หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 67

1

ส่วนที่ 1
ความนา

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น


พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) เป็นแผนหรือแนวทาง หรือข้อกาหนดของการ
จัดการศึกษาของโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต ที่จะใช้ในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
คุณภาพตามมาตรฐานที่กาหนดมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็ นคนดี มีป๎ญ ญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ
และประกอบอาชีพที่สุจริตตลอดจนการรู้จักอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณีท้องถิ่น โดยมุ่งหวังให้มีความสมบูรณ์
ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และสติป๎ญญา อีกทั้งมีความรู้และทักษะที่จาเป็นสาหรับการดารงชีวิต และมีคุณภาพได้
มาตรฐานสากลเพื่อการแข่งขันในยุคป๎จจุบัน
ดัง นั้น หลั กสู ตรสถานศึก ษาโรงเรี ยนเตรีย มอุ ด มป๊ อกกาแล็ ต พุท ธศั กราช ๒๕๖4 ตามหลั กสู ต ร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) จึงประกอบด้วยสาระสาคัญของ
หลักสูตรแกนกลาง สาระความรู้ที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท้อ งถิ่น และสาระสาคัญที่โรงเรียนพัฒนาเพิ่มเติม โดย
จัดเป็นสาระการเรียนรู้รายวิชาพื้นฐานตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู้เพิ่มเติม จัด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นรายปีในระดับประถมศึกษา และกาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของโรงเรียน
เตรี ยมอุ ดมป๊ อ กกาแล็ ต ๒๕๖4 ตามหลั กสู ต รการศึก ษาขั้ น พื้ นฐาน พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๑ (ฉบับ ปรับ ปรุ ง
พุทธศักราช ๒๕๖๐)

วิสัยทัศน์โรงเรียน
โรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ คุณธรรม มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย
และจิ ต ใจ มี จิ ต ส านึ ก ในความเป็ น พลเมื อ งไทย ยึ ด มั่ น ในการปกครองตามระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน ก้าวทันเทคโนโลยีที่ทันสมัย และน้อมนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามแนวพระราชดาริ มาเป็นหลักในการดาเนินชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
บนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ

พันธกิจโรงเรียน
1.จัดการศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและมาตรฐานการศึกษาชาติ
2. พัฒนาความก้าวหน้าของโรงเรียนโดยมุ่งพัฒนาเสริมสร้างเยาวชนให้มีความรู้ สุขภาพดี เป็นคนดี
คนเก่งมีความสุขในการเรียน มีคุณธรรม จริยธรรม อยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
3. พั ฒ นาการจั ด การเรี ย นรู้ โ ดยยึ ด ผู้ เ รี ย นเป็ น ส าคั ญ และมุ่ ง เน้ น ให้ ผู้ เ รี ย นมี ก ารคิ ด วิ เ คราะห์
สร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี
4. พัฒ นาและเตรี ยมความพร้อ มครู และผู้ เรียนให้สามารถใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู้ไ ด้อย่า ง
ก้าวหน้า
2

5. สร้างจิตสานึก และส่งเสริมให้บุคลากรปฏิบัติงานเต็มความรู้ความสามารถ เสียสละ และเห็นแก่


ประโยชน์ส่วนรวม

เป้าประสงค์โรงเรียน
1. ผู้เ รี ย นมี ความรู้ มีคุ ณธรรม สุข ภาพร่ างกายแข็ ง แรง สุ ขภาพจิต ที่ดี มี สุข นิสั ย มีค่ านิ ยมและ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
2. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทย ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
3. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา มีการคิดวิเคราะห์ สร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยี
4. มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย มีจิตสาธารณะมุ่งทาประโยชน์และสร้างสิ่ง
ที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
5. ครู นักเรียนและบุคลากรทุกคนสามารถประยุกต์ใช้สื่อและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕1 (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0) มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ ๕ ประการ
ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา
ถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ
ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลด
ป๎ญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ
เลือกใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศ
เพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ป๎ญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชิญได้
อย่างถูกต้องเหมาะสม บนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง 1 ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข
ป๎ญหาและมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอ๋ง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ในการ
ดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม
ด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการป๎ญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
3

การปรับตัวให้ ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง


ประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีในด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนาตนเองและสั งคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การ
ทางาน การแก้ป๎ญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช ๒๕๖4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุท ธศัก ราช ๒๕๕๑ (ฉบั บปรับ ปรุง พุท ธศัก ราช ๒๕๖๐) มุ่ง พั ฒนาผู้เรี ยนให้มีคุ ณลัก ษณะอันพึ ง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ชื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ ตามนโยบายของ คสช.


๑. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
๓. กตัญํูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
๔. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียน ทั้งทางตรงและทางอ้อม
5.รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
๖. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งป๎น
7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
๙. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
๑0. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยาย
กิจการเมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
4

๑๑. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรง


กลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา
๑๒. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมและของชาติ มากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
5

ส่วนที่ 2
โครงสร้างหลักสูตรโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต

หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช 2๕๖4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น


พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กาหนดโครงสร้างของหลักสูตรสถานศึกษา
เพื่อให้ผู้สอนและผู้ที่เกี่ยวข้องในการจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตรของสถานศึกษามีแนวปฏิบัติ ดังนี้

ระดับการศึกษา
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช 6๕๖4 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) จัดการศึกษา ดังนี้
ระดับ ประถมศึ กษา (ชั้น ประถมศึ กษาปี ที่ ๑-๖) ภาคการศึ กษาระดั บนี้เป็ นช่ว งแรกของ
การศึกษาบัง คับ มุ่งเน้นทั กษะพื้น ฐานด้านการอ่า น การเขีย น การคิ ดคานวณ ทั กษะการคิด พื้นฐาน การ
ติดต่อสื่อสารกระบวนการเรียนรู้ทางสังคม และพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่างสมบูรณ์
และสมดุลทั้งในด้านร่างกาย สติป๎ญญา อารมณ์ สังคม และวัฒนธรรม โดยเน้นจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ

การจัดเวลาเรียน
หลักสูตรสถานศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช ๒๕๖4 ตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0) ได้จัดเวลาเรียนตาม
กลุ่มสาระการเรียนรู้ 5 กลุ่มสาระ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยจัดให้เหมาะสมตามบริบท จุดเน้นของ
โรงเรียน และสภาพของผู้เรียน ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ - ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมีเวลาเรียนวัน
ละ ๖ ชั่วโมง

โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต พุทธศักราช 6๕๖4 ตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0) ประกอบด้วยโครงสร้างเวลา
เรียนและโครงสร้างหลักสูตรชั้นปี ดังนี้
๑. โครงสร้างเวลาเรียน เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดในภาพรวม เวลาเรียนของแต่ละกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระ 5 ที่เป็นเวลาเรียนพื้นฐาน เวลาเรียนรายวิชาเพิ่มเติม และเวลาในการจัดกิจกรรม
พัฒนาผู้เรียน จาแนกแต่ละชั้นปี ในระดับประถมศึกษา ดังนี้
6

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
โครงสร้างเวลาเรียน ระดับประถมศึกษา

เวลาเรียน : ชั่วโมง/ปี
กลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา/กิจกรรม ระดับประถมศึกษา
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.5
กลุ่มสาระการเรียนรู้/วิชาพื้นฐาน
ภาษาไทย 200 200 200 160 160 160
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 80 80 120 120 120
สุขศึกษาและพลศึกษา 40 40 40 80 80 80
ศิลปะ 40 40 40 80 80 80
ภาษาต่างประเทศ 160 160 160 80 80 80
รวมเวลาเรียน(รายวิชาพื้นฐาน) 520 520 520 520 520 520
รายวิชาเพิ่มเติม
ดนตรี 40 40 40 80 80 80
รวมเวลาเรียน(รายวิชาพื้นฐาน) 40 40 40 80 80 80
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมแนะแนว 40 40 40 40 40 40
กิจกรรมนักเรียน
ลูกเสือ/เนตรนารี 40 40 40 40 40 40
ชุมนุม* 30 30 30 30 30 30
กิจกรรมเพื่อสังคม
และสาธารณประโยชน 10 10 10 10 10 10
รวมเวลา (กิจกรรมพัฒนาผู๎เรียน) 120 120 120 120 120 120
รวมเวลาทั้งหมด 680 ชั่วโมง 680 ชั่วโมง

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 8. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 9. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 10. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 11. ชุมนุมคาราเต้
5. ชุมนุมTikTok 12. ชุมนุมรักการอ่าน
6 ชุมนุมดนนตรี 13. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
7. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
7

๒. โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี เป็นโครงสร้างที่แสดงรายละเอียดเวลาเรียนของรายวิชาพื้นฐาน รายวิชา


กิจกรรม/เพิ่มเติมและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจาแนกแต่ละชั้นปี ดังนี้

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑๑๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑๑๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑๑๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑๑๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑๑๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑๑๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑๑๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑๑๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑๑๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 8. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 9. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 10. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 11. ชุมนุมคาราเต้
5. ชุมนุมTikTok 12. ชุมนุมรักการอ่าน
6. ชุมนุมดนนตรี 13. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
7. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
8

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑2๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑2๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑2๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑2๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑2๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑2๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑2๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑2๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑2๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑2๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 9. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 10. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 11. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 12. ชุมนุมคาราเต้
6. ชุมนุมTikTok 13. ชุมนุมรักการอ่าน
7 ชุมนุมดนนตรี 14. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
8. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
9

โครงสร้างหลักสูตรสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑3๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑3๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑3๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑3๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑3๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑3๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑3๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑3๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑3๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑3๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 9. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 10. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 11. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 12. ชุมนุมคาราเต้
6. ชุมนุมTikTok 13. ชุมนุมรักการอ่าน
7 ชุมนุมดนนตรี 14. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
8. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
10

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑4๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑4๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑4๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑4๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑4๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑4๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑4๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑4๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑4๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑4๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 9. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 10. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 11. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 12. ชุมนุมคาราเต้
6. ชุมนุมTikTok 13. ชุมนุมรักการอ่าน
7 ชุมนุมดนนตรี 14. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
8. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
11

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑5๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑5๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑5๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑5๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑5๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑5๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑5๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑5๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑5๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑5๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 9. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 10. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 11. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 12. ชุมนุมคาราเต้
6. ชุมนุมTikTok 13. ชุมนุมรักการอ่าน
7 ชุมนุมดนนตรี 14. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
8. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
12

โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต
ระดับประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖

รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน
ชั่วโมง/รายปี ชั่วโมง/รายสัปดาห์
รหัสวิชา รายวิชาพื้นฐาน 400 10
ท๑6๑๐๑ ภาษาไทย 200 5
ว๑6๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 80 2
พ๑6๑๐๑ สุขศึกษาและพลศึกษา 40 1
ศ๑6๑๐๑ ศิลปะ 40 1
อ๑6๑๐๑ ภาษาต่างประเทศ 40 1
รหัสวิชา รายวิชาเพิ่มเติม 40 1
ศ๑6๑๐๑ ดนตรี 40 1
รหัสกิจกรรม กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 120 3
ก๑6๙๐๑ กิจกรรมแนะแนว 40 1
กิจกรรมนักเรียน (70) 2
ก๑6๙๐๒ - ลูกเสือ/เนตรนารี 40 1
ก๑6๙๐๓ - ชุมนุม 30 1
ก๑6๙๐๔ กิจกรรมเพื่อสังคมและ 10 ผนวกในกิจกรรม
สาธารณประโยชน์ ชุมนุม
รวมเวลาเรียนทั้งหมดตามโครงสร้างหลักสูตร 560 14

*โรงเรียนจัดกิจกรรมชุมนุมนักเรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ได้แก่
1. ชุมนุมอาขยาน 9. ชุมนุมพยาบาล
2. ชุมนุมศิลปะ 10. ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
3. ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 11. ชุมนุมวรรณคดีไทย
4. ชุมนุมคนรักร้องเพลง 12. ชุมนุมคาราเต้
6. ชุมนุมTikTok 13. ชุมนุมรักการอ่าน
7 ชุมนุมดนนตรี 14. ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
8. ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว
13

ส่วนที่ 3
คาอธิบายรายวิชา

หลั ก สูต รสถานศึก ษาโรงเรี ย นเตรี ยมอุ ด มป๊ อ กกาแล็ต ฉบับ ปรับ ปรุ ง พุ ทธศั ก ราช ๒๕๖4 ตาม
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) ได้กาหนดคาอธิบาย
รายวิชาของวิชาต่าง ๆ ที่สอนในแต่ละปีการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย ชื่อรหัสวิชา ชื่อรายวิชา จานวนชั่วโมงต่อปี
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังและสาระการเรียนรู้รายปี
คาอธิบายรายวิชาจะช่วยให้ผู้สอนจัดหน่วยการเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี ได้สอดคล้องกับมาตรฐานการ
เรียนรู้ เนื่องจากคาอธิบายรายวิชาจะรวมสาระการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องเรียนรู้ตลอดทั้งปี กลุ่มของสาระการ
เรียนรู้ตลอดปีจะมีจานวนมาก ดังนั้น การจัดเป็นหน่วยการเรียนรู้หลาย ๆ หน่วย จะช่วยให้กลุ่มของสาระการ
เรียนรู้มีขนาดเล็กลง และบูรณาการได้หลากหลายมากขึ้น
โรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต ได้กาหนดรายละเอียดของคาอธิบายรายวิชาเรียงตามลาดับไว้ ดังนี้
๑. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่

2. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้น
ประถมศึกษาปีที่ ๖
3. คาอธิ บายรายวิ ชากลุ่มสาระการเรียนรู้สุข ศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง ชั้ น
ประถมศึกษาปีที่ ๖
4. คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึงชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
5. คาอธิบายร่ายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
6. คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติมกลุ่มสาระการเรียนรู้ ศิลปะ (รายวิชาดนตรี) ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ถึง
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
14

คาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาไทย
15

นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ท๑๕๑๐๑ ภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เวลา 160 ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาบทร้อยแก้ว บทร้อยกรอง ที่มีคาชนิดต่างๆ เช่น คาควบกล้า อักษรนา ตัวการันต์ อักษรย่อ
เครื่องหมายวรรคตอน ข้อความที่เป็นการบรรยาย พรรณนา ข้อความที่มีความหมายโดยนัย ความหมายของ
คา ประโยคและข้อความ การอ่านจับใจความจากรรรณคดี บทความ บทโฆษณา งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
ข่าวเหตุการณ์ประจาวัน ข้อเท็จจริง ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน งานเขียนเชิง
อธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนาและปฏิบัติตาม เช่น การใช้พจนานุกรม วัสดุอุปกรณ์ ฉลากยา คู่มือเอกสารของ
โรงเรียน ข่าวสารทางราชการ อ่านหนังสือตามความสนใจเหมาะสมกับวัย การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนอักษรไทย เขียนคาขวัญ คาอวยพร คาแนะนา อธิบายตามขั้นตอน การเขียน
ตามจินตนาการ การทาแผนภาพโครงเรื่อง และแผนภาพความคิดไปพัฒนางานเขียน เขียนย่อความจากนิทาน
ประกาศ แจ้งความ แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท คาปราศรัย เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ
เขี ย นแสดงความรู้ สึ ก ความคิ ด เห็ น ตามเจตนา กรอกแบบใบฝาก ใบถอนเงิ น ธนาณั ติ ฝากส่ ง พั ส ดุ
ไปรษณียภัณฑ์ การจับใจความและพูดแสดงความรู้ ความคิดเห็นเรื่องเล่า บทความ ข่าว เหตุการณ์ประจาวัน
โฆษณา สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ตั้งคาถาม ตอบคาถามเชิง เหตุผล วิเคราะห์ความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟ๎ง ดู พูด
รายงานเรื่องที่ศึกษาตามลาดับขั้นตอนเหตุการณ์ ศึกษาหน้าที่ของคาบุพบท สันธาน อุทาน ศึกษาประโยค
ส่วนประกอบของประโยค ภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น ศึกษาคาราชาศัพท์ คาภาษาต่างประเทศ กาพย์
ยานี 11 สานวนที่เป็นคาพังเพย สุภาษิต วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น นิทานพื้นบ้าน นิทานศีลธรรม เพลง
พื้นบ้าน วรรณคดีและวรรณกรรม บทเรียนตามความสนใจ ท่องจาบทอาขยาน บทร้อยกรอง
ใช้กระบวนการอ่าน การเซียน การฟ๎ง การดู และการพูด อธิบาย แยกข้อเท็จจริง วิเคราะห์ สรุป
ความรู้และข้อคิด รักการอ่าน การเขียน ใช้กระบนการกลุ่ม อภิปราย พูด เสดงความรู้สึกความคิดเห็นอย่าง
เป็นระบบ มีมารยาท ในการฟ๎ง การดูและการพูด ใช้เทคโนโลยีหาความรู้ สามารถสื่อสารเชื่อมโยงกับสาระอื่น
ๆ อย่างสร้างสรรค์และนาไปใช้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมไทย

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘
ท ๒.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗, ป.๕/๘, ป.๕/๙
16

ท ๓.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕


ท ๔.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔, ป.๕/๕, ป.๕/๖, ป.๕/๗
ท ๕.๑ ป.๕/๑, ป.๕/๒, ป.๕/๓, ป.๕/๔
รวมทั้งหมด ๓๓ ตัวชี้วัด
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

17

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระภาษาไทย
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาในการดาเนิน
ชีวิตและมีนิสัยรักการอ่าน
๑. อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและ บทร้อยกรองได้ถูกต้อง
๒. อธิบายความหมายของคา ประโยคและข้อความที่เป็นการบรรยาย และการ
พรรณนา
๓. อธิบายความหมายโดยนัย จากเรื่องที่อ่านอย่างหลากหลาย
๔. แยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน
5. วิเคราะห์และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อนาไปใช้ในการดาเนิน
ชีวิต
๖. อ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติตาม
๗. อ่านหนังสือที่มีคุณค่าตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
๘. มีมารยาทในการอ่าน
สาระที่ ๒ การเขียน
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่ อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
๑. คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด และครึ่งบรรทัด
๒. เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม
๓. เขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางานเขียน
๔. เขียนย่อความจากเรื่องที่อ่าน
๕. เขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
ได้ตรงตามเจตนา
๗. กรอกแบบรายการต่างๆ
๘. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๙. มีมารยาทในการเขียน
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

18

สาระที่ ๓ การฟัง การดู และการพูด


มาตรฐาน ท ๓ ๑ สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน
โอกาสต่างๆอย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
๑. พูดแสดงความรู้ ความคิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟ๎งและดู
2. ตั้งคาถามและตอบคาถามเชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟ๎งและดู
๓. วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีเหตุผล
๔. พูดรายงานเรื่องหรือประเด็นที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟ๎ง การดู และการสนทนา
๕. มีมารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด
สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิป๎ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ
๑. ระบุชนิดและหน้าที่ของคาในประโยค
๒. จาแนกส่วนประกอบของประโยค
๓. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับภาษาถิ่น
๔. ใช้คาราชาศัพท์
๕. บอกคาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
6. แต่งบทร้อยกรอง
๗. ใช้สานวนได้ถูกต้อง
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑. สรุปเรื่องจากวรรณคดีหรือวรรณกรรมที่อ่าน
๒. ระบุความรู้และข้อคิดจากการอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่สามารถนาไปใช้ใน
ชีวิตจริง
๓. อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม
๔. ท่องจาบทอาขยานตามที่กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตามความสนใจ
จานวนตัวขี้วัดทั้งสิ้น ๓๓ ชี้วัด
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

19

สาระที่ 1 การอ่าน
มาตรฐาน ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนาไปใช้ตัดสินใจ แก้ป๎ญหาในการ
ดาเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 ท 1.1 ป.5/1 อ่านออกเสียงบทร้อย * การอ่านออกเสียงและการบอกความหมาย
แก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้อง ของบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองที่
ท 1.1 ป.5/2 อธิบายความหมายของ ประกอบด้วย
คา ประโยคและข้อความที่เป็นการ - คาที่มีพยัญชนะควบกล้า
บรรยาย และการพรรณนา - คาที่มีอักษรนา
ท 1.1 ป.5/3 อธิบายความหมาย - คาที่มีตัวการันต์
โดยนัย จากเรื่องที่อ่านอย่าง - อักษรย่อและเครื่องหมายวรรคตอน
หลากหลาย - ข้อความที่เป็นการบรรยายและพรรณนา
- ข้อความที่มีความหมายโดยนัย
* การอ่านบทร้อยกรองเป็นทานองเสนาะ
ท 1.1 ป.5/4 แยกข้อเท็จจริงและ *การอ่านจับใจความจากสื่อต่างๆ เช่น
ข้อคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน - วรรณคดีในบทเรียน
ท 1.1 ป.5/5 วิเคราะห์และแสดง - บทความ
ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านเพื่อ - บทโฆษณา
นาไปใช้ในการดาเนินชีวิต - งานเขียนประเภทโน้มน้าวใจ
- ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน
ท 1.1 ป.5/6 อ่านงานเขียนเชิง * การอ่านงานเขียนเชิงอธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา
อธิบาย คาสั่ง ข้อแนะนา และปฏิบัติ และปฏิบัติตาม เช่น
ตาม - การใช้พจนานุกรม
- การใช้วัสดุอุปกรณ์
- การอ่านฉลากยา
- คู่มือและเอกสารของโรงเรียนที่เกี่ยวข้องกับ
นักเรียน
- ข่าวสารทางราชการ
ท 1.1 ป.5/7 อ่านหนังสือที่มีคุณค่า * การอ่านหนังสือตามความสนใจ เช่น
ตามความสนใจอย่างสม่าเสมอและ - หนังสือที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน - หนังสือที่ครูและนักเรียนกาหนดร่วมกัน
ท 1.1 ป.5/8 มีมารยาทในการอ่าน * มารยาทในการอ่าน
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

20

สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ
ต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 ท 2.1 ป.5/1 คัดลายมือตัวบรรจงเต็ม * การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและ
บรรทัด และครึ่งบรรทัด ครึ่งบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย
ท 2.1 ป.5/2 เขียนสื่อสารโดยใช้คาได้ * การเขียนสื่อสาร เช่น
ถูกต้องชัดเจน และเหมาะสม - คาขวัญ
- คาอวยพร
- คาแนะนาและคาอธิบายแสดงขั้นตอน
ท 2.1 ป.5/3 เขียนแผนภาพโครงเรื่อง * การนาแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ
และแผนภาพความคิดเพื่อใช้พัฒนางาน ความคิดไปพัฒนางานเขียน
เขียน
ท 2.1 ป.5/4 เขียนย่อความจากเรื่องที่ * การเขียนย่อความจากสื่อต่างๆ เช่น นิทาน
อ่าน ความเรียงประเภทต่างๆ ประกาศ แจ้งความ
แถลงการณ์ จดหมาย คาสอน โอวาท คา
ปราศรัย
ท 2.1 ป.5/5 เขียนจดหมายถึงผู้ปกครอง * การเขียนจดหมายถึงผู้ปกครองและญาติ
และญาติ
ท 2.1 ป.5/6 เขียนแสดงความรู้สึกและ * การเขียนแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
ความคิดเห็นได้ตรงตามเจตนา
ท 2.1 ป.5/7 กรอกแบบรายการต่างๆ * การกรอกแบบรายการ
- ใบฝากเงินและใบถอนเงิน
- ธนาณัติ
- แบบฝากส่งพัสดุไปรษณียภัณฑ์
ท 2.1 ป.5/8 เขียนเรื่องตามจินตนาการ * การเขียนเรื่องตามจินตนาการ
ท 2.1 ป.5/9 มีมารยาทในการเขียน * มารยาทในการเขียน
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

21

สาระที่ 3 การฟัง การดู และการพูด


มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟ๎งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคิด และความรู้สึกใน
โอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 ท 3.1 ป.5/1 พูดแสดงความรู้ ความ * การจับใจความ และการพูดแสดงความรู้
คิดเห็น และความรู้สึกจากเรื่องที่ฟ๎งและดู ความคิดในเรื่องที่ฟ๎งและดู จากสื่อต่างๆ เช่น
- เรื่องเล่า
- บทความ
- ข่าวและเหตุการณ์ประจาวัน
- โฆษณา
- สื่อสื่ออิเล็กทรอนิกส์
ท 3.1 ป.5/2 ตั้งคาถามและตอบคาถาม * การวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจากเรื่องที่ฟ๎ง
เชิงเหตุผลจากเรื่องที่ฟ๎งและดู และดูในชีวิตประจาวัน
ท 3.1 ป.5/3 วิเคราะห์ความน่าเชื่อถือจาก
เรื่องที่ฟ๎งและดูอย่างมีเหตุผล
ท 3.1 ป.5/4 พูดรายงานเรื่องหรือประเด็น * การรายงาน เช่น
ที่ศึกษาค้นคว้าจากการฟ๎ง การดู และการ - การพูดลาดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน
สนทนา - การพูดลาดับเหตุการณ์
ท 3.1 ป.5/5 มีมารยาทในการฟ๎ง การดู * มารยาทในการฟ๎ง การดู และการพูด
และการพูด

สาระที่ 4 หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท 4.1 เข้าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของภาษา
ภูมิป๎ญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เป็นสมบัติของชาติ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 ท 4.1 ป.5/1 ระบุชนิดและหน้าที่ของ
* ชนิดของคา ได้แก่
คาในประโยค - คาบุพบท
- คาสันธาน
-คาอุทาน
ท 4.1 ป.5/2 จาแนกส่วนประกอบของ * ประโยคและส่วนประกอบของประโยค
ประโยค
ท 4.1 ป.5/3 เปรียบเทียบภาษาไทย * ภาษาไทยมาตรฐาน
มาตรฐานกับภาษาถิ่น * ภาษาถิ่น
ท 4.1 ป.5/4 ใช้คาราชาศัพท์ * คาราชาศัพท์
ท 4.1 ป.5/5 บอกคาภาษาต่าง * คาที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ประเทศในภาษาไทย
นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 กลุ่ม 14

22

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 (ต่อ) ท 4.1 ป.5/6 แต่งบทร้อยกรอง * กาพย์ยานี 11
ท 4.1 ป.5/7 ใช้สานวนได้ถูกต้อง * สานวนที่เป็นคาพังเพยและสุภาษิต

สาระที่ 5 วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท 5.1 เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่าและ
นามาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.5 ท 5.1 ป.5/1 สรุปเรื่องจากวรรณคดี * วรรณคดีและวรรณกรรม เช่น
หรือวรรณกรรมที่อ่าน - นิทานพื้นบ้าน - นิทานคติธรรม
ท 5.1 ป.5/2 ระบุความรู้และข้อคิดจาก - เพลงพื้นบ้าน
การอ่านวรรณคดีและวรรณกรรมที่ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรียนและตาม
สามารถนาไปใช้ในชีวิตจริง ความสนใจ
ท 5.1 ป.5/3 อธิบายคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท 5.1 ป.5/4 ท่องจาบทอาขยานตามที่ * บทอาขยานและบทร้อยกรองที่มีคุณค่า
กาหนดและบทร้อยกรองที่มีคุณค่าตาม - บทอาขยานตามที่กาหนด
ความสนใจ - บทร้อยกรองตามความสนใจ

รวมทั้งหมด 33 ตัวชี้วัด
23

คาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

24

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
ว ๑๑๑๐๑ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เวลา ๘๐ ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษา วิเคราะห์ พืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่างๆ สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการ
ดารงชีวิต ของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ระบุลักษณะและหน้าที่ของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ สัตว์และพืช
รวมทั้ง การทาหน้าที่ร่วมกันของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์ อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุซึ่ง
ทาจาก วัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิดประกอบกัน ชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกต การเกิด
เสียงและ ทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียง ดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืน และสาเหตุที่มอง
ไม่ เ ห็ น ดาวส่ ว นใหญ่ ใ นเวลากลางวั น ลั ก ษณะภายนอกของหิ น จากลั ก ษณะเฉพาะตั ว ที่ สั ง เกต โดยใช้
กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การเปรียบเทียบ
ข้อมูลจาก หลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจาลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไ ปใช้
ประโยชน์ใน ชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ป๎ญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญ ลักษณ์ หรือ
ข้อความ การเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ การใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดหมวดหมู่
ค้นหา จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย และดูแลรักษาอุ ปกรณ์เบื้องต้น ใช้
งานงาน อย่างเหมาะสม

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว ๑.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๑.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๒.๓ ป.๑/๑
มาตรฐาน ว ๓.๑ ป.๑/๑ , ป.๑/๒
มาตรฐาน ว ๓.๒ ป.๑/๑
มาตรฐาน ว ๔.๒ ป.๑/๑ , ป.๑/๒ , ป.๑/๓ , ป.๑/๔ , ป.๑/๕

รวม ๑๕ ตัวชี้วัด
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

25

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
๑. ระบุชื่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆจากข้อมูลที่รวบรวมได้
๒. บอกสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของสัตว์ในบริเวณที่อาศัยอยู่

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน
สัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางาน
สัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
๑. ระบุชื่อ บรรยายลักษณะและบอกหน้าที่ของ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายมนุษย์สัตว์
และพืช รวมทั้งบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกันของ ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ใน
การทากิจกรรมต่างๆ จากข้อมูลที่รวบรวมได้
๒. ตระหนักถึงความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วนต่างๆ
อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ
สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ
ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ
ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี
๑. อธิบายสมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุ ซึ่งทาจากวัสดุชนิดเดียวหรือหลาย
ชนิดประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

26

๒. ระบุชนิดของวัสดุและจัดกลุ่มวัสดุ ตามสมบัติที่สังเกตได้

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติ
ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
๑. บรรยายการเกิดเสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของเสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
๑. ระบุดาวที่ปรากฏบนท้องฟ้าในเวลากลางวันและกลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้
๒. อธิบายสาเหตุที่มองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ในเวลากลางวันจากหลักฐานเชิงประจักษ์
มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
๑. อธิบายลักษณะภายนอกของหิน จากลักษณะเฉพาะตัวที่สังเกตได้

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.1 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้
การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม
๑. แก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูกการเปรียบเทียบ
๒. แสดงลาดับขั้นตอนการทางานหรือการแก้ปัญหาอย่างง่ายโดยใช้ภาพ สัญลักษณ์
หรือข้อความ
๓. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อ
๔. ใช้เทคโนโลยีในการสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์
๕. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้คอมพิวเตอร์
ร่วมกัน ดูแลรักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งานอย่างเหมาะสม
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

27

จานวนตัวชี้วัดทั้งสิ้น ๑๕ ชี้วัด

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๑ เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งไม่มีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต และ
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศการถ่ายทอดพลังงาน การ
เปลี่ยนแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมายของประชากร ปัญหาและผลกระทบที่มีต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมแนวทางในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการ
แก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมรวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ว ๑.๑ ป.๑/๑ . ระบุชื่อพืชและ • บริเวณต่าง ๆ ในท้องถิ่น เช่น สนามหญ้า ใต้ต้นไม้
สัตว์ที่อาศัยอยู่บริเวณต่าง ๆจาก สวนหย่อม แหล่งน้าอาจพบพืชและสัตว์หลายชนิด
ข้อมูลที่รวบรวมได้ อาศัยอยู่
ว ๑.๑ ป.๑/๒ บอกสภาพแวดล้อม • บริเวณที่แตกต่างกันอาจพบพืชและสัตว์แตกต่างกัน
ที่เหมาะสมกับการดารงชีวิตของสัตว์ เพราะสภาพแวดล้อมของแต่ละบริเวณจะมี
ในบริเวณที่อาศัยอยู่ ความเหมาะสมต่อการดารงชีวิตของพืชและสัตว์
ที่อาศัยอยู่ในแต่ละบริเวณ เช่น สระน้า มีน้าเป็น
ที่อยู่อาศัยของหอย ปลา สาหร่าย เป็นที่หลบภัย
และมีแหล่งอาหารของหอยและปลา บริเวณ
ต้นมะม่วงมีต้นมะม่วงเป็นแหล่งที่อยู่และมีอาหาร
สาหรับกระรอกและมด
• ถ้าสภาพแวดล้อมในบริเวณที่พืชและสัตว์อาศัยอยู่
มีการเปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อการดารงชีวิตของ
พืชและสัตว์
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

28

สาระที่ ๑ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข้าใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต การลาเลียงสารเข้าและออกจาก
เซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆของสัตว์และมนุษย์ที่ทางาน
สัมพันธ์ กัน ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะต่าง ๆ ของพืชที่ทางาน
สัมพันธ์กัน รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.๑ ว ๑/๑ ป. ๑/๑ ระบุชื่อ บรรยาย • มนุษย์มีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้
ลักษณะและบอกหน้าที่ของส่วนต่าง เหมาะสมในการดารงชีวิตเช่น ตามีหน้าที่ไว้มองดูโดยมีหนังตา
ๆ ของร่างกายมนุษย์สัตว์และพืช และขนตาเพื่อป้องกันอันตรายให้กับตา หูมีหน้าที่รับฟังเสียง
รวมทั้งบรรยายการทาหน้าที่ร่วมกัน โดยมีใบหูและรูหูเพื่อเป็นทางผ่านของเสียงปากมีหน้าที่พูด กิน
ของส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์ใน อาหาร มีช่องปากและมีริมฝีปากบนล่าง แขนและมือมีหน้าที่ยก
การทากิจกรรมต่างๆจากข้อมูลที่ หยิบ จับมีท่อนแขนและนิ้วมือที่ขยับได้สมองมีหน้าที่ควบคุม
รวบรวมได้ การทางานของส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอยู่ในกะโหลกศีรษะ โดย
ว ๑/๑ ป. ๑/๒ ตระหนักถึง ส่วนต่างๆของร่างกายจะทาหน้าที่ร่วมกันในการทากิจกรรมใน
ความสาคัญของส่วนต่าง ๆ ของ ชีวิตประจาวัน
ร่างกายตนเอง โดยการดูแลส่วน • สัตว์มีหลายชนิด แต่ละชนิดมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและ
ต่างๆ อย่างถูกต้อง ให้ปลอดภัย หน้าที่แตกต่างกัน เพื่อให้เหมาะสมในการดารงชีวิต เช่น ปลามี
และรักษาความสะอาดอยู่เสมอ ครีบเป็นแผ่น ส่วนกบเต่า แมว มีขา ๔ ขา และมีเท้าสาหรับใช้
ในการเคลื่อนที่
• พืชมีส่วนต่าง ๆ ที่มีลักษณะและหน้าที่แตกต่างกันเพื่อให้
เหมาะสมในการดารงชีวิตโดยทั่วไป รากมีลักษณะเรียวยาว
และแตกแขนงเป็นรากเล็ก ๆทาหน้าที่ดูดน้า ลาต้นมีลักษณะ
เป็นทรงกระบอกตั้งตรงและมีกิ่งก้าน ทาหน้าที่ชูกิ่งก้าน ใบ
และดอก ใบมีลักษณะเป็นแผ่นแบน ทาหน้าที่สร้างอาหาร
นอกจากนี้พืชหลายชนิด อาจมีดอกที่มีสีรูปร่างต่าง ๆ ทาหน้าที่
สืบพันธุ์รวมทั้งมีผลที่มีเปลือก มีเนื้อห่อหุ้มเมล็ด และมีเมล็ด
ซึ่งสามารถงอกเป็นต้นใหม่ได้
• มนุษย์ใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายในการทากิจกรรมต่าง ๆ เพื่อ
การดารงชีวิต มนุษย์จึงควรใช้ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายอย่าง
ถูกต้อง ปลอดภัยและรักษาความสะอาดอยู่เสมอ เช่น ใช้ตามอง
ตัวหนังสือในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ ดูแลตาให้ปลอดภัยจาก
อันตราย และรักษาความสะอาดตาอยู่เสมอ
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

29

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๑ เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ
ของสสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ
ของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏิกิริยาเคมี

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ว ๒.๑ ป.๑/๑ อธิบายสมบัติที่ • วัสดุที่ใช้ทาวัตถุที่เป็นของเล่น ของใช้มีหลายชนิด
สังเกตได้ของวัสดุที่ใช้ทาวัตถุซึ่งทา เช่น ผ้า แก้ว พลาสติก ยาง ไม้อิฐ หิน กระดาษ
จาวัสดุชนิดเดียวหรือหลายชนิด โลหะ วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติที่สังเกตได้ต่าง ๆ
ประกอบกันโดยใช้หลักฐานเชิง เช่น สีนุ่ม แข็ง ขรุขระ เรียบ ใส ขุ่น ยืดหดได้
ประจักษ์ บิดงอได้
ว ๒.๑ ป. ๑/๒ ระบุชนิดของวัสดุ • สมบัติที่สังเกตได้ของวัสดุแต่ละชนิดอาจเหมือนกัน
และจัดกลุ่มวัสดุตามสมบัติที่สังเกต ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม
ได้ วัสดุได้
• วัสดุบางอย่างสามารถนามาประกอบกัน เพื่อ
ทาเป็นวัตถุต่าง ๆ เช่น ผ้าและกระดุม ใช้ทาเสื้อ
ไม้และโลหะ ใช้ทากระทะ

สาระที่ ๒ วิทยาศาสตร์กายภาพ
มาตรฐาน ว ๒.๓ เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปลี่ยนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจาวัน ธรรมชาติ
ของคลื่น ปรากฏการณ์ที่เกี่ยวข้องกับเสียง แสง และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
รวมทั้งนาความรู้ไปใช้ประโยชน์

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ว ๒.๓ ป. ๑/๑ บรรยายการเกิด • เสียงเกิดจากการสั่นของวัตถุวัตถุที่ทาให้เกิดเสียง
เสียงและทิศทางการเคลื่อนที่ของ เป็นแหล่งกาเนิดเสียง ซึ่งมีทั้งแหล่งกาเนิดเสียง
เสียงจากหลักฐานเชิงประจักษ์ ตามธรรมชาติและแหล่งกาเนิดเสียงที่มนุษย์
สร้างขึ้น เสียงเคลื่อนที่ออกจากแหล่งกาเนิดเสียง
ทุกทิศทาง
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

30

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐาน ว ๓.๑ เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ
กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมทั้งปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ
ที่ส่งผลต่อสิ่งมีชีวิต และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ว ๓.๑ ป. ๑/๑ ระบุดาวที่ปรากฏ • บนท้องฟ้ามีดวงอาทิตย์ดวงจันทร์และดาว
บนท้องฟ้าในเวลากลางวันและ ซึ่งในเวลากลางวันจะมองเห็นดวงอาทิตย์
กลางคืนจากข้อมูลที่รวบรวมได้ และอาจมองเห็นดวงจันทร์บางเวลาในบางวัน
ว ๓.๑ ป. ๑/๒ อธิบายสาเหตุที่มอง แต่ไม่สามารถมองเห็นดาว
ไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ ในเวลากลางวัน • ในเวลากลางวันมองไม่เห็นดาวส่วนใหญ่ เนื่องจาก
จากหลักฐานเชิงประจักษ์ แสงอาทิตย์สว่างกว่าจึงกลบแสงของดาว ส่วนใน
เวลากลางคืนจะมองเห็นดาวและมองเห็น
ดวงจันทร์เกือบทุกคืน

สาระที่ ๓ วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ


มาตรฐาน ว ๓.๒ เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบัติภัย กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศ
และภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. ๑ ว ๓.๒ ป. ๑/๑ อธิบายลักษณะ • หินที่อยู่ในธรรมชาติมีลักษณะภายนอกเฉพาะตัว
ภายนอกของหิน จากลักษณะ ที่สังเกตได้เช่น สีลวดลาย น้าหนัก ความแข็ง
เฉพาะตัวที่สังเกตได้ และเนื้อหิน
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

31

สาระที่ ๔ เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคานวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็น
ขั้นตอนและเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้
การทางาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.๑ ว ๔.๒ ป.๑/๑ แก้ปัญหาอย่าง • การแก้ปัญหาให้ประสบความสาเร็จทาได้โดยใช้
ง่ายโดยใช้การลองผิดลองถูกการ ขัน้ ตอนการแก้ปัญหา
เปรียบเทียบ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหา
จุดแตกต่างของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋า
ว ๔.๒ ป.๑/๒ แสดงลาดับ • การแสดงขั้นตอนการแก้ปัญหา ทาได้โดยการ
ขั้นตอนการทางานหรือการ เขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์
แก้ปัญหา อย่างง่ายโดยใช้ภาพ • ปัญหาอย่างง่าย เช่น เกมเขาวงกต เกมหาจุด
สัญลักษณ์หรือข้อความ แตกต่างของภาพ การจัดหนังสือใส่กระเป๋า
ว ๔.๒ ป.๑/๓ เขียนโปรแกรม • การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่ง
อย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ ให้คอมพิวเตอร์ทางาน
หรือสื่อ • ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้
ตัวละครย้ายตาแหน่งย่อขยายขนาดเปลี่ยนรูปร่าง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
• การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลาดับของคาสั่ง
ให้คอมพิวเตอร์ทางาน
• ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมสั่งให้
ตัวละครย้ายตาแหน่งย่อขยายขนาดเปลี่ยนรูปร่าง
• ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น
ใช้บัตรคาสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม, Code.org
ว ๔.๒ ป.๑/๔ ใช้เทคโนโลยีใน • การใช้งานอุปกรณ์เทคโนโลยีเบื้องต้น เช่น การใช้
การสร้าง จัดเก็บ เรียกใช้ข้อมูล เมาส์คีย์บอร์ด จอสัมผัส การเปิด-ปิด อุปกรณ์
ตามวัตถุประสงค์ เทคโนโลยี
• การใช้งานซอฟต์แวร์เบื้องต้น เช่น การเข้าและ
ออกจากโปรแกรม การสร้างไฟล์การจัดเก็บ
การเรียกใช้ไฟล์ทาได้ในโปรแกรม เช่น โปรแกรม
นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 กลุ่ม 14

32

ประมวลคา โปรแกรมกราฟิก โปรแกรมนาเสนอ


• การสร้างและจัดเก็บไฟล์อย่างเป็นระบบจะทาให้
เรียกใช้ค้นหาข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว
ว ๔.๒ ป.๑/๕ ใช้เทคโนโลยี • การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น
สารสนเทศอย่างปลอดภัย ปฏิบัติ รู้จักข้อมูลส่วนตัว อันตรายจากการเผยแพร่
ตามข้อตกลงในการใช้ ข้อมูลส่วนตัว และไม่บอกข้อมูลส่วนตัวกับ
คอมพิวเตอร์ร่วมกัน ดูแล บุคคลอื่นยกเว้นผู้ปกครองหรือครูแจ้งผู้เกี่ยวข้อง
รักษาอุปกรณ์เบื้องต้น ใช้งาน เมื่อต้องการความช่วยเหลือเกี่ยวกับการใช้งาน
อย่างเหมาะสม • ข้อปฏิบัติในการใช้งานและการดูแลรักษาอุปกรณ์
เช่น ไม่ขีดเขียนบนอุปกรณ์ทาความสะอาด
ใช้อุปกรณ์อย่างถูกวิธี
• การใช้งานอย่างเหมาะสม เช่น จัดท่านั่งให้ถูกต้อง
การพักสายตาเมื่อใช้อุปกรณ์เป็นเวลานาน
ระมัดระวังอุบัติเหตุจากการใช้งาน

รวมทั้งหมด 15 ตัวชี้วัด
33

คาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพละศึกษา
นายศิริวัฒน์ พางาม 63121890210 กลุ่ม 14

34

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน

พ 1201 สุขศึกษาและพลศึกษา กลุ่มสาระสุขศึกษาและพลศึกษา


ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 เวลา 80 ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึ ก ษา วิ เ คราะห์ ลั ก ษณะ หน้ า ที่ และวิ ธี ก ารดู แ ลรั ก ษาอวั ย วะภายในที่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตและ
พัฒนาการไปตามวัย รู้จัก เข้าใจ และดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัว รู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของ
สมาชิกในครอบครัว บทบาทของเพื่อน และความภาคภูมิใจในตนเองพร้อมปฏิบัติพฤติกรรมที่เหมาะสมกับ
เพศ ปฏิบัติตนให้เป็นผู้มีสุขภาพที่ดี เลือกกินอาหารที่มีประโยชน์ รู้จักการเลือกของใช้และของเล่นที่เหมาะสม
และไม่ เ กิด อั นตราย เมื่ อ มีอ าการเจ็บ ป่ วยสามารถบอกลั กษณะอาการ สาเหตุ และการรัก ษาเบื้ องต้ น ที่
เหมาะสม ปฏิบัติตนในการป้องกันอุบัติเหตุที่เกิดขึ้นทางน้า ทางบก และอัคคีภัย การปฏิบัติตามคาแนะนาใน
การใช้ยาอย่างเหมาะสมและระบุโทษของสารเสพติด สารอันตรายใกล้ตัวและวิธีป้องกันที่เหมาะสม มีทักษะใน
การปฏิบัติกิจกรรมการเคลื่อนไหวร่างกายแบบอยู่กับที่ แบบเคลื่อนที่ แบบใช้อุปกรณ์ประกอบ การเล่นเกม
เบ็ดเตล็ด ตามกฎ กติกา ข้อตกลงในการเล่นเกมตามคาแนะนา เพื่อให้เกิดความสนุกสนานและปลอดภัยโดย
ใช้ทักษะกระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการปฏิบัติ ทักษะการเคลื่อนไหวร่างกาย การสืบค้นข้อมูล การ
แก้ป๎ญหา การระดมสมอง และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ มีทักษะสื่อสารสิ่ งที่เรียนรู้
สามารถตัดสินใจ และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน มีการพัฒนาทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์
สังคม และมีจริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
พ 1.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3
พ 2.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4
พ 3.1 ป.2/1 ป.2/2
พ 3.2 ป.2/1 ป.2/2
พ 4.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5
พ 5.1 ป.2/1 ป.2/2 ป.2/3 ป.2/4 ป.2/5
รวม 21 ตัวชี้วัด
นายศิริวัฒน์ พางาม 63121890210 กลุ่ม 14
35

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระสุขศึกษาและพละศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
มาตรฐาน พ ๑.๑ เข้าใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย์
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒ ๑ เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกาลังกาย การเล่นเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ ๓.๑ เข้าใจ มีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเล่นเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ ๓.6 รักการออกกาลังกาย การเล่นเกม และการเล่นกีฬา ปฏิบัติเป็นประจาอย่าง
สม่าเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้าใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการ
แข่งขัน และชื่นชมในสุนทรียภาพของการกีฬา
สาระที่ ๔ การสร้างเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการป้องกันโรค
มาตรฐาน พ ๔ ๑ เห็นคุณค่าและมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การดารงสุขภาพ การป้องกันโรค
และการสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ ๕. ๑ ป้องกันและหลีกเสี่ยงป๎จจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ยา
สารเสพติด และความรุนแรง
ชัน้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 พ 1.1 ป2/1 อวัยวะภายในมีความสาคัญต่อระบบการ


ทางานของร่างกาย ดังนั้นเราจึงควรดูแลรักษาอวัยวะภายในอย่างถูกวิธี
ป.2/2
เพื่อให้อวัยวะทางานได้อย่างเป็นปกติ และมีการเจริญเติบโตและ
พัฒนาการไปตามวัย

ป.2 พ 1.1 ป.2/3 การเกิด แก่ เจ็บ ตาย เป็นธรรมชาติของชีวิตมนุษย์ ดังนั้นในขณะที่เรา


ยังมีชีวิตอยู่ควรดูแลร่างกายให้สมบูรณ์แข็งแรง และรูจ้ ักดาเนินชีวิตอย่าง
มีความสุข

ป.2 พ 2.1 ป.2/1 ครอบครัวจะเกิดความอบอุ่น หากสมาชิกในครอบครัวเข้าใจบทบาท


หน้าที่ และปฏิบัติตนตามหน้าที่ของตนอย่างเหมาะสม

ป.2 พ 2.1 ป.2/2 เพื่อนเป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อเรา การให้ความสาคัญและ


นายศิริวัฒน์ พางาม 63121890210 กลุ่ม 14
36

ปฏิบัติตนต่อเพื่อนที่ดีจะทาให้อยู่ร่วมกับเพื่อนอย่างมีความสุข

ป.2 พ 2.1 ป2/3 เพศชายและเพศหญิงมีความแตกต่างกัน ดังนั้นแต่ละเพศจึง


ควรปฏิบัติตนให้เหมาะสมกับเพศ และมีความภูมิใจในเพศของ
ป.2/4
ตนเอง

ป.2 พ 4.1 ป.2/1 การมีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง มีสุขภาพจิต


ที่ร่าเริงแจ่มใส และมีความปลอดภัยในชีวิต
จะส่งผลให้เราเป็นคนที่มีสุขภาพดี

ป.2 พ 4.1 ป.2/2 อาหารมีความสาคัญต่อร่างกาย การเลือกรับประทานอาหารที่มี


ประโยชน์จะส่งผลให้ร่างกายแข็งแรงและสมบูรณ์

ป.2 พ 4.1 ป.2/3 ของใช้และของเล่นภายในบ้านบางชนิดอาจ


ทาให้เกิดอันตรายและส่งผลเสียต่อสุขภาพได้ ผู้ใช้จึงควร
เลือกใช้และเพิ่มความระมัดระวัง
ในการเล่นเพื่อให้เกิดความปลอดภัยมากที่สุด

ป.2 พ 4.1 ป2/4 เมื่อมีอาการเจ็บป่วยและบาดเจ็บต่างๆ เกิดขึ้น ควรปฏิบัติตน


อย่างถูกวิธี จะช่วยลดความรุนแรงของอาการป่วยของโรคและ
ป.2/5
การบาดเจ็บได้

ชั้น มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสาคัญ

ป.2 พ 5.1 ป.2/1 อุบัติเหตุทางน้าและทางบกเกิดจากสาเหตุหลายอย่าง จึงต้องมี


วิธีการป้องกันอย่างถูกต้อง

ป.2 พ.5.1 ป.2/4 สัญลักษณ์และป้ายเตือน มีไว้สาหรับแจ้งให้ทราบถึงอันตราย


และวิธีการปฏิบัติที่เหมาะสม ทุกคนพึงปฏิบัติให้ถูกต้องเพื่อ
ความปลอดภัยในชีวิต

ป.2 พ.5.1 ป.2/5 อัคคีภัยเป็นภัยที่เกิดจากไฟ ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้สูญเสีย


ชีวิตและทรัพย์สิน ดังนั้นจึงควรศึกษาวิธีการป้องกันและการหนี
ไฟที่ถูกต้อง
นายศิริวัฒน์ พางาม 63121890210 กลุ่ม 14
37

ป.2 พ.5.1 ป.2/2 ยาที่ใช้ในชีวิตประจาวันมีหลายประเภท ซึ่งมีทั้งคุณและโทษ


ดังนั้นเราจึงต้องรู้จักใช้ยาอย่าง
ถูกวิธีและลักษณะอาการของโรค จะช่วยให้เกิดความปลอดภัย
และรักษาโรคได้

ป.2 พ.5.1 ป.2/3 สารเสพติดและสารเคมีบางชนิดเป็นอันตรายต่อร่างกาย จึงควร


หลีกเลี่ยงสารเสพติดและรู้จักวิธีใช้สารเคมีให้ถูกต้อง

ป.2 พ.3.1 ป.2/1 การอบอุ่นร่างกายเป็นการเตรียมความพร้อมของร่างกายก่อน


พ.3.2 ป.2/1 ออกกาลังกาย เพื่อให้ร่างกายเกิดความพร้อมและมีความ
ปลอดภัย

ป.2 พ.3.1 ป.2/1 การเคลื่อนไหวอยู่กับที่ เป็นทักษะพื้นฐานในการเคลื่อนไหว


พ.3.2 ป.2/1 แบบต่างๆ ช่วยสร้างเสริมสุขภาพร่างกายให้แข็งแรง และมี
ประสิทธิภาพในการควบคุมร่างกายได้ดี

ป.2 พ.3.1 ป.2/1 การเคลื่อนไหวร่างกายแบบเคลื่อนที่ เป็นทักษะพื้นฐานของการ


พ.3.2 ป.2/1 ออกกาลังกายและการเล่นกีฬาอื่นๆ ช่วยในการสร้างเสริม
สุขภาพร่างกายให้แข็งแรงและมีประสิทธิภาพในการควบคุม
ร่างกายได้ดี

ป.2 พ.3.1 ป.2/1 การเคลื่อนไหวร่างกายแบบใช้อุปกรณ์ประกอบต้องอาศัยการ


พ.3.2 ป.2/1 ทางานที่สัมพันธ์กันของอวัยวะในร่างกาย

ป.2 พ.3.1 ป.2/2 การเล่นเกมเบ็ดเตล็ด เป็นการออกกาลังกาย เพื่อให้เกิดความ


สนุกสนานและความสามัคคีในหมู่คณะ ซึ่งการเล่นเกมต้อง
พ.3.2 ป.2/1
ปฏิบัติตามกฎ กติกา และข้อตกลงในการเล่นเกม
ป.2/2

รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด
38

คาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ศิลปะ
นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110
39 กลุ่มที่ 14

คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ศ 14101 ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาและเปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปร่าง รูปทรง และจาแนกทัศนธาตุของสิ่งต่างๆ ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่ว่าง ใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ งานวาด
ภาพระบายสีได้อย่างเหมาะสมปลอดภัย วาดภาพ ระบายสีโดยเลือกใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น แสดงความคิดความรู้สึก
ที่ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ ของตนเองและบุคคลอื่นด้วยการบรรยายลักษณะของภาพโดยเน้นเรื่องการจัดระยะ ความลึก
น้าหนัก แสงเงา และอิทธิพ ลของวรรณะสีที่มีต่ ออารมณ์ของมนุษ ย์ ระบุ และอภิปรายเกี่ยวกับงานทัศ นศิล ป์ที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างๆ เหตุการณ์ และงานเฉลิมฉลองของวัฒนธรรมในท้องถิ่น แหล่งที่มาและความสัมพันธ์ ของวิถีชีวิตไทยที่สะท้อน
ในดนตรีและเพลงในท้องถิ่น ความสาคัญในการอนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรม ทางดนตรี บอกประโยคเพลงง่าย ๆ ความหมาย
ของเนื้อหาในบทเพลง ทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้น-ลง ง่ายๆของทานอง รูปแบบจังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลงที่ฟ๎ง อ่าน
และเขียนโน้ตดนตรีไทย และสากล ขับร้องเพลงบันไดเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง จาแนกประเภทเสียงของเครื่องดนตรี ใช้และ
เก็บเครื่องดนตรีอย่ างถูกต้องและปลอดภัย ฝึกปฏิบัติและใช้ภ าษาท่า นาฏยศัพท์ หรือศัพท์ ทางละครง่ายๆ แสดงการ
เคลื่อนไหวในจังหวะต่าง ๆ ตามความคิดของตน เล่าสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดง โดยเน้นจุดสาคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของ
ตัวละคร แสดงนาฏศิลป์ประเภทคู่และหมู่ ชมการแสดง และเปรียบเทียบการแสดงนาฏศิลป์กับการแสดงที่มาจากวัฒนธรรม
อื่น ประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ หรือชุดการแสดงอย่างง่ายๆ ความสาคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการ
แสดงนาฏศิลป์ คุณค่าและการสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์
โดยใช้การฝึกปฏิบัติ เปรียบเทียบ จาแนก วิเคราะห์ วิพากษ์วิจ ารณ์ งานทัศนศิล ป์ ดนตรีและนาฏศิล ป์อย่าง
สร้างสรรค์ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความเชื่อมั่นในตนเอง กล้าแสดงออก ชื่นชมและ
เห็นคุณค่าของงานทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์ ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและสากล สามารถ
นาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน และมีค่านิยมที่เหมาะสม โดยนาหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาจัดการเรียน
การสอน

มาตรฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ศ 1.1 ป.4/1 , ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8, ป.4/9
ศ 1.2 ป.4/1, ป.4/2
ศ 2.1 ป.4/1, ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7
ศ 2.2 ป.4/1, ป.4/2
ศ 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5
ศ 3.2 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4
รวมทั้งหมด 29 ตัวชี้วัด
นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110 กลุ่มที่ 14

40

โครงสร้างรายวิชาพืน้ ฐาน
ศ 14101 ศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง
หน่วย ชื่อ มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก
ที่ หน่วย (ชั่วโมง) คะแนน
1 รูปร่าง ศ1.1ป.4/1 เปรียบเทียบ รูปลักษณะ - รูปร่าง รูปทรงเป็นทัศนธาตุ ที่ 8 18
รูปทรง ของรู ป ร่ าง รู ป ทรง ในธ รรมชาติ พบในธรรมชาติสิ่ง แวดล้ อมและ
สิ่งแวดล้อม และ งานทัศนศิลป์ งาน ทั ศ น ศิ ล ป์ ป ระ กอบด้ ว ย
ศ1.1ป.4/3 จาแนกทัศนธาตุ ของสิ่ง รูปร่าง รูปทรง 3 ประเภทคื อ
ต่างๆในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงาน ธรรมชาติ เรขาคณิต และอิสระ
ทัศนศิ ลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รู ปร่า ง
รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่ว่าง
2 วรรณะสี ศ1.1ป.4/2 อภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพล -สีมีอิทธิพลต่ออารมณ์ความรู้สึก 7 14
ของสีวรรณะอุ่น และ สีวรรณะเย็นที่มี ข อ ง ม นุ ษ ย์ สี ส า ม า ร ถ แ บ่ ง
ต่ออารมณ์ ของมนุษย์ ออกเป็ น 2 วรรณะ คื อ สี
ศ1.1ป.4/7 วาดภาพระบายสี โดยใช้ วรรณะอุ่ น และ สี ว รรณะเย็ น
สี ว ร ร ณ ะ อุ่ น แ ละ สี ว ร ร ณ ะ เ ย็ น เมื่ อ เราสร้ า งงาน ทั ศ นศิ ล ป์
ถ่ายทอดความรู้สึก และ จินตนาการ จะต้ อ งเลื อ กใช้ ว รรณะสี ให้
ศ1.1ป.4/9 เลือ กใช้วรรณะสี เพื่ อ เหมาะสม
ถ่ า ยทอดอารมณ์ ความรู้ สึ ก ในการ
สร้างงานทัศนศิลป์
3 สนุกกับ ภาพพิมพ์ ศ1.1ป.4/4 มีทักษะพื้นฐาน -ภาพพิมพ์ เกิดจากการออกแบบ 4 8
ภาพ ในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้า งสรรค์ งาน และสร้างหรือเลือกใช้วัสดุมาเป็น
พิมพ์ พิมพ์ภาพ แม่พิมพ์อย่างเหมาะสม โดยจั ด
วาง องค์ ป ระกอบภาพ และใช้
วั ส ดุ อุ ป กรณ์ ใ นการท างาน
อย่างถูกต้อง ปลอดภัย จะทาให้
สร้ า งสรรค์ ผลงานได้ ส วยงาม
ตามต้องการ
41

หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก


ที่ / ตัวชี้วัด (ชั่วโมง) คะแนน
4 ขั บ ข า น ศ2.1ป.4/1 บอก - เสียงของเครื่องดนตรีไทย แต่ละประเภทแตกต่างกัน 6 13
เพลงไทย ประโยคเพลง อย่ า ง แต่เมื่อ มาบรรเลงร่วมกัน จะก่อให้เกิด เสียงเพลงที่มี
ง่าย ท านองไพเราะน่ า ฟ๎ ง จั ง หวะที่ ไ ด้ ยิ น ในเพลง มี ทั้ ง
ศ2.1ป.4/2 จาแนก จังหวะ ช้าและเร็ว ทาให้มีความไพเราะ
ประเภท ของเครื่ อ ง - การรู้จักเครื่องหมาย และ สัญลักษณ์ทางดนตรีไทย
ดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ฟ๎ง จะช่วยให้ สามารถบันทึกโน้ตเพลงนั้นๆและ บรรเลง
ศ2.1ป.4/3 ระบุ เพลงนั้นๆได้ถูกต้อง
ทิ ศ ทาง การเคลื่ อ นที่
ขึ้นลงง่ายๆ
ของท านอง รู ป แบบ
จั ง หวะ แลความเร็ ว
ของจั ง หวะในเพลงที่
ฟ๎ง
ศ2.1ป.4/4 อ่ า น
เขี ย นโน้ ต ดนตรี ไทย
และสากล
5 ดนตรี กั บ ศ2.1ป.4/5 ร้องเพลง - เสีย งพู ด และเสี ย งร้อ งเพลง ของแต่ล ะคนจะมี 6 13
จินตนาการ โดยใ ช้ ช่ ว ง เ สี ย ง ที่ ลักษณะเฉพาะ ที่แตกต่างกัน
เหมาะกับตนเอง -การศึกษาวิธีการใช้และ ดูแล เครื่องดนตรีไทย จะทา
ศ2.1ป.4/6 ใช้และ ให้เรารู้จัก ใช้งานเครื่องดนตรีไทยได้ถูกวิธี และรักษา
เก็บเครื่อง ดนตรีอย่าง เครื่องดนตรีไทย ให้ใช้งานได้นานและคุ้มค่า
ถูกต้อง ปลอดภัย
ศ2.1ป.4/7 ระบุว่ า
ดนตรี สามารถใช้ ใ น
การสื่อเรื่องราว
6 ภ า ษ า ท่ า ศ3.1ป.4/1 ระบุ - การใช้นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ทางนาฏศิลป์ไทย 7 14
และนาฏย ทักษะพื้นฐาน ประกอบเพลง ปลุกใจ จะทาให้ผู้แสดงนาฏศิลป์ และ
ศัพท์ ทางนาฏศิลป์และการ ผู้ช มรู้ ถึง ความหมาย และ อารมณ์ ของเพลงได้ดี ขึ้ น
ละคร เกิดความรู้สึกรัก และหวงแหนชาติไทยมากขึ้น
ที่ ใ ช้ สื่ อ ความหมาย
และอารมณ์
ศ3.1ป.4/2 ใช้ภาษา
ท่ า และ นาฏยศั พ ท์
ห รื อ ศั พ ท์ ท า ง ก า ร
ละ ค ร ง่ า ย ๆ ใ น ก า ร
นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110 กลุ่มที่ 14
42

ถ่ายทอดเรื่องราว
ศ3.1ป.4/3 แสดง
การเคลื่ อ นไ หว ใน
จั ง ห ว ะ ต่ า ง ๆ ต า ม
ความคิด ของตน

หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก


ที่ (ชั่วโมง) คะแนน
7 สร้ างสรรค์ ศ1.1ป.4/5 มีทักษะพื้นฐาน ใน ระยะ ความลึก มีความสัมพันธ์กับ นา้ 9 19
งานวาด การใช้ วัสดุ อุปกรณ์สร้างสรรค์งาน หนักและแสงเงา การจัดวาง วัตถุใน
ภาพ ระบาย วาดภาพ ระบายสี ภาพให้ เกิดระยะความลึกแสดง นา้
สี ศ1.1ป.4/6 บรรยายลักษณะของ หนัก แสงเงาในภาพ จะทาให้ ภ าพมี
ภาพ โดยเน้น เรื่องการจัดระยะ มิติ เหมื อ นจริ ง และมีค วามสวยงาม
ความลึก น้า หนักและแสง เงาใน ช่ ว ยให้ สามารถถ่ า ยทอด ความคิ ด
ภาพ เรื่ องราว เหตุการณ์ได้ ชดั เจน น่าสนใจ
ศ1.1ป.4/8 เปรียบเทียบ ความคิด ยิง่ ขึ ้น
ความรู้ สึ ก ที่ ถ่ า ยทอด ผ่ า นงาน
ทัศนศิลป์ ของตนเองและบุคคลอื่น

8 ศิลปะ ศ1.2ป.4/2 บรรยายเกี่ยวกับ งาน - งานทัศนศิลป์ ที่มาจากภาคต่างๆ มี 10 21


หลากหลาย ทัศนศิลป์ ที่มาจากวั ฒนธรรม ต่าง ความงามโดดเด่ น เป็ น เอกลัก ษณ์
วัฒนธรรม ๆ สร้ างความภาคภู มิ ใ จให้ กั บ คนใน
ศ1.2ป.4/1 ระบุ และอภิป ราย ท้ องถิ่น และเป็ นที่ชื่นชอบ ของคนต่าง
เกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ในเหตุการณ์ ถิ่ น เมื่ อ ไดม้ า พบเห็ น การสร้ างงาน
และงาน เฉลิมฉลองของวัฒนธรรม ได้ รับการสืบทอด จากบรรพบุรุษ หรื อ
ในท้องถิ่น เรี ยนรู้จากประสบการณ์ มีการนาเอา
วัสดุในท้ อ งถิ่นมาใช้ ให้ เกิดประโยชน์
นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110 กลุ่มที่ 14

43

ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม
ประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อ

9 อนุรักษ์ ศ2.2ป.4/1 บอกแหล่ง ที่มาและ - ดนตรี พื ้นบ้ านและเพลงพื ้นบ้ านเป็ น 6 13


ดนตรี ไทย ความสั ม พั น ธ์ ข องวิ ถี ชี วิ ต ไทย ที่ ภูมปิ ัญญาของคนไทย จึงควรอนุรักษ์
สะท้อนในดนตรีและเพลง ท้องถิ่น และร่วมกันสืบสาน ให้ คงอยู่ตอ่ ไป
ศ2.2ป.4/2 ระบุความสาคัญ ใน
การ อนุรักษ์ส่งเสริม วัฒนธรรมทาง
ดนตรี

หน่วย ชื่อหน่วย มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา น้าหนัก


ที่ (ชั่วโมง) คะแนน
10 การแสดง ศ3.1 ป.4/4 แสดงนาฏศิลป์ เป็ นคู่และ -การแสดงร าวงมาตรฐาน เป็ น การ 8 17
เป็ นคูแ่ ละ เป็ นหมู่ แสดงที่ใช้ ผ้ แู สดงมากกว่า2 คนขึ ้นไป
เป็ นหมู่ ศ3.2 ป. 4/1 อธิ บ ายประวัติค วาม ความงามของการแสดงอยู่ ที่ ท่ า ร า
เป็ นมาของนาฏศิลป์ หรื อ ชุดการแสดง และ ความพร้ อม เพรี ยงของผู้แสดง
อย่างง่ายๆ ทาให้ ผู้ชม เกิดความประทับใจเมื่อได้
ศ3.1ป. 4/5 เล่าสิ่ง ที่ ชื่ น ชอบ ในการ ชมการแสดงนัน้
แสดงโดยเน้ นจุดสาคัญ ของเรื่ อ งและ
ลักษณะเด่น ของตัวละคร
นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110 กลุ่มที่ 14

44

11 คุณค่า ศ3.2 ป. 4/2 เปรี ยบเที ยบ การแสดง - นาฏศิลป์ ไทยเป็ น ศิลปะแห่ งการ 5 10
นาฎศิลป์ นาฏ ศิ ล ป์ กั บ การแสดง ที่ มาจ าก ละครหรื อ การฟ้อ นราไทย ที่ มี ความ
วัฒนธรรมอื่น อ่อนช้ อยสวยงาม เป็ นเอกลักษณ์ และ
ศ3.2 ป.4/3 อธิบายความสาคัญ ของ มรดก ทางวัฒ นธรรมไทย เป็ น การ
การแสดงความเคารพ ในการเรี ย น แสดง ที่มีคณ ุ ค่าควรแก่การอนุรักษ์ ให้
และการแสดง อยู่คสู่ งั คมไทยตลอดไป

รวม 38 80
สรุปทบทวน / สอบปลายปี 2 20
รวมปลายปี 40 100
45

คาอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
นายณัฐวุฒิ แสนศรี 63121020203 กลุ่ม 14

46

คาอธิบายรายวิชาพืน้ ฐาน
อ 13101 ภาษาอังกฤษ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
คาอธิบายรายวิชา
ปฏิบัติตามคาสั่งและคาขอร้องที่ฟ๎ง หรืออ่าน อ่านออกเสียงคา สะกดคา อ่านกลุ่มคา ประโยค
และบทพูดเข้าจังหวะง่ายๆถูกต้องตามหลักการอ่าน เลือกระบุภาพหรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของ
กลุ่มคาและประโยคที่ฟ๎ง ตอบคาถามจากการฟ๎งหรืออ่านประโยค บทสนทนาหรือนิทานง่าย พูดโต้ตอบคา
สั้นๆง่ายๆในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟ๎ง ใช้คาสั่งและคาขอร้องง่ายๆตามแบบที่ฟ๎ง บอกความ
ต้องการง่ายของตนเองตามแบบที่ฟ๎ง พูดขอ และให้ข้อมูลให้ง่ายๆเกี่ยวกับตนเองและเพื่อนตามแบบที่ฟ๎ง บอก
ความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่างๆใกล้ตัวหรือกิจกรรมต่างๆตามแบบที่ฟ๎ง พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและ
เรื่องใกล้ตัวจัดหมวดหมู่ค าตามประเภทของบุคคล สัตว์ และสิ่ง ของ ตามแบบที่ฟ๎ง หรืออ่าน พู ดและท า
ท่าทางประกอบ ตามมารยาทสั ง คมวัฒ นธรรมของเจ้ าของภาษา บอกชื่อ และค าศั พท์ ง่า ยๆเกี่ ยวข้อ งกั บ
เทศกาล วันสาคัญ งานฉลอง และชีวิตความเป็นอยู่ของเจ้าของภาษา เข้าร่วมกิจกรรมและวัฒนธรรมที่
เหมาะ สมกั บ วั ย บอก ความแตกต่ า ง ของ เสี ย ง อั ก ษร ค า ก ลุ่ ม ค า และ ปร ะโ ยคง่ า ยๆ ขอ ง
ภาษาต่างประเทศ บอกคาศัพท์ที่เ กี่ยวกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ฟ๎ง พูดในสถานการณ์ง่ายๆที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียนใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อรวบรวมคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว
ใช้กระบวนการทั กษะทางภาษา การฟ๎ง พูด อ่าน เขียน ได้อย่างถู กต้อง และการใช้ภาษา
ท่าทางรูปแบบพฤติกรรมการสื่อสารของเจ้าภาษา เห็นประโยชน์ในการเรียนภาษาต่างประเทศและสนใจ
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ใฝ่รู้ ใฝ่เรียน มุ่งมั่นในการทางาน ซื่อสัตย์สุจริต มี
วินัย อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ รวมทั้ง มีความสุข สนุกสนานในการเรียน และเป็น
พื้นฐานในการเรียนภาษาอังกฤษระดับสูงต่อไป

มาตาฐาน/รหัสตัวชี้วัด
ต 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3 , ป.3/4
ต 1.2 ป.3/1, ป.3/2 , ป.3/3 , ป.3/4 ,ป.3/5
ต 1.3 ป.3/1, ป.3/2
ต 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ต 2.2 ป.3/1
ต 3.1 ป.3/1
ต 4.1 ป.3/1
ต 4.2 ป.3/1
รวม 18 ตัวชี้วัด
นายณัฐวุฒิ แสนศรี 63121020203 กลุ่ม 14

47

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระต่างประเทศ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสือ่ สาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟ๎งและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่าง
มีเหตุผล
1.ปฏิบัติตามคาสั่งและคาขอร้องที่ฟ๎งหรืออ่าน
2. อ่านออกเสียงคา สะกดคา อ่านกลุ่มคา ประโยค และบทพูดเข้าจังหวะ (Chant)
ง่าย ๆ ถูกต้องตาม หลักการอ่าน
3. เลือก/ระบุภาพ หรือสัญลักษณ์ตรงตามความหมายของกลุ่มคาและประโยคที่ฟ๎ง
4. ตอบคาถามจากการฟ๎งหรือ อ่านประโยค บทสนทนา หรือนิทานง่าย ๆ
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึก
และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
1. พูดโต้ตอบด้วยคาสั้นๆ ง่าย ๆ ในการสื่อสารระหว่างบุคคลตามแบบที่ฟ๎ง
2. ใช้คาสั่งและคาขอร้องง่าย ๆ ตามแบบที่ฟ๎ง
3. บอกความต้องการง่าย ๆ ของตนเองตามแบบที่ฟ๎ง
4.พูดขอและให้ข้อมูลง่าย ๆ เกี่ยวกับตนเองและเพื่อนตามแบบที่ฟ๎ง
5. บอกความรู้สึกของตนเองเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ ใกล้ตัวหรือกิจกรรมต่าง ๆตามแบบที่ฟ๎ง
มาตรฐาน ต. 1.3 นาเสนอมาตรฐาน ข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดย
การพูดและการเขียน
1. พูดให้ข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องใกล้ตัว
2.จัดหมวดหมู่คาตามประเภทของบุคคล สัตว์และ สิ่งของตามที่ฟ๎งหรืออ่าน

สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่าง
เหมาะสมกับกาลเทศะ
1. พูดและทาท่าประกอบตามมารยาทสังคม/ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
2. บอกชื่อและคาศัพท์ง่าย ๆ เกี่ยวกับเทศกาล/วันสาคัญ/งานฉลองและชีวิตความเป็นอยู่
ของเจ้าของภาษา
3. เข้าร่วมกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมที่เหมาะกับวัย
นายณัฐวุฒิ แสนศรี 63121020203 กลุ่ม 14

48

มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับ


ภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับกาลเทศะ
1. บอกความแตกต่างของเสียงตัวอักษร คา กลุ่มคาและประโยคง่าย ๆ ของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย

สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานใน
การพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
1. บอกคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น

สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชนและสังคม
1. ฟ๎ง/พูดในสถานการณ์ง่าย ๆ ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและ
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
1. ใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อรวบรวมคาศัพท์ที่เกี่ยวข้องใกล้ตัว

รวมจานวนตัวชี้วัดทั้งสิ้น 18 ตัวชี้วัด
49

คาอธิบายรายวิชาเพิ่มเติม
รายวิชา ดนตรี
นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 กลุ่ม 14

50

คาอธิบายรายวิชาเพิม่ เติม
ศ 13101 ดนตรี กลุ่มสาระการเรียนศิลปะ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 40 ชั่วโมง

คาอธิบายรายวิชา
ระบุรูปร่าง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่เห็นและได้ยินในชีวิตประจาวัน ใช้รูปภาพหรือสัญลักษณ์แทน
เสียงและจังหวะเคาะ บอกบทบาทหน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน ขับร้องและบรรเลงดนตรีง่าย ๆ เคลื่อนไหวท่าทาง
สอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟ๎ง แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อื่น นา
ดนตรีไปใช้ในชีวิตประจาวันหรือโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม ระบุลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของดนตรีใน
ท้องถิ่นระบุความสาคัญและประโยชน์ของดนตรีต่อการดาเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น
เข้าใจแหล่งคุณสมบัติในเรื่องเสียง การขับร้อง การบรรเลงดนตรี ใช้องค์ประกอบของดนตรี การ
ใช้เครื่องดนตรีอย่างถูกต้องปลอดภัย แสดงออกถึงการรับรู้ความไพเราะของเสียงมีความคิดเห็นเดียวกับเสียง
ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม เสียงขับร้อง เสียงเครื่องดนตรีของตนเองและบูรณาการกับกลุ่มสาระอื่นๆกับสังคม
รู้ความเป็นมาของดนตรีสากลและภูมิป๎ญญาของดนตรีสากล

มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
ศ 1.๑ ป3/๑, ป3/๒, ป3/๓, ป3/4, ป3/5, ป3/6, ป3/7, ป3/8, ป3/9, ป3/10
ศ 1.2 ป3/๑, ป3/๒
ศ 2.๑ ป3/๑, ป3/๒, ป3/๓, ป3/4, ป3/5, ป3/6, ป3/7
ศ 2.2 ป3/๑, ป3/๒
ศ 3.๑ ป3/๑, ป3/๒, ป3/๓, ป3/4, ป3/5
ศ 3.2 ป3/๑, ป3/๒, ป3/๓

รวม ๒๙ ตัวชี้วัด
นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 กลุ่ม 14

51

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแ้ กนกลางกลุ่มสาระศิลปะ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560)
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทย และสากล

สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรีที่
เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและสากล

สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้า ใจ และแสดงออกทางนาฏศิล ป์อย่า งสร้ างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิ จารณ์ คุณค่ า
นาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้ า ใจความสัม พั นธ์ ระหว่ างนาฏศิล ป์ ประวัติ ศาสตร์แ ละวั ฒนธรรม เห็ นคุ ณค่ าของ
นาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิป๎ญญาท้องถิ่น ภูมิป๎ญญาไทยและสากล
นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 กลุ่ม 14

52

ชัน้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป3 ศ ๑.๑ ป.๓/๑ บรรยายรูปร่าง รูปทรง รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและการใช้เส้น
ในธรรมชาติ รูปร่าง รูปทรง สี พื้นผิวในงานทัศนศิลป์และวาดภาพ
สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความคิดความรู้สึก
ศ ๑.๑ ป.๓/๖ วาดภาพถ่ายทอด
ความคิด ความรู้สึก
จากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น
รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว
ป.3 ศ ๑.๑ ป.๓/๒ ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้ วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างงานทัศนศิลป์ประเภทงานวาด
สร้างผลงาน งานป๎้น งานพิมพ์ภาพและเทคนิควิธีการในการสร้างงาน
เมื่อชมงานทัศนศิลป์ ทัศนศิลป์
ศ ๑.๑ ป.๓/๕ มีทักษะพื้นฐาน ในการ
ใช้วัสดุ อุปกรณ์
สร้างสรรค์งานป๎้น
ศ ๑.๑ ป.๓/๗ บรรยายเหตุผลและ
วิธีการ
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
โดยเน้นถึงเทคนิค และวัสดุ อุปกรณ์
ป.3 ศ ๑.๑ ป.๓/๓ จาแนกทัศนธาตุของสิ่ง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ในธรรมชาติ
ต่าง ๆ สิ่งแวดล้อมและ
ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น
สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว

ป.3 ศ ๑.๑ ป.๓/๔ วาดภาพ ระบายสี การวาดภาพระบายสีสิ่งของรอบตัว


สิ่งของรอบตัว ด้วยสีเทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์

ป.3 ศ ๑.๑ ป.๓/๘ ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ การแสดงความคิดเห็นในงานทัศนศิลป์


ควรปรับปรุง ของตนเอง
ในงานทัศนศิลป์ของตนเอง

ป.3 ศ ๑.๑ ป.๓/๙ ระบุและจัดกลุ่มของ การจัดกลุ่มของภาพตามทัศนธาตุ


ภาพตามทัศนธาตุ
ที่เน้นในงานทัศนศิลป์นั้น ๆ
นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 กลุ่ม 14

53

ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง


ป.3 ศ ๑.๒ ป.๓/๑ เล่าถึงที่มาของงาน ที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่นวัสดุ อุปกรณ์ และ
ทัศนศิลป์ในท้องถิ่น วิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ศ ๑.๒ ป.๓/๒ อธิบายเกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์
ในท้องถิ่น
ป.3 2.1 ป.3/1 ระบุรูปร่างลักษณะของ รูปร่างลักษณะของเครื่องดนตรี
เครื่องดนตรีที่เห็นและได้ยินในชีวิต เสียงของเครื่องดนตรี
ประจ้าวัน

ป.3 ศ 2.1 ป.3/2 ๒. ใช้รูปภาพหรือ สัญลักษณ์แทนคุณสมบัติของเสียง


สัญลักษณ์แทนเสียงและจังหวะเคาะ (สูง - ต่า - ดัง - เบา ยาว - สั้น)
สัญลักษณ์แทนรูปแบบจังหวะ
ป.3 ศ 2.1 ป.3/3 บอกบทบาทหน้าที่ของ บทบาทหน้าที่ของบทเพลงสาคัญ
เพลงที่ได้ยิน - เพลงชาติ
- เพลงสรรเสริญพระบารมี
- เพลงประจ้าโรงเรียน
ป.3 ศ 2.1 ป.3/4 ขับร้องและบรรเลง การขับร้องเดี่ยวและหมู่
ดนตรีง่าย ๆ การบรรเลงเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ
17 ศ 2.1 ป.3/6 แสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงร้องและเสียงดนตรี
เกี่ยวกับเสียงดนตรีเสียงขับร้องของ - คุณภาพเสียงร้อง
ตนเองและผู้อื่น
- คุณภาพเสียงดนตรี
ป.3 ศ 2.1 ป.3/5 เคลื่อนไหวท่าทาง การเคลื่อนไหวตามอารมณ์ของบทเพลง
สอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟ๎ง

ป.3 ศ 2.1 ป.3/7 นาดนตรีไปใช้ในชีวิต การใช้ดนตรีในโอกาสพิเศษ


ประจ้าวันหรือโอกาสต่าง ๆ ได้อย่าง - ดนตรีในงานรืน่ เริง
เหมาะสม - ดนตรีในการฉลองวันสาคัญของชาติ
ป.3 ศ 2.2 ป.3/1 ระบุลักษณะเด่นและ เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น
เอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น - ลักษณะเสียงร้องของดนตรีในท้องถิ่น
ศ 2.2 ป.3/2 ระบุความสาคัญและ - ภาษาและเนื้อหาในบทร้องของดนตรี
ประโยชน์ของดนตรีต่อการดาเนินชีวิต
ในท้องถิ่น
ของคนในท้องถิ่น
- เครื่องดนตรีและวงดนตรีในท้องถิ่น
ดนตรีกับการดาเนินชีวิตในท้องถิ่น
นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 กลุ่ม 14

54

- ดนตรีในชีวิตประจ้าวัน
- ดนตรีในวาระสาคัญ
ป.3 ศ 3.1 ป.3/1 สร้างสรรค์การ การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ
เคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ ใน - ร้าวงมาตรฐาน
สถานการณ์สั้น ๆ - สถานการณ์สั้น ๆ
- สถานการณ์ที่กาหนดให้
ป.3 ศ 3.1 ป.3/2 แสดงท่าทางประกอบ หลักและวิธีการปฏิบัตินาฏศิลป์
เพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ - ภาษาท่าสื่ออารมณ์ของมนุษย์
- นาฏยศัพท์ในส่วนขา
ป.3 ศ 3.1 ป.3/3 เปรียบเทียบบทบาท หลักในการชมการแสดง
หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม - ผู้แสดง
ศ 3.1 ป.3/4 ๔. มีส่วนร่วมใน - ผู้ชม
กิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย
- การมีส่วนร่วม

ป.3 ศ 3.1 ป.3/5 บอกประโยชน์ของการ การบูรณาการนาฏศิลป์กับสาระ


แสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจาวัน การเรียนรูอ้ ื่น ๆ

ป.3 ศ 3.2 ป.3/1 เล่าการแสดงนาฏศิลป์ การแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้านหรือท้องถิ่น


ที่เคยเห็นในท้องถิ่น ของตน
ศ 3.2 ป.3/3 อธิบายความสาคัญของ ที่มาของการแสดงนาฏศิลป์
การแสดงนาฏศิลป์ ศ 3.2 ป.3/2 ระบุสิ่งที่เป็นลักษณะเด่น
และเอกลักษณ์ของการแสดง
นาฏศิลป์

รวมทั้งหมด 29 ตัวชี้วัด
55

ส่วนที่ 4
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพื่อความเป็น
มนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติป๎ญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินัย ปลูกฝ๎งและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่ร่ วมกับผู้อื่น
อย่างมีความสุข
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจคิด
แก้ป๎ ญ หา กาหนดเป้ าหมาย วางแผนชี วิตทั้ ง ด้ านการเรี ยน และอาชี พ สมารถปรั บตนได้อ ย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน
การมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเป็นเวลา 40 ชั่วโมงต่อปี
2. กิจกรรมนักเรียน
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นาผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบการทางาน
ร่วมกัน การรู้จักแก้ป๎ญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่ง ป๎นกัน เอื้ออาทร และ
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบั ติด้วยตนเอง
ในทุกชั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางาน เน้นการ
ทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนบริบทของสถานศึกษาและ
ท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บาเพ็ญ ประโยชน์ โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วม
กิจกรรมเป็นเวลา 40 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา
2.2 กิจกรรมชุมนุม ชมรม โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเป็นเวลา 40 ชั่วโมงต่อปี
การศึกษา
3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ
เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม โดยนักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมเป็ นเวลา
10 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา
56

คาอธิบาย
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน

กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งให้ผู้เรียนพัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน


เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย ป๎ญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มี
วินัย ปลุกฝ๎งสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพื่อสังคม สามารถจัดการตนเอง ได้และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมี
ความสุข
โรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดยแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะดังนี้
1. กิจกรรมแนะแนว
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรี ยนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิด ตัดสินใจ คิด
แก้ป๎ญหา กาหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และด้านอาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม
นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คาปรึกษาแก่ผู้ปกครองใน
การมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน
การจัดกิจกรรมแนะแนว
1. สารวจสภาพป๎ญหา ความต้องการ ความต้องการ ความสนใจ และธรรมชาติของผู้เรียน เพื่อใช้
เป็นข้อมูลในการกาหนดแนวทางและแผนการปฏิบัติกิจกรรมแนะแนว
2. ศึกษาวิสัยทัศน์ของสถานศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลของผู้เรียนที่ได้จากฐานข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล
หรือการสารวจเพื่อทราบป๎ญหา ความต้องการ และความสบใจ เพื่อนาไปก็หนอสารสและรายละเอียดของ
กิจกรรมแนะแนว
3. กาหนดสัดส่วนของกิจกรมด้านการศึกษา การงานและอาชีพ รวมทั้งชีวิตและสังคมให้ได้สัดส่วนที่
เหมาะสม โดยยึดสภาพป๎ญหา ความต้องการ และความสนใจ ตลอดจนธรรมชาติของผู้เรียนเป็นหลัก ทั้งนี้ครู
และผู้เรียนมีสัดส่วนร่วมในการปฏิบัติกิจกรม
4. กาหนดแผนปฏิ บัติกิจกรรมแนะแนวโดยระดับประถมศึกษาจั ดเป็น รายปี /ระดับ เมื่อ กาหนด
สัดส่วนของกิจกรรมในแต่ละด้านแล้ว จะต้องระบุว่าจะจัดกิจกรรมแนะแนวในด้านใด จานวนกี่ชั่วโมง พร้องทั้ง
จะต้องกาหนดรายละเอียดของแต่ละด้านให้ชัดเจนว่าควรมีเรื่องอะไรบ้าง เพื่อจะจัดทาเป็นรายละเอียดของแต่
ละกิจกรรมย่อยต่อไป
5. การจั ด ท ารายละเอี ย ดของแต่ ล ะแผนการปฏิ บั ติ กิ จ กรรมเริ่ ม ตั้ ง แต่ ก ารก าหนดชื่ อ กิ จ กรรม
จุดประสงค์ เวลา เนื้อหา/สาระ วิธีดาเนินกิจกรรม สื่อ/อุปกรณ์ และการประเมินผล
6. ปฏิบัติตามแผนการการปฏิบัติกิจกรรมกรรมแนะแนว วัดและประเมินผล และสรุปรายงาน
2. กิจกรรมนักเรียน
เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นา ผู้ตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทางาน
ร่ว มกั น การรู้ จัก แก้ ป๎ญ หา การตัด สิน ใจที่เ หมาะสม ความมี เหตุผ ล การช่ วยเหลือ แบ่ ง ป๎ นเอื้อ อาทรและ
สมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วนตนเอง
57

ในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผนปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทางานเน้นการ


ทางานร่วมกันเป็นกลุ่มตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียนและบริบทของสถานศึกษา
และท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียนประกอบด้วย
2.1 กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด นักเรียนทุกคนต้องเข้าร่วมกิจกรรมลู กเสือ เนตรนารี ยุว
กาชาด 40 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา ( ระดับประถมศึกษา )
การจัดกิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี มีแนวทางการจัดกิจกรรมตามวิธีการลูกเสือ(Scout Metthod ) ซึ่ง
มีองค์ประกอบ 7 ประการ คือ
1. คาปฏิญาณและกฎ ถือเป็นหลักเกณฑ์ที่ลูกเสือทุกคนให้คามั่นสัญญาว่า จะปฏิบัติตามกฎ
ของลูกเสือ กฎของลูกเสือ กฎของลูกเสือมีไว้ให้ลูกเสือเป็นหลักในการปฏิบัติไม่ได้ "ห้าม" ทาหรือ "บังคับให้"ทา
แต่ถ้า "ทา" ก็จะทาให้เกิดผลดีแก่ตัวเอง เป็นคนดี ได้รับการยกย่องว่าเป็นผู้มีเกียรติเชื่อถือได้ ฯลฯ
2. เรียนรู้จากการกระทา เป็นการพัฒนาส่วนบุคคลความสาเร็จหรือไม่สาเร็จของผลงานอยู่
ที่การกระทาของตนเองทาให้มีความรู้ที่ชัดเจนและสามารถแก้ป๎ญหาต่างๆ ได้ตัวเองและท้าทายความสามารถ
ของตนเอง
3. ระบบหมู่ เป็นรากฐานอันแท้จริงของการลูกเสือเป็นพื้นฐานในการอยู่ร่วมกันการยอมรับ
ซึ่ง กัน และกัน การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบการช่วยเหลือซึ่งกันและกันซึ่งเป็นการเรียนรู้การใช้ประชาธิปไตย
เบื้องต้น
4. การใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ฝึกให้มีความเป็นหนึ่งเดียวในการเป็นสมาชิกลูกเสือเนตรนารี
ด้วยการใช้สัญลักษณ์ร่วมกัน ได้แก่ เครื่องแบบ เครื่องหมาย การทาความเคารพ รหัส คาปฏิญ าณ กฎ คติพจน์
คาขวัญ ธง เป็นตัน วิธีการนี้จะช่วยให้ผู้เรียนตระหนักและภาคภูมิใจในการเป็นสมาชิกขององค์การลูกเสือแห่ง
โลก ซึ่งมีสมาชิกทั่วโลก และเป็นองค์กรที่มีจานวนสมาชิกมากที่สุดในโลก
5. การศึกษาธรรมชาติ คือสิ่งสาคัญอันดับ 1 ในกิจกรรมของลูกเสือธรรมชาติอันโปร่งใส
ตามชนบทป้าเขา ป่าละเมาะ และพุ่มไม้ เป็นที่ปรารถนาอย่างยิ่งมีการในการไปทากิจกรรมกับธรรมชาติการ
ปีนเขาตั้งค่ายพักแรมในสุดสัปดาห์ หรือ ตามว่าระของการอยู่ค่ายพักแรมตามกฎระเบียบเป็นที่เสน่หาแก่เด็ก
ทุกคนถ้ากาดสิ่งนี้แล้วก็ไม่เรียกว่าใช้ชีวิตแบบลูกเสือ
6. ความก้ า วหน้ า ในการเข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม กิ จ กรรมต่ า งๆ ที่ จั ด ให้ เ ด็ ก ท าต้ อ งให้ มี
ความก้าวหน้าและดึงดูดใจ สร้างให้เกิดความกระตือรือร้น อยากที่จะทาและวัตถุประสงค์ในการจัดแต่ละอย่าง
ให้สัมพันธ์กับความหลากหลายในการพัฒนาตนเองเกมการเล่นที่สนุกสนาน การแข่งขันกันก็เป็นสิ่งดึงดูดใจ
และเป็นการจูงใจที่ดี
7. การสนับสนุนโดยผู้ใหญ่ ผู้ใหญ่เป็นผู้ที่ชี้แนะหนทางที่ถูกต้องให้แก่เด็กเพื่อให้เขาเกิด
ความมั่นใจในการที่จะตัดสินใจกระทาสิ่งใดลงไปทั้งคู่มีความต้องการการซึ่งกันและกันเด็กก็ต้องการให้ผู้ใหญ่
เองก็ต้องการนาพาให้ไปสู่หนทางที่ดี ให้ได้รับการพัฒนาอย่างถูกต้องและดีที่สุด จึงเป็นการร่วมมือกันทั้งสอง
ฝ่าย
58

2.2 กิจกรรมชุมนุ ม นัก เรีย นทุก คนต้ องเข้ าร่ว มกิจ กรรมชุมนุ ม 40 ชั่ วโมงต่อปี การศึกษาแนว
ทางการจัดกิจกรรมชุมนุม
โรงเรียนเตรียมอุ ดมป๊อกกาแล็ต จัด กิจกรรมชุ มนุมตามความเหมาะสมกับ บริบทและสภาพของ
โรงเรียนดังนี้
1. จัดกิจกรรมชุมนุมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมตามความรู้ความถนัด และความสนใจของ
ผู้เรียน เป็นกิจกรรมระยะเวลา 1 ปีการศึกษา สาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา ได้แก่

1.1 ชุมนุมอาขยาน 1.8 ชุมนุมพยาบาล


1.2 ชุมนุมศิลปะ 1.9 ชุมนุมกีฬาตามใจฉัน
1.3 ชุมนุมอัจฉริยะคิดเลข 1.10 ชุมนุมวรรณคดีไทย
1.4ชุมนุมคนรักร้องเพลง 1.11 ชุมนุมคาราเต้
1.5 ชุมนุมTikTok 1.12 ชุมนุมรักการอ่าน
1.6 ชุมนุมดนนตรี 1.13 ชุมนุมเต้นโคฟเวอร์
1.7 ชุมนุมวิทย์คิดไปทั่ว

3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนบาเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความ
สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสัง คม และการมีจิต
สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
โรงเรี ยนเตรี ยมอุด มป๊อกกาแล็ต จัดกิจ กรรมพั ฒนาผู้เ รียนตามหลัก สูตรแกนกลางการศึ กษาขั้ น
พื้ น ฐาน พุ ท ธศั ก ราช2551 ทั้ ง 3 ลั ก ษณะมี ค วามสั ม พั น ธ์ เ ชื่ อ มโยงกั น โดยจั ด กิ จ กรรมเพื่ อ สั ง คมและ
สาธารณประโยชน์ 10 ชั่วโมงต่อปีการศึกษา ( ระดับประถมศึกษา )
แนวการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
การจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เน้ นให้ผู้เรียนร่วมกันสารวจและวิเคราะห์สภาพ
ป๎ญ หา ร่ว มกั นออกแบบการจั ดกิ จกรรม วางแผนการจั ดกิ จกรรม ปฏิบั ติกิ จกรรมตามแผนร่ว มสรุป และ
ประเมินผลการจัดกิจกรรม ร่วมรายงานผล พร้อมทั้งประชาสัมพันธ์เผยแพร่ผลการจัดกิจกรรม
1. จัดกิจกรรมในลักษณะบูรณาการใน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมลักษณะโครงการ กิจกรรม
ร่วมกับองค์กรอื่น เป็นกิจกรรมลักษณะเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยให้ผู้เรียนสามารถเลือกเข้าร่วม
กิจกรรมตามความสนใจ ตามความถนัดของผู้เรียน
1. กิจกรรมเขตบริการทาความดี
2. กิจกรรมอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
3. กิจกรรมทาความสะอาดห้องน้าในโรงเรียนและที่สาธารณะ
4. บาเพ็ญประโยชน์บริการตักอาหารและทาความสะอาดตามเวรประจาวัน
59

ส่วนที่ 5
เกณฑ์การจบการศึกษา

หลั ก สูต รสถานศึก ษาโรงเรี ย นเตรี ยมอุ ด มป๊ อ กกาแล็ต ฉบับ ปรับ ปรุ ง พุ ทธศั ก ราช ๒๕๖๓ ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐) กาหนด
เกณฑ์สาหรับการจบการศึกษา ไว้ดังนี้
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑. ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน จานวน ๘๔0 ชั่วโมง และรายวิชาเพิ่มเติมจานวน ๔0 ชั่วโมง และ
มีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านทุกรายวิชา
๒. ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ระดับ "ผ่าน" ขึ้นไป
๓. ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระดับ "ผ่าน" ขึ้นไป
๔. ผู้เรียนต้องเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและได้รับการตัดสินผลการเรียน "ผ่าน" ทุกกิจกรรม
การจัดการเรียนรู้
การจั ด การเรี ย นรู้ เ ป็ น กระบวนการส าคั ญ ในการน าหลั ก สู ต รสู่ ก ารปฏิ บั ติ หลั ก สู ต รแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของผู้ เรียนเป็นเป้าหมายส าหรับ พัฒนาเด็ก และเยาวชนในการพั ฒนาผู้ เรียนให้มีคุ ณสมบัติตามเป้า หมาย
หลักสูตร ผู้สอนพยายามคัดสรรกระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กาหนด
ไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมทั้งปลูกฝ๎ง เสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่าง
ๆ อันเป็นสมรรถนะสาคัญให้ผู้เรียนบรรลุตามเป้าหมาย
๑. หลักการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้สมรรถนะสาคัญและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามที่กาหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยยึดหลักว่าผู้เรียนมี
ความส าคั ญ ที่สุ ด เชื่ อว่ า ทุก คนมี ค วามสามารถเรี ย นรู้ แ ละพั ฒนาตนเองได้ ยื ดประโยชน์ ที่ เกิ ด กับ ผู้ เรี ย น
กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ คานึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความสาคัญทั้งความรู้ และคุณธรรม
2. กระบวนการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ที่ หลากหลายเป็น
เครื่องมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายขงหลักสูตร โดยกระบวนการเรียนรู้ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน อาทิ
กระบวนการเรีย นรู้ แ บบบู ร ณาการ กระบวนการสร้ า งความรู้ กระบวนการคิ ด กระบวนการทางสั ง คม
กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ป๎ญหา กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลง
มือทาจริงกระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนา
ลักษณะนิสัย
60

กระบวนการเหล่านี้ จัดเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝนและพัฒนา
เพราะจะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจาเป็นต้อง
ศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้
ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงจะพิจารณาออกแบบการ
จัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผลเพื่อให้ผู้เรียนได้
พัฒนาเต็มตามศักยภาพ และบรรลุตามเป้าหมายที่กาหนด
๔. บทบาทของผู้สอนและผู้เรียน
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ทั้งผู้สอนและผู้เรียนควรมี
บทบาท ดังนี้
๔.1 บทบาทของผู้สอน
๑. ศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ที่
ท้าทายความสามารถของผู้เรียน
๒. กาหนดเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดขึ้นกับผู้เรียน ด้านความรู้และทั กษะกระบวนการ ในที่เป็น
ความคิดรวบยอด หลักการ และความสัมพันธ์ รวมทั้งคุณลักษณะอันพึงประสงค์
๓. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลแลพัฒนาการ
ทางสมอง เพื่อนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมาย
๔. จัดบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
๕. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อให้เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิป๎ญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่เหมาะสม
มาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน
๖. ประเมินความก้าวหน้าของผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสมกับธรรมชาติของวิชา
และระดับพัฒนาการของผู้เรียน
๗. วิเคราะห์ผลการประเมินเพื่อนามาใช้ในการซ่อมเสริมและพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งปรับปรุงการ
จัดการเรียนการสอนของตนเอง
๔.๒ บทบาทของผู้เรียน
๑. กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อความรู้ ตั้งคาถามคิดหา
คาตอบหรือหาแนวทางแก้ป๎ญหาด้วยวิธีการต่าง ๆ
3. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
4. มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครู
๕. ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง
61

สื่อการเรียนรู้
สื่อการเรียนรู้ เป็นเครื่องมือ ส่ง เสริมสนั บสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะ
กระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้ มี หลากหลาย
ประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติสื่อสิ่งพิมพ์สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่าง ๆ ที่มีในท้องถิ่นการเลือกใช้สื่อ
ควรเลือกให้มีความเหมาะสมกับระดับพัฒนาการ และลีลาการเรียนรู้ที่หลากหลายของผู้เรียนการจัดหาสื่อการ
เรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทาและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่าง ๆ ที่
มีอยู่รอบตัว เพื่อนามาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ ที่สามารถส่งเสริมและสื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
สถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา หน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานควรดาเนินการ
ดังนี้
๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่ายการเรียนรู้ที่
มีประสิทธิภาพ ทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพื่อการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ
เรียนรู้ ระหว่างสถานศึกษา ท้องถิ่น ชุมชน สังคมโลก
2. จัดทาและจัดหาสื่ อการเรียนรู้สาหรับกรศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมทั้ง
จัดหาสิ่งที่มีอยู่ในท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนรู้
๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ที่มีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้องกับวิธีการ
เรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียน
๔. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ที่เลือกใช้อย่างเป็นระบบ
5. ศึกษาค้นคว้า วิจัย เพื่อพัฒนาสื่อการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน
๖. จัดให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเกี่ยวกับสื่อ และการใช้สื่อการเรียนรู้
เป็นระยะ ๆ และสม่าเสมอ
ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพสื่อการเรียนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึง
หลักการสาคัญของสื่อการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบความมั่นคง
ของชาติ ไม่ขัดต่อศีลธรรมมีการใช้ภาษาที่ถูกต้อง รูปแบบการนาเสนอที่เข้าใจง่ายและน่าสนใจ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน ต้องอยู่บนหลักการพื้นฐานสองประการคือ การประเมิน
พัฒนาผู้เรียน และเพื่อตัดสินผลการเรียน ในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ประสบผู้เรียนจะต้อง
ได้รับการพัฒนาและประเมินตามตัวชี้วัด เพื่อให้บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรนสาคัญ และ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนซึ่งเป็นเป้าหมายหลักในการวัดและประเมินผลการเรีย นทุกระดับ ไม่ว่า
จะเป็นระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ การวัดและประเมินผลการ
เรี ยนรู้ เป็ นกระบวนการพั ฒนาคุณ ภาพผู้ เรี ย น โดยใช้ ผ ลการประเมิ นเป็ นข้ อมู ล และสารสนเทศที่ แสดง
พัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จทางการเรียนของผู้เรียน ตลอดจนข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการ
62

ส่ง เสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนา และเรียนรู้อย่างเต็มตามศักยภาพการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ แบ่ง


ออกเป็น 4 ระดับ ประกอบด้วย ระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา และระดับชาติ
โดยมีรายละเอียดดังนี้
1. การประเมิ น ระดั บ ชั้ น เรี ย น เป็ น การวั ด และประเมิ น ผลที่ อ ยู่ ใ นกระบวนการจั ด การเรี ย นรู้
ครู ผู้ ส อนด าเนิ น การเป็ น ปกติ แ ละสม่ าเสมอ ในการจั ด การเรี ย นการสอน ใช้ เ ทคนิ ค การประเมิ น อย่ า ง
หลากหลาย เช่นการชักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ภาระ
งาน แฟ้มสะสมงานการใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผู้สอนเป็นผู้ประเมินเองหรือเปิดโอกาสให้ผู้เรียนประเมิน
ตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน ผู้ปกครองร่วมประเมิน ในกรณีที่ไม่ผ่านตัวชี้วัดให้มีการสอนซ่อมเสริมการประเมิน
ระดับชั้นเรียนเป็นการตรวจสอบว่า ผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการเรียนรู้อันเป็นผลมาจากการจัด
กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่จะต้องได้รับการพัฒนาปรับปรุงและส่งเสริมใน
ด้านใด นอกจากนี้ยัง เป็นข้อมูลให้ผู้สอนใช้ปรับปรุง การเรียนการสอนของตนด้วย ทั้ง นี้โดยสอดคล้องกั บ
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
2. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตัดสินผลการเรียน
ของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน นอกจากนี้เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ว่ าส่ง ผลต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผู้เรียนมีจุดพัฒนาในด้านใด รวมทั้งสามารถนาผลการเรียนของผู้เรี ยน
ในสถานศึกษาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ระดับชาติ ผลการประเมินระดับสถานศึกษาจะเป็นข้อมูลและสารสนเทศ
เพื่ อการปรับ ปรุ งนโยบาย หลั กสู ตร โครงการ หรือ วิธี ก ารจัด การเรี ยนการสอน ตลอดจนเพื่อ การจัด ท า
แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษารูปแบบของสถานศึกษาตามแนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา และการ
รายงานผลการจัดศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษา สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา สานักงานคณะกรรมการปู
พื้นฐาน ผู้ปกครองและชุมชน
๓. การประเมิ น ระดั บ เขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา เป็ น การประเมิ น คุ ณ ภาพผู้ เ รี ย นในระดั บ เขตพื้ น ที่
การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานใน
การพัฒ นาคุณภาพการศึกษาของเขตพื้นที่ก ารศึกษา ตามภาระความรั บผิดชอบ สามารถด าเนินการโดย
ประเมินคุณภาพผลสัมฤทธิ์ของผู้เรี ยนด้วยข้อสอบมาตรฐานที่จัดทา และดาเนินการโดยเขตพื้นที่การศึกษา
หรือด้วยความร่วมมือกับหน่วยงานต้นสังกัดในการดาเนินการจัดสอบ นอกจากนี้ยัง ได้จากการตรวจสอบ
ทบทวนข้อมูลจากการประเมินระดับสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา
4. การประเมินระดับชาติ เป็นการประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับชาติตามมาตรฐานการเรียนรู้ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
ชั้น ประถมศึ ก ษาปี ที่ ๖ เข้ า รั บ การประเมิน ผลจากการประเมิ น ใช้ เ ป็ น ข้ อ มู ล ในการเที ย บเคี ย งคุ ณ ภาพ
การศึกษาในระดับต่าง ๆ เพื่อ นาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็นข้อมูล
สนับสนุนการตัดสินใจในระดับนโยบายของประเทศ
63

ข้อมูลการประเมินในระดับต่าง ๆ ข้างต้น เป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวน


พัฒนาคุณภาพผู้เรียน ถือเป็นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะต้องจัดระบบดูแลช่วยเหลือ ปรับปรุง
แก้ไข ส่งเสริมสนับสนุน เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพบนพื้นฐานความแตกต่างระหว่างบุคคล ที่
จาแนกตามสภาพป๎ญหาและความต้องการ ได้แก่ กลุ่มผู้เรียนทั่วไป กลุ่มผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่ม
ผู้เรีย นที่มี ผลสั มฤทธิ์ทางการเรี ยนต่ า กลุ่มผู้ เรีย นที่มีป๎ ญ หาด้านวินัย และพฤติ กรรม กลุ่มผู้ เรีย นที่ป ฏิเสธ
โรงเรียน กลุ่มผู้เรียนที่มีป๎ญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการทางร่างกายและสติป๎ญญา เป็นต้น ข้อมูล
จากการประเมินจึง เป็นหัวใจของสถานศึกษา ในการดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนได้ทันท่วงที เป็นการเปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาและประสบความสาเร็จในการเรียน
สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวัดและประเมินผลการ
เรียนของสถานศึกษา ให้สอดคล้องและเป็นไปตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติ ที่เป็นข้อกาหนดของหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อให้บุคลากรที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายถือปฏิบัติร่วมกัน

เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
๑. การตัดสิน การให้ระดับ และการรายงานผลการเรียน
๑.๑ การตัดสินผลการเรียน
ในการตั ด สิ น ผลการเรี ย นของกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้ การอ่ า น คิ ด วิ เ คราะห์ แ ละเขี ย น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนนั้น ผู้สอนต้องคานึงถึงการพัฒนาผู้เรียนแต่ละคนเป็น
หลักและต้องเก็บข้อมูลของผู้เรียนทุกด้านอย่างสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมทั้งสอนซ่อมเสริม
ผู้เรียนให้พัฒนาจนเต็มตามศักยภาพ
ระดับประถมศึกษา
1 ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘ ของเวลาเรียนทั้งหมด
๒ ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัด และผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
๓ ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
4 ผู้เรียนต้องได้รับการประเมิน และมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
ในการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
การพิจารณาเลื่อนชั้น ถ้าผู้เรียนมีข้อบกพร่องเพียงเล็กน้อย และสถานศึกษาพิจารณาเห็นว่าสามารถ
พัฒนาและสอนซ่อมเสริมได้ ให้อยู่ในดุลพินิจของสถานศึกษาที่จะผ่อนผันให้เลื่อนชั้นได้ แต่หากผู้เรียนไม่ผ่าน
รายวิช าจ านวนมาก และมี แนวโน้ม ว่า จะเป็ นป๎ ญ หาต่ อการเรี ยนในระดับ ชั้น ที่สู ง ขึ้ น สถานศึก ษาอาจตั้ ง
คณะกรรมการพิจารณาให้เรียนซ้าชั้นได้ ทั้ง นี้ให้คานึงถึง วุฒิภาวะและความรู้ความสามารถของผู้ เรียนเป็น
สาคัญ
64

๑.๒ การให้ระดับผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา ในการตัดสินเพื่อให้ระดับผลการเรียนรายวิชา สถานศึกษาสามารถให้
ระดับผลการเรียนหรือระดับคุณภาพการปฏิบัติของผู้เรียน เป็นระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
และระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์นั้น ให้ระดับผล
การประเมินเป็น "ดีเยี่ยม ดี และ ผ่าน"
การประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จะต้องพิจารณาทั้งเวลาการเข้าร่วมกิจกรรม การปฏิบัติ
กิจกรรมและผลงานของผู้เรียน ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด และให้ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเป็น "ผ่าน และ
ไม่ผ่าน"
๑.๓ การรายงานผลการเรียน
การรายงานผลการเรียน เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าใน
การเรียนรู้ของผู้เรียนซึ่งสถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมินและจัดทาเอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็น
ระยะ ๆ หรืออย่างน้อยภาคเรียนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรี ยน สามารถรายงานเป็ นระดั บคุ ณ ภาพการปฏิ บั ติข องผู้ เ รี ย นที่
สะท้อนมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
๒. เกณฑ์การจบการศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดเกณฑ์กลางสาหรับการจบการศึกษาเป็น ๑ ระดับ
คือ ระดับประถมศึกษา
๒.๑ เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑ ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐาน และรายวิช/กิจกรรมเพิ่มเติ ม ตามโครงสร้างเวลาเรียนที่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานกาหนด
๒ ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐาน ผ่ านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษา
กาหนด
๓ ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมิน
ตามที่สถานศึกษากาหนด
4 ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
5 ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่
สถานศึกษากาหนด
สาหรับการจบการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ เช่น การศึกษาเฉพาะทาง การศึกษาสาหรับผู้มี
ความสามารถพิ เ ศษ การศึ ก ษาทางเลื อ ก การศึ ก ษาส าหรั บ ผู้ ด้ อ ยโอกาส การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย ให้
คณะกรรมการของสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้อง ดาเนินการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
65

ตามหลักเกณฑ์ในแนวปฏิบัติ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
สาหรับกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ

เอกสารหลักฐานการศึกษา
เอกสารหลักฐานการศึกษา เป็นเอกสารสาคัญที่บั่นทึกผลการเรียน ข้อมูล และสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง
กับพัฒนาการของผู้เรียนในด้านต่าง ๆ แบ่งออกเป็น 6 ประเภท ดังนี้
๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนf
1.1 ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของผู้เรียน
ตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของ
สถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษาจะต้องบันทึก ข้อมูลและออกเอกสารนี้ให้
ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เมื่อผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖)
๑.๒ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็นเอกสารอนุมัติการจนหลักสูตร โดยบันทึกรายชื่อและ
ข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖)
๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขึ้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการเรียนรู้ และข้อมูลสาคัญเกี่ยวกับ
ผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจาตัวนักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม ใบรับรอง
ผลการเรียน และเอกสารอื่น ๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนาเอกสารไปใช้

การเทียบโอนผลการเรียน
สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผู้เรียนในกรณีต่าง ๆ ได้แก่ การย้ายสถานศึกษา การ
เปลี่ยนรูปแบบการศึกษา การย้ายหลักสูตร การออกกลางคันและขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจาก
ต่างประเทศและขอเข้าศึกษาต่อในประเทศ นอกจากนี้ ยังสามารถเทียบโอนความรู้ ทักษะ ประสบการณ์จาก
แหล่งการเรียนรู้อื่น ๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบันศาสนา สถาบันการฝึกอบรมอาชีพ การจัดการศึกษา
โดยครอบครัว
การเทียบโอนผลการเรียน ควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิดภาคเรียนแรก หรือต้นภาคเรียนแรกที่
สถานศึกษารับผู้ขอเทียบโอนเป็นผู้เรียน ทั้งนี้ ผู้เรียนที่ได้รับการเทียบโอนผลการเรียนต้องศึกษาต่อเนื่องใน
สถานศึกษาที่รับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจากการเทีย บโอนควรกาหนด
รายวิชา/จานวนหน่วยกิต ที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม
การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ดังนี้
๑. พิจารณาจากหลักฐานการศึกษา และเอกสารอื่น ๆ ที่ให้ข้อมูลแสดงความรู้ ความสามารถของ
ผู้เรียน
2. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียน โดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ทั้งภาคความรู้
และภาคปฏิบัติ
66

3. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบัติในสภาพจริงการเทีย บโอนผลการเรียนให้เป็นไปตาม
ประกาศ หรือแนวปฏิบัติของกระทรวงศึกษาธิการ

การบริหารจัดการหลักสูตร
ในระบบการศึกษาที่มีการกระจายอานาจให้ท้องถิ่น และสถนศึกษามีบทบาทในการพัฒนาหลักสูตร
นั้น หน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในแต่ละระดับ ตั้ง แต่ระดับชาติ ระดับท้องถิ่น จนถึง ระดับสถานศึกษา มี
บทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบในการพัฒนา สนับสนุน ส่งเสริมการใช้ และพัฒนาหลักสูตรให้เป็นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ เพื่อให้การดาเนินการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา
มีประสิทธิภาพสูงสุด อันจะส่งผลให้การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ใน
ระดับชาติ
ระดั บท้ องถิ่น ได้ แก่ สานัก งานเขตพื้ นที่ การศึก ษา หน่ วยงานต้น สัง กัด อื่น ๆ เป็ นหน่ วยง านที่ มี
บทบาทในการขับเคลื่อนคุณภาพการจัดการศึกษา เป็นตัวกลางที่จะเชื่อมโยงหลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้น
พื้นฐานที่กาหนดในระดับชาติ ให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น เพื่อนาไปสู่การจัดทา
หลักสูตรของสถานศึกษา ส่งเสริมการใช้และพัฒนาหลักสูตรในระดับสถานศึกษา ให้ประสบความสาเร็จ โดยมี
ภารกิจกาหนดเป้าหมายและจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในระดับท้องถิ่น โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับสิ่ง
ที่เป็นความต้องการในระดับชาติ พัฒนาสาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ประเมินคุณภาพการศึกษาในระดับท้องถิ่น
รวมทั้ง เพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้ว ยการวิจัยและการพัฒนาบุคลากร สนับสนุน ส่ง เสริม ติดตามผล
ประเมินผลวิเคราะห์ และรายงานผลคุณภาพของผู้เรียน
สถานศึกษามีหน้าที่สาคัญในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้หลักสูตร
การเพิ่มพูนคุณภาพการใช้หลักสูตรด้วยการวิจัย และพัฒนาการปรับปรุงและพั ฒนาหลักสูตร จัดทาระเบียบ
การวัดและประเมินผล ในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ต้องพิจารณาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และรายละเอียดที่เขตพื้นที่การศึกษา หรือหน่วยงานสังกัดอื่น ๆ ในระดับท้องถิ่นได้
จัดทาเพิ่มเติม รวมทั้งสถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพป๎ญหาในชุมชนและสังคม ภูมิป๎ญญา
ท้องถิ่นและความต้องการของผู้เรียน โดยทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา
67

คณะผู้จัดทาหลักสูตรสถานศึกษา
โรงเรียนเตรียมอุดมป๊อกกาแล็ต ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖4
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
(ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖0)

1. นางสาวสุพัตรา ศาลางาม 63121010108 sec 10 หัวหน้า


2. นางสาวดลนภา ศรีลาไลย์ 63121880109 sec 10 รองหัวหน้า
3. นางสาวสร้อยสุวรรณ ไม่ย่อท้อ 63121040206 sec 10 กรรมการ
4. นาย ณัฐวุฒิ แสนศรี 63121020203 sec 09 กรรมการ
5. นายศิริวัฒน์ พางาม 63121890210 sec 11 กรรมการ
6. นางสาวจิราภา ท่าดี 63121050110 sec 12 กรรมการ

You might also like