กลุ่มที่ 5 การแก้ไขปัญหาโรฮิงญาในอาเซียน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 11

การแกไขปญหาโรฮิงญาในอาเซียน

๑. สภาพปญหาและความเปนมาของโรฮิงญาในเมียนมา
โรฮิงญา (Rohingya) (ศิววงศ สุขทวี.(๒๕๕๙), น.๑-๒) เปนชนกลุมชาวมุสลิมที่อยูในดินแดนอาระกัน
หรือรัฐยะไขในปจจุบัน (Rahkine) บริเวณทางตะวันตกของเมียนมาซึ่งเปนชายแดนที่ติดกับบังคลาเทศ ชาวโรฮิงญา
ลวนนับถือศาสนาอิสลาม และใชภาษาที่ใกลเคียงกับภาษาเบงกาลี ซึ่งเปนภาษาเดียวกับที่ใชในบังคลาเทศ
รวมจนถึ งรู ป ร า งหน า ตาและวั ฒนธรรมการแตงกายก็มีลักษณะรว มกัน กับ ชาวเบงกาลีในบังคลาเทศดวย
ในขณะที่ชาวอาระกัน อื่น ๆ ที่อาศัยในรัฐยะไขนับถือศาสนาพุทธ จากความแตกตางทางชาติพันธุเหล านี้
เป น สาเหตุ ห นึ่ งที่ ทํา ให ช าวโรฮิ งญาไม เ ป น ที่ย อมรับ ในเมีย นมา ประวัติศาสตรความเปน มาที่แทจ ริ ง ของ
ชาวโรฮิงญายังคงเปนที่ถกเถียงกันอยู โดยดานชาวโรฮิงญาอางวา พวกเขาเปนชนพื้นเมืองอาระกันที่มีการตั้ง
รกรากมาตั้งแตสมัยอาณาจักรโบราณที่ชื่อวา มรัคอู (Mrauk-U) ในดินแดนอาระกันหรือรัฐยะไขในปจ จุบัน
และมีกษัตริยปกครองที่นับถือศาสนาอิสลาม แตสําหรับดานเมียนมาชาวโรฮิงญา คือพวกที่อพยพมาจาก
บังคลาเทศเขาเมียนมาอยางผิดกฎหมายในชวงเวลาที่เมียนมาอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ โรฮิงญา
จึ ง ไม ใ ช ก ลุ ม ชาติ พั น ธุ ดั้ ง เดิ ม ของเมี ย นมารวมทั้ ง มี ค วามแตกต า งทั้ ง ในด า นศาสนาและภาษาอี ก ด ว ย
เพราะชาวโรฮิงญาสวนใหญไมยอมใชภาษาพมาในการสื่อสาร
ปญหาโรฮิงญาจึงเปนปญหาของความเกลียดชังทางชาติพันธุภายในเมียนมา การปฏิเสธการให
สถานะพลเมือง และความพยายามที่จะขับไลคนกลุมนี้ออกจากประเทศดวยวิธีตาง ๆ การละเมิดสิทธิมนุษยชน
และกวาดลางชาวโรฮิงญาอย างรุนแรงของรัฐบาลเมียนมา ตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๒๑ ทําใหชาวโรฮิงญาสวนหนึ่ ง
ไดอพยพลี้ภัยไปอาศัยในบังคลาเทศ และพยายามที่จะอพยพไปยังประเทศที่มีการนับถือศาสนาอิสลาม เชน
มาเลเซีย อินโดนีเซีย ซึ่งรายงานฉบับนี้มุงศึกษาปญหาชาวโรฮิงยากลุมที่เรียกวา “ผูอพยพทางเรือ (boat
people) ที่มีการอพยพตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๔๗ จนถึงปจจุบัน โดยกระบวนการคามนุษยทางเรือ
ปญหาการอพยพของชาวโรฮิงญาไดกอใหเกิดผลกระทบในวงกวางตอหลายประเทศ มีการนํา
ประเด็ น ของสิ ทธิ มนุ ษยชนและหลั กมนุ ษยธรรมมาเปนขอหารือในการใหความชวยเหลือแกช าวโรฮิ งญา
ดวยการใหที่พักพิง ทําใหเกิดคําถามวาใครหรือประเทศใดที่ตองเปนผูรับผิดชอบในเรื่องนี้ ซึ่งทาทีหรือคําตอบ
ที่ ว า ประเทศใดจะให ความชวยเหลือเป นภาพลักษณของประเทศที่มีผ ลตอความสัมพัน ธร ะหวางประเทศ
ของประเทศนั้น ๆ ซึ่งเปนที่แนชัดวาชาวโรฮิงญามีจํานวนมาก ในการใหความชวยเหลือดวยการรับใหมาอาศัย
อยูในประเทศใด ประเทศนั้นจะต องแบกรั บภาระทางการเงินจํ านวนมหาศาลที่จ ะตองนํามาใชจ ายใหแ ก
ชาวโรฮิงญา ซึ่งไมใชพลเมืองในประเทศของตน รวมถึงผลกระทบอื่น ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นตามมา เชน ผลกระทบ
ทางด า นประชากรที่ เ พิ่ ม ขึ้ น อย า งรวดเร็ ว และไม แ น น อน ผลกระทบด า นสาธารณสุ ข ชาวโรฮิ ง ญาอาจมี
ความเสี่ยงที่จะเปนพาหะนําโรคติดตอเขาสูประเทศผูใหความชวยเหลือ ผลกระทบดานแรงงานและเศรษฐกิจ
ชาวโรฮิ งญามั กจะยอมรั บ จา งงานที่ สกปรกหรืออัน ตรายที่คนทองถิ่น หลีกเลี่ย ง และเปน แรงงานตางดาว
ที่มีอัตราคาจางแรงงานต่ํา จึงอาจทําใหเกิดปญหาเรื่องแนวโนมของอัตราคาจางที่สงผลกระทบกับแรงงาน
ภายในประเทศ สงผลไปสูปญหาทางเศรษฐกิจตอไป

๒. กรอบขอตกลงระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนที่เกี่ยวของ
ปจจุบันปญหาการอพยพของชาวโรฮิงญาถูกจับตามองและถูกยกระดับขึ้นมาเปนประเด็นปญหา
สิทธิมนุษยชน ในระดับภูมิภาคและนานาชาติ ซึ่งมีกรอบในการแกไขปญหาใน ๒ ระดับ คือ
๒.๑ ขอตกลงระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนของสํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหง
สหประชาชาติ (UN High Commissioner for Refugees -UNHCR)
รัฐบาลไทยได เชิญ UNHCR เขารวมดําเนิ นงานในประเทศในป พ.ศ. ๒๕๑๘ เมื่อผูลี้ ภั ย
จํานวนหลายแสนคนจากกัมพูชา ลาวและเวียดนามหลั่งไหลเขามายังประเทศไทย เหตุการณนั้นถูกเรียกกันวา
วิกฤติผูลี้ภัยชาวอินโดจีน UNHCR เขามาดําเนินการในการเตรียมพรอมสําหรับทางออกที่ยั่งยืนโดยประสานงาน
กับประเทศตาง ๆ เชน การเดินทางกลับภูมิลําเนาเดิมโดยสมัครใจ (Voluntary Reptriation) การตั้งถิ่นฐาน
ในรั ฐ ผู รั บ (Local Integration) หรื อ การไปตั้ ง ถิ่ น ฐานในประเทศที่ ส าม (Third-CountryResettlement)
การปกป อ งและให ค วามช ว ยเหลื อ ตามหลั ก มนุ ษ ยธรรมแก บุ ค คลกลุ ม อื่ น ๆ หรื อ ที่ เ รี ย กว า Persons of
Concern (POCs) ซึ่ ง ได แ ก ผู แ สวงหาที่ พั ก พิ ง (AsylumSeekers) ผู พ ลั ด ถิ่ น ภายในประเทศ (Internally
Displaced Persons) บุคคลไรรัฐ (Stateless Persons) และผูที่เดินทางกลับประเทศตนทาง (Returnees)
ในสวนการเขามามีบทบาทของ UNHCR ในกรณีผูลี้ภัยชาวโรฮิงญา เริ่มในป พ.ศ. ๒๕๕๖ UNHCR มีความเปนหวง
สถานการณศูนยอพยพผูลี้ภัยหลายแหงที่อยูในจังหวัดที่มีพื้นที่ติดตอกับประเทศเมียนมา เนื่องจากอาจมีผูลี้ภัย
ชาวเมียนมาและชนกลุมนอยเขามาประเทศไทยมากขึ้น ขณะที่ความขัดแยงระหวางชาวพุทธและชาวมุสลิม
ยังกําลังดําเนินไปจนลุกลามกลายเปนความรุนแรงขนาดใหญกลายเปนเหตุการณจลาจลในหลายเมืองทําใหมี
ผูเสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมาก ซึ่ง UNHCR มองวาผูอพยพชาวโรฮิงญาในประเทศไทยเกิดจากการลี้ภัย
การเมืองมาจากรัฐยะไขของเมียนมา ชาวโรฮิงญาอาศัยอยูในศูนยลี้ภัยตาง ๆ ในประเทศไทยจํานวนหนึ่งและ
UNHCR อยูระหวางการประสานงานกับประเทศที่ ๓ เพื่อใหรับผูอพยพชาวโรฮิงญา แตก็เปนเรื่องยากสําหรับ
การชวยเหลือผูอพยพชาติพันธุนี้เพราะยังไมมีประเทศใดแจงความจํานงอยางเปนทางการวาจะรับตัวผูลี้ภัย
กลุมนี้ไปตั้งถิ่นฐาน (Resettlement) ในประเทศของตน (อติภา จันทรวีระเสถียร.(๒๕๕๖))
๒.๒ ขอตกลงระหวางประเทศดานสิทธิมนุษยชนของอาเซียน
(๑) กฎบัตรอาเซียน (The ASEAN CHARTER)
กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) (กรมอาเซียน .(๒๕๕๖) เสมือนเปนรัฐธรรมนูญ
ที่วางโครงสรางและกรอบแนวทางการทํางานของอาเซียน โดยไดมีการบรรจุหลักการสิทธิมนุษยชนไวเปนหนึ่ง
ในคานิยมพื้นฐาน หลักของการกอตั้งประชาคมอาเซียน หลักการสิทธิมนุษยชนปรากฏอยูในกฎบัตรอาเซียน
ในหมวดหมูดังตอไปนี้
ในหมวดที่ ๑ เรื่องวัตถุประสงคและหลั กการ ขอ ๑ ความมุงประสงคของอาเซี ย น
(๗) เพื่อเสริมสรางประชาธิปไตย เพิ่มพูนธรรมาภิบาล และหลักนิติธรรม ตลอดจนสงเสริมและคุมครองสิทธิ
มนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐานโดยคํานึงถึงสิทธิและหนาที่ของรัฐสมาชิกของอาเซียน
ข อ ๒ ว า ด ว ยหลั กการ ใหอาเซีย นและรัฐ สมาชิกอาเซีย นปฏิบัติ ตามหลั ก การ (i)
การเคารพเสรีภาพพื้นฐาน การสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนและการสงเสริมความยุติธรรมทางสังคม (j)
การยึดถือกฎบัตรสหประชาชาติและกฎหมายระหวางประเทศ รวมถึงกฎหมายมนุษยธรรมระหวางประเทศ
ที่รัฐสมาชิกอาเซียนยอมรับ

หมวด ๔ ว า ด ว ยองค ก ร ข อ ๑๔ กล า วถึ ง องค ก รสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนอาเซี ย น ข อ ๑.


โดยสอดคลองกับความมุงประสงคและหลักการของกฎบัตรอาเซียนเกี่ยวกับการสงเสริมและคุมครองสิทธิ
มนุ ษยชนและเสรีภาพขั้ น พื้ น ฐาน ให อาเซี ย นจัดตั้งองคกรสิทธิมนุษยชนอาเซีย นขึ้น และ ๒. องค กรสิ ทธิ
มนุษยชนอาเซียนนี้ตองดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ซึ่งจะกําหนดโดยที่ประชุมรัฐมนตรีตางประเทศอาเซียน
เมื่ อ พิ จ ารณาความมุ ง ประสงค แ ละหลั ก การของอาเซี ย น ในการธํ า รงและสร า ง
สันติภาพ ความมั่นคงและเสถียรภาพในภูมิภาคใหมากยิ่งขึ้น จึงปฏิเสธไมไดเลยวา ปญหาโรฮิงญา ซึ่งเปนหนึ่ง
ในประชาชนอาเซียน สรางความสั่นคลอนดานความมั่นคงของการพัฒนาประชาชนอาเซียนใหมีเปาหมายใน
การใหโอกาสที่เทาเทียมกัน ในการเขาถึงการพัฒนามนุษย สวัสดิการ และความยุติธรรม และภาพลักษณของ
อาเซี ย นต อประชาคมโลก และหลั กการในการเคารพเสรีภ าพขั้น พื้น ฐาน การสงเสริมและคุม ครองสิ ท ธิ
มนุษยชน ความยุติธรรมในสังคม แตในขณะเดียวกัน กฎบัตรอาเซียน ไดวางกรอบความรวมมืออาเซียนกับ
ประเทศสมาชิ ก อยู บ นหลั ก การไม แ ทรกแซงกิ จ การภายในของประเทศสมาชิ ก อื่ น (Principle of Non-
interference) ซึ่งเปนหลักการสําคัญของอาเซียนที่ทําใหอาเซียนมีความเขมแข็ง เพราะสมาชิกอาเซียนจะมี
ความไวเนื้อเชื่อใจระหวางกัน เนื่องจากเห็นพองรวมกันที่ไมตองการใหผูอื่นเขามาแทรกแซงกิจการภายในของตน
รวมทั้งแนวคิดที่วาปญหาภายในประเทศไมสามารถแกไขโดยมาตรการลงโทษจากภายนอก แตตองไดรับการ
บริหารจัดการโดยปจจัยภายในประเทศ (กรมอาเซียน (๒๕๕๖) น ๖)
แตในปจจุบันหลักการดังกลาวไมสอดคลองกับความตองการและแนวความคิดของ
ประเทศนอกภูมิภาค และประเทศสมาชิกอาเซียนที่ไดรับผลกระทบจากปญหาโรฮิงญา โดยเฉพาะประเด็น
ปญหาภายในเมี ยนมา แมที่ผานมาประเทศสมาชิ กไดยึ ด ถื อการไมแทรกแซงภายในเปนสํ าคัญ แตปญหา
โรฮิงญาในปจจุบันไมใชปญหาภายในประเทศเมียนมาอยางเดียวอีกตอไปแลว เพราะเปนปญหาที่สงผลกระทบ
กับประเทศสมาชิกอาเซียนและภูมิภาคอยางมีนัยสําคัญ
(๒) ปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ASEAN Human Rights Declaration
ตราสารที่สําคัญที่สุดในดานสิทธิมนุษยชนของอาเซียน คือ ปฏิญญาอาเซียนวาดวย
สิทธิมนุษยชนอาเซียน (ASEAN Human Rights Declaration) ซึ่งผูนําอาเซียนประกาศใชในเดือนพฤศจิกายน
พ.ศ. ๒๕๕๕ และกําหนดรับรอง สิทธิมนุษยชนตาง ๆ ที่ปรากฏในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชนพรอมทั้ง
สิทธิใหม ๆ อีกหลายประการ เชน สิทธิในการพัฒนา สิทธิในสันติภาพ สิทธิในขอมูลขาวสารสวนบุคคล และ
สิทธิในสภาพแวดลอมที่ยั่งยืน ปฏิญญานี้ถือเปนตราสารหลักของอาเซียนในการดําเนินการดานสิทธิมนุษยชน
อยางไรก็ตาม แตยังมีหลายภาคสวนมีความกังวลวาถอยคําของปฏิญญายังคงกําหนดใหรัฐสมาชิกสามารถ
จํ ากั ด สิ ทธิ บ างประการได โดยกฎหมายภายในของรัฐนั้น ๆ ซึ่งทําใหเกิดขอหว งใยที่วาสิทธิที่รัฐสมาชิกให
ความคุมครองจะมีมาตรฐานต่ํากวาหลักการสิทธิมนุษยชนที่ปรากฏในปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และ
ปฏิ ญญาเวี ย นนา (Vienna Declaration and Program of Action) ป พ.ศ. ๒๕๓๖ ดังนั้น ในการรั บ รอง
ปฏิญญาดังกลาว ผูนําของรัฐสมาชิกอาเซียนทั้งสิบประเทศจึงออกแถลงการณที่เรียกวา แถลงการณพนมเปญ
วาดวยการรับรองปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน (Phnom Penh Statement on the Adoption of
the ASEAN Human Rights Declaration โดยมีเนื้อหาสําคัญในยอหนาที่สามที่ระบุยืนยันวา ในการอนุวัติการ
หรือนําปฏิญญามาปฏิบัติและบังคับ ใช จะตองสอดคลองกับความรับผิดชอบที่รัฐสมาชิ กมี อยูตามกฎบั ตร
สหประชาชาติ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน และปฏิญญาและแผนปฏิบัติการเวียนนาและกลไกระหวาง
ประเทศอื่ น ๆ ว า ด ว ยเรื่องสิทธิมนุ ษยชนที่รัฐสมาชิกอาเซีย นเปน ภาคี และที่เกี่ย วเนื่องกับสิทธิมนุษยชน
(สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ. (๒๕๕๙), น.๑)

ปฏิญญานี้จัดทําขึ้นโดยคณะกรรมาธิการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิมนุ ษยชน
(ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights: AICHR) เพื่อเปนตราสารทางการเมื องที่ ไม มี
ขอผูกพันตามกฎหมายที่แสดงเจตนารมณของอาเซียนในการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชนอันนํ าไปสู
ประโยชนในระยะยาวของประชาชนและภูมิภาคอาเซียน AHRD ประกอบไปดวยหมวดตาง ๆ ดังตอไปนี้
๑) หลั ก การทั่ ว ไป (General Principles) กล า วถึ ง สภาพสิ ทธิ และเสรี ภ าพพื้ น ฐาน
ที่บุคคลแตละคนพึงมีอยางเสมอภาคและเปนธรรม โดยปราศจากการแบงแยก
๒) สิ ท ธิ พ ลเมื อ งและสิ ท ธิ ท างการเมื อ ง (Civil and Political Rights) กล า วถึ ง
ความสัมพันธระหวางบุคคลกับรัฐ และการคุมครองสิทธิพื้นฐานของบุคคลในแตละกรณี
๓) สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (Economic, Social and Cultural Rights)
กลาวถึงขอยืนยันใหรัฐสมาชิกอาเซียนปกปอง สงเสริม สนับสนุนสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
เพื่อใหเกิดสวัสดิภาพสูงสุดที่บุคคลพึงมี
๔) สิทธิในการพัฒนา (Right to Development) กลาวถึงความจํานงของรัฐสมาชิก
อาเซียนในการแสวงหาแนวทางการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเมือง พรอมสิทธิของ
บุคคลในการมีสวนรวม เกื้อหนุน ใชสิทธิ และไดรับประโยชนอยางเปนธรรมจากการพัฒนาดังกลาว
๕) สิทธิในสันติภาพ (Right to Peace) กลาวถึงสิทธิของบุคคลทุกคนที่จะมีสันติภาพ
ในการใชชีวิต เพื่อใหบรรลุสิทธิตาง ๆ ขางตนอยางเต็มที่ โดยรัฐสมาชิกอาเซียนตองสงเสริมความรวมมือในการสราง
ความมั่นคงและเสถียรภาพในภูมิภาค
โดยระบุถึงการใหการยอมรับความสําคัญของบทบาทของคณะกรรมาธิการระหว าง
รัฐบาลอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน ในฐานะเปนสถาบันที่รับผิดชอบการสงเสริมและคุมครองสิทธิมนุษยชน
ในอาเซียนในทุกดาน อันจะนําไปสูการสรางประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเปนศูนยกลาง และเปนกลไกสําหรับ
การพัฒนาทางสังคมและความยุติธรรมที่กาวหนา และการบรรลุศักดิ์ศรีความเปนมนุษยและคุณภาพชีวิต
ที่ดียิ่งขึ้นของประชาชนอาเซียน โดยรัฐสมาชิกไดยืนยัน ความมุงมั่นของอาเซียนในการสงเสริ มและคุ มครอง
สิ ทธิ มนุ ษยชนและเสรี ภาพขั้ นพื้ นฐาน รวมทั้ งเป าประสงค และหลั กการตามที่ บั ญญั ติ ไว ในกฎบั ตรอาเซี ยน
ซึ่งรวมถึงหลักการประชาธิปไตย หลักนิติธรรม และธรรมาภิบาล และย้ําถึงความมุงมั่นของอาเซียนและรัฐสมาชิก
ตอกฎบัตรสหประชาชาติ ปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน ปฏิญญา และแผนปฏิบัติการเวียนนา และตราสาร
ระหวางประเทศอื่น ๆ ดานสิทธิมนุษยชนที่รัฐสมาชิกอาเซียนเปนภาคี รวมถึงปฏิญญาของอาเซียนที่เกี่ยวกับ
สิทธิมนุษยชน

๓. บทบาทและอํานาจหนาที่ขององคกรตางๆ ในการแกไขปญหาโรฮิงญาในอาเซียน
๓.๑ กลไกการดําเนินงานแกไขปญหาของอาเซียน (ASEAN)
ในอดีตอาเซียนไดยึดหลักการไมยุงเกี่ยวกิจการภายในของประเทศอื่นและเนนการดําเนิน
นโยบายเกี่ ย วพั น อย า ง สร า งสรรค (Constructive engagement) แตจ ากสถานการณในเมีย นมาที่ แ ย ล ง
ในชวงหลังป พ.ศ. ๒๕๓๑ ไดกลายเปนแรงกดดันใหประเทศมหาอํานาจและอาเซียนเขามามีสวนเกี่ยวของมาก
ยิ่งขึ้นจนถึงปจจุบัน จากทาทีในการเปดและปฏิรูปประเทศอยางจริงจังของเมียนมาทําใหอาเซียนเขามามี
บทบาทตอเมียนมามากยิ่งขึ้น โดยเฉพาะในเหตุการณความรุนแรงที่เกิดขึ้นในรัฐยะไข ระหวางชาวพุทธและ
ชาวมุ ส ลิ ม โรฮิ ง ญา ทํ า ให อ าเซี ย นออกมาแสดงบทบาทอย า งจริ ง จั ง ต อ ป ญ หาดั ง กล า ว ดั ง เห็ น ได จ าก
การที่ รั ฐ มนตรี กระทรวงการต า งประเทศอิ น โดนีเซีย ไดแสดงความกังวลตอปญ หาความรุน แรงที่เ กิ ด ขึ้ น
พรอมทั้งเสนอใหเปดการเจรจาไตรภาคีระหวางเมียนมา อาเซียน และสหประชาชาติ เพื่อหามาตรการยุติ

ความขั ด แย ง ทางเชื้ อ ชาติ แ ละศาสนาระหว า งชาวพุ ท ธและชาวมุ ส ลิ ม โรฮิ ง ญา แม ว า ท า ยที่ สุ ด จะได รั บ
การปฏิเสธจากรัฐบาลเมียนมาเพราะเมียนมาถือวาเปนเรื่องภายในและไมตองการใหมีการแทรกแซงจาก
ตางประเทศ แตทาทีดังกลาวของอาเซียนไดแสดงถึงบทบาทที่เพิ่มมากขึ้นของอาเซียนตอปญหาในเมียนมา
โดยเฉพาะเรื่องความขัดแยงทางเชื้อชาติและศาสนา แมวารัฐบาลเมียนมาจะมองความขัดแยงดังกลาววาเปน
ปญหาภายในสามารถจัดการได แตอาเซียนกังวลวาปญหาดังกลาวจะลุกลามจากปญหาความไมสงบในพื้นที่
กลายเปนการกอการรายใน ภูมิภาค เนื่องจากพบวามีการสนับสนุนจากกลุมมุสลิมหัวรุนแรงที่มีเครือขายใน
ภูมิภาค กลุมประเทศมุสลิมหลายประเทศไดจับตามองแนวทางการแกไขปญหาของรัฐบาลเมียนมาในระยะยาว
หลังจากที่ไดเคยออกมาประณามแนวทางการแกไขของรัฐบาลเมียนมาในชวงแรก ดังนั้น การใชกฎอัยการศึก
หรือใชกําลังเขาปราบปรามของรัฐบาลยอมไมสามารถแกไขปญหาที่สะสมมาแตอดีต รัฐบาลควรวิเคราะห
ถึงรากเหงาของปญหาที่แทจริง และดําเนินการอยางเรงดวน ไมรอใหเกิดความ รุนแรงขึ้นอีก
นอกจากนี้ เมื่ อ วั น ที่ ๑๙ ธั น วาคม ๒๕๕๙ กลไกของอาเซี ย นได มี ก ารประชุ ม ฉุ ก เฉิ น
เพื่อหารือแกไขปญหาชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข ของเมียนมา (กรุงเทพธุรกิจ. (๑๙ ธันวาคม๒๕๕๙) โดยรัฐมนตรี
ตางประเทศอาเซียนไดจัดการประชุมฉุกเฉินที่นครยางกุงของเมียนมาเพื่อหารือเรื่องวิกฤตในรัฐยะไข ในการหา
มาตรการบรรเทาความขัดแยงระหวางชาวมุสลิมโรฮิงญา กับชาวพุทธในรัฐยะไข โดยนางอองซานซูจี ในฐานะ
รัฐมนตรีตางประเทศของเมียนมาเขารวมดวย ซึ่งการประชุมเกิดขึ้นหลังจากกองกําลังรัฐบาลปฏิบัติการปราบ
โรฮิงญา ทําใหมีผูเสียชีวิต ๘๖ คน และอีกราว ๒๗,๐๐๐ คน อพยพขามฝงไปบังคลาเทศ เพื่อตอบโตการโจมตี
ด านตรวจของตํ า รวจที่ ทํา ให เ จ า หน า ที่ ๙ นายเสีย ชีวิต โดยเชื่อวาเปน ฝมือของชาวโรฮิงญา ซึ่งมาเลเซีย
ไดเรียกรองใหอาเซียนประสานงานเพื่อใหความชวยเหลือดานมนุษยธรรมและตรวจสอบขอกลาวหาการสังหาร
ขมขืน ปลนสะดม เผาบานเรือน และจับกุมชาวโรฮิงญา ขณะที่เมียนมาไดปฏิเสธขอกลาวหาและยืนยันเปน
เรื่ อ งภายในประเทศ แต อ งค ก ารนิ ร โทษกรรมสากลระบุ ว า การกระทํ า ของกองทั พ เมี ย นมาเข า ข า ย
กออาชญากรรมตอมนุษยชาติ
๓.๒ การดําเนินการแกไขปญหาภายในประเทศสมาชิกอาเซียนที่เกี่ยวของ
(๑) นโยบายการแกไขปญหาของประเทศมาเลเซีย
มาเลเซียมีนโยบายไมยอมรับผูแสวงหาที่พักพิงและผูลี้ภัยอยางถูกตองตามกฎหมาย
เนื่องจากไมไดลงนามในอนุสัญญาวาดวยสถานภาพของผูลี้ภัย พ.ศ.๒๔๙๔ และปฏิญญาวาดวยสถานะผูลี้ภัย
พ.ศ.๒๕๑๐ แตใหที่พักพิงกับผูลี้ภัยมาเปนเวลานานหลายทศวรรษ เมื่อผูลี้ภัยลงทะเบียนกับ UNHCR แลว
และผานการตรวจสอบดานสุขภาพและความปลอดภัยดานความมั่นคงแลว จะไดรับอนุญาตใหอยูรวมกับ
ชุมชนในทองถิ่นไดแตไมมีสิทธิ์ตามกฎหมายที่จะทํางานนอกจากจะไดรับอนุญาต หรือไดรับการดูแลรั กษา
ทางการแพทยและการศึกษา.
มาเลเซียมีกฎหมาย Immigration Act ๑๙๕๙/๖๓ ที่แบงชาวตางชาติออกเปน ๒ กลุม
คือ ผูเขาเมืองถูกกฎหมายและผูเขาเมืองผิดกฎหมาย ตอมากฎหมายดังกลาวฉบับแกไขในป พ.ศ. ๒๕๔๕ ไดเพิ่ม
บทลงโทษผู เข าเมื องโดยผิ ดกฎหมายซึ่งรวมถึงการจับกุมคุมขัง การโบย และการสงกลับ รวมทั้งลงโทษผู ให
ที่พักพิงแกคนตางด าว ทําให NGOs ที่ใหความชวยเหลือผูลี้ภัยตางเกรงการถูกลงโทษและจํากัดบทบาทของ
ตนเอง ทําให UNHCR ตองรับภาระหนัก ทั้งในดานการคุมครอง การใหความชวยเหลือ และการขึ้นทะเบียนผูลี้ภัย
แตมาเลเซียไมยอมรับการขึ้นทะเบียนดังกลาวอยางเปนทางการ ในทางปฏิบัติมีการผอนผันในเรื่องนี้สลับกับ
การกวดขันจับกุมผูเขาเมืองโดยผิดกฎหมายเปนชวงๆ โดยมาเลเซียเห็นวาการแกปญหาผูลี้ภัยอยางถาวรคือ
การสงไปตั้งถิ่นฐานในประเทศที่สามเปนหลัก

(๒) นโยบายการแกไขปญหาของประเทศอินโดนีเซีย
เชนเดียวกับมาเลเซีย อินโดนีเซียซึ่งไมไดเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยสถานภาพของ
ผูลี้ภัย พ.ศ.๒๔๙๔ และปฏิญญาวาดวยสถานะผูลี้ภัย พ.ศ.๒๕๑๐ แตมีแนวโนมวาจะพิจารณาเขาเปนภาคี
อนุสัญญาวาดวยสถานภาพของผูลี้ภัย พ.ศ.๒๔๙๔ ในอนาคตโดยไดแสดงเจตจํานงที่จะเขาเปนภาคีอนุสัญญา
ดังกลาวในหลายโอกาส อยางไรก็ตาม อินโดนีเซียมีกฎหมาย No. ๓๗๗ of ๑๙๙๙ เรื่องความสัมพัน ธกับ
ตางประเทศที่ใหอํานาจประธานาธิบดีในการใหที่พักพิง แกผูลี้ภัยจากตางประเทศ ซึ่งกอนหนานี้อินโดนีเซีย
มิไดมีความยินดีจะรับผูลี้ภัยเหลานี้ไปตั้งรกรากในประเทศตน
(๓) นโยบายการแกไขปญหาของประเทศไทย
ประเทศไทยถื อ ได ว า มี ก ระบวนการขั ด เกลา การเรี ย นรู ท างสั ง คมและทั ศ นคติ
(Socialization) ต อป ญหาผู อพยพมาตั้ งแต ส มั ย รั ช กาลที่ ๕ และมี กฎหมายที่ ใช กํ าหนดสถานะของบุ ค คล
ซึ่งเปนกฎหมายภายในที่ใชในการจัดการกับปญหาผูอพยพรวมกับการดําเนินงานตามพันธกรณี กติการะหวาง
ประเทศว า ด ว ยสิ ทธิ พลเมื องและสิ ทธิ ทางการเมื อง หรือ ICCPR ตลอดจนมติคณะรัฐ มนตรีเ มื่ อวัน ที่ ๑๐
มกราคม ๒๕๖๐ ที่มีสาระเปนการเห็นชอบในหลักการใหมีระบบคัดกรองคนเขาเมืองผิดกฎหมาย เพื่อจําแนกวา
กลุ มใดเข าข ายเป นผู ลี้ ภั ยและกลุ มใดไม เข าข ายดั งกล าว และให สํ านั กงานตํ ารวจแห งชาติ รั บร างระเบี ย บ
สํ านั กนายกรั ฐมนตรี ว าด วยการบริ หารจั ดการคนเข าเมื องไปพิ จ ารณาร วมกั บหน วยงานที่ เกี่ ยวข องต อไป
ตามผลการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกา (คณะที่ ๒) จึงถือไดวาประเทศไทยมีกฎหมายที่มีมาตรฐาน
ที่ สู งกว าอนุ สั ญญาว าด วยสถานภาพของผู ล้ีภัย พ.ศ.๒๔๙๔ และปฏิญญาวาดวยสถานะผูลี้ภัย พ.ศ.๒๕๑๐
ซึ่งประเทศไทยไมไดลงนาม
รั ฐ บาลไทยมี แ นวทางการจั ด การชาวโรฮิ ง ญาที่ ห ลบหนี เ ข า เมื อ ง โดยเน น ไปที่
การปองกันการเขามาในประเทศ การบังคับใชกฎหมายจับกุมคุมขังชาวโรฮิงญาที่เขามาในประเทศอยางจริงจัง
และจะไม ไ ด ก ารผ อ นผั น ให อ ยู ภ ายในประเทศ เช น เดี ย วกั บ คนต า งด า วจากเมี ย นมา ลาว และกั ม พู ช า
การปฏิบัติตามพระราชบัญญัติคนเขาเมือง พ.ศ.๒๕๒๒ สงผลใหคนไรรัฐชาวโรฮิงญาที่เขามาตองถูกจั บ กุม
หลายครั้งคุมขังยาวนานไมมีกําหนด ถูกผลักดันออกนอกประเทศ โดยที่ไมสามารถกลับประเทศตนทางได
เจาหนาที่ไทยประสบปญหาการจัดทําทะเบียนประวัติชาวโรฮิงญาที่ถูกจับกุมไดเพราะขาดแคลนลามที่สามารถแปล
และสื่อสารใหเขาใจกันไดเนื่องจากชาวโรฮิงญาไมใชภาษาพมา แตใชภาษาโรฮิงญา ทําใหเจาหนาที่ผูสอบประวัติ
และชาวโรฮิงญาเองยากที่จะสื่อสารกัน เมื่อกลุมโรฮิงญาถูกตรวจพบ พนักงานเจาหนาที่ตรวจคนเขาเมือง
รับตัวคนตางดาวผิดกฎหมายจากหนวยงานที่สงตัวมา จะดําเนินขั้นตอนทางธุรการในการจัดทําทะเบียนประวัติ
ถายรูป พิมพมือ แลวสงตัวกลับออกไปนอกราชอาณาจักร กรณียังไมสามารถสงตัวออกไปไดในทันทีก็จะกักตัว
จนสามารถสงตัวกลับออกไปนอกราชอาณาจักรได แตชาวโรฮิงญาไมมีสัญชาติ ไมมีสถานะเปนพลเมืองของ
เมียนมา จํานวนมากไมสามารถพูดภาษาพมา และไมสามารถเดินทางกลับจากชายแดนไทยไปยังรัฐยะไข
ที่มีระยะทางไกลทําใหไมสามารถดําเนินการสงชาวโรฮิงญากลับประเทศตนทางได ชาวโรฮิงญาที่ถูกผลักดัน
ออกนอกประเทศจึงตกคางอยูบริเวณชายแดนจํานวนมาก การผลักดันชาวโรฮิงญาออกนอกราชอาณาจักรของ
เจ าหน าที่ ตามกฎหมายคนเข าเมืองจึ งไม ประสบความสํ าเร็จ และกลายเป นการแก ไขป ญหาชั่ วคราวเท านั้น
ขณะที่เริ่มมีขบวนการนําพาและคามนุษยในบริเวณชายแดนไปดักรอชาวโรฮิงญาที่ถูกผลักดันออกนอกประเทศ
เพื่อนําพากลับเขามาในประเทศใหมอีกครั้งมากขึ้นเรื่อย ๆ เพื่อแกไขปญหารัฐบาลไทยและสภาความมั่นคงแหงชาติ
ไดมอบหมายใหกองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร (กอ.รมน.) ภาค ๔ สย.๑ ใหเปนหนวย
อํานวยการหลักในการแกไขปญหา ผูลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมายกลุมชาวโรฮิงญาดานพื้นที่จังหวัดระนองและ

พังงาตามยุทธศาสตรการแกไขปญหาผูอพยพหลบหนีเขาเมืองทั้งระบบ พ.ศ.๒๕๕๕ (ศิววงศ สุขทวี.(๒๕๕๙),


น.๗๒-๘๐)
แนวยุทธศาสตรการแกไขปญหาปญหาผูอพยพหลบหนีเขาเมืองทั้งระบบ ป พ.ศ.๒๕๕๕
เปนการกําหนดกรอบการดําเนินการ ๒ ดานที่สําคัญคือ ๑) การจัดการปญหาผูหลบหนีเขาเมืองที่อยูในประเทศไทย
ที่อยูภายใตความรับผิดชอบของสํานักสภาความมั่นคงแหงชาติ และ ๒) การปองกันการลักลอบหลบหนีเขามาใหม
ที่อยูภายใตความรับผิดชอบของกองทัพไทย โดยกองทัพเรือจะเปนหนวยงานหลักในการปองกันไมใหผูอพยพ
ชาวโรฮิงญาลักลอบเขาไปถึงชายฝง การชวยเหลือใหไปตอ หรือ Help on ทางทะเล มีลักษณะเปนการผลักดัน
เรือของชาวโรฮิงญาใหหันหนาออกนอกชายฝง และใหการชวยเหลือเบื้องตนตามหลักมนุษยธรรม โดยจะมี
การใหอาหาร น้ํา เชื้อเพลิงเพื่อใหเดินทางไปตอ ในบางครั้งมีการซอมแซมเครื่องยนตให รวมถึงมีการจัดหาเรือให
ในกรณีที่เรือของชาวโรฮิงญาไมสามารถเดินทางตอไปได
ทั้งนี้ ปญหาการอพยพของชาวโรฮิงญา กลายเปนปญหาสิทธิมนุษยชนระหวางประเทศ เพราะ
การลักลอบเขาประเทศต องมี การผา นผูนํ า พาลักลอบขนคนเขาเมืองและขบวนการคามนุษย มีผูเสียชีวิ ต
ระหวางการเดินทางในชวงป พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ประมาณ ๒,๐๐๐ คน (สํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหง
สหประชาชาติ (๒๕๕๘) น. ๑) เนื่ องจากการเจ็บ ปว ย การขาดอาหาร น้ํา และถูกทุบ ตีบ นเรือจากผู คุ ม
นอกจากนั้ น ยั งมี การพบหลุ มฝงศพชาวโรฮิงญากระจายอยูบ ริเวณชายแดนทั้งในฝงไทย และฝ งมาเลเซีย
ซึ่งเกิดขึ้นจากการเจ็บปวย ขาดอาหาร ความพยายามหลบหนีหรือไมสามารถจายเงินตามจํานวนที่ผูนําพา
ลักลอบขนคนเรียกรองได

๔. บทสรุปและขอเสนอแนะ
ชาวโรฮิงญานับเปนชาติพันธที่ถูกปฏิเสธการมีตัวตนจากทุกรัฐ การไรสัญชาติทําใหชาวโรฮิ งญา
ไมตกอยูในความคุมครองตามกฎหมายของรัฐใด แตปฏิเสธไมไดวาโรฮิงญาคือประชาชนอาเซียน ซึ่งอาเซียนตอง
รวมตั วกั นแก ไขเพราะป ญหาดั งกล าวส งผลกระทบต อความมั่ นคงในภู มิภาค และทํ าลายความเชื่ อมั่ น ของ
ประชาคมโลกตอการรวมตัวกันเปนประชาคมอาเซียน ซึ่งเปนการตอกย้ําถึงความไมมั่นคงในเสาหลักของอาเซียน
ดานประชาคมการเมืองและความมั่นคงของอาเซียนอยางชัดเจน ดังนั้น เพื่อการแกไขปญหาตางๆ เหลานี้ จึงมี
ความจําเปนอยางยิ่งที่ที่ผูที่เกี่ยวของทุกฝายจะตองรวมมือกัน ในการนําขอเสนอแนะตอไปนี้ไปใชในการแกไข
ปญหาตอไป
๔.๑ การแกไขปญหาในประเทศไทย
(๑) กรณี โรฮิ งญาเป นเรื่ องทั บซอนระหวางการถู กเป นเหยื่ อของพวกค ามนุ ษย ซึ่งถู กนํ ามา
แสวงหาผลประโยชนโดยมิชอบ หรือเปนผูลักลอบเขาประเทศที่จายเงินใหแกผูนําพาลักลอบเขาเมืองดวยความตั้งใจ
ซึ่งจะไมเปนผูทรงสิทธิไดรับการคุมครองการคามนุษย ซึ่งจะไดรับการปฏิบัติที่แตกตางกัน รัฐบาลตองกําหนด
มาตรการและแนวทางปฏิบัติในการพิสูจน เพื่อดําเนินการใหถูกตองตอไป
(๒) รัฐบาลตองกําหนดนโยบาย มาตรการและแนวทางปฏิบัติเพื่อแกไขการคามนุษยอยาง
เปนระบบ เจาหนาที่ท่ีเกี่ยวของจะตองปฏิบัติตามกฎหมายและหลักมนุษยธรรมอยางเหมาะสม ทั้งนี้รัฐบาล
จะตองเรงปราบปรามเจาหนาที่ และผูที่เขาไปเกี่ยวของขบวนการลักลอบเขาเมืองผิดกฎหมายและคามนุษย
อยางจริงจังและเด็ดขาด ใหมีผลเปนรูปธรรม
(๓) ดําเนินการจัดทําฐานขอมูลทะเบียนคนตางดาวในประเทศทั้งหมด ไมวาจะมีสัญชาติ
หรือไม เพื่อการควบคุมและหามาตรการใหความชวยเหลือตามหลักสิทธิมนุษยชนพื้นฐาน เชน การใหศึกษา
การเขาถึงการรักษาพยาบาลเบื้องตน

(๔) ประเทศไทยต องชี้ แจงประชาสัมพัน ธส รางความเขาใจที่ถูกตองแกป ระชาคมโลก


วาทางการไทยไดปฏิบัติตอชาวโรฮิ งญาอยางชอบธรรมตามกรอบกฎหมายของไทย มิไดมีการละเมิด สิ ทธิ
มนุษยชนดังที่สื่ อต างประเทศกล าวอ าง อาจยอมรั บใหพักพิงไดชั่ว คราวในระยะสั้ น เพื่อเดินทางต อ ไปยั ง
ประเทศที่ส าม และควรเรี ย กร องให อ งค ก รระหว างประเทศ และประเทศที่ เ กี่ ย วข อ งให ความช ว ยเหลื อ
ดานเงินทุน และการติดตอในการรับผูอพยพไปยังประเทศที่สามตอไป
๔.๒ การแกไขในกรอบความรวมมือระหวางประเทศ
การแกไขปญหาระยะสั้น
(๑) ผลักดันปญหาดังกล าวเข าสูเวทีความรวมมื อระหวางประเทศ และประเทศต าง ๆ
ที่เกี่ยวของ อาทิ เมียนมา บังกลาเทศ มาเลเซีย อินโดนีเซีย และ UNHCR เพื่อรวมหาสาเหตุและแนวทาง
การแกไขปญหา โดยมุงไปที่ตนตอและรากเหงาของปญหา คือ การปกครองของเมียนมาที่ทําให ชาวโรฮิงญา
ตองละทิ้งแผนดิน
(๒) นําประเด็นโรฮิงญาเขาเสนอในการประชุม ASEAN เพื่อหาทางออกในการแกไขปญหา
รวมกัน ตามปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน และใชกลไกการแกไขปญหาของอาเซียน เชน AICHR
การประชุมกระบวนการบาหลี (Bali Process)
การแกไขปญหาระยะยาว
(๑) การแกไขทัศนคติของมนุษยที่รังเกียจมนุษยดวยกัน โดยเฉพาะกับคนในประเทศตนทาง
คือเมียนมา และไมควรไปคาดหวังกับการแกปญหาจากนักการเมืองในพื้นที่ที่ไมสามารถทําอะไรที่จะเปนการขัด
ตอความรูสึกของคนที่เลือกตนเขามา และเลือกที่จะฟงคนที่เลือกตนเองเขามามากกวาที่จะคํานึงถึงเรื่องของ
สิทธิมนุษยชน ซึ่งหากไมสามารถแกไขปญหาจุดนี้ไดชาวโรฮิงญาที่มีอยูจํานวนมากก็จะอพยพไปสูประเทศอื่น ๆ
ซึ่งยากจะรับมือกับปญหานี้ได แตทั้งนี้ ในปจจุบันกลุมคนรุนใหมของเมียนมาเองก็มีแนวโนมที่ดีขึ้นในการเริ่ม
ยอมรับชาวโรฮิงญาไดมากขึ้น
(๒) ต องปรั บ ทั ศนคติ ในระดับ อาเซีย น ถึงความเปน ประชาชนอาเซีย นดว ยกัน เพราะ
อาเซียนเหมาะที่จะเปนกลไกในการแกไขปญหาโรฮิงญาอยางจริงจัง อาเซียนมีประเทศที่เปนสังคมมุส ลิม
เหมือนกับโรฮิงญาที่จะสามารถรับเอาโรฮิงญาเขามาอาศัยอยูรวมกันในประเทศ โดยจะตองเนนใหการศึกษา
กับโรฮิงญาเพื่อใหโรฮิงญาสามารถอยูในสังคมรวมกับคนอื่น ๆ ได
(๓) เพื่ อ ให ส ามารถแก ไ ขป ญ หาโรฮิ ง ญาได อ ย า งยั่ ง ยื น นั ก การเมื อ งของอาเซี ย นควร
ปรับเปลี่ยนทัศนคติโดยตองใหความสําคัญกับปญหาความมั่นคงทางการเมือง พลเมืองและปญหาทางสังคม
มากเทา ๆ กับเรื่องเศรษฐกิจ
ที่ผานมาประเทศไทยไดยึดถือหลักสิทธิมนุษยชนเปนสําคัญ ซึ่งการดําเนินนโยบายในการ
แกไขปญหาดังกลาวที่ผานมา ถือไดวาไทยเปนหนึ่งในผูมีบทบาทในการผลักดันการดําเนินการแกไขปญหา
โรฮิงญาในเวทีอาเซียน ทั้งนี้ การใหความชวยเหลือในรูปแบบการบริจาคเงิน อาหารและสิ่งของชวยเหลือ
เปนเพียงการแกไขปญหาเฉพาะหนาหรือการแกป ญหาปลายเหตุเทานั้น ไมใชการแกไขปญหาอยางถาวร
หากรัฐบาลเมียนมายังไมมีแนวทางการจัดการความแตกตางทางเชื้อชาติและศาสนาของคนในประเทศอยางเหมาะสม
และประเทศไทยประเทศเดียวก็ไมสามารถแกปญหาได เพราะเปนปญหาภูมิภาค ซึ่งอาเซียนจะตองหยิบยก
เรื่องโรฮิงญาขึ้นมาพูดคุยกันในกลุมอาเซียนดวยความจริงใจ เพื่อแกปญหารวมกันอยางจริงจัง

บรรณานุกรม

หนังสือ
กระทรวงการตางประเทศ.(๒๕๕๖).กฎบัตรสมาคมแหงประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต.
กระทรวงการตางประเทศ. (๒๕๕๕).ขอบเขตอํานาจหนาที่ของคณะกรรมการระหวางรัฐบาลอาเซียนวาดวย
สิทธิมนุษยชน.
กรมอาเซียน กระทรวงการตางประเทศ. (๒๕๕๖). ปฏิญญาอาเซียนวาดวยสิทธิมนุษยชน
คัทลียา เหลี่ยมดี. (๒๕๕๕). สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร. กรุงเทพฯ:บริษัท วีพริ้นท (๑๙๙๑).
ชาติชาย เชษฐสุมน. (๒๕๕๗).ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) : ผลกระทบตอกฎหมายไทย.
กรุงเทพฯ : วิญูชน.
ชาญวิทย เกษตรศิริ. (๒๕๕๒). เมียนมา ประวัติศาสตรและการเมือง (Burma: History and Politics).
กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร.
ดุลยภาค ปรีชารัชช. (๒๕๕๑). ผาการเมืองเมียนมา ความขัดแยง ความมั่นคง ในโลกที่ไรพรมแดน.
กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร.
ประภัสสร เทพชาตรี. (๒๕๕๒). ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน. กรุงเทพฯ: เสมาธรรม.
ปยะนุช ปบัว. และเจษฎา มีบุญลือ. (2552). ปญหาโรฮิงญากับแนวทางการแกไข. กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัย
ทางยุทธศาสตร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ.
สํานักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ. (๒๕๕๙). Institute of Research and Development for
Public Enterprises . รายงานการศึกษาวิจัย เรื่อง พันธกรณีดานสิทธิมนุษยชนของประชาคม
อาเซียน Human Rights Obligations of the ASEAN Community

บทความวารสาร
บุรเทพ โชคธนานุกูล. (๒๕๕๗) “เมียนมา” ปญหาเกาสูความทาทายใหมของอาเซียน: กรณีศึกษาปญหาเชื้อชาติ
และศาสนาของชาวโรฮิงญาในรัฐยะไข ผลกระทบตอการปฏิรูปเมียนมา วารสารธรรมศาสตร
ปที่ ๓๓ ฉบับที่ ๑ ป พ.ศ.๒๕๕๗ กรุงเทพฯ:สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
ศิววงศ สุขทวี,(๒๕๕๗). โรฮิงญาชีวิตภายใตอํานาจจากชายแดนดานตะวันตกของพมาถึงไทย วารสารสังคม
วิทยามนุษยวิทยา ๓๓ (๑) มกราคม-มิถุนายน พ.ศ.๒๕๕๗ กรุงเทพฯ:คณะสังคมวิทยาและ
มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

วิทยานิพนธ
ศิววงศ สุขทวี. (๒๕๕๙). โรฮิงญา:คนไรรัฐในรัฐตางแดน (วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, สาขาวิชามานุษยวิทยา.

สื่ออิเล็กทรอนิกส
กรุงเทพธุรกิจ. (๑ มิถุนายน ๒๕๕๘). ไฉนอองซานซูจีจึง ไมมีความเห็นเรื่องโรฮิงญา? ) สืบคนจาก
http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/634661
๑๐

กรุงเทพธุรกิจ. (๑๙ ธันวาคม ๒๕๕๙ ) อาเซียนประชุมฉุกเฉินหารือ 'โรฮิงญา' สืบคนจาก


http://www.bangkokbiznews.com/news/detail/732472
พิธุวรรณ กิตติคุณ (๒๕๕๘) การละเมิดสิทธิมนุษยชนชาวโรฮิงญาสูปญหาการโยกยายถิ่นฐานแบบไมปกติขามชาติ
Academie Focus เอกสารวิชาการอิเล็กทรอนิกส สํานักวิชาการ สํานักเลขาธิการสภา
ผูแทนราษฎร สืบคนไดที่ http://www.parliament.go.th/library
สรินณา อารีธรรมศิริกุล. (๒๕๕๖). กะเทาะเปลือกอาเซียน : Constructive Engagement นโยบายเปลี่ยนเมียน
มา (ตอนจบ) สืบคนจาก http://www.siamintelligence.com/constructive-engagement-
policy-to-change-burma/
สํานักงานขาหลวงใหญผูลี้ภัยแหงสหประชาชาติ (UNHCR), (๒๕๕๘) Mixed Maritime Movements in
South-East Asia, สืบคนจาก https://unhcr.atavist.com/mmm2015
ประวัติunhcr สืบคนจาก https://www.unhcr.or.th/about/history
๑๑

คณะผูจัดทํา
รายนามสมาชิกกลุม ๕

๑. นายหรินทร สูตะบุตร นักทรัพยากรบุคคลชํานาญการพิเศษ ศูนยประชาคมอาเซียนฯ


๒. นางสาวปติกานต สอนดี วิทยากรชํานาญการพิเศษ ศูนยประชาคมอาเซียนฯ
๓. นายพีระเดช คงเดชา นิติกรชํานาญการพิเศษ ศูนยประชาคมอาเซียนฯ
๔. นางสาวกิตติมา คงสํารวย วิทยากรชํานาญการ สํานักกรรมาธิการ ๒
๕. นางสาวฐิตาภา ตันติปาลกุล นิติกรปฏิบัติการ สํานักกรรมาธิการ ๓

You might also like