Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 3

ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 6 รหัสวิชา ค33202


ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
******************************************************************************************************
คำชี้แจง : ข้อสอบมี 3 ตอน คือ
ตอนที่ 1 เป็นข้อสอบแบบปรนัย 4 ตัวเลือก มี 15 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นข้อสอบแบบเติมคำตอบ มี 5 ข้อ
ตอนที่ 3 เป็นข้อสอบแบบอัตนัย มี 3 ข้อ (รวมทั้งสิ้น 20 คะแนน)
ตอนที่ 1 (ข้อสอบปรนัย 15 ข้อ)
คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำเครื่องกากบาท () หน้าคำตอบที่ถูกต้องที่สุด (ข้อละ 0.5 คะแนน รวม 7.5 คะแนน)

1. ข้อใดไม่ได้หมายถึงอนุพันธ์ของฟังก์ชัน 7. กำหนดให้ f ( x) =
1
ข้อใดไม่ถูกต้อง
df ( x) f ( x + h) − f ( x ) x
ก ข lim
dx h →0 h ก f (1) = 1 ข f (1) = 2

ค y ( x) 
ง f ( x) ค f (1) = −6 ง f (4) (1) = −24
2. ข้อใดไม่ถูกต้อง 8. รถยนต์คันหนึ่งเคลื่อนที่ด้วยระยะทาง s(t ) = t 3 − 6t 2 + 3t + 15
d 5 3 x 5 − 23 d (2 x 2 − 3x + 5) จะต้องใช้เวลานานเท่าไร ความเร่งจึงจะเป็น 0
ก = x ข = 4x − 3
dx 3 dx ก t =1 ข t =2
d 4x3
1

2
d 2 x −3
ค t =3 ง t =4
ค = 3x 3 ง = −6 x −4
dx dx x 2 − 3x + 2
9. lim มีค่าตรงกับข้อใด
x → 2 2 x 2 + x − 10
3. ถ้า f ( x) = x3 − 4 x + 7 ข้อใดถูกต้อง
ก 9 ข −9
ก f (2) = 2 ข f (−2) = 10 1 1
ค f (1) = 1 ง f (−1) = −1 ค ง −
9 9
4. กำหนดให้ f ( x) = (2 x + 5)2 จงหา f ( x) 10. ความชันของเส้นโค้ง y = x2 ณ จุด x = 1 มีค่าตรงกับข้อใด
ก 4 x2 + 25 ข 4 x2 + 20 x + 25 ก 2 ข −2
ค 8x + 20 ง 8x − 20 1 1
ค ง −
2 2
x −1
5. กำหนดให้ f ( x) = ข้อใดหาค่าไม่ได้
x +1 11. สมการเส้นตรงที่ตั้งฉากกับเส้นสัมผัสกราฟ y = x2 − 2 x + 5 ที่จุด
ก f (−1) ข f (0) (0,5) คือสมการในข้อใด
ค f (1) ง f (2) ก 2x + 5 ข 2x − 5
x x
1 ค +5 ง −5
6. กำหนดให้ g ( x) = 2 ข้อใดคือ g ( x) 2 2
x + 2x − 5
2x + 2 2x + 2 12. ข้อใดสรุปได้ถูกต้อง
ก − ข
( x + 2 x − 5) ( x + 2 x − 5)
2 2 2 2
3 2
ก  (2 x + 1)dx = −10 ข  (x − 1)dx = 0
2

(x + 2 x − 5) (x + 2 x − 5)
2 2 2 2
1 −1
ค − ง 4
2
2
x2 + 2
2x + 2 2x + 2 ค (0 x
+ 1)dx = 8 ง (
1
x2
)dx = 0
3

13. ถ้า f ( x) = x − 2 x แล้ว f ( x) เป็นฟังก์ชันลด เมื่อ x มีค่าเป็น


2 15. กำหนดให้ f ( x) = 2 x − 4 ถ้า f (0) = 1 แล้ว  f ( x)dx
0
เท่าใด
มีค่าเป็นเท่าใด
1 3
ก x= ข x= ก 12 ข −12
2 2
1 1
5 7 ค ง −
ค x= ง x= 12 12
2 2

14. ข้อใดสรุปได้ไม่ถูกต้อง
2x x
ก  xdx = 3 + c
ข  ( x + 1)( x − 1)dx = 3x −x+c
3

1
ค  x
dx = 2 x + c

x2 + 2x x2
ง  dx = + 2 x + c
x 2

ตอนที่ 2 (ข้อสอบเติมเครื่องหมายถูก - ผิด 5 ข้อ)


คำชี้แจง : ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย ✓ หน้าข้อความที่ถูกต้อง และทำเครื่องหมาย  หน้าข้อความที่ผิด
(ข้อละ 0.5 คะแนน รวม 2.5 คะแนน)

1. ___________ ( g f )( x) = g ( f  ( x )) = g ( f ( x))  f ( x)

2. ___________ ฟังก์ชัน y = x2 − 2 x + 5 ที่จุด (0,5) มีความชันเป็น −2

3. ___________ เมื่อให้ฟังก์ชันระยะทาง อนุพันธ์อันดับสามของฟังก์ชันระยะทาง คือ ฟังก์ชันความเร่ง


4. ___________ เมื่อกำหนดฟังก์ชันมาให้ อนุพันธ์ของฟังก์ชันเมื่อให้ค่าเป็นบวก แสดงว่าฟังก์ชันที่ให้เป็นฟังก์ชันลด
5. ___________ การหาปริพันธ์ที่ไม่จำกัดเขตจะต้องบวกค่า c เสมอ แต่การหาปริพันธ์ที่จำกัดเขตไม่จำเป็นต้องบวกค่า c

ตอนที่ 3 (ข้อสอบอัตนัย 3 ข้อ)


คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำอย่างละเอียด (รวม 10 คะแนน)
1
1. กำหนดให้ f ( x) = 7 x 7 − 12 x 4 + − 12 x − 7 และ g ( x) = 6 x3 + 4 x2 − x + 17
x3
จงหาค่าของ (3 คะแนน)

f ( x)dx =

f (4) ( x)dx =

 g ( x)dx =
2. โยนลูกบอลขึน้ ไปในอากาศ โดยลูกบอลเคลื่อนที่ด้วยสมการ s(t ) = t 2 − 4t เมื่อเคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งสูงสุดความเร็วของลูกบอลมี
ค่าเป็น 0 เมตรต่อวินาที จงหาว่า (4 คะแนน)

2.1 ณ ตำแหน่งสูงสุดลูกบอลเคลื่อนที่ได้กี่วินาที
จาก s(t ) = t 2 − 4t
จะได้ v(t ) =
เมื่อตำแหน่งสูงสุดความเร็วเป็นศูนย์
จะได้ =
=
=

= =

ดังนั้น ณ ตำแหน่งสูงสุดลูกบอลเคลื่อนที่ได้ วินาที

2.2 การเคลื่อนทีข่ องลูกบอลจากเริ่มต้น จนตกลงสู่พนื้ เคลื่อนที่ได้ระยะทางเท่าใด


ถ้าลูกบอลเคลื่อนที่ไปยังจุดสูงสุดใช้เวลา วินาที
ดังนั้นลูกบอลเคลื่อนจากเริ่มต้น จนตกสู่พื้นจะใช้เวลา วินาที
แทนเวลาทั้งหมดที่ใช้ในการเคลื่อนที่ใน s(t )
จะได้ s(t ) =
ดังนั้น ลูกบอลเคลื่อนที่จากเริ่มต้น จนตกลงสู่พื้นเคลื่อนที่ได้ระยะทาง เมตร

3. กำหนดให้ f ( x) = 2 x − 4 จงหาพื้นที่ปิดล้อมเส้นโค้งกับแกน X เมื่อ x = 1 ถึง 3 (3 คะแนน)

X
-2 -1 0 1 2 3 4

จาก f ( x) = 2 x − 4 ตัดกับแกน X
ดังนั้นกำหนดค่า Y = เพือ่ หาจุดตัดแกน X
จะได้ จุดตัดแกน X คือจุด ( , )
2  3 
มีพื้นที่แรเงาสองส่วนคือ [1, 2] และ [2,3] นั่นคือ พื้นทีป่ ิดล้อมเส้นโค้งหาได้จาก   2 x − 4  +   2 x − 4  dx
1  2 
และ  2 x − 4dx =
2  3 
แทนค่า   2 x − 4  +   2 x − 4  dx
1  2 
 1  2  1  3
จะได้     +    
 2  1  2  2

= ( x 2 − 4( x) ) − ( x 2 − 4( x) )  + ( x 2 − 4( x) ) − ( x 2 − 4( x) ) 

= ( ) − ( ) + ( ) − ( )

=( )+( ) =

You might also like