - 25 ในการตั้ ง หารจะทํ า ให เ กิ ด ลองทําดู
8 ความสับสน จึงเพิม่ พจน (0)x
เขาไปในพหุนาม ซึ่งพหุนาม จงหาผลลัพธของการหารพหุนามในแตละขอตอไปนี้ พรอมตรวจสอบคําตอบ
ดังนั้น 4x3 - 6x2 - 17 หารดวย 2x - 5
ดังกลาวยังคงเทาเดิม 1) 4y3 - 10y2 + 12y - 53 หารดวย y2 + 3y - 2
ไดผลหารเทากับ 2x2 + 2x + 5 เศษ 8 ตอบ 2) 2y3 - 7y2 + 79y - 36 หารดวย y2 - y + 5
การแยกตัวประกอบ
8 ของพหุนาม 9
แบบฝกทักษะ 1.1 ตัวอย่างที่ 6

ระดับ พื้นฐาน
2x เปนตัวประกอบของ 4x2 และ 6xy หรือไม เพราะเหตุใด
1. จงหาผลลัพธของการหารในแตละขอตอไปนี้ วิธีทํา พิจารณา 4x2 ÷ 2x = 2x
และ 6xy ÷ 2x = 3y
1) (x2 + 5x + 6) ÷ (x + 2) 2) (3x2 - 4x - 1) ÷ (x - 2) ดังนั้น 2x เปนตัวประกอบของ 4x2 และ 6xy เพราะ 2x หาร 4x2
3) (6x2 - 8x - 8) ÷ (3x + 2) 4) (2x2 + 5x + 4) ÷ (2x + 1) และ 6xy ลงตัว ตอบ
5) (x3 + 7x2 + 7x - 15) ÷ (x + 3) 6) (2x3 + 7x2 + 14x - 21) ÷ (2x - 1)
7) (10x3 - 37x2 + 32x - 5) ÷ (2x - 5) 8) (8x3 - 6x2 - 5x + 3) ÷ (2x + 5) ลองทําดู
9) (12x3 - x2 - 62x - 45) ÷ (4x2 - 7x - 9) 10) (2x3 - x2 - 8x + 15) ÷ (2x2 + 3x - 2) 1) 3y เปนตัวประกอบของ 9xy และ 12x2y หรือไม เพราะเหตุใด
2) 5a เปนตัวประกอบของ 5b และ 10ab3 หรือไม เพราะเหตุใด
ระดับ กลาง

2. จงหาผลลัพธของการหารในแตละขอตอไปนี้
จากตัวอยางที่ 6 จะเห็นวา 2x เปนตัวประกอบของ 4x2 และ 6xy เรียก 2x วาเปน
1) (2x4 - 3x3 + x2 + 4x - 5) ÷ (x + 1) 2) (3x4 + 2x2 + 3x - 3) ÷ (x + 1) ตัวประกอบรวมของ 4x2 และ 6xy
3) (x4 - 2x2 + 3x - 1) ÷ (x2 - 2x + 1) 4) (x4 + 10x3 + 36) ÷ (x2 + 5x + 6)
5) (3x4 + 21x + 15) ÷ (3x2 + 6x - 15) 6) (6x4 - 5x2 - 5x - 2) ÷ (2x2 + 1) กิจกรรม คณิตศาสตร
7) (x3 - 1) ÷ (x - 1) 8) (x4 + 2x2 + 1) ÷ (x - 1)
9) (x4 + x2 + 1) ÷ (x2 + 1) 10) (4x4 - 6x3 + 3) ÷ (2x2 - 3) ãËŒ¹¡Ñ àÃÕ¹àµÔÁ¤ÓµÍºã¹ª‹Í§Ç‹Ò§ áŌǵͺ¤Ó¶ÒÁµ‹Í仹Õé â´Â·Óŧã¹ÊÁØ´
จงหาพหุนามที่เปนตัวประกอบรวมของ 4x และ 2xy
พหุนามที่หาร 4x ลงตัว ไดแก ………………………………………………………………………………………………………………………
พหุนามที่หาร 2xy ลงตัว ไดแก ………………………………………………………………………………………………………………………
1.2 ตัวประกอบของพหุนาม ตัวหารรวมของ 4x และ 2xy คือ …………………………………………………………………………………………………………………
ดังนั้น พหุนามที่เปนตัวประกอบรวมของ 4x และ 2xy คือ ……………………………………………………………….
นักเรียนเคยทราบมาแลววา ตัวประกอบของจํานวนนับใด ๆ คือ จํานวนนับทีห่ ารจํานวนนับนัน้
นักเรียนคิดวา ตัวหารรวมของพหุนามกับตัวประกอบรวมของพหุนาม มีความสัมพันธกันอยางไร
ไดลงตัว เชน
2 เปนตัวประกอบของ 6 เพราะ 2 หาร 6 ลงตัว
5 เปนตัวประกอบของ 15 เพราะ 5 หาร 15 ลงตัว จากกิจกรรมคณิตศาสตรจะเห็นไดวา นักเรียนสามารถนําความรูเ กีย่ วกับการหาตัวหารรวม
ในทํานองเดียวกัน ตัวประกอบของพหุนามใด ๆ คือ พหุนามที่หารพหุนามนั้นลงตัว เชน มาชวยในการหาตัวประกอบรวมของพหุนามตั้งแตสองพหุนามขึ้นไปได
3 เปนตัวประกอบของ 3x เพราะ 3 หาร 3x ลงตัว
4y เปนตัวประกอบของ 4xy เพราะ 4y หาร 4xy ลงตัว

การแยกตัวประกอบ
10 ของพหุนาม 11

You might also like