Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 10

1

แฟคทอเรียล
นิยาม เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก แฟคทอเรียล n ถึง ผลคูณของจํานวนเต็มบวก ตั้ งแต 1 ถึง n

1! =
2! =
3! =
4! =
5! =
n! =
หรือ n! =
(n+1)! =

ตัวอยางที่ 1 จงหาคาของ
10! =
7!

n  2! =
n!

5!8!
=
3!

20!18!
=
21!15!

n  1! =
n  1!

n  1!n  2!
=
n! n  2!
2
Pascal 's Triangle

การจัดหมู่ (Combiation)
3
4
ใบงาน 2.7 ทฤษฎีบททวินาม (Binomial Theorem)

ทฤษฎีบททวินามเป็ นทฤษฎีที่เกี่ยวกับการนา (a + b)nมากระจายให้อยูใ่ นรู ปผลบวกและสาหรับในระดับนี้เราจะ


ศึกษาเฉพาะกรณี ที่ n เป็ นจานวนเต็มบวกหรื อศูนย์ เท่านั้น
เพือ่ เป็ นการสร้างความเข้าใจ ให้นกั เรี ยนกระจาย (a + b)nโดยใช้วธิ ีการคูณที่เคยเรี ยนมาแล้ว โดยเริ่ มจาก n = 0 ถึง
n = 5 ดังนี้
(a + b)0 = 1
(a + b)1 = a + b
(a + b)2 = a2 + 2ab + b2
(a + b)3 = a3 + 3a2b + 3ab2 + b3
(a + b)4 = a4 + 4a3b + 6a2b2 + 4ab3 + b4
(a + b)5= a5 + 5a4b + 10a3b2 + 10a2b3 + 5ab4 + b5
ให้นกั เรี ยนพิจารณา (a + b)5
เนื่องจาก C5,0 = 1, C5,1 = 5, C5,2 = 10, C5,3 = 10, C5,4 = 5, C5,5 = 1
n
เพือ่ ความสะดวกในการเขียน เรานิยมใช้   แทน Cn, r
r 
ดังนั้น จากการกระจายของ (a + b)5เราอาจเขียนได้อีกรู ปหนึ่ง ดังนี้
5 5  5 0 5 4 1 5  3 2 5 2 3 5  1 4 5 0 5
(a + b) =   a b +   a b +   a b +   a b +   a b +   a b
0 1  2 3 4 5
ถ้าเราพิจารณาการกระจายทั้งหมดโดยเริ่ มจาก (a + b)0จะพบว่า สัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์มีลกั ษณะการเรี ยง
ดังต่อไปนี้
การกระจาย สั มประสิ ทธิ์
0
(a + b) 1
(a + b)1 1 1
2
(a + b) 1 2 1
(a + b)3 1 3 3 1
(a + b)4 1 4 6 4 1
(a + b)5 1 5 10 10 5 1

(1) สังเกตว่าแต่ละแถวเริ่ มด้วย 1 และปิ ดด้วย 1


(2) สมาชิกในแถวใดๆ จะเท่ากับผลบวกของจานวนที่อยูข่ า้ งซ้ายและข้างขวาของแถวที่อยูข่ า้ งบน
เราเรี ยกลักษณะการเรี ยงของสัมประสิทธิ์น้ ีวา่ “สามเหลี่ยมของปาสคาล” (Pascal ’s triangle)
โดยทัว่ ไปแล้ว การกระจาย (a + b)nจะมีลกั ษณะการกระจายดังต่อไปนี้
n  n  n 0  n  n1 1  n  n 2 2  n  n3 3 n 0 n
(a + b) =   a b +   a b +   a b +   a b + … +   a b
0  1  2 3  n
n n
จาก   = 1 ,   = 1 , a0 = 1 , b0 = 1
0  n
จะสามารถสรุ ปเป็ นทฤษฎีบทได้ ดังนี้

ทฤษฎีบททวินาม ให้ a,bเป็ นจานวนจริ ง n,rเป็ นจานวนเต็มบวก และ 0 ≤r≤ n


n n
n   n 1 1   n 2 2  n  n r r
(a + b) = a +   a b +   a b + … +   a b + … + b n
n

1  2 r 
n
เรี ยก   ในทฤษฎีบททวินามว่า สัมประสิทธิ์ทวินาม
r 

ข้ อสรุปจากการกระจาย
(1) ผลจากการกระจายจะมี n + 1 พจน์
(2) พิจารณาเฉพาะ a พจน์แรกจะเริ่ มจาก anแล้วเลขชี้กาลังจะลดลงทีละหนึ่ง จนกระทัง่ ถึง a0
(3) พิจารณาเฉพาะ b พจน์แรกจะเริ่ มจาก b0แล้วเลขชี้กาลังจะเพิม่ ขึ้นทีละหนึ่ง จนกระทัง่ ถึง bn
n n n n
(4) สัมประสิทธิ์ของแต่ละพจน์จะเริ่ มจาก   ,   ,   , ไปเรื่ อย จนถึง  
 0  1   2  n
(5) ในพจน์เดียวกัน เลขชี้กาลังของ a และ b รวมกันแล้วต้องเท่ากับ n
n  n  n r r
(6) พจน์ที่ r + 1 ของการกระจาย (a + b) คือ Tr+1 =   a b
r 
2
ตัวอย่างที่ 1 จงเขียน 3 พจน์แรกในการกระจาย (2x + )8
y
2 2
วิธีทา จากโจทย์ จะได้วา่ n = 8 , a = 2x , b = จะได้ 3 พจน์แรกของการกระจาย (2x + )8 ดังนี้
y y
0 1 2
8  8 2  8 7  2  8  6 2 
 0  (2x)  y  +  1  (2x)  y  +  2  (2x)  y 
           
2
8 8 7 72 6 6 2
= 1•2 •x + 8•2 •x • + 28•2 •x • 2
y y
7
8 2048x 7,168x 6
= 256x + +
y y2
ตัวอย่างที่ 2 จงกระจาย (2x – y)5
วิธีทา จากโจทย์ จะได้วา่ n = 5, a = 2x , b = –y ได้
5 5 5
0  
5
1  
5
2  
5
3   1
5
4  
=   (2x) (  y) +   (2x) (  y) +   (2x) (  y) +   (2x) (  y) +   (2x) (  y) +   (2x)0 (  y)5
4 3 2
0 1  2 3 4 5
= 1•25•x5 + 5 • 24 • x4 •(–y) + 10•23•x3•y2 + 10•22•x2•(–y)3 + 5•2•x•y4 + 1•1•(–y)5
= 32x5 – 80x4y + 80x3y2 – 40x2y3 + 10xy4 – y5
ตัวอย่างที่ 3 จงหาพจน์กลางจากการกระจาย (x + 2y)10
วิธีทา จากโจทย์จะได้ n = 10 , a = x , b = 2y และกระจายได้ท้งั หมด 11 พจน์
 10  105 5
จะได้พจน์กลางคือพจน์ที่ 6 = T5+1 =   x (2y)
5 
10! 5 5 5
= x 2 y
5!5!
2 10 x9x 2 8 x7x 6 x 5!
= x 5  32  y 5
5 x 4 x 3x2 x 5!
= 8064x5y5
1 1
ตัวอย่างที่ 4 จงหาพจน์ที่มี y4จากการกระจาย (y2 + )8ได้ n = 4 , a = y2 , b =
y y
4
วิธีทา ให้พจน์ที่ r + 1 คือพจน์ที่มี y จะได้วา่
r
 n  n r r  8  2 8 r  1 
Tr+1 =   a b
r
 
=   y
r
 
   
 y
จากที่กาหนดให้ จะ
ได้วา่
8
 
=   y 2(8r) y  r 16 – 3r = 4
2 r
 
8! 8 x7x 6 x5x 4! 12 = 3r
  70 8
 
4!4! 4 x 3x2 x 4! =   y162r r r=4
r
8 
=   y 4 = 70 y4
4
ตัวอย่างที่ 5 จงหาสัมประสิทธิ์ของพจน์ที่มี a9ในการกระจาย (a + 2 a )10
วิธีทา ให้พจน์ที่ r + 1 คือพจน์ที่มี a9
1 r r
 n  n r r  10  10r  2   10  10r r 2
จะได้ Tr+1 =  a b =  a 2a =  a 2 a
r  r   
  r 
r 1 1
10  r   9  r = 2  10  r 10r  2  10  r 10r  2  10  2 9
2 =  2 a =  2 a =  2 a
r  r  2 
สัมประสิทธิ์ของ a9 = 45 • 4 = 225
แบบฝึ กหัด 2.7
1.จงใช้ทฤษฏีบททวินามกระจายแต่ละพจน์ต่อไปนี้
5 5 5 5 5  5
(1) (a+x)5 =   a 5 x 0 +   a 4 x1 +   a 3 x 2 +   a 2 x 3 +   a1x 4 +   a 0 x 5
0 1  2 3 4 5
= 1a5 + 5a4 x + 10a3x2 + 10a2x3 + 5ax4 + x5
4
x 2
(2)   
3 y
0 1 2 3 4
 4  x 4  2   4  x 3  2   4  x 2  2   4  x 1  2   4  x 0  2 
=      +      +      +      +     
 0  3   y   1  3   y   2  3   y   3  3   y   4  3   y 
x4 x3 2 x2 4 x 8 16
= + 4 •  + 6•  2 + 4 •  3 + 4
81 27 y 9 y 3 y y
x4 8x 3 24x 2 32x 16
= + + 2 + 3 + 4
81 27y 9y 3y y
(3) (x – y2)6
6 6 2 0   5
6 6
2 1   4
6
2 2   3
6
2 3   2
6
2 4   1
           
5
=   x y +   x y +   x y +   x y +   x y +   x y 2 +
0 1  2 3 4 5
6 0
6
 
x  
 y 2 6

= x6 – 6x 5 y 2 + 15x4y4 – 20x3y6 + 15x2y8 – 6xy10 + y12


(4) (3a3 – 2b)4
4 3 4 4 3 3 4 3 2 4 3 1
0 
  1 
  1
2
 
=   3a  2b  +   3a  2b  +   3a  2b  +   3a  2b 3 +
0 2
3 
 
4 3 0
 
 4  3a  2b 
 
4

= 81a12 – 4•27a9•2b + 6•9a6•4b2 – 4•3a3•8b3 + 16b4


= 81a12 – 216a9b + 216a6b2 – 96a3b3 + 16b4
2. จงหาพจน์ที่ 5 จากการกระจาย (a – b )9
1 4
 n  n r r  9  94  2 
วิธีทา พจน์ที่ 5 = T4+1 =  a b =  a b
r  4
   
 
9! 5 2
= ab
5!4!
= 126s5b2 #
3. จงหาพจน์ที่ 4 จากการกระจาย (x2 – y2)11
 n  nr r  11  2 113
   
3
วิธีทา พจน์ที่ 4 = T3+1 =  a b =   x y 2
r  3 
= – 165x16y6 #
 x 1 12
4. จงหาพจน์กลางจากการกระจาย   
2 x

r  6  2
 
 n  nr r  12  x 126 1 6
วิธีทา จากโจทย์ พจน์กลางคือพจน์ที่ 7 = T6+1 =   a b =  
x
 x 6  1 
= 924  6  6 
 2  x 
924 231
= = #
64 16
10
 3 a
6. จงหาพจน์ที่มี x จากการกระจาย  x  
2
 x
วิธีทา กาหนดให้พจน์ที่ r + 1 คือพจน์ที่มี x2

จะได้ Tr+1
n
=   a n r b r
r 
 10 
 
=   x3
r 

10r a r
x
จากที่กาหนดให้จะได้
30 – 4r = 2
 10 
=   x 3(10r) a r x  r 28 = 4r
r  r=7
 10  r 303r r
=  a x
r 
 10  r 303r r
=  a x
r 
 10  7 2 จากที่กาหนดให้จะได้
=   a x = 120a 7 x 2 #
7  18 –3r = 0
9 18 = 3r
 2 1
7. จงหาพจน์ที่ไม่มี x จากการกระจาย  x  
 x r= 6
วิธีทา ให้ พจน์ที่ r + 1 เป็ นพจน์ที่ไม่มี x (หมายถึง พจน์ที่มี x0)

จะได้ Tr+1
 n  n r r
=  a b
r
 
 
=   x
r
 
 
 9  2 9 r 1 r

x
 9  182r 1 r  9  r 182r r 9 6 0
=  x ( x ) =   ( 1) x =   ( 1) x
r
  r 6
= 84 #
8. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x16จากการกระจาย (x2 – 2x) 10
วิธีทา ให้ พจน์ที่ r + 1 เป็ นพจน์ที่มี x16
จากที่กาหนดให้จะได้
 n  n r r  10  2 10r
จะได้ Tr+1 =  a b
r 
=   x
r
 
   2x  r 20 –r = 16
r=4
 10  202r  10 
=  x  2  r x r =   2  r x 20r
r  r 
 10 
=   2 4 x16 = 3360x16
4 
สัมประสิทธิ์ของ x16คือ 3,360
9. จงหาสัมประสิทธิ์ของ x6y4จากการกระจาย (2x + 3y)10
6 4 10  10  6 4
วิธีทา พจน์ที่มี x y ของการกระจาย (2x + 3y) คือ   (2x) (3y)
4 
= 210(64x6)(81y4)
= 1,088,640x6y4
จงหาสัมประสิทธิ์ของ x6y4คือ 1,088,640
10. จงหาผลรวมของสัมประสิทธิ์จากการกระจาย (1 –x)10
วิธีทา พิจารณาสัมประสิทธิ์ของการกระจาย (1 –x)10
 10   10   10   10   10   10 
=  110  x 0 +  19  x 1 +  18  x 2 +  17  x 3 +  16  x 4 +  15  x 5 +
0  1  2  3  4  5 
 10  4 6  10  3 7  10  2 8  10  1 9  10  0 10
 6 1  x  +  7 1  x  +  8 1  x  +  9 1  x  +  10 1  x 
         
 10   10   10   10   10   10   10 
พิจารณาเฉพาะสัมประสิทธิ์                   ...   
 0  1   2   3   4   5   10 
= 1 – 10 + 45 – 120 + 210 – 252 + 210 – 120 + 45 – 10 + 1
=0
11. ชายคนหนึ่งมีเพือ่ น 6 คน จะมีกี่วธิ ีที่เขาจะเชิญเพือ่ นมารับประทานอาหารร่ วมกันอย่างน้อย 1 คน
วิธีทา มีเพือ่ น 6 คน สามารถชวนเพือ่ นได้ท้งั หมด
6 6 6  6 6  6 6
=                     = 26 = 64 วิธี
 0  1   2   3   4   5   6 
6
จานวนวิธีในการไม่ชวนมาเลยซักคน สามารถทาได้   = 1 วิธี
0
จานวนวิธีในการชวนเพือ่ นมารับประทานอาหารอย่างน้อย 1 คน = 64 - 1 = 63 วิธี

You might also like