Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

แชร์ ประสบการณ์การสอบ สัมภาษณ์ เมือ่ วันที่ 4 มกราคม 25632

งานควบคุมการสร้าง/การผลิต ของ น.ส.ปาริ ชาติ กุลตั ถ์นาม ภย.52342

ผลงานเด่น งานก่อสร้างเขื่อนคอนกรี ตเสริ มเหล็กชนิดตอกเสาเข็มและเรี ยงหิ นหน้าเขื่อน 2 ผลงาน

เริ่ มต้นแนะนาตัวเองค่ะ ชื่อ-สกุล – อายุ – จบมัธยมต้นที่ไหน- มัธยมปลายที่ไหน- ปริ ญญาตรี ที่ไหน- จบเมื่อปี พ.ศ.? ปัจจุบนั
ทางานอยูท่ ี่ไหน- จังหวัดอะไร ได้รับใบประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมเมื่อวันที่ ?

เริ่ มต้นคาถาม

Q: ทาไมถึงเลือกเรี ยนวิศวกรรมโยธา

A: เพราะชอบสายลุยค่ะ พ่อแม่ทางานรับเหมาก่อสร้างด้วยค่ะ

Q: ไหนลองเล่าให้ฟังสิ ผลงานเด่นที่คุณส่ งมา เขื่อนนี้มีข้ นั ตอนการก่อสร้างยังไง

A: เริ่ มเล่าผลงานตั้งแต่ได้รับมอบหมายให้คุมโครงการค่ะ เริ่ มแรกคือการศึกษาแบบให้ละเอียด ถอดปริ มาณงาน เช็คดูว่า

มีอะไรขัดแย้งในแบบหรื อไม่ ถ้ามีก็รีบทาบันทึกแจ้งเจ้าของโครงการเพื่อหาข้อสรุ ปให้แน่ชดั ก่อนเริ่ มทาการก่อสร้าง


ค่ะ จากนั้นก็เข้าไปทาการสารวจพื้นที่หน้างาน เพื่อวางแผนการทางาน หาที่กองวัสดุ วางแนวก่อสร้าง

Q: คุณวางแนวเองด้วยหรอ แน่ใจนะเดี๋ยวผมถามเลย ( อาจารย์แซวแบบขาๆนะค่ะ)

A: ค่ะ อาจารย์ ถามได้ค่ะ

Q: HI คืออะไร

A: HI คือ หมายถึง ค่าระดับแนวแกนกล้องที่ได้ระดับแล้วซึ่งเป็ นความสูงต่อเนื่องจากระดับน้ าทะเลปลานกลางค่ะ

HI เท่ากับ BM + BS

Q: BM คือ อะไร

A: หมุดหลักฐานถาวรที่มีค่าระดับคงที่ โดยนับเนื่องจากระดับน้ าทะเลปลานกลางค่ะ

Elev ณ.หมุดที่ตอ้ งการ = HI – FS ( ยาวเลยค่ะที่น้ ี 5555)

Q: แล้ว B.M. มันย่อมาจากอะไรรู้ม้ยั

A: ยิม้ เลยค่ะ จนมุม ไม่ทราบก็ตอบไปว่ามันคือหมุดอ้างอิงแต่ชื่อเต็มในทางปฏิบตั ิรู้แค่ว่าต้องเทียบค่าและคานวณยังไงแค่

นั้น อาจารย์ก็เลยเปลี่ยนคาถาม
Q: อ่าวเล่าต่อสิ ต่อไปยังไงอีกถึงไหนแล้ว

A: เมื่อสารวจวางแนวเสร็ จ ก็ทาการเคลียริ่ งพื้นที่ค่ะ โดยใช้แบ็คโฮ จากนั้นทาการวางแนวตีนเขื่อนโดยการทิ้งทุ่นระบุ

แนวให้แบ็คโฮ เนื่องจากแนวอยูห่ ่ างจากตลิ่ง ประมาณ 4-5 เมตร โดยความลึกสันตีนเขื่อนจะต้องไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตร

ถ้าเช็คแล้วบริ เวณไหนตื้นก็ตอ้ งทาการขุดลอกลงไปค่ะ เพราะคันล่างเป็ นส่ วนสาคัญในการรับน้ าหนักทรายและหิ นที่

ถมและเรี ยงอยูด่ า้ นบน ถ้าคันไปวางอยูข่ ้ นั ดินอ่อนหรื อเป็ นดินโคลน อาจจะทาให้เขื่อนเกิดการสไลด์ได้ค่ะ

Q: แล้วไงต่อ

A: จากนั้นทิง้ หิ นใหญ่ตีนเขื่อนเสร็ จ ก็ทาการปูแผ่นใยสังเคราะห์(Geotextile) ซึ่งก่อนนามาใช้ก็ได้ทาการขออนุมตั ิวสั ดุ

กับเจ้าของโครงการก่อนค่ะ พอวัสดุมาถึงก็ได้ทาการตรวจสอบว่าตรงกับที่ขอใช้ไปรึ ป่าว ทาการตัดชิ้นตัวอย่างวัสดุ

พร้อมกับช่างผูค้ วบคุมงานเพื่อนาไปทดสอบค่ะ โดยตัดขนาด 1 x 1 เมตร แบบมาตรฐานกาหนด 10,000 ตารางเมตร

ต่อ 1 ตัวอย่างค่ะ ทดสอบน้ าหนัก ความหนา อัตราการซึมผ่านของน้ า ความต้านทานแรงดึง ความต้านทานแรงฉีก

ขาด ซี่งผลการทดสอบผ่านเกณฑ์ค่ะ จึงสามารถนามาใช้ในการก่อสร้างได้

Q: โอเคร แล้วยังไงต่อ

A: จากนั้นก็ทาการถมทรายปิ ดทับแผ่น Geotextile โดยเหลือปลายผ้าไว้ต่อได้ประมาณ 1.00 เมตรค่ะ แล้วก็ทาการผูก


กล่องแมทเทรส นาหิ นใส่ เพื่อวางปิ ดทับคันหิ นตีนเขื่อนค่ะ

Q: ทายังไง หิ นใส่ ยงั ไง

A: วาดรู ปกล่องในกระดาษ บอกขนาดและบอกวิธีการผูกขึ้นรู ปแล้วใช้แบ็คโฮตักหิ นใส่ ใช้คนเรี ยงเก็บหน้าและทาการ


ปิ ดฝากล่องโดยการร้อยลวดยึดติดกันตามแบบแล้วถึงใช้แบ็คโฮยกวาง (ทาการชี้รูปในเล่มผลงานให้ดู)

Q: โอเคร แล้วยังไงต่อ

A: จากนั้นทาการถมทรายแล้วปูดว้ ยแผ่น Geotextile เย็บต่อกันตามด้วยหิ นปิ ดทับโดยใช้คนเรี ยงขึ้นมาค่ะ ทาขึ้นมาจนถึง


ชั้นที่จะต้องทาการตอกเสาเข็มก็หยุดงานเรี ยงหิ นสลับมาทาการตอกเสาเข็มก่อนค่ะ

Q: ตอกเสาเข็มต้นไหนก่อนขนาดเท่าไหร่

A: เสาเข็ม B ค่ะ เป็ นเข็มสี่ หลี่ยมตัน ขนาด 0.30 x 0.40 ยาว 16.00 เมตร โดยตอกห่ าง ระยะ 1.00 เมตรค่ะ

Q: อันไหน A อันไหน B ตอกคู่ยงั ไงแบบไหน วาดรู ปให้ดูสิ


A: วาดรู ปตัดด้านข้างให้ดูค่ะ วาดรู ปคานรัดเข็ม วาดรู ปแผ่นสอด คสล. จานวนกี่แผ่น ระดับที่เท่าไหร่

Q: ด้านไหนของเสาเข็มที่รับแรง

A: ด้านแคบค่ะ 0.30 ม.

Q: .ใช่รึป่าวที่ก่อสร้างเหมือนในรู ปเอาหน้า 0.40 ม. ออก

A: ใช่ค่ะอาจารย์ รู ปหลอกตาค่ะ (วาดรู ปให้ดู)

Q: หรอ... เห็นมีเสาเข็มล้มด้วยนิในรู ปปัญหาอุปสรรคอ่ะ เกิดจากอะไร แล้วแก้ไขยัง

A: ค่ะ อาจารย์ เป็ นเสาเข็ม B ค่ะ จานวน 9 ต้น เนื่องจากในช่วงระหว่างทาการก่ อสร้างยังไม่แล้วเสร็ จ เข้าช่วงฤดูฝน
พอดี ฝนตกชะดินบริ เวณหลังเขื่อนไหลลงมาดันเสาเข็มค่ะ หนูได้ทาการกดแผ่นชิพไพม์เพื่อ ช่วยเหลือบ้านคนที่อยู่
บริ เวณริ มตลิ่ง ซึ่งระยะบ้านหลังนี้อยูห่ ่ างจากตาแหน่งเสาเข็มแค่ 5.00 เมตร และบ้านอยูส่ ูงกว่าระดับสันเขื่อน 2 เมตร
ค่ะ ดินบริ เวณบ้านพอฝนตกชะก็ไหลลงมาดันที่เสาเข็มค่ะ ขณะที่ยงั ไม่ได้ทาการตอกเสาเข็ม A จึงทาให้เสาเข็ม B รับ
น้ าหนักดินไม่ไหวจึงเอนล้มไปตามรู ปค่ะ พอพ้นฤดูฝนก็ได้เร่ งทาการแก้ไขขุดเปิ ดหน้าดินไปจนถึงจุดที่เข็มหัก 4-5
เมตร จากนั้นได้ทาการปรึ กษาสามัญวิศวกร แก้ไขโดยการตัด และสวมปลอกเหล็กหนา 9 มม. ยาว 1.00 เมตร
ประสานรอยต่อด้วยอีพอ๊ กซีค่ะ

Q: ตอนนี้เธอได้ไปดูบา้ งป่ าวมันยังอยูด่ ีม้ยั (หัวเราะ)

A: อยูด่ ีค่ะอาจารย์ ไม่พงั ค่ะ นี่ก็คืนค้ าประกันไปแล้ว นี่ ก็ 6-7 ปี แล้วค่ะ(ยิม้ )

Q: คานรัดเข็มนี่เทคอนกรี ตยาวรึ ป่าว

A: ไม่ยาวค่ะ ตัดขาดทุกระยะ 50 เมตรเพื่อคอนกรี ตขยายตัวค่ะ

Q: คอนกรี ตใช้ Slump เท่าไหร่

A: ±7.5 ค่ะ

Q: Slump มีกี่แบบ

A: มี 3 แบบ ค่ะ คือ True slump เป็ นการวิบตั ิแบบเนื้อคอนกรี ตเกาะตัวกันดีสม่าเสมอ (วาดรู ปให้ดู)

Shear slump เป็ นการพังทลายลงโดยแรงเฉือน การยึดตัวแบบไม่สม่าเสมอ (วาดรู ปให้ดู)

Collape slump มีน้ าผสมมากคอนกรี ตแยกตัวออกจากกัน (วาดรู ปให้ดู)


Q: เสาเข็มจุดยกยูต่ รงไหน

A: วาดรู ป
0.201L 0.598L 0.201L
Q: ทาไมต้อง 0.201L

A: จุด 0.201L เป็ นจุดที่ Shear เป็ น 0

Q: ไหนลองเขียน Shear Force Diagram กับ Bending Moment Diagram ( อาจารย์วาดยืน่ 2 ช่วงให้ค่ะ)

A: เขียนในกระดาษให้อาจารย์ค่ะ

Q: เสาเข็มทาไมถึงต้องดึงลวดรู้ม้ยั ใส่ ทาไมละทั้งที่เสาเข็มอัดแรงรับแค่แรงอัด เพราะอะไร

A: เพราะเวลายกย้ายค่ะอาจารย์ จุดยกหิ้ วเกิดแรงค่ะ

Q: เหล็กเส้นที่เสริ มหัวเสาละใส่ เพื่ออะไร และทาไมลวดปลอกบริ เวณหัวเสาถึงต้องถี่

A: กันหัวเข็มแตกค่ะเวลารับแรงกะแทกจากลูกตุม้

Q: ตุม้ ใช้ขนาดเท่าไหร่

A: ขนาด 4.5 ตัน ค่ะ

Q: ทาไมใช้ 4.5 ตัน เลือกใช้ตุม้ จากอะไร

A: พิจารณาข้อมูลดินค่ะ ใช้อยู่ 0.75ของน้ าหนักเสาเข็ม ถ้าดินเป็ นดินแข็งใช้ 2.5ของน้ าหนักเสาเข็มค่ะ

Q: เหล็กเส้น SD40 SD30 หมายความว่าอย่างไร

A: SD40 คือ เหล็กที่สามารถต้านทางแรงดึงได้ไม่นอ้ ยกว่า 4,000 kg/cm2 คือจุดคราก (yield point)

SD30 คือ เหล็กที่สามารถต้านทางแรงดึงได้ไม่นอ้ ยกว่า 3,000 kg/cm2

Q: ไหนลองวาดกราฟสิ เป็ นยังไง มีกีจุด

A: เขียนกราฟความสัมพันธ์เป็ นเคิฟค่ะ ความเค้น ความเครี ยด ของเหล็ก บอกจุด Yield point, Ultimate point ,
Fracture

Q: เหล็ก DB16 mm. SD40 รับแรงได้เท่าไหร่

A: คิดพื้นที่หน้าตัดเหล็ก 16 มม.ค่ะ ได้ 2.01 cm2 คูณ fy = 4,000 kg/cm2 ตอบ 8,042.47 kg

Q: วาดรู ปอาคารทรุ ดแล้วเกิดรอยแตกเฉียงเป็ นแรงเฉือน แล้วถามว่าถ้ารอยเฉือนลงมาแบบนี้คือฐานรากฝังไหนทรุ ด


A: วาดในกระดาษ บนขวาร้าวลงมาซ้าย ตอบฝั่งขวาทรุ ด พอฐานรากทรุ ดก็จะทาให้เกิดแรงดึงลงทาให้คอนกรี ตแยกตัว

Q: ถามความรู้พ้นื ฐานทัว่ ไป ซีเมนต์มีกีประเภทอะไรบ้าง

A: มี 5 ประเภท

ประเภท 1 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ธรรมดา เหมาะสาหรับงานก่อสร้างทัว่ ไป ไม่มีคุณสมบัติพิเศษ

ประเภท 2 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ดัดแปลง สามารถต้านทานซัลเฟตได้ปานกลาง จะเกิดความร้อนปานกลางเมื่อทา

ปฏิกิริยากับน้ า

ประเภท 3 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์แข็งเร็ ว สามารถให้กาลังอัดรวดเร็ วในเวลาสั้น หลังเทแล้วใช้งานได้ 3-7 วัน เหมาะ

งานเร่ งด่วน

ประเภท 4 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ความร้อนต่า กาลังคอนกรี ตจะเพิ่มขึ้นช้าๆ การขยายตัวน้อยช่วยลดการแตกร้าว

ประเภท 5 ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ทนเกลือซัลเฟตได้สูง เหมาะกับงานก่อสร้างที่อยูใ่ กล้ทะเล

Q: บอกจรรยาบรรณมา 10 ข้อ ทั้งหมดมี 25 ข้อ เอาที่สาคัญๆ จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผูว้ ่าจ้าง


จรรยาบรรณต่อสาธารณะ

A: ตอบตามที่อาจารย์ถามทีละข้อค่ะ ( มีถามเรื่ องแผ่นดินไหวด้วยนะค่ะมีกีโซน) ใช้เวลา 1.20 ชม.

****แนวคาถามส่ วนใหญ่จะเป็ นงานที่เราควบคุมค่ะ คาถามเท่าที่พอจาได้นะค่ะ เอามาแชร์ประสบการณ์ให้ค่ะ

อาจารย์บอกโชคดีนะรอฟังผล

You might also like