Gatconnect Question Paper 2

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 17

สนามสอบ GAT-PAT

วิชาความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1)
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.
ข้อสอบโดย : สถาบันกวดวิชา OnDemand
ชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ
สถานที่สอบ ห้องสอบ

กรุณาอ่านค�ำอธิบายให้เข้าใจ ก่อนลงมือท�ำข้อสอบ
1. ข้อสอบมี 2 บทความ จ�ำนวน 17 หน้า คะแนนเต็ม 150 คะแนน
หน้า 2-6 : ตัวอย่างข้อสอบและวิธีการตอบข้อสอบ
หน้า 7-15 : บทความที่ใช้ในการสอบ
หน้า 16-17 : ที่ว่างส�ำหรับร่างค�ำตอบ
2. ก่อนตอบค�ำถามให้เขียนชื่อ-นามสกุล เลขที่นั่งสอบ สถานที่สอบ และห้องสอบ
บนหน้าปกข้อสอบ
3. ให้เขียนชื่อ-นามสกุล ข้อมูลส่วนบุคคลและที่นั่งสอบในกระดาษค�ำตอบ
และตรวจสอบเลขที่นั่งว่าตรงกับบัตรประจ�ำตัวผู้เข้าสอบ
4. ให้ดูค�ำแนะน�ำวิธีระบายตัวเลือกในกระดาษค�ำตอบที่ด้านในของปกหน้าของ
ข้อสอบ
5. ใช้ดินสอด�ำเบอร์ 2B ระบายวงกลมตัวเลือกในกระดาษค�ำตอบให้เต็มวง
(ห้ามระบายนอกวง) ถ้าต้องการเปลี่ยนตัวเลือกใหม่ต้องลบให้สะอาดจน
หมดรอยด�ำแล้วจึงระบายวงกลมตัวเลือกใหม่
6. เมื่อสอบเสร็จให้วางกระดาษค�ำตอบไว้ด้าน บนข้อสอบ
7. ห้ามน�ำข้อสอบและกระดาษค�ำตอบออกจากห้องสอบ
8. ไม่อนุญาตให้ผู้เข้าสอบออกจากห้องสอบก่อนหมดเวลาสอบ
9. ไม่อนุญาตให้ผู้คุมสอบเปิดอ่านข้อสอบ

เอกสารนี้เป็นลิขสิทธิ์ของบริษัท เลิร์น คอร์ปอเรชั่น จ�ำกัด


การท�ำซ�้ำ ดัดแปลง หรือเผยแพร่เอกสารดังกล่าว จะถูกด�ำเนินคดีตามกฎหมาย
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 2
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ค�ำอธิบายจุดมุ่งหมายและลักษณะของข้อสอบ
ข้อสอบฉบับนีม้ จี ดุ มุง่ หมายเพือ่ ทดสอบความสามารถในการอ่านจับใจความ คิดวิเคราะห์ และสังเคราะห์
ความเชือ่ มโยงสัมพันธ์ของประเด็นและสาระส�ำคัญต่างๆ ส�ำหรับลักษณะข้อสอบและวิธกี ารตอบข้อสอบ
ได้แสดงไว้ในตัวอย่างเรือ่ ง “นักเรียนดี” หน้า 2-6 ในตัวอย่างได้แนะน�ำวิธีสังเคราะห์ค�ำตอบโดยเริ่ม
จากการร่างแผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงสัมพันธ์ของประเด็นต่างๆ ก่อน แล้วแปลงเป็นรหัสค�ำตอบ
ใส่ไว้ในตาราง หลังจากนั้นจึงระบายรหัสค�ำตอบลงในกระดาษค�ำตอบ เนื่องจากการตรวจให้คะแนน
จะตรวจค�ำตอบทีร่ ะบายไว้ในกระดาษค�ำตอบเท่านัน้ ดังนั้นผู้เข้าสอบอาจไม่จ�ำเป็นต้องใช้วิธีการ
ตามที่แนะน�ำในตัวอย่างนี้ก็ได้

ตัวอย่างข้อสอบและวิธีการตอบข้อสอบ

ค�ำสั่ง
อ่านบทความเรื่อง “นักเรียนดี” ในบทความมีข้อความที่พิมพ์ด้วยอักษรตัวเข้มอยู่ 8 ข้อความ ท้าย
บทความจะมีตารางสรุปข้อความที่ก�ำหนด ซึ่งแต่ละข้อความมีตัวเลข 2 หลักก�ำกับ แล้วสรุปความ
เชื่อมโยงของข้อความที่ก�ำหนดแต่ละข้อความกับข้อความอื่นๆ ที่เหลือ ให้สอดคล้องกับเนื้อหาใน
บทความ และเป็นไปตามเกณฑ์ดังต่อไปนี้
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) ที่เป็นผลโดยตรง ให้ระบาย
ตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่เป็นผลโดยตรง แล้วตามด้วยตัวอักษร “A”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/
ลักษณะ ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/ลักษณะ แล้วตามด้วย
ตัวอักษร “D”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีผลท�ำให้ข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/
ห้าม/ขัดขวาง ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวางนั้น แล้ว
ตามด้วยตัวอักษร “F”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดไม่มีข้อความอื่นที่เป็นผลโดยตรงหรือที่เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/
ลักษณะ หรือที่ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวาง ดังกล่าวข้างต้น ให้ระบายค�ำตอบเป็นตัวเลข
“99” แล้วตามด้วยอักษร “H”
ทัง้ นีใ้ ห้ใช้เลขก�ำกับข้อความทีก่ ำ� หนด 01, 02, 03, ..., 08 เป็นเลขข้อ 1, 2, 3, ..., 8 ในกระดาษค�ำตอบ
ข้อสอบแต่ละข้ออาจจะมีได้หลายค�ำตอบ หากตอบผิดจะถูกหักคะแนนค�ำตอบที่ผิด
ค�ำตอบละ 3 คะแนน
โดยหักจากคะแนนรวมของข้อสอบข้อนั้นๆ (ไม่หักคะแนนข้ามข้อ) ดังนั้นถ้าไม่มั่นใจ อย่าเดา
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 3
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

นักเรียนดี
นักเรียนดีเป็นอย่างไร หากจะกล่าวอย่างสั้นที่สุดก็คือ นักเรียนดีจะต้องมีคุณสมบัติหรือองค์ประกอบ
อย่างน้อย 2 อย่าง คือ เรียนเก่งและเป็นคนดี เหตุปัจจัยที่ส่งผลให้นักเรียนเป็นนักเรียนที่ดีมีหลายอย่าง
เช่น พื้นฐานจิตใจนักเรียน คุณภาพการเรียนการสอน คุณภาพอาจารย์ คุณภาพสถานศึกษา ส�ำหรับ
คุณภาพการเรียนการสอนนั้น นอกจากเรื่องห้องสมุด อาคารสถานที่อุปกรณ์ สื่อการศึกษา ฯลฯ ยังขึ้น
กับคุณภาพอาจารย์ด้วย นอกจากนี้จะต้องรู้จักระวัง หลีกเลี่ยงสิ่งที่จะก่อให้เกิดความเสียหายต่อตนเอง
เช่น การคบเพื่อนเลว เพราะย่อมสามารถลดหรือบั่นทอนความเป็นคนดีได้โดยง่าย

ตารางข้อความที่ก�ำหนด
ร่างรหัสค�ำตอบ
เลขก�ำกับ ข้อความที่ก�ำหนด ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ
ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4
01 การคบเพื่อนเลว
02 คุณภาพการเรียนการสอน
03 คุณภาพสถานศึกษา
04 คุณภาพอาจารย์
05 นักเรียนดี
06 เป็นคนดี
07 พื้นฐานจิตใจนักเรียน
08 เรียนเก่ง
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 4
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ค�ำแนะน�ำวิธีการท�ำข้อสอบ
น�ำข้อความพร้อมหมายเลขก�ำกับที่สรุปไว้ในตารางท้ายบทความ มาร่างเป็นแผนภูมิเพื่อแสดงความ
เชื่อมโยงสัมพันธ์ตามบทความเรื่อง นักเรียนดี โดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
- เส้นที่มีหัวลูกศร ( ) ชี้จากข้อความที่ก�ำหนดไปยังข้อความที่ เป็นผลโดยตรง
- เส้นที่ไม่มีหัวลูกศร ( ) โยงจากข้อความที่ก�ำหนดไปยังข้อความที่ เป็นองค์ประกอบ/
คุณสมบัต/ิ ลักษณะ
- เส้นที่มีหัวลูกศรและกากบาท ( ) ชี้จากข้อความที่ก�ำหนดไปยังข้อความที่ ถูกลด/ยับยั้ง/
ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวาง

04

02 03

01 05 07

06 08

ข้อความ (05) นักเรียนดี มีองค์ประกอบหรือคุณสมบัติ 2 ประการ คือ (06) เป็นคนดี และ (08)
เรียนเก่ง ดังนั้นในแผนภูมิจึงเชื่อมโยงด้วยเส้นที่มีจุดอยู่ตรงปลาย
ข้อความ (04) คุณภาพอาจารย์ เป็นเหตุ มีผลโดยตรงต่อ (02) คุณภาพการเรียนการสอน และ (05)
นักเรียนดี จึงแสดงความเชื่อมโยงด้วยเส้นที่มีหัวลูกศร
ข้อความ (01) การคบเพื่อนเลว มีผลลดหรือบั่นทอน (06) เป็นคนดี จึงแสดงความเชื่อมโยงด้วย
เส้นที่มีหัวลูกศรและกากบาท
จากแผนภูมทิ รี่ า่ งข้างต้น สรุปความเชือ่ มโยงของข้อความทีก่ ำ� หนดกับข้อความอืน่ ตามเกณฑ์ เป็นรหัสค�ำ
ตอบใส่ไว้ในตารางได้ ดังนี้
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 5
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ตารางข้อความที่ก�ำหนด
ร่างรหัสค�ำตอบ
เลขก�ำกับ ข้อความที่ก�ำหนด ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ
ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4
01 การคบเพื่อนเลว 06F
02 คุณภาพการเรียนการสอน 05A
03 คุณภาพสถานศึกษา 05A
04 คุณภาพอาจารย์ 02A 05A
05 นักเรียนดี 06D 08D
06 เป็นคนดี 99H
07 พื้นฐานจิตใจนักเรียน 05A
08 เรียนเก่ง 99H

ข้อความ (04) คุณภาพอาจารย์ เป็นเหตุ ส่วน (02) คุณภาพการเรียนการสอน และ (05) นักเรียนดี
เป็นผลโดยตรง ดังนั้นจึงมีค�ำตอบ 2 ค�ำตอบคือ รหัส 02A และ 05A
ข้อความ (05) นักเรียนดี มีองค์ประกอบหรือคุณสมบัติอยู่ 2 ประการ คือ (06) เป็นคนดี และ
(08) เรียนเก่ง จึงมี 2 ค�ำตอบเช่นกัน คือ รหัส 06D และ 08D
ข้อความ (01) การคบเพื่อนเลว มีผลลดหรือบั่นทอน (06) เป็นคนดี จึงมี 1 ค�ำตอบ คือ 06F
ข้อความ (08) เรียนเก่ง ไม่มีข้อความใดเป็นผลโดยตรง หรือที่เกิดขึ้นในล�ำดับถัดมา หรือที่เป็น
องค์ประกอบ/คุณสมบัต/ิ ลักษณะ หรือทีถ่ กู ลด/ยับยัง้ /ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวาง ค�ำตอบจึงเป็น 99H
วิธีระบายค�ำตอบในกระดาษค�ำตอบ
กระดาษค�ำตอบจะมีจ�ำนวนข้ออยู่ 20 ข้อ คือ ข้อ 1-20 (ข้อ 11-20 อยู่หน้าหลัง) ข้อสอบแต่ละข้อมีกลุ่ม
วงกลมส�ำหรับระบายค�ำตอบได้ 4 ค�ำตอบ คือ ค�ำตอบที่ 1, 2, 3 และ 4 เรียงล�ำดับตามแนวตั้ง
ส�ำหรับวิธีการระบายค�ำตอบ ได้แสดงตัวอย่างการระบายค�ำตอบข้อ 4 ของข้อสอบเรื่อง นักเรียนดี
ซึ่งมีสองค�ำตอบ คือ 02A และ 05A ดังนั้นค�ำตอบที่ 1 จึงระบาย 0, 2 และ A และค�ำตอบที่ 2 จึงระบาย
0, 5 และ A ดังนี้
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 6
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ข้อ 4 ค�ำตอบที่ 1 คือ 02A


ระบาย 0 ระบาย A
ระบาย 2

ข้อ 4 ค�ำตอบที่ 2 คือ 05A


ระบาย 0 ระบาย A

ระบาย 5
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 7
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

บทความที่ใช้ในการสอบ
ค�ำสั่ง
อ่านบทความ 2 เรื่อง ได้แก่
1) เรือ่ ง ผลกระทบ Covid-19 กับภาคเศรษฐกิจและแรงงาน ในบทความนีม้ ขี อ้ ความทีก่ ำ� หนด ซึง่ พิมพ์
ด้วยอักษรตัวเข้มอยู่ 10 ข้อความ ท้ายบทความจะมีตารางสรุปข้อความที่ก�ำหนด ซึ่งแต่ละข้อความ
มีตวั เลข 2 หลักก�ำกับตัง้ แต่เลข 01 ถึง 10 แล้วสรุปความเชือ่ มโยงของข้อความทีก่ ำ� หนดแต่ละข้อความ
กับข้อความอื่นๆ ที่เหลือให้สอดคล้องกับเนื้อหาในบทความ และเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด
2) เรื่อง ขยะพลาสติกกระทบชีวิตต้องแก้ร่วมกัน ในบทความนี้มีข้อความที่ก�ำหนด ซึ่งพิมพ์ด้วยอักษร
ตัวเข้มอยู่ 10 ข้อความ ท้ายบทความจะมีตารางสรุปข้อความทีก่ ำ� หนด ซึง่ แต่ละข้อความมีตวั เลข 2 หลัก
ก�ำกับตั้งแต่เลข 11 ถึง 20 แล้วสรุปความเชื่อมโยงของข้อความที่ก�ำหนดแต่ละข้อความกับข้อความ
อื่นๆ ที่เหลือให้สอดคล้องกับเนื้อหาในบทความ และเป็นไปตามเกณฑ์ที่ก�ำหนด

เกณฑ์ที่ก�ำหนดมีดังต่อไปนี้
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) ที่เป็นผลโดยตรง ให้ระบาย
ตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่เป็นผลโดยตรง แล้วตามด้วยตัวอักษร “A”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/
ลักษณะ ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/ลักษณะ แล้วตามด้วย
ตัวอักษร “D”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดมีผลท�ำให้ข้อความอื่น (ซึ่งอาจมีได้หลายข้อความ) ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/
ห้าม/ขัดขวาง ให้ระบายตัวเลข 2 หลัก หน้าข้อความที่ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวางนั้น แล้ว
ตามด้วยตัวอักษร “F”
- ถ้าข้อความที่ก�ำหนดไม่มีข้อความอื่นที่เป็นผลโดยตรงหรือที่เป็นองค์ประกอบ/คุณสมบัติ/
ลักษณะ หรือที่ถูกลด/ยับยั้ง/ป้องกัน/ห้าม/ขัดขวาง ดังกล่าวข้างต้น ให้ระบายค�ำตอบเป็นตัวเลข
“99” แล้วตามด้วยอักษร “H”
ทัง้ นีใ้ ห้ใช้เลขก�ำกับข้อความทีก่ ำ� หนด 01, 02, 03, ..., 08 เป็นเลขข้อ 1, 2, 3, ..., 8 ในกระดาษค�ำตอบ
ข้อสอบแต่ละข้ออาจจะมีได้หลายค�ำตอบ หากตอบผิดจะถูกหักคะแนนค�ำตอบที่ผิด
ค�ำตอบละ 3 คะแนน
โดยหักจากคะแนนรวมของข้อสอบข้อนั้นๆ (ไม่หักคะแนนข้ามข้อ) ดังนั้นถ้าไม่มั่นใจ อย่าเดา
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 8
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

บทความที่ 1
เรื่อง ผลกระทบ Covid-19 กับภาคเศรษฐกิจและแรงงาน

วันที่ 28 พฤษภาคม 2563 ที่ผ่านมา สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) หรือ


สภาพัฒน์ แถลงภาวะสังคมไตรมาสแรกของปี 2563 โดยดร.ทศพร ศิริสัมพันธ์ เลขาธิการ สภาพัฒน์
ได้เปิดเผยถึงอัตราการว่างงานในช่วงไตรมาส 1 ของปี 2563 ได้ระบุถึงอัตราการว่างงานไตรมาสแรกปีนี้
อยูท่ ี่ 394,520 คน คิดเป็นอัตราว่างงานประมาณ 1.03% เพิม่ ขึน้ จาก 0.92% จากช่วงเดียวกันของปีกอ่ น
สอดคล้ องกับ จ�ำนวนผู้ข อรับ ประโยชน์ท ดแทนกรณีว ่างงานที่ในไตรมาสหนึ่ง ปี 2563 มีจ�ำนวน
170,144 คน เพิ่มขึ้น 3% และมีผู้ว่างงานแฝงจ�ำนวน 448,050 คน คิดเป็นอัตราการว่างงานแฝง 1.2%
เพิ่มขึ้น 17.7% จากช่วงเดียวกันของปีก่อน ขณะเดียวกันการจ้างงานมีสัญญาณลดลงต่อเนื่องและ
ค่าจ้างแรงงานเพิ่มขึ้นในอัตราที่ชะลอลง โดยมีผู้มีงานท�ำ 37,424,214 คน ลดลงจากช่วงเดียวกันของ
ปีก่อน 0.7%
จากการแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19 เริ่มมีสัญญาณที่ส่งผลต่อชั่วโมงการท�ำงาน คือ ชั่วโมง
การท�ำงานเฉลี่ยภาคเอกชนลดลงเท่ากับ 42.8 ชั่วโมง/สัปดาห์ จาก 43.5 ชั่วโมง/สัปดาห์ในช่วงเดียวกัน
ปีที่แล้ว โดยผู้ที่ท�ำงานมากกว่า 50 ชั่วโมงขึ้นไป/สัปดาห์ ลดลง 9.0% และมีสถานประกอบการยื่นขอใช้
มาตรา 75 หยุดกิจการชั่วคราว โดยลูกจ้างได้รับค่าตอบแทน 75% ของเงินเดือน จ�ำนวน 570 ราย และ
มีแรงงานที่ต้องหยุดงานแต่ยังได้รับเงินเดือน 121,338 คน จ�ำนวนแรงงานที่ได้รับผลกระทบเพิ่มขึ้น
4 เท่าจากช่วงเดียวกันของปีก่อน จากสัญญาณดังกล่าวจึงมีการประเมินว่า การแพร่ระบาดของโควิด-19
จะน�ำไปสู่ผลกระทบหลายอย่างที่จะส่งผลให้กลุ่มแรงงานในแต่ละภาคต้องเสี่ยงตกงาน ซึ่งผลกระทบนั้น
คืออะไร และกลุ่มแรงงานที่เสี่ยงตกงานเป็นกลุ่มใดบ้าง ผู้เขียนจะขออธิบายแยกกันไปในแต่ละกลุ่ม
ดังนี้
กลุ่มแรงงานและผลกระทบที่ท�ำให้เสี่ยงตกงานในแต่ละกลุ่ม คือ
1. แรงงานในภาคการท่องเที่ยวเสี่ยงตกงาน (ไม่รวมการค้าส่งและการค้าปลีก) มีคนได้รับ
ผลกระทบประมาณ 2.5 ล้านคน จากการจ้างงานที่มีอยู่ทั้งหมดประมาณ 3.9 ล้านคน ซึ่งผลกระทบ
คือ การลดลงของนักท่องเที่ยวต่างชาติและการท่องเที่ยวในประเทศ คาดว่า ในปี 2563 นักท่องเที่ยว
จะลดลงเหลือประมาณ 12.7 ล้านคน เทียบกับ 39.8 ล้านคน ในปี 2562 ส่งผลให้รายได้จากภาค
การท่องเที่ยวลดลงจาก 1.88 ล้านล้านบาท เหลือเพียง 0.59 ล้านล้านบาท คิดเป็นการลดลง 68.8%
และจะส่งผลกระทบโดยตรงต่อธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับการท่องเที่ยว เช่น ไกด์ ธุรกิจโรงแรม
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 9
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

2. แรงงานในภาคอุตสาหกรรมเสีย่ งตกงาน จะมีผไู้ ด้รบั ผลกระทบประมาณ 1.5 ล้านคน จากแรงงาน


ในภาคอุตสาหกรรมทัง้ หมด 5.9 ล้านคน ซึง่ ผลกระทบคือ ปัญหาหยุดชะงักของห่วงโซ่อปุ ทาน (Supply
Chain Disruption) ระหว่างประเทศทีเ่ กิดอย่างฉับพลัน ทัง้ ด้านการผลิต ส่งออก และน�ำเข้า ซึง่ เป็นประเทศ
คูค่ า้ ทีม่ ปี ญ
ั หาเรือ่ งการแพร่ระบาดเช่นกัน มีเพียงบางอุตสาหกรรมเท่านัน้ ทีก่ ารผลิตสินค้าขายในประเทศ
ยังพอท�ำได้ เช่น อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม หรือของใช้ที่จ�ำเป็น
3. แรงงานจากการจ้างงานในภาคบริการอื่นๆ เสี่ยงตกงาน (ไม่ใช่การท่องเที่ยว) คาดว่า กลุ่มนี้
มีผู้ได้รับผลกระทบประมาณ 4.4 ล้านคน จากการจ้างงานจ�ำนวน 10.3 ล้านคน ผลกระทบคือ มาตรการ
ก�ำกับดูแลการแพร่ระบาดของภาครัฐ ซึ่งมาตรการที่ใช้ก�ำกับดูแลหรือควบคุม ได้แก่ มาตรการล็อกดาวน์
(Lockdown) ปิดสถานที่ เช่น สถานศึกษา หรือสถานที่มีการรวมกลุ่มของคนจ�ำนวนมาก เช่น ตลาดสด
สนามกีฬา ห้างสรรพสินค้า ยกเว้นซูเปอร์มาร์เก็ต-ร้านขายยาทีเ่ ปิดได้ แต่ให้ปดิ ท�ำการเร็วกว่าปกติ เป็นต้น
และมาตรการรักษาระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) โดยการทิ้งระยะห่างจากคนอื่นอย่างน้อย
2 เมตร ลดการไปสถานที่สาธารณะ ลดกิจกรรมที่มีคนหนาแน่น อยู่บ้านให้มากขึ้น และหลีกเลี่ยง
การสัมผัส การทานอาหารกับผู้อื่น หรือสิ่งของสาธารณะโดยตรง
นอกจากนั้นยังมีกลุ่มที่เสี่ยงอีกกลุ่ม คือ กลุ่มแรงงานนอกระบบ เช่น ผู้ประกอบการอิสระ ผู้ค้าเร่/
แผงลอยแรงงานทั่วไปรายวัน ฯลฯ ผลกระทบคือ มาตรการควบคุมการแพร่ระบาดของรัฐ ซึ่งกลุ่มนี้
ได้รับผลกระทบค่อนข้างรุนแรง เนื่องจากเป็นกลุ่มที่ไม่มีหลักประกันทางสังคม เมื่อต้องหยุดการท�ำงาน
อย่างฉับพลันท�ำให้ขาดรายได้ และไม่มีระบบที่บรรเทาความเดือดร้อนหรือรองรับเมื่อไม่มีงานท�ำ
จากผลกระทบที่กล่าวไป อันได้แก่ ปัญหาห่วงโซ่อุปทาน นักท่องเที่ยวต่างประเทศลดลง และ
มาตรการคุมการแพร่ระบาด ยังมีผลกระทบอีกอย่างทีม่ าจากการแพร่ระบาดของไวรัส คือ ปัญหาเศรษฐกิจ
ไทยหยุดชะงัก รวมไปถึงเศรษฐกิจในหลายประเทศด้วย สิ่งที่ส�ำคัญ คือ ผลกระทบเรื่องปัญหาเศรษฐกิจ
ไทยนีจ้ ะไม่ได้สง่ ผลโดยตรงให้แรงงานเสีย่ งตกงาน แต่จะส่งผลทีน่ ำ� ไปสูผ่ ลกระทบอืน่ ทีไ่ ด้กล่าวไปแล้ว คือ
จ�ำนวนทีล่ ดลงของนักท่องเทีย่ วจากต่างประเทศและปัญหาการชะงักของห่วงโซ่อปุ ทาน ยกเว้นมาตรการ
คุมการแพร่ระบาดของรัฐที่ไม่ได้รับผลกระทบนีแ้ ต่อย่างใด
ทางด้านกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (IMF) ได้ท�ำการเปิดเผยรายงานแนวโน้มเศรษฐกิจโลก
(World Economic Outlook) โดยคาดการณ์ว่า เศรษฐกิจโลกปี 2563 นี้ จะติดลบ 4.9% รุนแรงที่สุด
ตั้งแต่วิกฤต Great Depression เมื่อ 90 ปีที่แล้ว ส�ำหรับเศรษฐกิจไทยจะติดลบ 7.7% เศรษฐกิจสหรัฐฯ
จะติดลบ 5.9% เศรษฐกิจของกลุ่มยูโรโซนจะติดลบ 7.5% ขณะที่ประเทศกลุ่มอาเซียนจะติดลบ 2%
โดยเศรษฐกิจไทยทีต่ ดิ ลบนัน้ น่าจะเป็นอัตราทีต่ ำ�่ ทีส่ ดุ เมือ่ เทียบกับประเทศในเอเชีย ทีค่ าดว่าปีนี้ เศรษฐกิจ
จีนขยายตัว 1%, อินเดียจะติดลบ 4.5%, ญี่ปุ่นจะติดลบ 5.8% และเกาหลีใต้จะติดลบ 2.1% รวมทั้ง
น่าจะขยายตัวได้ต�่ำสุดในกลุ่มประเทศอาเซียน 5 ประเทศ โดยอินโดนีเซียติดลบ 0.3%, มาเลเซียติดลบ
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 10
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

3.8% และฟิลิปปินส์ติดลบ 3.6% มีเพียงเวียดนามไม่ได้แจ้งตัวเลขคาดการณ์ไว้ IMF คาดการณ์ด้วยว่า


ในปีหน้า เศรษฐกิจโลกจะฟื้นตัวที่ระดับ 5.8% แต่ก็เตือนว่าเป็นการคาดการณ์ที่อยู่บนความไม่แน่นอน
อย่างยิ่ง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การระบาดของโควิด-19 ว่าจะบรรเทาลงหรือไม่ และจะสิ้นสุดลงเมื่อใด
แต่หากการระบาดยืดเยื้อออกไป หรือมีการระบาดรอบใหม่ในปีหน้า ก็อาจจะท�ำให้เศรษฐกิจโลกเข้าสู่
ภาวะถดถอยสองปีติดต่อกัน
ส�ำหรับประเทศไทยนั้น การควบคุมการระบาดของโควิด-19 ในประเทศมีแนวโน้มดีขึ้น ซึ่งมาจาก
การให้ความร่วมมือในการควบคุมการระบาดทั้งในระดับประชาชน ชุมชน ภาคธุรกิจ และหน่วยงานรัฐ
รวมไปถึงการท�ำงานอย่างหนักของบุคลากรทางการแพทย์ทุกคน จึงท�ำให้ ณ วันที่ 18 มิ.ย. 2563
ประเทศไทยมีผู้ติดเชื้อสะสมเพียง 3,141 คน เป็นผู้ติดเชื้อรายใหม่ 6 ราย และไม่มีผู้เสียชีวิตเพิ่ม
จึงมีจ�ำนวนคงที่ 58 ราย และเมื่อเปรียบเทียบกับนานาชาติพบว่า ประเทศไทยมีจ�ำนวนผู้ติดเชื้ออยู่
อันดับที่ 91 ของโลก ถือว่าน้อยมากหากพิจารณาว่าประเทศไทยเป็นประเทศแรกที่พบผู้ติดเชื้อนอก
ประเทศจีน ฉะนั้นหลายฝ่ายจึงมองว่า หากสามารถควบคุมการระบาดได้และไม่มีการระบาดรอบใหม่
สถานการณ์ในตลาดแรงงานจะมีแนวโน้มทีด่ ขี นึ้ แต่การฟืน้ ตัวจะเป็นไปอย่างช้าๆ ตามเศรษฐกิจทีค่ าดว่า
จะฟื้นตัวแบบ U-shaped และนับจากนี้การฟื้นฟูผลกระทบจากโควิด-19 จึงเป็นภารกิจส�ำคัญของ
ทุกฝ่าย ในขณะทีว่ งเงินฟืน้ ฟู 400,000 ล้านบาท ทีก่ นั ส่วนหนึง่ มาจาก พ.ร.ก. ให้อำ� นาจกระทรวงการคลัง
กู้เงินฯ มีค�ำขอใช้งบประมาณสูงถึง 841,269 ล้านบาท แต่ส่วนส�ำคัญที่สุด คือ การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ไม่เฉพาะวงเงินก้อนนี้ แต่รวมไปถึงทรัพยากรของภาครัฐ ภาคเอกชน และ
ประชาชนทั้งหมด
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 11
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ตารางสรุปข้อความที่ก�ำหนด
ร่างรหัสค�ำตอบ
เลขก�ำกับ ข้อความที่ก�ำหนด ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ
ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4
01 แรงงานในภาคการท่องเที่ยวเสี่ยงตกงาน
02 มาตรการควบคุมการแพร่ระบาด
03 แรงงานในภาคอุตสาหกรรมเสี่ยงตกงาน
04 เศรษฐกิจไทยหยุดชะงัก
05 การแพร่ระบาดของไวรัส Covid-19
06 ปัญหาหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน
07 มาตรการรักษาระยะห่างทางสังคม
08 กลุ่มแรงงานที่เสี่ยงตกงาน
09 นักท่องเที่ยวต่างประเทศลดลง
แรงงานจากการจ้างงานในภาคบริการอื่นๆ
10
เสี่ยงตกงาน
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 12
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

บทความที่ 2
เรื่อง ขยะพลาสติกกระทบชีวิตต้องแก้ร่วมกัน

ข่าวการเสียชีวิตของลูกพะยูน “มาเรียม” เมื่อเดือนสิงหาคม 2562 ที่ผ่านมา ได้กินขยะพลาสติก


เข้าไปเพราะคิดว่าเป็นอาหาร และข่าวการตรวจพบไมโครพลาสติกในกระเพาะปลาทู ซึง่ เป็นปลาทีค่ นไทย
นิยมรับประทาน และล่าสุดจากการพบแพขยะยาว 10 กิโลเมตร ลอยกลางทะเลอ่าวไทยเมือ่ สัปดาห์กอ่ น
ท�ำให้คนไทยตืน่ ตัวต่อปัญหามลพิษทางทะเลและปัญหาขยะจ�ำนวนมากทีถ่ กู ทิง้ ลงทะเล แต่นนั่ เป็นเพียง
เสี้ยวเดียว เพราะยังมีขยะที่ซ่อนอยู่ใต้ท้องทะเล ใต้ผืนทราย หรือแม้แต่ในตัวของสัตว์น�้ำ ที่น่าวิตกยิ่งกว่า
นั้นประเทศไทยถูกจัดอยู่ในอันดับที่ 6 ของโลกที่ปล่อยขยะพลาสติกลงมหาสมุทร ท�ำให้ในช่วงที่ผ่านมา
ได้เกิดการสร้างกระแสความสนใจและความตระหนักในปัญหาขยะพลาสติกและไมโครพลาสติกของ
สังคมไทยเป็นอย่างมาก จนเกิดการรณรงค์ไม่ให้ใช้ถุงพลาสติกและผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ใช้ครั้งเดียวกัน
อย่างแพร่หลาย รวมทั้งการเก็บขยะตามชายหาดท่องเที่ยว
การส�ำรวจข้อมูลของกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม ระบุว่า ในปี 2561 ประเทศไทยมีปริมาณขยะ 27.8 ล้านตัน คิดเป็น 71,764 ตันต่อวัน
ในจ�ำนวนนี้มีขยะจ�ำนวน 7.36 ล้านตัน ที่ถูกน�ำไปก�ำจัดไม่ถูกต้องและไหลลงสู่ทะเล เมื่อพิจารณา
แหล่งทีม่ าของขยะทะเล ชีว้ า่ ขยะในทะเลส่วนใหญ่เป็นพลาสติกทีม่ าจากแหล่งท่องเทีย่ ว เช่น ถุงพลาสติก
ขวดน�้ำพลาสติก ขวดแก้ว โฟม เป็นต้น ถัดมาคือ ขยะจากการท�ำการประมง เช่น เศษอวน เป็นต้น
ไม่เพียงแค่นั้น แต่รวมไปถึงขยะที่เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ก็เป็นขยะพลาสติก ไม่ว่าจะเป็นจาก
บุคคล ครัวเรือน อุตสาหกรรม โดยเฉพาะการทิ้งขว้างขยะพลาสติกจนกระจัดกระจายไปทั่ว ดังเช่น
ปัญหาการอุดตันตามท่อระบายน�ำ้ ในเมืองทีส่ ง่ ผลให้เกิดปัญหาน�ำ้ ขังน�ำ้ ท่วมเมือ่ ฝนตกหนัก และบางส่วน
หลุดลอยไปลงแหล่งน�ำ้ ต่างๆ จากล�ำคลองสูแ่ ม่นำ�้ จากแม่นำ�้ ไหลลงสูท่ อ้ งทะเลจนส่งผลให้เกิดปัญหามลพิษ
ทางทะเล ระบบนิเวศน์เกิดความเสียหาย และเป็นอันตรายต่อสิง่ มีชวี ติ ในทะเล ตัวอย่างคือ มีนกทะเลตาย
ปีละหนึ่งล้านตัวเพราะกินเศษพลาสติกเข้าไป หรือข่าวการเสียชีวิตของลูกพะยูนอย่างที่ได้กล่าวไป และ
ยังท�ำให้เกิดไมโครพลาสติก (Microplastic) อีกด้วย ซึง่ ล้วนแล้วแต่มสี าเหตุมาจากปัญหา คือ ขยะพลาสติก
ตามค�ำนิยามจากองค์กรองค์การบริหารมหาสมุทรและชั้นบรรยากาศแห่งชาติหรือ National
Oceanic and Atmospheric Administration (NOAA) ไมโครพลาสติก คือ เศษพลาสติกขนาดเล็ก
ตั้งแต่ 5 มิลลิเมตร ถึง 1 นาโนเมตร หรือเรียกได้ว่า ตั้งแต่ระดับเล็กจิ๋วถึงระดับที่สายตามองไม่เห็น ซึ่ง
อาจจะมาจากกระบวนการผลิตโดยตรง เช่น เม็ดสครับหรือไมโครบีดส์ที่อยู่ในเครื่องส�ำอาง หรืออาจจะ
มาจากการฉีกขาด แตกหัก และย่อยสลายของพลาสติกขนาดใหญ่ จนกลายเป็นเศษพลาสติกขนาดเล็ก
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 13
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ก็ได้ ฉะนั้นยิ่งมีขยะพลาสติกลอยอยู่ในทะเลนานและมากแค่ไหน ก็ยิ่งท�ำให้เกิดไมโครพลาสติกในทะเล


เพิ่มและมากขึ้นเท่านั้น
นายประลอง ด�ำรงค์ไทย อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม แถลงสรุปสถานการณ์มลพิษประเทศไทย ประจ�ำปี 2561 พบว่า มีปริมาณขยะมูลฝอย
เกิดขึ้นประมาณ 27.8 ล้านตัน เมื่อเปรียบเทียบกับปี 2560 มีปริมาณเพิ่มขึ้นร้อยละ 1.64 เนื่องจาก
ปัจจัยการขยายตัวของชุมชนเมือง และการปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตจากสังคมเกษตรกรรมสู่สังคมเมือง
การเพิ่มขึ้นของประชากร การส่งเสริมการท่องเที่ยว การบริโภคที่เพิ่มมากขึ้นส่งผลให้ปริมาณขยะ
มูลฝอยในหลายพื้นที่เพิ่มมากขึ้น ซึ่งได้ถูกคัดแยก ณ ต้นทาง และน�ำกลับไปใช้ประโยชน์ 9.58 ล้านตัน
(ร้อยละ 34) โดยส่วนใหญ่เป็นการใช้ประโยชน์จากขยะรีไซเคิลและท�ำปุ๋ยอินทรีย์ ขยะมูลฝอยชุมชน
อีกจ�ำนวน 10.88 ล้านตัน (ร้อยละ 39) ถูกก�ำจัดอย่างถูกต้อง ส่วนที่เหลือเป็นขยะที่ถูกก�ำจัดอย่าง
ไม่ถกู ต้องประมาณ 7.36 ล้านตัน (ร้อยละ 27) ทัง้ นี้ ในขยะมูลฝอยทีเ่ กิดขึน้ จะเป็นขยะพลาสติกประมาณ
2 ล้านตัน ซึ่งมีการน�ำกลับมาใช้ประโยชน์ได้เพียง 0.5 ล้านตันเท่านั้น ส่วนของเสียอันตรายจากชุมชน
มี 6.4 แสนตัน เป็นซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ ร้อยละ 27 และอื่นๆ เช่น ถ่านไฟฉาย
แบตเตอรี่ ร้อยละ 35 โดยได้รับการจัดการอย่างถูกต้องเพียง ร้อยละ 13 แม้ปริมาณการจัดการขยะ
อย่างถูกต้องจะเพิ่มขึ้น แต่ก็ยังไม่เพียงพอเพราะยังไม่มีกฎระเบียบที่จะคัดแยกของเสียอันตรายออกจาก
ขยะทั่วไป จึงยังคงกล่าวได้ว่า อีกปัจจัยที่เป็นต้นเหตุของปัญหาขยะพลาสติก นอกจากการขยายตัวของ
ชุมชนเมือง การเพิม่ ขึน้ ของประชากร การส่งเสริมการท่องเทีย่ ว และการบริโภคทีเ่ พิม่ ขึน้ คือ การจัดการ
ขยะพลาสติกไม่มีประสิทธิภาพมากพอ ซึ่งควรต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วนต่อไป
รัฐบาลได้เห็นความสําคัญและตระหนักถึงปัญหาขยะพลาสติก โดยนายกรัฐมนตรีได้มีค�ำสั่งการ
ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ร่วมกับทุกภาคส่วนเร่งรัดก�ำหนดกรอบและทิศทาง
การด�ำเนินการป้องกันและแก้ไข จึงได้มีการจัดตั้งคณะอนุกรรมการการบริหารจัดการขยะพลาสติก
ภายใต้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และคณะทํางานด้านการพัฒนากลไกการจัดการพลาสติก
ภายใต้คณะอนุกรรมการบริหารจัดการพลาสติก กรมควบคุมมลพิษ ในฐานะฝ่ายเลขานุการคณะ
อนุกรรมการฯ และคณะทาํ งานฯ จึงได้จดั ทาํ (ร่าง) โรดแมปการจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573
จนเมื่อวันที่ 17 เมษายน 2562 ที่ผ่านมา ที่ประชุมคณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบรับร่างดังกล่าวเป็นที่
เรียบร้อยแล้ว ซึ่งร่างฉบับนี้จะเป็นกรอบและทิศทางการด�ำเนินในการป้องกันและแก้ไขทีี่ประกอบด้วย
เป้าหมาย คือ การลดและเลิกใช้พลาสติกเป้าหมาย ด้วยการใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
เป็นเป้าหมายที่ 1 ซึง่ แบ่งออกเป็นสองช่วง คือ ระยะทีห่ นึง่ จะลดและเลิกใช้พลาสติก 3 ชนิด ได้แก่ พลาสติก
หุ้มฝาขวดน�้ำดื่ม (Cap Seal) ผลิตภัณฑ์พลาสติกที่ผสมสารอ็อกโซ่ (Oxo) และไมโครบีดส์ (Microbeads)
ภายในปี 2562 ส่วนระยะที่สองจะลดและเลิกใช้พลาสติกอีก 4 ชนิด ได้แก่ ถุงพลาสติกหูหิ้วขนาด
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 14
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ความหนาน้อยกว่า 36 ไมครอน กล่องโฟมบรรจุอาหาร แก้วพลาสติกแบบบางใช้ครั้งเดียว และหลอด


พลาสติก (ยกเว้นการใช้กรณีมีความจ�ำเป็นส�ำหรับเด็ก คนชรา และผู้ป่วย) ภายในปี 2565 ต่อมาเป็น
การน�ำขยะพลาสติกเป้าหมายกลับมาใช้ประโยชน์ 100% เป็นเป้าหมายที่ 2 โดยจะน�ำกลับมาใช้
ให้ได้ประโยชน์ 100% ภายในปี 2570 ซึ่งจะมีการศึกษาและก�ำหนดเป้าหมายของพลาสติกในส่วน
ทีจ่ ะน�ำกลับมาใช้ประโยชน์และส่วนทีข่ องเสียจะถูกน�ำไปก�ำจัดให้ถกู วิธี โดยทีแ่ ต่ละเป้าหมายจะมีแผนการ
ปฏิบัติงานร่วมกันที่แบ่งออกเป็น 3 มาตรการ คือ 1) มาตรการลดการเกิดขยะพลาสติกที่แหล่งก�ำเนิด
โดยจะมีการสนับสนุนการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2) มาตรการลด เลิกใช้พลาสติก
ในขั้นตอนการบริโภค โดยสนับสนุนให้ลดและเลิกใช้พลาสติกแบบใช้ครั้งเดียว และ 3) มาตรการจัดการ
ขยะพลาสติกหลังการบริโภค โดยจะมีการส่งเสริมและสนับสนุนการน�ำขยะพลาสติกเข้าสูก่ ารน�ำกลับมา
ใช้ให้เป็นประโยชน์ นอกจากนี้ยังมีการจัดการและการขับเคลื่อนผ่าน 4 กลไก คือ 1) การสร้างความรู้
และความเข้าใจหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการด�ำเนินการ 2) การรณรงค์
ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อออนไลน์ 3) การใช้เครื่องมือและกลไกที่เหมาะสม เช่น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ทุกภาคส่วน และการเร่งออกกฎหมาย และ 4) การจัดท�ำฐานข้อมูลขยะพลาสติกของประเทศ
ส�ำหรับการด�ำเนินงานที่เป็นรูปธรรมนั้น กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีข้อตกลง
ทีจ่ ะร่วมมือกับห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่และร้านค้าสะดวกซือ้ 43 แห่ง หยุดจ่ายถุงพลาสติกทีใ่ ช้ครัง้ เดียว
(Single-use Plastic) ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2563 เป็นต้นไป ซึ่งเร็วกว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ 2 ปี
ส่วนส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) เตรียมออกนโยบายห้ามใช้ไมโครบีดส์ในผลิตภัณฑ์
ท�ำความสะอาดผิว (Rinse-off Products) ซึ่งคาดว่าจะบังคับใช้ตั้งแต่ 1 มกราคม 2563 เช่นเดียวกัน
จากที่ได้กล่าวไป การสร้างความรู้ความเข้าใจกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหน่วยงานรัฐบาล ภาค
เอกชน รวมไปถึงภาคประชาชน เพื่อให้เกิดความร่วมมือในการด�ำเนินงานไปพร้อมกันจึงเป็นเรื่องส�ำคัญ
มาตรการทั้งหมดที่เป็นแผนปฏิบัติงานในเป้าหมายของโรดแมปจึงจะช่วยให้ปัญหาขยะพลาสติกและ
ผลกระทบทีต่ ามมาจากปัญหาดังกล่าวลดลง รวมถึงส่งผลให้การจัดการขยะพลาสติกได้อย่างเป็นรูปธรรม
และมีประสิทธิภาพมากขึ้น ซึ่งผลที่คาดว่าจะได้รับตามมา คือ ความสามารถในการลดขยะพลาสติกได้ถึง
0.78 ล้านตันต่อปีโดยประมาณ ซึ่งจะเป็นการประหยัดงบประมาณในการก�ำจัดขยะมูลฝอยได้ประมาณ
3,900 ล้านบาทต่อปี รวมถึงลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก (สาเหตุภาวะโลกร้อน) 1.2 ล้านตันหรือ
เทียบเท่าเลยทีเดียว ทัง้ ยังอาจช่วยเปลีย่ นทัศนคติและพฤติกรรมในระดับบุคคลในการสร้างนิสยั ให้ทงิ้ ขยะ
ลงถัง แยกขยะให้เป็น สร้างจิตส�ำนึกเพื่อสาธารณะ
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 15
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ตารางสรุปข้อความที่ก�ำหนด
ร่างรหัสค�ำตอบ
เลขก�ำกับ ข้อความที่ก�ำหนด ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ ค�ำตอบ
ข้อที่ 1 ข้อที่ 2 ข้อที่ 3 ข้อที่ 4
11 มาตรการจัดการขยะพลาสติกหลังการบริโภค
มาตรการลด เลิกใช้พลาสติก ในขั้นตอนการ
12
บริโภค
การจัดการขยะพลาสติกไม่มีประสิทธิภาพมาก
13
พอ
การนําขยะพลาสติกเป้าหมาย
14
กลับมาใช้ประโยชน์ 100%
(ร่าง) โรดแมปการจัดการ
15
ขยะพลาสติก พ.ศ. 2561-2573
16 ปัญหาขยะพลาสติก
17 ปัญหามลพิษทางทะเล
18 ปัญหาการอุดตันตามท่อระบายน�้ำ
การลดและเลิกใช้พลาสติกเป้าหมายด้วย
19
การใช้วัสดุทดแทนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
มาตรการลดการเกิดขยะพลาสติกที่แหล่ง
20
ก�ำเนิด
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 16
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ที่ว่างส�ำหรับร่างแผนภูมิค�ำตอบ
ความถนัดทั่วไป (ตอนที่ 1) หน้า 17
วันที่ 30 ม.ค. 64 เวลา 8:30-11:30 น.

ที่ว่างส�ำหรับร่างแผนภูมิค�ำตอบ

You might also like