Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 9

บทที 1

บทนํา

วัตถุประสงค์
เพือให้ทราบลักษณะเครื องมือทีจําเป็ นต่อการเขียนแบบขั(นพื(นฐาน โดยสามารถเลือกใช้เครื องมือ
ให้เหมาะสมกับลักษณะแบบเขี เขียนนั
น ( นๆสามารถจัดวางรู ปแบบให้เหมาะสมกักับขนาดกระดาษ และสามารถ
เขี ยนนํ(า หนัก เส้ นเพือแสดงแบบให้ชัดเจนและเข้าใจง่ าย อี กทั(งสามารถใช้มือในการเขี ยนลายเส้ นและ
รู ปภาพประกอบแบบ

การแนะนําเครื องมือและการใช้ เครื องมือเขียนแบบ


1.ดินสอ
1) ไส้ดินสอมีความแข็
ความแข็งและความอ่อนตามมาตรฐานสากล 18 เบอร์ โดยแบ่งออกเป็ น 3
ระดับใหญ่คือแข็ง ปานกลาง และอ่ และ อน ดังรู ปที 1.1สําหรับไส้ดินสอเขีเขียนแบบมีเบอร์ H, F, HB
และBทีเหมาะในการเขี เขียนแบบซึ
นแบบ งเส้นชัดและคมซึ งไส้
ไส้ของดินสอมีท( งั ขนาดเล็กถึงขนาดใหญ่ดงั รู ป
ที 1.2
2) วัสดุหุม้ แท่งดินสอมีหลายชนิดเช่นชนิดหุ ม้ ด้วยไม้ กระดาษ พลาสติก หรื อโลหะ เป็ น
ต้นดังรู ปที 1.2

ระดับแข็ง ระดับปานกลาง ระดับอ่อน


1
รู ปที 1.1 ระดับไส้ดินสอเขียนแบบ

ดินสอไส้ขนาดเล็กแบบกด
กด

ดินสอไส้ขนาดใหญ่แบบกด
กด

ดินสอไส้
ไส้ขนาดใหญ่แบบเหลา
รู ปที 1.2ดิ
1
นสอเขียนแบบ
GNR 1004 1-1
2.ไม้ที ใช้สาํ หรับเขียนเส้นในแนวระดับ เป็ นฐานรองรับไม้ฉากในการเขี
ในการเขียนเส้น

2
รู ปที 1.3ไม้
ที

3.ไม้ฉากใช้
ใช้สาํ หรับเขียนเส้นตรงในแนวดิ
ตรง งและเส้นเอียงมุมต่าง ๆมี 2 ประเภทคือไม้ฉากสามเหลียม
มาตรฐานมุมตายตัวคือ มุม 45°-45°
45°-90° และมุม 30°-60°-90° และ ไม้ฉากสามเหลียมปรั
ปรับมุม (Set Adjust)

รู ปที 1.4ไม้
ไม้ฉากสามเหลียมมาตรฐาน
ยม รู ปที 1.5 ไม้ฉากสามเหลียมปรั
ปรับมุม

4.เครื
เครื องมือเขียนเส้นโค้ง ใช้สาํ หรับเขียนเส้นคดโค้งแบบต่าง ๆ (โค้
โค้งแบบฝรังเศส)
งเศส

รู ปที 1.6แผ่นเขียนเส้นโค้ง รู ปที 1.7ไม้บรรทัดวัดมาตราส่ วนแบบต่างๆ

5.ไม้บรรทัดมาตราส่ วน เป็ นไม้


น บรรทัดสามเหลี ยมใช้วดั มาตราส่ วนย่อด้านละ 2มาตราส่ วนรวม 6
มาตราส่ วน เพือวัดขนาดมาตราส่
มาตราส่ วนทีเหมาะสมระหว่
เหมาะสม างชิ(นงานกับกระดาษเขียนแบบ

GNR 1004 1-2


6. วงเวียน เป็ นเครื องมือทีใช้ในการเขียนวงกลม หลัก
ในการเขียนให้ยดึ ปลายด้านเข็มเป็ นจุดศูนย์กลางวงกลมแล้วกาง
ปลายด้านดิ นสอเท่ า กับ รั ศมี ที ต้องการข้อควรระวัง ไม่ ค วรกด
ปลายด้านเข็มแรงเกินไปเพราะจะทําให้เข็มเจาะกระดาษเป็ นรู วิธี
ป้ องกันให้ติดเทปติดกระดาษเขียนแบบ หรื อบังคับนํ(าหนักมือ
ให้ไม่หนักจนเกินไป
นอกจากเครื องมือเขียนแบบดังกล่าวแล้ว ยังมีแปรงทํา
A
ความสะอาด แผ่นรองลบ ยางลบ และเทปติ ดกระดาษเขี ย น
แบบ เป็ นต้น B

รู ปที 1.8วงเวียนสําหรับเขียนวงกลม(A) กับวงเวียนสําหรับกะแบ่งระยะ(B)

กระดาษเขียนแบบและขนาดกระดาษมาตรฐาน
1.ชนิ ดของกระดาษเขียนแบบ (Drafting Paper) กระดาษมีหลายชนิ ดบางชนิ ดเหมาะสําหรับเขียน
ด้วยดินสอบางชนิดเหมาะสําหรับเขียนด้วยปากกาบางชนิดสามารถใช้ได้ท( งั 2 อย่างการเลือกใช้ควรพิจารณา
ถึงความเหมาะสมของสภาพการใช้งานและการเก็บรักษา
ก. กระดาษแบบร่ าง( Sketching Paper ) ลักษณะเหมือนกระดาษลอกลายทัวไปมีสีโทนขาว
ขุ่นและสี เหลืองนวลถึงสี โทนส้มความทึบน้อยถึงความทึบมากโดยนํากระดาษแบบร่ างทาบข้างบน
แบบเขียนทีต้องการคัดลอกเหมาะสําหรับเขียนด้วยดินสอ แต่สามารถเขียนด้วยปากกาได้
ข. กระดาษไข (Tracing Paper)กระดาษไขชนิ ดม้วนและชนิ ดแผ่น ส่ วนความหนามีหลาย
ระดับเช่น 60/65 G/M 70/75 G/M 90/95 G/M 110/115 G/Mขนาดกระดาษมาตรฐานมีต( งั แต่ AO
- A3 เหมาะสําหรับเขียนด้วยปากกา แต่สามารถเขียนด้วยดินสอได้
ค. แผ่นฟิ ล์มเขียนแบบ ( Polyester Drafting Film )มี 2 แบบคือใช้สําหรับเขียนได้ดา้ นเดียว
และเขียนได้ท( งั 2 ด้านเป็ นกระดาษเขียนแบบมาตรฐานทีมีคุณภาพดีทนทานไม่เหลืองไม่เปราะและ
มี ก ารยืดหดตัวน้อยมากเมื อเที ย บกับ กระดาษไขจึ ง นิ ย มใช้ท วไปในประเทศสหรั
ั ฐอเมริ ก าและ
ประเทศอุตสาหกรรมอืนๆเหมาะสําหับการเขียนแบบในโครงการขนาดใหญ่หรื อโครงการทีต้องมี
การแก้ไขแบบบ่อยๆและใช้สาํ หรับการเขียนแบบในระบบการเขียนซ้อนทับกันหลายๆกระดาษชนิ ด
นี( เหมาะสําหรับเขียนทั(งปากกาดินสอทีใช้เขียนบนฟิ ล์มโดยเฉพาะ( Plastic Lead ) ในประเทศไทย
ยังใช้อยูใ่ นวงจํากัดเนืองจากราคาแพงความหนาทีใช้ทวไปในการเขี
ั ยนแบบคือ 2 และ 4 มิลลิเมตร
ง. กระดาษ 100 ปอนด์ ชนิ ดผิวเรี ยบสําหรับการเขียนแบบ เพือฝึ กลายเส้นและฝึ กนํ(าหนัก
มือกระดาษดังกล่าวเหมาะสําหรับเขียนด้วยดินสอ แต่สามารถเขียนด้วยปากกาได้ หากเป็ นกระดาษ
ชนิดผิวขรุ ขระใช้วาดภาพศิลปะระบายสี น( าํ ไม่เหมาะสําหรับการเขียนแบบ

GNR 1004 1-3


2.ขนาดกระดาษมาตรฐาน
A0 = 841 x 1,189
A1 = 594 x 841
A2 = 420 x 594
A3 = 297 x 420
A4 = 210 x 297
ขนาดกระดาษมาตรฐานเมื อพับ ครึ งทางด้านยาวของกระดาษทุ กขนาดก็จะได้กระดาษที มี ขนาด
รองลงมาทุกครั(งเช่นพับกระดาษ A0 ก็จะได้กระดาษขนาด A1 จํานวน 2 แผ่นพับกระดาษ A1ก็จะได้
กระดาษขนาด A2จํานวน 2 แผ่นเป็ นต้น การเลื อกใช้ขนาดกระดาษขึ(นอยู่กบั ขนาดแบบก่อสร้ างนั(นๆ
สําหรับมาตราส่ วนของแบบควรสัมพันธ์กบั พื(นทีต่อชั(นของอาคารดังนี( อาคารขนาดไม่เกิน 5,000 ตร.ม. ใช้
มาตราส่ วน 1 ต่อ 100ส่ วนอาคารขนาด 5,000 ตร.ม. – 10,000 ตร.ม. ใช้มาตราส่ วน 1 : 125และส่ วนอาคาร
ขนาดใหญ่ต( งั แต่ 10,000 ตร.ม. ใช้มาตราส่ วน 1 : 200
3.กรอบงานเขียนแบบ ( Border)สําหรับกระดาษขนาด A2 และ A3เส้นกรอบงานมีระยะห่ างจาก
ขอบกระดาษไม่น้อยกว่า1เซนติเมตรสําหรับกระดาษขนาด A1 และ A0เส้นกรอบงานมีระยะห่ างจาก
ขอบกระดาษไม่นอ้ ยกว่า2 เซนติเมตรส่ วนด้านทีเผือไว้เข้าเล่มเส้นกรอบงานมีระยะห่ างจากขอบกระดาษไม่
น้อยกว่า2 เซนติเมตร
4.การวางกรอบงานเขียนแบบในแนวนอน หรื อแนวตั(งขึ(นอยูก่ บั ชิ(นงาน

รู ปที 1.9 ตัวอย่างการเขียนกรอบงานเขียนแบบ


GNR 1004 1-4
เส้ น( Line )
ลัก ษณะและขนาดของลายเส้ น ที แตกต่ า งกันจะสื อความหมายต่ า งกันในการเขี ย นแบบจึ ง ต้อ ง
ระมัดระวังในการใช้เส้นแต่ละประเภทให้ถูกต้องเพือสื อความหมาย และลายเส้นทีใช้ในการเขียนแบบต้อง
สวยงามความชัดเจน และนํ(าหนักเส้นทีสมําเสมอเท่ากันตลอด
1.ชนิ ดหรื อลักษณะของเส้นทีใช้ในการเขียนแบบจะสื อความหมายแตกต่างกันจึงควรใช้ให้ถูกต้อง
และเป็ นมาตรฐาน
2.ขนาดเส้นขึ(นอยู่กบั มาตราส่ วนของแบบ ขนาดกระดาษ และวิธีการพิมพ์ โดยแนะนําให้ใช้เป็ น 3
ขนาด คือ เส้นบาง เส้นปกติ และเส้นหนา สําหรับการเขียนแบบก่อสร้ างโดยทัว ๆ ไป ควรใช้เส้นทีมีความ
หนาไม่นอ้ ยกว่า 0.2 มม. เพือความสะดวก และความคมชัดของเส้นในการเขียนแบบและการพิมพ์แบบขั(น
สุ ดท้าย ถ้าจะใช้ขนาดเล็กกว่านั(น ควรใช้เฉพาะส่ วนทีไม่สําคัญนัก เช่น ลวดลายกระเบื(อง หรื อสัญลักษณ์
วัสดุในส่ วนทีเห็นเป็ นรู ปด้าน เป็ นต้น
3.เทคนิ คการแสดงเส้นในแบบการแสดงนํ(าหนักเส้นในแบบอาคารนั(นมีหลายวีธีสําหรับการเขียน
แบบก่อสร้าง ขอแนะนําให้ใช้เทคนิ คการเน้นส่ วนทีถูกตัดในการผังรู ปตัด ( Cutting Plane Technique ) และ
เทคนิคเน้นองค์ประกอบหลัก ( Major Feature Technique ) ในการเขียนรู ปด้าน

รู ปที 1.10วิ
3
ธีการใช้เส้นนํ(าหนักต่างๆ ในการเขียนแบบทางสถาปั ตยกรรม
GNR 1004 1-5
ตารางที1.1 ชนิดของเส้นทีนิยมใช้ในงานเขียนแบบทัว ๆไป
ชนิด ขนาด (มิลลิเมตร) การใช้งาน
เส้ นมิ ติ เส้ น ตาราง หรื อเส้ น อ้า งอิ ง เส้ น ชี( อ ธิ บ ายแบบ
เส้นบาง 0.2,0.18,0.25
เส้นแสดงส่ วนประกอบอาคารทีเห็นเป็ นรู ปด้าน
เส้นขอบผนัง ประตู
เส้นปานกลาง 0.4 , 0.35 , 0.50
เส้นขอบส่ วนทีอยูใ่ กล้
เส้ นแสดงส่ วนของอาคารหรื อชิ( นงานทีถู กตัดผ่านเส้ น
เส้นหนา 0.8 , 0.7, 1.0 , 1.4
ขอบนอกที สํา คัญเช่ น ขอบอาคารในผนังบริ เวณ วัส ดุ
และสัญลักษณ์ บางชนิดทีเขียนทับลงบนแบบเป็ นต้น

การเขียนตัวอักษรและตัวเลข
1.ตัวอักษร( Lettering )อักษรที ใช้ในการเขี ยนแบบ ต้องอ่ านง่ า ย มี ความชัดเจน เป็ นระเบี ย บ
เรี ยบร้อย และประหยัดเวลาในการเขียนและการแก้ไขในภายหลังด้วย อีกทั(งยังสามารถสื อความหมายได้ดี
ถึงแม้วา่ จะนําแบบไปย่อหรื อขยายตามแบบมาตรฐานปั จจุบนั เรามีเครื องหมายและอุปกรณ์ต่าง ๆ มากมาย ที
ช่วยให้ช่างเขียนแบบสามารถผลิตตัวอักษรในแบบได้ง่าย รวดเร็ วและประณี ตเทียบเท่ากับงานพิมพ์ช( นั ดี แต่
ยังคงพบเห็นการใช้ขนาดของตัวอักษรไม่เหมาะสม ขาดระเบียบ หรื อขาดมาตรฐานทีดีในการเขียนแบบด้วย
คอมพิวเตอร์ อยู่เสมอ ๆ จึงควรช่ วยกันระมัดระวัง หรื อให้ความสําคัญกับการกําหนดแบบและขนาดของ
ตัวอักษรขึ(นใช้ในหน่วยงานให้เป็ นมาตรฐานเดียวกันด้วย
2. ตัวอักษรเขียนด้วยมือ ( Freehand Lettering )เป็ นพื(นฐานสําคัญทีสถาปนิ กหรื อช่างเขียนแบบต้อง
ฝึ กฝนให้สามารถใช้งานได้ดี ผูท้ ีเขียนอักษรด้วยมือได้ดีก็มีพ(ืนฐานและความเข้าใจทีดี ซึ งทําให้สามารถเขียน
อักษรโดยใช้เครื องมือหรื อกรรมวีอืน ๆ ได้ดีตามไปด้วย
3. แบบของตัวอักษร ควรเป็ นแบบทีเรี ยบง่าย สามารถผลิตเป็ นมาตรฐานเดียวกันได้ง่าย ควรมีนอ้ ย
แบบและใช้เป็ นระบบให้เหมือนกันทั(งโครงการเพือประหยัดเวลาในการผลิตแบบและปรับแก้ได้สะดวกใน
ต้นฉบับ ซึ งจะช่วยให้ประหยัดกว่าการแก้ไขหรื อพิมพ์ใหม่ดว้ ยเครื องคอมพิวเตอร์ ท( งั หมด
1) ขนาดของตัวอักษรตัวอักษรทีใช้ในการเขียนแบบ ไม่ควรมีหลายขนาดเกินความจําเป็ น
และต้องใช้ให้เป็ นระบบควบคู่กบั แบบของตัวอักษรเช่ นกัน ปกติในการเขียนแบบต้นฉบับ เราจะ
กําหนดขนาดตัวอักษรให้เป็ นมาตรฐานใช้เหมือนกันทั(งชุ ด ไม่วา่ แบบจะมีมาตราส่ วนใหญ่หรื อเล็ก
ก็ ต าม เพื อความสะดวกในการเขี ย น และสามารถอ่ า นได้ชัด เจน เมื อนํา แบบไปย่ อ หรื อ ถ่ า ย
ไมโครฟิ ล์ม

GNR 1004 1-6


2) ขนาดของเส้ นที ใช้เขี ย นตัวอัก ษรต้องสั ม พันธ์ ก ับ ขนาดของตัวอัก ษรด้วยเพื อให้ไ ด้
สัดส่ วนทีสวยงามและอ่านได้ง่าย อักษรขนาดใหญ่ควรใช้เส้นหนา อักษรขนาดเล็กใช้เส้นบาง เป็ น
สัดส่ วนแตกต่างกันไป ยกเว้นบางกรณี ทีต้องการเน้นข้อความ อาจเพิมความหนาเส้น โดยไม่เปลียน
ขนาดอักษรก็ได้ ซึ งต้องระมัดระวังให้สามารถอ่านได้ชดั เจนด้วย
3) ระยะห่ างช่ องไฟ และเนื( อทีว่างรอบ ๆ ประโยคระยะห่ างช่ องไฟระหว่างตัวอักษร และ
ระหว่างข้อความ ถ้าชิ ดกันเกิ นไปก็จะอ่านไม่ออกเมือมีการย่อแบบ แต่ถา้ ห่ างเกินไปก็จะขาดความ
สวยงาม และกินเนื( อทีมาก ซึ งสามารถดูรายละเอียดได้จากมาตรฐาน มอก. 440 เล่ม 1-2525ซึ งการ
เขี ยนข้อความอธิ บายแบบก่อสร้ าง ควรให้ความสําคัญกับเนื( อทีว่างรอบ ๆ คําอธิ บายแบบฯและ
องค์ป ระกอบภาพของแบบ เพื อแบ่ งแบบฯหรื อข้อความออกเป็ นกลุ่ มเป็ นหมวดหมู่ หรื อลํา ดับ
ความสําคัญได้ดว้ ย ซึ งจะช่วยให้อ่านแบบฯ ได้ง่ายยิงขึ(น

ตารางที 1.2 ตารางความสู งมาตรฐานของตัวอักษร


รายการ หมายเหตุ
ความสู งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ (a) 10/10 x h h คือความสู งตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่
ความสู งตัวอักษร ตัวพิมพ์เล็ก (b) 7/10 x h
ระยะห่างระหว่างบรรทัด (c) 14/10 x h
ความหนาของเส้น 1/10 x h
ช่องไฟ 2/10 x h

ตัวอย่างการเขียนสัดส่ วนอักษรไทยและตัวเลขตามมาตรฐานของตัวอักษร (ตารางที 1.1)


a ABCDEFG
b Aabcdefg
[! ? “” - + % &
c
123456789

GNR 1004 1-7


แบบฝึ กหัดบทที 1บทนํา
ก. จงเลือกข้อทีถูกทีสุ ด
1. คําว่า King เมือตัว“K” สู ง 20 มม. ตัว “i”จะสู งเท่าไร?
ก. 10 มม. ข. 20 มม.
ค. 14 มม. ง. 17 มม.
2. คําว่า Queen เมือตัว Q สู ง 10 มม. ขนาดเส้นทีใช้เขียนตัวอักษรมีความหนาเท่าไร?
ก. 1 มม. ข. 2 มม.
ค. 4 มม. ง. 7 มม.
3. จากรู ป ข้อใดเรี ยงลําดับประเภทของเส้นได้ถูกต้อง
A
B
C
D
ก. Visible Line, Center Line, Hidden Line, Section Line.
ข. Visible Line,Hidden Line,Center Line, Section Line.
ค. Section Line,Hidden Line,Center Line, Visible Line.
ง. Section Line,Visible Line,Center Line, Hidden Line.
4. กระดาษขนาด A1 เป็ นกีเท่าของ A4
ก. 1/8
ข. 1/4
ค. 4
ง. 8
5. ดินสอในข้อใดทีมีเข้มน้อยทีสุ ด
ก. 2B
ข. 4H
ค. F
ง. HB
6.เส้นทแยง (เส้นเต็มบาง) แสดงถึง
ก. แนวตัด
ข. แนวตัด
ค. พื(นทีราบ
ง. เนื(อวัสดุ
GNR 1004 1-8
ข. จงเขียนตัวอักษรภาษาไทยและภาษาอังกฤษด้วยมือ

4
รู ปที 1.11 การเขียนสัดส่ วนสัมพันธ์ตวั อักษรอังกฤษ

รู ปที 1.12 4
การเขียนสัดส่ วนสัมพันธ์ตวั อักษรไทย

GNR 1004 1-9

You might also like