Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 52

SEX

GENDER
SEXUALITY
HS 316
SEX - เพศสรีระ
• มนุษย์ เป็ นเพศหญิง หรื อ ชาย
• Male / Female
• พิจารณาจากลักษณะทางชีววิทยา เช่ น โครโมโซม อวัยวะเพศ
ฮอร์ โมน หรื อ ลักษณะทางกายภาพอื่นๆ
GENDER - เพศภาวะ
• เป็ นความหมายในเชิงสังคม วัฒนธรรม เช่ น บทบาททางสังคม สถานะทางสังคม
พฤติกรรม หรืออัตลักษณ์
• อาจตรง หรือขัดแย้ งกับเพศกาเนิด
• ภาวะแห่ งเพศที่ถูกประกอบสร้ างทางสังคม เพศภาวะ เช่ น ความเป็ นหญิงความเป็ นชาย
• เพศภาวะเป็ นเรื่องของบทบาทในเรื่องต่ างๆ ที่สังคมกาหนดให้ กับสถานะทางเพศซึ่งมัก
ดูจากเพศสรี ระ คือ หญิง ชาย และหากสังคมเกิดเปลี่ยนการกาหนดสถานะทางเพศว่ า
อาจมาจากองค์ ประกอบอื่นๆ นอกเหนือจาก เพศสรีระ สถานะทางเพศก็จะมีเพิ่มมาก
ขึน้ เช่ น เกย์ กะเทย ทอม ดี ้ ฯลฯ อันจะนาไปสู่การกาหนดบทบาท เพศต่ างๆ มากกว่ า
หญิงและชาย
• Masculinity & Femininity
ลักษณะของ gender อาจแตกต่ างกันไปในแต่ ละสังคม
เช่ น สังคมอเมริกัน กระโปรง หรือชุด dress –feminine
สังคมตะวันออกกลาง ชุด gown เป็ น masculine
SEA sarong เป็ น masculine
Scottland กระโปรง เป็ น masculine
การมอง gender ออกเป็ น 2 ขัว้ หญิง / ชาย เป็ นเรื่ องเฉพาะของวัฒนธรรม และไม่ ใช่ ส่ งิ ที่เป็ นสากล
(universal)
ในบางวัฒนธรรม gender ถูกมองว่ ามีลักษณะเลื่อนไหล
เช่ น อินเดียนแดงพืน้ เมือง Berdache
ชนพืน้ เมือง Samoa – third gender -Fa’afafine “the way of the woman”
ใช้ เรี ยกคนที่เกิดเป็ นเพศชาย แต่ มีลักษณะทัง้ masculine และ feminine ไม่ จาเป็ นต้ องเป็ น
homosexual
GENDER IDENTITY
อัตลักษณ์ , ความคิดเกี่ยวกับตัวตนของปั จเจกบุคคล ว่ าตนเองเป็ นเพศชาย หรือ
หญิง โดยมีฐานมาจากการเชื่อมโยงกับความ masculine หรือ feminine

Transgender – คนที่มี gender identity ไม่ ตรงกับเพศกาเนิด


Example: Transgendered male – คนที่มีเพศกาเนิดหญิง แต่ มี
อารมณ์ และลักษณะทางจิตใจ เชื่อมโยงกับความเป็ น musculine ของสังคม
ที่อาศัยอยู่ – และแสดงตัวว่ ามี gender เป็ น male
และเป็ นไปในทางกลับกันสาหรับ Transgendered female
Transgender ที่ต้องการปรับเปลี่ยนร่ างการตนเอง ด้ วยวิธีการทางการแพทย์ เช่ น
ผ่ าตัด หรือใช้ ฮอร์ โมน เพื่อทาให้ ร่างกาย กายภาพ สอดคล้ องกับ gender identity
มากขึน้ เรียกว่ า transsexual
Male-to-female (MTF)
Female-to-male (FTM)
แต่ ไม่ ใช่ ว่า Transgender ทุกคนต้ องการเปลี่ยนร่ างกาย หลายคนยังรักษาร่ างกาย
เป็ นแบบเดิมๆ แต่ แสดงออกถึงลักษณะเพศภาวะตรงข้ ามกับเพศกาเนิด ผ่ านการแต่ งกาย
ทาผม มารยาทท่ าทาง ฯลฯ

*Cross-dressing คนที่ cross dress ไม่ จาเป็ นต้ องเป็ น


transgender
SEXUALITY – เพศวิถ ี
วิถีชีวิตทางเพศที่ถูกหลอมสร้ างจากค่ านิยม บรรทัดฐาน และระบบวิธีคดิ
วิธีปฏิบัตทิ ่ เี กี่ยวกับความปรารถนาและการแสดงออกทางเพศ ความคิดเกี่ยวกับ
คู่รัก คู่ชีวิตในอุดมคติและกามกิจ
SEXUAL ORIENTATION
Sexual orientation หมายถึง ความดึงดูดทางอารมณ์และทางเพศ ที่ปัจเจกบุคคล มีต่อเพศหนึ่ง
ๆ เช่น ชาย หรื อ หญิง
Sexual orientation สามารถแบ่งคร่าวๆ ได้ คือ
1. Heterosexuality คนที่ชอบคนเพศตรงข้ ามกับเพศกาเนิด
2. Homosexuality คนที่ขอบคนเพศเดียวกันกับเพศกาเนิด
3. Bisexuality คนที่ชอบคนทั ้งสองเพศ ทั ้งเพศตรงข้ าม และเพศเดียวกันกับเพศกาเนิด
4. Asexuality คนที่ไม่ชอบเพศใดเลย

Heterosexual – straight
Homosexual – gay
ปั จจุบันวิทยาศาสตร์ ยังไม่ สามารถสรุ ปได้ ว่า ทาไมแต่ ละคนถึงมี sexual
orientation ต่ างกันไป ปั จจัยที่ศึกษามีทงั ้ genetic, hormonal,
social, cultural etc.
แต่ ว่า คนที่มีเพศวิถี homosexual และ bisexual มักถูก
discriminate จาก stereotype ต่ าง ๆ
Homophobia หมายถึงความรู้ สึกเกลียดกลัวต่ อคนหลากหลายทางเพศที่
เกิดขึน้ อย่ างไม่ มีเหตุผล
GENDER AND SOCIALIZATION
การเรี ยนรู้ เกี่ยวกับเพศภาวะ ของมนุษย์ ถูกทาผ่ าน socialization ที่สอนให้ มนุษย์ ประพฤติตาม
social norms
เด็ก ๆ เรี ยนรู้ ตงั ้ แต่ ยังเล็ก ว่ ามีความคาดหวังที่แตกต่ างกันระหว่ าง เด็กชาย กับเด็กหญิง ตัง้ แต่ อายุ
ประมาณ 2-3 ปี
ประมาณ 4-5 ปี เด็กเริ่มเข้ าสู่ gender role ที่ถกู กาหนดโดยวัฒนธรรม
เด็ก ๆ เข้ าสู่ gender role ผ่ านกระบวนการ socialization ซึ่งเป็ นกระบวนการทีคนเรี ยนรู้ท่ ี
จะประพฤติตนในรู ปแบบเฉพาะ ซึ่งกาหนดโดยค่ านิยมของสังคม ความเชื่อ ทัศนคติ ฯลฯ
ผู้ชาย มักจะเชื่อมโยงกับ ความแข็งแรง ความก้ าวร้ าว
ผู้หญิง มักจะเชื่อมโยงกับ ความเฉื่อยชา การดูแล ความเชื่อฟั ง ความรั บผิดชอบต่ าง ๆในบ้ าน
Example: การขี่มอเตอร์ ไซค์ มักถูกมองว่ า เป็ นกิจกรรมที่ masculine ซึ่งผูกโยงกับ male
gender role ทัศนคติของสังคมในรูปแบบนีม้ ักผูกโยงกับ stereotype / เช่ น ผู้หญิงขีก้ ลัว
อ่ อนแอกว่ าผู้ชาย ไม่ ควรขี่มอเตอร์ ไซค์
https://www.smithsonianmag.com/arts-culture/when-did-girls-start-wearing-pink-
1370097/
The march toward gender-specific clothes was neither linear nor rapid. Pink and blue arrived,
along with other pastels, as colors for babies in the mid-19th century, yet the two colors were
not promoted as gender signifiers until just before World War I—and even then, it took time for
popular culture to sort things out.

In 1927, Time magazine printed a chart showing sex-appropriate colors for girls and boys
according to leading U.S. stores. In Boston, Filene’s told parents to dress boys in pink. So did
Best & Co. in New York City, Halle’s in Cleveland and Marshall Field in Chicago.

Today’s color dictate wasn’t established until the 1940s, as a result of Americans’ preferences
as interpreted by manufacturers and retailers. “It could have gone the other way,”
SCIENTIFIC
RESEARCH
งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ส่วนหนึ่ง เสนอว่ ามีความแตกต่ างทาง พันธุกรรม และ
ระบบประสาทระหว่ าง หญิง และชาย
วิทยาศาสตร์ พนั ธุกรรม และประสาทวิทยา เสนอว่ า ฮอร์ โมนมีส่วนในการ
กาหนดการทางานของสมองซึ่งส่ งผลต่ อพฤติกรรมที่แตกต่ างระหว่ างพฤติกรรมของ
หญิง และชาย
ผู้หญิง – verbal, co-operative, organized
ผู้ชาย – spatial, mathematical motor skills
ผู้หญิงและผู้ชาย ใช้ สมองแตกต่ างกัน สมองมีการเชื่อมต่ อต่ างกัน
มนุษย์ ไม่ ได้ เกิดมาแบบว่ างเปล่ า ที่สามารถจะเป็ นอะไรก็ได้
เราไม่ สามารถปรับแต่ งให้ เราเป็ นอะไรก็ได้ มีส่ งิ ที่เราสามารถเปลี่ยนได้ และสิ่งที่เรา
เปลี่ยนไม่ ได้
สิ่งที่เราปรับแต่ งได้ เกี่ยวกับเรื่องเพศ – ปั จจัยด้ านสังคม วัฒนธรรม
SEXISM
Gender stereotypes เป็ นรากฐานของ sexism (การกีดกันทางเพศ)

การกีดกันทางเพศ หมายถึงการแบ่ งแยกทางเพศและเลือกที่รักมักที่ชงั ต่ อเพศใดเพศหนึ่ง แต่ ส่วนใหญ่ จะมี


ผลกระทบต่ อผู้หญิงและเด็กหญิง และถูกเชื่อมโยงกับค่ านิยมและบทบาททางเพศ และอาจรวมถึงความเชื่อ
ที่ว่าเพศหนึ่งมีความเหนือกว่ าอีกเพศ การกีดกันทางเพศที่รุนแรงอาจส่ งเสริมการคุกคามทางเพศ การข่ มขืน
และความรุ นแรงทางเพศรู ปแบบอื่น ๆ

ในหลายๆที่ในโลก ผู้หญิงถูกให้ ค่าน้ อยกว่ า ส่ งผลกระทบต่ อการเข้ าถึงอาหาร การรั กษาสุขภาพ การศึกษา
และเมื่อโตมาก็จะทาให้ เชื่อว่ าตัวเองสมควรที่จะได้ รับการปฏิบัตติ ่ างจากผู้ชาย

การเหยียดเพศเกิดได้ ในหลายระดับ ทัง้ ระดับย่ อย และระดับใหญ่


GENDER SOCIALIZATION
กระทาผ่ านสถาบันทางสังคมในรูปแบบต่ าง ๆ เช่ น ครอบครัว สถาบันการศึกษา
กลุ่มสังคม และสื่อมวลชน
แต่ ละสถาบันสร้ างเสริม gender role โดยการสร้ างและรักษาให้ คงเดิม ความ
คาดหวังต่ อพฤติกรรมของคนแต่ ละเพศ ตามบรรทัดฐานของสังคม
นอกจากนีย้ ังมีสถาบันอื่นๆ เช่ นศาสนา หรือ ที่ทางาน
การเปิ ดรับ socialization ซา้ ๆ ก็จะทาให้ คนรู้ สึกว่ าตนเอง ประพฤติตนตาม
ธรรมชาติ มากกว่ าประพฤติตนตามบทบาทที่ถูกประกอบสร้ างโดยสังคม
MASS MEDIA
สื่อมวลชน เป็ น agent หนึ่งที่สาคัญในกระบวนการ gender socialization
ทาหน้ าที่กาหนดบทบาททางเพศ เช่ น ในโทรทัศน์ ผู้หญิงมักถูกสาเสนอในแง่ ของความ
เป็ น แม่ , เมีย

งานวิจัยด้ านสื่อในหลายวัฒนธรรม – เมื่อผู้หญิงได้ รับบทบาทนา บทบาทมักจะเป็ นไป


ในทางสุดโต่ ง 2 แนวทาง
a wholesome, saint-like figure
a malevolent, hypersexual figure
MADONNA AND THE WHORE
โฆษณาโทรทัศน์ ก็อาจทาหน้ าที่เสริมสร้ าง ความไม่ เท่ าเทียม gender
stereotype ได้ เช่ น ผู้หญิงมักถูก เชื่อมโยงกับโฆษณาสินค้ าของใช้ ใน
บ้ าน หรื อสินค้ าที่เกี่ยวข้ องกับการทางานบ้ าน การเลีย้ งดูเด็ก

ผู้หญิงมักถูกนาเสนอค่ อนข้ างน้ อยในบทบาทที่เกี่ยวข้ องกับการเป็ นผู้นา


ความฉลาด มีความมั่นคงทางจิตใจอารมณ์
THE SLENDER BODY

https://www.youtube.com/watch?v=Raj5NvvCmLQ
SOCIAL STRATIFICATION
AND INEQUALITY
GENDER PAY GAP
FEMINISM
The core of feminism is the belief that women are subordinated to
men in Western culture. Feminism seeks to liberate women from
this subordination and to reconstruct society in such a way that
partriarchy eliminated and a culture created that is fully inclusive
of women’s desires and purposes.

Feminisism มีหลายแนวคิด เช่ น


Liberal feminism ความแตกต่ างของ ผู้ชายและผู้หญิงเป็ นผลจากเศรษฐกิจสังคมวัฒนธรรม
มากกว่ า ทาชีววิทยา ต้ องการเรี ยกร้ องความเท่ าเทียมและโอกาส
Difference feminism ผู้หญิงและผู้ชายมีความแตกต่ างกันโดยเนือ้ แท้ ต้ องการนาเสนออานาจ
และคุณค่ าของผู้หญิง
Black and postcolonial feminism เพศภาวะเชื่อมโยงกับเชือ้ ชาติ ชาติพันธุ์ สัญชาติ และ
ส่ งผลต่ อความแตกต่ างของความเป็ นผู้หญิง ผู้หญิงในอาณานิคม โดนกดทับโดย เจ้ าอาณานิคมและผู้ชาย
Poststructuralist feminism sex & gender เป็ นการประกอบสร้ างทางสังคม
วัฒนธรรม
FEMINISM
First wave – ศตวรรษที่ 19 ถึงกลาง ศตวรรษที่ 20 มุ่งเรียกร้ องสิทธิใน
การออกเสียงเลือกตัง้ ของผู้หญิง สิทธิในการถือครองที่ดนิ สิทธิในการเป็ นตัวแทน
ทางการเมือง

Second wave – 1960s – 1980s เน้ นการลดความไม่ เท่ าเทียมกัน


ในเรื่องเทศวิถี ความสัมพันธ์ ในครอบครัว ทาทางาน สิทธิในการทาแท้ ง ความไม่
เท่ าเทียมทางกฎหมาย ฯลฯ

Third wave – 1990s – 2008 เน้ นความเป็ นปั จเจกชนนิยม และความ


หลากลาย
PATRIARCHY

A system of society or government in which men hold the power


and women are largely excluded from it.
PROBLEMATIC
MASCULINITY
ในระบอบปิ ตาธิปไตย ผู้ชายเองก็มีปัญหาเช่ นกัน
Masculinity มีหลายรูปแบบ
ในแนวคิดแบบขนบ masculinity = stregth power action
control
ตัง้ แต่ ยุค enlightenment ผู้ชายเชื่อมโยงกับความเป็ นเหตุเป็ นผล การควบคุม
self-discipline
การแบ่ งงานกันทา (division of labour) ผู้ชายเป็ นคนหารายได้ เข้ าครัวเรื อน
ผู้หญิงทางานบ้ านดูแลลูก
Feminine-coded private vs Masculine coded public
ผู้ชายถูกสอนให้ ม่ ุงหาความสาเร็จ ความสาคัญ ผ่ าน public performance /
grandiosity
PROBLEMATIC
MASCULINITY
Warren Farrel (1993) men are the ‘disposable
gender’
- ตายในสงคราม มากกว่ าผู้หญิง
- เป็ นเหยื่อของความรุ นแรง / การทางานหนัก และ ความเจ็บป่ วยทางจิตใจ
- เป็ นผู้กระทาความรุ นแรงต่ าง ๆ มากกว่ าผู้หญิง
- ฆ่ าตัวตายมากกว่ าผู้หญิง
- ตกอยู่ในความเครียดของ สภาวะการแข่ งขัน
- ความเฉื่อยชาทางอารมณ์
- การติดยา ติดเหล้ า
- ภาพของ masculinity ที่ผ้ ูชายต้ องพยายาม รักษาไว้ แต่ ไม่ ใช่ ทุกคนจะ
สามารถ perform ได้ ทุกอย่ าง
MADONNA
การแก้ ไข ภาพเสนอของ gender & sexuality
Destabilize gender norms
E. Ann Kaplan (1992) “Feminist Criticism
and Television”
Madonna – ‘alter gender relations and to
destablize gender altogehter’
- Empower woman by exhorting them to
take control of their lives
- Blurring boundaries of masculinity and
femininity
- https://www.youtube.com/watch?v=GsVc
UzP_O_8
RAUNCH CULTURE

Raunch advocates sexual provocativeness and promiscuousness


by women as women
Celebrates sexual objectification and physicality
Rights to obectify sexuality like a man
Opposed to the more traditional feminist case against sexually
explicit material such as pornography

Traditional feminist – pornography as a form of female oppression


/ acts in objectifying women

นักศึกษาคิดว่า Raunch culture สนับสนุน หรื อ ลดคุณค่าของผู้หญิง ?

นักศึกษาคิดว่า การนาเสนอด้ วยวิธีการแบบใดสามารถลดทอน gender role


แบบเดิม ได้ ?

คาถามสาคัญ
Representation of women is a politics
What matters is how women are represented with what
consequences rather than the truth or accuracy of representation
GENDER
STRATIFICATION

https://www.youtube.com/watch?v=Yb1_4FPtzrI
SEXUALITY
Sexual attitudes and practices
เป็ นเรื่องสาคัญของมนุษย์ เพราะมนุษย์ มีความสัมพันธ์ ทางเพศ ตลอดไม่ ว่าจะยุค
ไหน หรือที่ใด
แต่ ละสังคมมีการตีความ sexuality และ sexual activity ที่แตกต่ าง
กัน
หลายสังคมในโลก มอง premarital sex – การมีเพศสัมพันธ์ ก่อนแต่ งงาน
แตกต่ างกัน
Age of sexual consent แตกต่ างกัน
Homosexuality แตกต่ างกัน
Masturbation & sexual behaviours แตกต่ างกัน
Monogamy / Polygamy
แต่ ละสังคม มีบรรทัดฐาน ที่เกี่ยวกับด้ านเพศแตกต่ างกัน
Female genital mutilation
เรียกได้ ว่าระบบ “ผัวเดียวหลายเมีย” เป็ นระบบที่มีในสังคมไทยสมัยก่ อนมีมาเป็ นเวลานานแล้ ว ใน
กฏหมาย “พระไอยการลักษณะผัวเมีย” ได้ กล่ าวถึงประเภทของเมียไว้ ถงึ 3 ประเภท
1. เมียกลางเมือง หมายถึง หญิงอันบิดามารดากุมมือให้ เป็ นเมียชายหรื อภรรยาหลวง แต่ ไม่
จาเป็ นต้ องเป็ นภรรยาที่พ่อแม่ จะยกให้ เสมอไปการจะได้ เป็ นภรรยาหลวงหรือไม่ ขนึ ้ อยู่กับชาย สามี
จะยกย่ องให้ เป็ นภรรยาชัน้ ใดหญิงนัน้ ก็เป็ นภรรยาชัน้ นัน้
2. เมียกลางนอก หมายถึง อนุภรรยาหรื อเมียน้ อย
3. เมียกลางทาษี หรื อทาสภรรยา หมายถึง หญิงที่มีทกุ ข์ยากชายไถ่ตวั มาเลี ้ยงให้ เป็ นภรรยา หรื ออาจรวมถึงหญิง
ที่ถกู ฉุดคร่ ามาเป็ นเมียและทาสรับใช้่
Prior to October 1, 1935 polygamy freely practiced in Thailand. The
old family law classified wives into three categories, according to the
way they become wives.(
CULTURAL HISTORY
OF MASTURBATION
Thomas W Laqueur
Before the early 1700s, Laqueur argues,
masturbation was not a subject of great
interest or speculation.
In Greek and Latin art and literature
masturbation and masturbators are
portrayed, if at all, as either comic or
pathetic
One of the precepts of Tantra, however, is that a man should
refrain from ejaculation in order to provide a better experience for
a woman during lovemaking.
Laqueur traces the prohibition
of masturbation to a tract
entitled “Onania; or, The
Heinous Sin of Self Pollution,
and all its Frightful
Consequences.”
Published anonymously in 1724
in notoriously Puritan Boston, it
repeated the same erroneous
reading of the Old Testament
passage.
During the Enlightenment,
masturbation became a grave
concern
Fear of masturbation grew to hysterical
proportions in Victorian England. Men
wore chastity belts or even spiked
rings on their penises (with the spikes
facing inward) to ward off temptation.
In the 1940s and 50s, Dr. Alfred Kinsey
established masturbation as a normal
adult activity.
A 2003 Australian study even showed that
men who “wanked” had a lower risk of
prostate cancer. For women, the door’s
been thrown wide as well. Masturbation
is good for you.
สิ่งที่นบั ว่าเป็ น “ปกติ” ก็คือ สิ่งที่สอดคล้ องกับ ประเพณี และคุณค่าของแต่ละสังคม
ซึง่ ประเพณี และคุณค่า แตกต่างกันออกไปตาม place & time
เช่น สังคมที่ให้ คณ
ุ ค่ากับ Monogamy ก็จะ ไม่เห็นด้ วยกับ extramarital
sex
ปั จเจกบุคคล ถูก socialize ในเรื่ องทัศนคติทางเพศ จากครอบครัว ระบบ
การศึกษา สังคมคนรู้จกั สื่อ และศาสนา
บทบาทของเพศวิถี เกี่ยวข้ องกับการจัดลาดับชันทางสั
้ งคม ความสัมพันธ์เชิงอานาจ
วิธีการที่เพศวิถีถกู ประกอบสร้ างขึ ้นส่งผลต่อการรับรู้ การกระทา สุขภาพ และผลด้ าน
อื่นๆ
QUEER THEORY
เป็ น term ที่เกิดขึน้ ในช่ วง 1990 - Teresa de Lauretis
ท้ าทายความรู้กระแสกหลักที่ตกผลึกอยูใ่ นวงการเกย์เลสเบี ้ยนศึกษาในช่วงเวลานั ้น เนื่องจากนักต่อสู้และ
นักวิชาการเพื่อสิทธิเกย์เลสเบี ้ยนมองความจริงเรื่ องเพศในแบบประจักษ์ นิยม มองอัตลักษณ์ทางเพศเป็ นแก่แท้
ในตัวเอง ซึง่ เป็ นเรื่ องอันตรายต่อการทาความเข้ าใจว่าอะไรคือเพศที่ถกู สร้ างขึ ้น ลอเรติสได้ เสนอให้ ทบทวน
กระบวนทัศน์และกรอบความคิดทฤษฎีที่ครอบงาการศึกษาเกย์เลสเบี ้ยนในตะวันตก เพราะภายใต้ การศึกษา
ดังกล่าวมีความเหลื่อมล ้าระหว่างชนชั ้นของเกย์เลสเบี ้ยนเกิดขึ ้น

เควียร์ และกระบวนทัศน์หลังยุคสมัยใหม่ (Postmodern Paradigm) ได้ ตั ้งข้ อสังเกตและตั ้ง


คาถามต่อการจัดระเบียบคู่ตรงข้ ามว่าทาให้ เกิดการแบ่งแยกกีดกันทางสังคมใช่หรื อไม่ เพราะการสร้ างระบบ
คู่ตรงข้ ามจะมาพร้ อมกับการจัดช่วงชั ้น ซึง่ จะมีด้านหนึ่งดีกว่าอีกด้ านหนึ่ง เช่น การจัดประเภทของเพศตาม
สรี ระ เพศชายจะถูกยกให้ เหนือกว่าเพศหญิง เพศชายจะเปรี ยบเสมือนความแข็งแรง ส่วนเพศหญิงคือความ
อ่อนแอ การจัดเพศภาวะแบบนี ้ถูกวิจารณ์จากแนวคิดสตรี นิยมหรื อเฟมินิสต์ว่าเป็ นอคติของสังคมที่ปกครอง
โดยผู้ชาย ผู้หญิงจึงถูกมองในเชิงลบและถูกปิ ดกั ้นจากสังคม
เควียร์ ตั ้งคาถามต่อไปว่า อะไรที่ทาให้ ความรู้วิทยาศาสตร์ กลายเป็ นอานาจในการชี ้นาสังคม เควียร์ อธิบายว่าใน
สังคมตะวันตกช่วงการปฏิวตั ิอตุ สาหกรรมเป็ นต้ นมา ระบบทุนนิยมและอุดมการณ์ประชาธิปไตยต้ องการจัดระเบียบ
ความสัมพันธ์ทางเพศของมนุษย์ให้ สอดคล้ องกับวิถีการผลิตและการสร้ างครอบครัวที่รองรับการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจ ทาให้ เพศสรี ระหญิงชายกลายเป็ นสิง่ ที่ตดั สินอารมณ์ปรารถนาทางเพศ การจับคู่เพศหญิงเพศชายเพื่อ
ตอบสนองการสร้ างครอบครัวและการมีบตุ รเป็ นอุดมการณ์ของทุนนิยมสมัยใหม่ที่สอดคล้ องกับคาสอนในคริสต์
ศาสนา วัฒนธรรมตะวันตกจึงให้ ความหมายต่อเพศสัมพันธ์ระหว่างหญิงชายว่าเป็ นสิง่ ที่ถกู ต้ องและเป็ น
ธรรมชาติ บรรทัดฐานของรักต่างเพศ (Heteronormativity) (Warner 1998) จึงมีความเข้ มแข็ง
และมีอานาจในการจัดระเบียบสังคม คู่ความสัมพันธ์ทางเพศที่ไม่สอดคล้ องกับการสร้ างครอบครัวและการมีบตุ รจะ
ถูกปฏิเสธ และถูกดูหมิน่ เหยียดหยาม

เควียร์ ชี ้ให้ เห็นว่าสังคมตะวันตกเติบโตมาพร้ อมกับความรู้แบบวิทยาศาสตร์ และคริสต์ศาสนา และใช้ ระบบทุนนิยม


ในการพัฒนาเศรษฐกิจ ใช้ ระบอบประชาธิปไตยในการปกครองสังคม อุดมการณ์เหล่านี ้ล้ วนมาจากบรรทัดฐานรัก
ต่างเพศแทบทั ้งสิ ้น ดังนั ้น ไม่ว่าจะขุดคุ้ยหาปมปั ญหาของอคติทางเพศ เชื ้อชาติ ศาสนา ชนชั ้น และฐานะทางสังคม
ก็จะพบบรรทัดฐานของรักต่างเพศและการสร้ างเพศภาวะคู่ตรงข้ ามแบบหญิงชายเป็ นต้ นตอของปั ญหาต่างๆ
(Butler, 2004)

http://www.sac.or.th/databases/anthropology-concepts/articles/5
สรุป
Sex – เพศสรีระ โดยกาเนิด ลักษณะทางกายภาพ ชีววิทยา
Gender เพศภาวะ ความหมายเชิงสังคม วัฒนธรรม masculinity &
femininity
Sexuality – วิธีปฏิบัตเิ กี่ยวกับการแสดงออกความปรารถนาทางเพศ
เรื่องเพศมีหลายมิติ ที่ต้องทาความเข้ าใจ
Sex – เลือกไม่ ได้ แต่ สามารถใช้ วิธีการทางการแพทย์ เปลี่ยนแปลงภายหลังได้
Gender – เกิดจากการ socialization การเรียนรู้ทางวัฒนธรรมผ่ านสถาบัน
ทางสังคมต่ าง ๆ
Sexuality – ความ “ปกติ” ขึน้ อยู่กับบรรทัดฐานของแต่ ละสังคม
แต่ ละสังคม (สถานที่) มีบรรทัดฐานทางเพศวิถีท่ แี ตกต่ างกัน
แต่ ละยุคสมัย ก็มีบรรทัดฐานทางเพศวิถีท่ แี ตกต่ างกันไป
การแบ่ งขัว้ ตรงข้ าม ชาย - หญิง เป็ นการตัง้ กรอบที่คับแคบ และทาให้ เกิดการกด
ทับกับคนจานวนมากที่ ไม่ สามารถ conform ตามบรรทัดฐาน
ชาย – live up masculine expectation
หญิง – ถูกทาให้ มีสถานะต่ากว่ า ผูกติดกับภาระงานในบ้ าน การเลีย้ งดูเด็ก / วัตถุ
ทางเพศ ต้ องสวย ผอม อ่ อนเยาว์
เพศหลากหลาย – stereotype มองว่ า ผิดปกติ / ผิดบรรทัดฐานของสังคม

การนาเสนอเรื่องเพศในสื่อ Popular culture อาจไม่ จาเป็ นต้ องนาเสนอ


ถูกต้ องตามความเป็ นจริง แต่ จะต้ องดูเรื่ อง politics ของการนาเสนอว่ า ทาให้
เกิดผลอะไรตามมา
เพราะว่ าจะทาให้ เกิดการ socialization และส่ งอิทธิพลต่ อคน ความคิด
ความเชื่อ และผลอื่นๆ ต่ อไป

You might also like