Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

ค.ศ.1646 – ค.ศ.

1716

กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ


Gottfried Wilhelm von Leibniz
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ ก

คำนำ
รายงานเล่มนี้เป็นส่วนหนึง่ ของรายวิชา ประวัตแิ ละพัฒนาการทางคณิตศาสตร์ History and Development
of Mathematics เป็นเนือ้ เกีย่ วกับทางวิชาการในเรือ่ งประวัตขิ องนักคณิตศาสตร์ กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ
(Gottfried Wilhelm von Leibniz) รายงานเล่มนีเ้ น้นการสร้างความรูแ้ ละคำอธิบายเกีย่ วกับประวัตคิ วามเป็นมาและ
ผลงานของกอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ (Gottfried Wilhelm von Leibniz)
ผูจ้ ดั ทำขอขอบคุณผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดวงกมล กิจควร ทีไ่ ด้ชว่ ยให้คำแนะนำ ความรู้ แนวทางการศึกษา
ในการจัดทำแฟ้มสะสมผลงานเล่มนีจ้ นสำเร็จ หากมีขอ้ ผิดพลาดประการใด ขออภัย มา ณ ทีน่ ี้ดว้ ย

ปรียนันท์ สันรัมย์
ผูจ้ ดั ทำ
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ ข

01 ประวัต.ิ ..…………...2
สารบัญ ชีวิตในวัยเด็ก ...………...2

เด็กอัจฉริยะจบดอกเตอร์ดว้ ยวัยแค่ 20 ปี...………….3


ชีวิตส่วนตัว ...………….......……………………....4
ความตาย ...………….......……………………....4

02 ผลงาน ...…………...5
วิชาแคลคูลสั .......…….....5

สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์...…………………………..7
ระบบเลขฐานสอง...………….......…………………...10

เรขาคณิต...………….....……………………....10
เครือ่ งคิดเลข...……………………………….….11
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 1 กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นซิ
(Gottfried Wilhelm von Leibniz)

ไลบ์นซิ Leibniz (ค.ศ.1646 – ค.ศ.1716)


เกิด: วันที่ 1 กรกฎาคม ค.ศ. 1646
ในเมืองไลป์ซิก ประเทศเยอรมนี
เสียชีวติ : วันที่ 14 พฤศจิกายน 1716 (70 ปี)
ในเมืองฮันโนเวอร์
สัญชาติ: เยอรมัน
เป็นนักปรัชญา, นักวิทยาศาสตร์, นักคณิตศาสตร์,
นักการทูต, บรรณารักษ์ และ นักกฎหมาย
ลายเซ็น:
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 2

ประวัติ ชีวติ ในวัยเด็ก


Gottfried Leibniz เกิดเมือ่ วันที่ 1 กรกฎาคม 1646,
กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นซิ ในช่วงท้ายของสงครามสามสิบปีในไลพ์ซกิ ,แซกโซนี
(Gottfried Wilhelm Leibniz) นักปรัชญาและ จะฟรีดริช ไลบ์นซิ และแคธารี Schmuck ฟรีดริชกล่าว
นักคณิตศาสตร์ ผูเ้ ป็นพหูสตู ทีโ่ ดดเด่นแห่ง ไว้ในบันทึกประจำครอบครัวของเขา:
ศตวรรษที่ 17 หนึง่ ในเสาหลักของนัก 21. Juny am Sontag 1646 Ist mein Sohn Gottfried
ปรัชญากลุม่ เหตุผลนิยม (Rationalism) Wilhelm โพสต์ sextam vespertinam 1/4 uff 7 uhr
ไลบ์นซิ มีผลงานหลากหลากครอบคลุมทัง้ abents zur welt gebohren im Wassermann
วิชาปรัชญา คณิตศาสตร์ ฟิสกิ ส์ และ เป็นภาษาอังกฤษ:
วิทยาศาสตร์อกี หลายสาขา รวมทัง้ เป็นนัก เมือ่ วันอาทิตย์ที่ 21 มิถนุ ายน [ NS : 1 กรกฎาคม]
ประดิษฐ์คนสำคัญ เขาเป็นผู้คดิ ค้นระบบ ค.ศ. 1646 กอตต์ฟรีดวิลเฮล์มลูกชายของฉันเกิดมา
เลขฐานสองอันเป็นพืน้ ฐานการทำงานของ ในโลกหนึง่ ในสี่ ก่อนเจ็ดโมงเย็นในราศีกมุ ภ์
คอมพิวเตอร์และเป็นคนแรกทีใ่ ช้คำว่า พ่อของไลบ์นซิ เคยเป็นศาสตราจารย์ดา้ นปรัชญา
“ฟังก์ชนั ” รวมทัง้ ยังเป็นผูร้ เิ ริม่ ใช้สญ
ั ลักษณ์ คุณธรรมทีม่ หาวิทยาลัยไลพ์ซกิ และต่อมาเด็กชายก็
และเครือ่ งหมายต่าง ๆในวิชาคณิตศาสตร์ สืบทอดห้องสมุดส่วนตัวของพ่อ เขาได้รบั การเข้าถึง
หลายอย่าง แต่ผลงานทีส่ ำคัญทีส่ ดุ คือการ ฟรีตงั้ แต่อายุเจ็ดขวบ ในขณะทีก่ ารเรียนของ Leibniz
คิดค้นพัฒนาวิชาแคลคูลสั ซึง่ มีสว่ นทำให้วชิ า ถูกกักตัวไว้สว่ นใหญ่ให้กบั การศึกษาของขนาดเล็กศีล
คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์มี ของเจ้าหน้าทีห่ อ้ งสมุดของพ่อของเขาทำให้เขา
ความก้าวหน้าอย่างมาก สามารถศึกษาความหลากหลายของขัน้ สูงปรัชญา
และเทววิทยาผลงานคนทีว่ า่ เขาจะไม่ได้รบั อย่างอืน่
สามารถอ่านจนถึงปีวทิ ยาลัยของเขา [24]การเข้าถึง
ห้องสมุดของพ่อของเขาทีเ่ ขียนส่วนใหญ่อยูใ่ นลาติน
ยังนำไปสูค่ วามสามารถของเขาในภาษาละตินซึง่ เขา
ประสบความสำเร็จโดยอายุ 12 นอกจากนีเ้ ขายัง
ประกอบด้วย 300 hexameters ของบทกวีภาษา
ละตินในเช้าวันเดียวสำหรับการพิเศษ เหตุการณ์ที่
โรงเรียนตอนอายุ 13
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 3
ประวัติ
เด็กอัจฉริยะจบดอกเตอร์ดว้ ยวัยแค่ 20 ปี

กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นซิ เป็นชาวเยอรมัน


เกิดเมือ่ ปี 1646 ทีเ่ มืองไลป์ซกิ ทางด้านตะวันออก
ของประเทศเยอรมัน พ่อของเขาซึง่ นักกฎหมาย
และอาจารย์ดา้ นปรัชญาศีลธรรมที่
มหาวิทยาลัยไลป์ซกิ เสียชีวติ ไปเมือ่ ตอนเขา
อายุ 6 ปี เขาจึงเติบโตภายใต้การเลีย้ งดูของแม่
ผูซ้ งึ่ ได้รบั การศึกษามาอย่างดีและอุทศิ ตนเพือ่
การศึกษาของลูกชายอย่างเต็มที่ ไลบ์นซิ เริม่
เรียนหนังสือเมือ่ อายุ 7 ปีทโี่ รงเรียนในเมือง
ไลป์ซกิ เหมือนเด็กวัยเดียวกัน แต่ทแี่ ตกต่างคือ
เขามีหอ้ งสมุดส่วนตัวของพ่อทีเ่ ต็มไปด้วยหนังสือ
มากมายซึง่ ส่วนใหญ่เขียนในภาษาละติน
เขาได้รบั การสอนภาษาละตินทีโ่ รงเรียนและมาศึกษาเพิม่ เติมทีห่ อ้ งสมุดส่วนตัวจนเชีย่ วชาญ
และกลายเป็นปัจจัยสำคัญทีท่ ำให้เขาประสบความสำเร็จในการศึกษาปี 1661 ขณะอายุ 14 ปี
ปีไลบ์นซิ สมัครเข้าเรียนทีม่ หาวิทยาลัยไลป์ซกิ ถิน่ เก่าของพ่อ เขาเรียนจบปริญญาตรีสาขา
ปรัชญาเมือ่ ปลายปี 1662 และอีกสองปีตอ่ มาเขาก็จบปริญญาโทในสาขาเดียวกัน จากนัน้ เขาหัน
ไปเรียนวิชากฎหมายและใช้เวลาเพียงปีเดียวก็สำเร็จระดับปริญญาตรี เป้าหมายถัดไปของไลบ์
นิซคือปริญญาเอกทางด้านกฎหมายและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกฎหมาย แต่เมือ่ สมัครเรียน
ทีม่ หาวิทยาลัยเดิมเขาก็ตอ้ งผิดหวังเพราะถูกปฏิเสธด้วยเหตุผลเขามีอายุนอ้ ยเกินไป เขาจึงไป
เข้าเรียนทีม่ หาวิทยาลัย Altdorf ในเมือง Nuremberg แทน ปลายปี 1666 ไลบ์นซิ ได้รบั ปริญญา
เอกด้านกฎหมายและใบอนุญาตประกอบวิชาชีพกฎหมายขณะมีอายุแค่ 20 ปีเท่านัน้
ประวัติ กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 4

ชีวติ ส่วนตัว

ไลบนิซไม่เคยแต่งงาน เขาบ่นเป็นครัง้ คราวเกีย่ วกับเงิน


แต่จำนวนเงินทีย่ ตุ ธิ รรม ทีเ่ ขาทิง้ ไว้ให้กบั ทายาทคนเดียวของเขา
ลูกเลีย้ งของน้องสาว ในทางกลับกันเขามีเสน่หม์ มี ารยาทดีและไม่
ปราศจากอารมณ์ขนั และจินตนาการ เขามีเพือ่ นและผูช้ นื่ ชมมากมาย
ทัว่ ยุโรปเขาระบุวา่ เป็นโปรเตสแตนต์และปรัชญานับถือ
ไลบ์นซิ ยังคงยึดมัน่ ในศาสนาคริสต์นกิ ายตรีนทิ าร์ตลอดชีวติ ของเขา

ความตาย

ไลบนิซเสียชีวติ ในฮันโนเวอร์ในปี พ.ศ. 2259


ในเวลานัน้ เขาไม่ชอบจอร์จที่ 1 (ซึง่ บังเอิญอยูใ่ กล้ฮนั โนเวอร์ในเวลานัน้ )
และข้าราชบริพารคนอืน่ นอกจากเลขานุการส่วนตัวของเขาเข้าร่วม
พิธศี พ แม้วา่ ไลบ์นซิ จะเป็นสมาชิกชีวติ ของ Royal Society และ
Berlin Academy of Sciences
แต่ทงั้ สององค์กรก็ไม่เห็นสมควรทีจ่ ะให้เกียรติ
การเสียชีวติ ของเขา หลุมฝังศพของเขาไม่มเี ครือ่ งหมาย
มานานกว่า 50 ปี Leibniz ได้รบั การยกย่องจาก Fontenelle
ก่อนที่ French Academy of Sciences ในปารีส
ซึง่ ยอมรับเขาในฐานะสมาชิกชาวต่างชาติในปี 1700
คำสรรเสริญนีแ้ ต่งขึน้ ตามคำสัง่ ของดัชเชสแห่งออร์เลอองส์
หลานสาวของนักเลือกตัง้ โซเฟีย
ผลงาน กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 5

ไลบ์นซิ มีผลงานอันเป็นพืน้ ฐานสำคัญครอบคลุมในหลายสาขาวิชาแต่ทโี่ ดดเด่นเป็นพิเศษ


คือผลงานด้านคณิตศาสตร์เพราะสิง่ ทีเ่ ขาคิดค้นเมือ่ กว่า 300 ปีกอ่ นยังคงถูกใช้งานมาถึงปัจจุบนั
และต่อไปนีค้ อื ส่วนหนึง่ ของผลงานสำคัญของเขา

วิชาแคลคูลัส

ไลบ์นซิ เริม่ มีแนวคิดเกี่ยวกับแคลคูลสั มาตัง้ แต่ปี 1674 เขา


คิดวิธหี าพืน้ ทีโ่ ดยการรวมพืน้ ทีเ่ ล็กๆเข้าด้วยกันและหาปริมาตรโดย
การรวมปริมาตรเล็กๆ รวมถึงการหาความยาวโดยการรวม
ความยาวท่อนสัน้ ๆ ไลบ์นซิ เรียกเทคนิคเหล่านี้วา่
calculus ก่อนจะพัฒนาจนสมบูรณ์และตีพมิ พ์
เผยแพร่ในปี 1684 วิชาแคลคูลสั ถูกพัฒนาอย่าง
ต่อเนือ่ งจนกลายเป็นหนึง่ ในสาขาวิชาคณิตศาสตร์ที่
สำคัญทีส่ ดุ และเป็นส่วนสำคัญทีท่ ำให้วทิ ยาศาสตร์
โดยเฉพาะฟิสกิ ส์เป็นวิชาทีท่ รงพลังมาก เพราะ
สามารถใช้แคลคูลสั ศึกษาปัญหาที่ยากและซับซ้อน
จากการมีหลายตัวแปรได้ดี การเผยแพร่วชิ า
แคลคูลสั ของไลบ์นซิ ก่อให้เกิดปัญหาใหญ่เมือ่ เขาถูก
กล่าวหาว่าขโมยแนวคิดเรือ่ งนีม้ าจาก Isaac Newton
นำไปสูก่ ารถกเถียงครัง้ ประวัติศาสตร์ดงั รายละเอียด
ต่อไปนี้
ผลงาน กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 6

วิชาแคลคูลัส

ซึง่ ในตอนนัน้ มีผคู้ ดิ ค้นขึน้ มา 2 คน คือ ไอแซก นิวตัน (Isaac Newton) ในปี 1665
และตีพมิ พ์ออกมาใน ปี 1704 และกอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ คิดค้นในปี 1673 และตีพมิ พ์
ออกมาในปี 1684 ซึง่ นิวตันได้ออกมาบอกว่า เขาเป็นผูค้ ดิ ค้นก่อน แต่ยงั ไม่ได้ตพี มิ พ์
ออกมา และเคยแชร์เรือ่ งนีใ้ ห้กบั เพือ่ นๆสมาชิกในราชสมาคมแล้ว ไลบ์นซิ ก็ยำ้ ว่าไม่เคยเห็น
หรืออ่านงานของนิวตันเลย แต่เนือ่ งจากนิวตันเป็นนักวิทยาศาสตร์ทมี่ ชี อื่ เสียงในสมัยนัน้
ทำให้ไลบ์นซิ ถูกประณามว่าขโมยผลงานของนิวตัน เมื่อเขาเสียชีวติ ในปี 1716 ด้วยวัย 70 ปี
จึงไม่ได้รบั การยกย่องเชิดชูเกียรติเท่าทีค่ วรขนาดหลุมฝังศพยังไม่มปี า้ ยชื่ออยูน่ านถึง 50 ปี
ทุกวันนีน้ กั ประวัตศิ าสตร์คณิตศาสตร์ได้เห็นพ้องกันว่าไลบ์นซิ และนิวตันคิดค้นแคลคูลสั
ขึน้ มาโดยไม่มใี ครลอกเลียนใคร และนิวตันคิดได้กอ่ นไลบ์นซิ ประมาณ 10 ปี (แต่ไม่ตพี มิ พ์)
แต่สัญลักษณ์และเครือ่ งหมายของไลบ์นซิ ได้รบั ความนิยมมากกว่า
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 7
ผลงาน

สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์

ไลบ์นซิ เป็นผูค้ ดิ ค้นริเริม่ ใช้ชอื่ สัญลักษณ์ และเครือ่ งหมายต่าง ๆในวิชาคณิตศาสตร์


ซึง่ นับว่าเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิชาคณิตศาสตร์อย่างมาก เขาเป็นคนแรกทีใ่ ช้ คำว่า
“ฟังก์ชนั ” สำหรับอธิบายปริมาณทีเ่ กีย่ วข้องกับเส้นโค้ง, ใช้วงเล็บในการแยกเทอมต่าง ๆ
ในวิชาพีชคณิต, ใช้จดุ แสดงการคูณแทนเครื่องหมายคูณทีม่ กั สับสนกับตัวอักษร x และการ
รูจ้ กั ใช้สญ
ั ลักษณ์ตา่ ง ๆทีก่ ระชับรัดกุมและสือ่ ความหมายดีนมี้ ผี ลให้ผลงานคณิตศาสตร์ใน
ยุโรปก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และปัจจุบนั สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ทเี่ ราใช้ในการแก้ปญ ั หา
ในวิชา แคลคูลสั

𝑑𝑦
𝑑𝑥 ∫
ℎሺ𝑥 ሻ = 𝑓ሺ𝑥 ሻ𝑔ሺ𝑥 ሻ
ℎ′ሺ𝑥ሻ = 𝑔ሺ𝑥 ሻ𝑓′ሺ𝑥 ሻ + 𝑓 ሺ𝑥 ሻ𝑔′ሺ𝑥 ሻ
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 8
ผลงาน
General Leibniz rule (กฎของไลบ์นซิ )

ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชนั ทีส่ ามารถหาอนุพนั ธ์ได้ n ครัง้ แล้วผลคูณของ f และ g ก็สามารถหา
อนุพนั ธ์ได้ n ครัง้ และอนุพนั ธ์อนั ดับที่ n หาได้จาก
𝒏
ሺ𝒏ሻ 𝒏
ሺ𝒇𝒈ሻ = ∑ ( ) 𝒇ሺ𝒏−𝒌ሻ 𝒈ሺ𝒌ሻ
𝒌
𝒌=𝟎

𝒏
𝒅𝒏 𝒏
𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ = ∑ ( ) 𝒇ሺ𝒏−𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ
𝒅𝒙 𝒏 𝒌
𝒌=𝟎

𝒏
𝒏
= ∑ ( ) 𝒇ሺ𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒏−𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ
𝒌
𝒌=𝟎

𝒏 𝒏!
โดยที่ : (𝒌) = 𝒌!ሺ𝒏−𝒌ሻ! คือสัมประสิทธิท์ วินาม

บทพิสจู น์กฎของไลบ์นซิ

เมือ่ n=1 กฎไลบ์นซิ จะกลายเป็นเพียงผลคูณสำหรับการหาอนุพนั ธ์


𝒏=𝟏
𝒅𝟏 𝟏
𝟏
𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ = ∑ ( ) 𝒇ሺ𝟏−𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ 𝒈ሺ𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ
𝒅𝒙 𝒌
𝒌=𝟎

𝟏 𝟏
= ( ) 𝒇ሺ𝟏ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝟎ሻ ሺ𝒙ሻ + ( ) 𝒇ሺ𝟎ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝟏ሻ ሺ𝒙ሻ
𝟎 𝟏
𝟏! 𝟏!
= 𝟎!ሺ𝟏−𝟎ሻ! 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝟏!ሺ𝟏−𝟏ሻ! 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ

= 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ

= 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ + 𝒈ሺ𝒙ሻ𝒇′ ሺ𝒙ሻ

ดังนั้น กฎของไลบ์นิซเป็นจริงสำหรับ n=1 นั่นคือ สูตรการหาอนุพนั ธ์ของผลคูณของฟังก์ชนั


กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 9
ผลงาน
การกำหนดอนุพนั ธ์อนั ดับที่ n ด้วยตนเองโดยใช้ผลคูณ

เราสามารถเห็นรูปแบบทีเ่ กิดขึน้ เมือ่ เราได้รบั อนุพนั ธ์ตอ่ เนือ่ งของผลิตภัณฑ์ของฟังก์ชนั


f และ g ด้วยตนเอง
ሺ𝒇𝒈ሻ′ ሺ𝒙ሻ = 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ

ሺ𝒇𝒈ሻ′′ ሺ𝒙ሻ = 𝒇′′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ + 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′′ ሺ𝒙ሻ

= 𝒇′′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝟐(𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ) + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′′ ሺ𝒙ሻ

ሺ𝒇𝒈ሻ′′′ ሺ𝒙ሻ = 𝒇′′′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝒇′′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ + 𝟐𝒇′′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ + 𝟐𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′′ ሺ𝒙ሻ + 𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′′ ሺ𝒙ሻ + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′′′ ሺ𝒙ሻ

= 𝒇′′′ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒙ሻ + 𝟑(𝒇′′ ሺ𝒙ሻ𝒈′ ሺ𝒙ሻ) + 𝟑(𝒇′ ሺ𝒙ሻ𝒈′′ ሺ𝒙ሻ) + 𝒇ሺ𝒙ሻ𝒈′′′ ሺ𝒙ሻ
.
.
.
.
𝒏 𝒏 𝒏
ሺ𝒇𝒈ሻሺ𝒏ሻ = ( ) 𝒇ሺ𝒏ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝟎ሻ ሺ𝒙ሻ + ( ) 𝒇ሺ𝒏−𝟏ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝟏ሻ ሺ𝒙ሻ + ⋯ + ( ) 𝒇ሺ𝒏−𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ
𝟎 𝟏 𝒌

𝒏
+ ⋯ + ( ) 𝒇ሺ𝟎ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒏ሻ ሺ𝒙ሻ
𝒏
𝒏
𝒏
= ∑ ( ) 𝒇ሺ𝒏−𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ𝒈ሺ𝒌ሻ ሺ𝒙ሻ
𝒌
𝒌=𝟎
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 10

ผลงาน
ระบบเลขฐานสอง

ไลบ์นซิ สนใจศึกษาและพัฒนาระบบเลขฐานสองเรือ่ ยมาจนสำเร็จสมบูรณ์ในปี 1679 แต่มา


ตีพมิ พ์ในปี 1701 ระบบเลขฐานสองทีเ่ ขาพัฒนาขึน้ นีก้ ลายเป็นพื้นฐานสำคัญของการทำงานของเครือ่ ง
คอมพิวเตอร์ระบบดิจิตอลในปัจจุบนั

เรขาคณิต

ไลบ์นซิ เสนอวิธหี าค่าของ 𝝅 (pi) ด้วยอนุกรมตามสูตรข้างล่าง สูตรการหาค่า 𝝅 มีการคิดค้น


กันมามากมายนับพันสูตร สูตรของไลบ์นซิ ทีเ่ รียกว่า Leibniz series นีจ้ ดั ว่าเป็นหนึง่ ในสูตรหาค่า 𝝅
ทีเ่ ข้าใจง่ายทีส่ ดุ

ไลบนิซเขียนว่าวงกลม "ส่วนใหญ่สามารถแสดงได้ดว้ ยชุดนีน้ นั่ คือผลรวมของเศษส่วนทีบ่ วก


และลบสลับกัน" อย่างไรก็ตามสูตรนีม้ คี วามถูกต้องเฉพาะกับคำศัพท์จำนวนมากโดยใช้ 10,000,000
𝝅
คำ เพือ่ ให้ได้คา่ ทีถ่ กู ต้องของ 𝟒 เป็นทศนิยม 8 ตำแหน่ง ไลบ์นซิ พยายามทีจ่ ะสร้างคำนิยามสำหรับ
เป็นเส้นตรงในขณะทีพ่ ยายามทีจ่ ะพิสจู น์สจั พจน์ขนาน ในขณะทีน่ กั คณิตศาสตร์สว่ นใหญ่กำหนดให้
เส้นตรงเป็นเส้นทีส่ นั้ ทีส่ ดุ ระหว่างสองจุด Leibniz เชือ่ ว่านีเ่ ป็นเพียงคุณสมบัตขิ องเส้นตรงมากกว่า
คำจำกัดความ
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 11
ผลงาน
เครือ่ งคิดเลข
ไลบ์นิซพัฒนาเครือ่ งคิดเลขต่อจากเครือ่ งของ
Pascal ที่ทำได้แค่บวกกับลบ เครือ่ งคิดเลขของไลบ์นซิ
เรียกว่า Stepped reckoner เป็นเครือ่ งคิดเลขทีส่ ามารถ
บวกลบคูณหารได้ครบเป็นเครือ่ งแรก นอกจากนีเ้ ขายัง
ประดิษฐ์อุปกรณ์ทเี่ รียกว่า Leibniz wheel ซึง่ ต่อมาถูก
นำไปใช้เป็นส่วนประกอบสำคัญในเครือ่ งคิดเลขรุน่ ใหม่ที่
เรียกว่า Arithmometer ซึง่ ถูกสร้างขึน้ หลังจากทีเ่ ขา
เสียชีวติ ไปแล้วกว่า 100 ปี
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 12

นอกจากนี้ ไลบ์นซิ ยังมีผลงานด้านอืน่ ๆอีกมากทัง้ ด้านฟิสกิ ส์, โทโปโลยี,


วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ, จิตวิทยา, ชีววิทยา, ประวัตศิ าสตร์, การเมือง รวมไปถึงการ
พัฒนาระบบฐานข้อมูลหนังสือในห้องสมุด เรียกได้ว่ามีผลงานครอบคลุมแทบทุก
สาขาวิชา และได้รบั การยกย่องให้เป็น

“อัจฉริยะครอบจักรวาลคนสุดท้ายของโลก”
กอทท์ฟรีด ไลบ์นซิ 13

บรรณานุกรม
อินทิรา สังข์อุดม.(2556).ประวัตนิ กั คณิตศาสตร์“ไลบ์นซิ ”.
จากเว็บไซต์ https://sites.google.com/site/kruinintira/lib-nis. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2564
Hmong.(2555). Gottfried Wilhelm ( ฟอน ) Leibniz
จากเว็บไซต์ https://hmong.in.th/wiki/Leibniz. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2564
Taking.(2563).กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ไลบ์นซิ พหูสตู แห่งศตวรรษที่ 17 ผูค้ ดิ ค้นวิชาแคลคูลสั
จากเว็บไซต์ https://www.takieng.com/stories/20415. สืบค้นเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2564

ผูจ้ ดั ทำ : นางสาวปรียนันท์ สันรัมย์ คณิตศาสตร์หมู่ 2 ปี 3 6214202007


THANK
YOU

กอทท์ฟรีด วิลเฮล์ม ฟอน ไลบ์นิซ


Gottfried Wilhelm von Leibniz

You might also like