Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 43

รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์

เรื่อง การชะลอความคล้ำของกล้วย

โดย

นายจตุรภัทร คำป้ อง
นายปภังกร เวียงยา
นางสาวเกียรติยาพร แสนดำรง
นางสาวสุวช
ิ าดา อำไพทอง
นางสาวจิรประภา ประทะดวง

ครูที่ปรึกษา
นายเอกราช กาศโอสถ
โรงเรียนร้องกวางอนุสรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษาแพร่
รายงานฉบับนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของโครงงานวิทยาศาสตร์
ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง การชะลอความคล้ำของกล้วย

โดย
นายจตุรภัทร คำป้ อง
นายปภังกร เวียงยา
นางสาวเกียรติยาพร แสนดำรง
นางสาวสุวช
ิ าดา อำไพทอง
นางสาวจิรประภา ประทะดวง

ครูที่ปรึกษา
นายเอกราช กาศโอสถ

เรื่อง การชะลอความคล้ำของกล้วย

ผู้ทดลอง 1. นายจตุรภัทร คำป้ อง


2. นายปภังกร เวียงยา
3. นางสาวเกียรติยาพรแสนดำรง
4. นางสาวสุวิชาดา อำไพทอง
5. นางสาวจิรประภา ประทะดวง
ปี การศึกษา 2564
ครูที่ปรึกษา นายเอกราช กาศโอสถ

บทคัดย่อ

กล้วยเป็ นผลไม้หาง่ายในท้องตลาด และยังนำมาแปรรูปได้หลาก


หลายประเภท เเต่มีข้อจำกัดคือกล้วยนัน
้ หากปล่อยทิง้ ไว้ไม่นาน กล้วย
เริ่มมีสีดำคล้ำทำให้ไม่น่าซื้อและรับประทาน ดังนัน
้ จึงมีวิธีการชะลอความ
คล้ำของเปลือกกล้วยอยู่หลายวิธี พบว่าจากการเปรียบเทียบความคล้ำ
ของกล้วยจากวิธีการ การรมด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่
ทาด้วยว่านหางจระเข้ พบว่าการรมด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จาก
เปลือกไข่ชะลอความคล้ำของกล้วย การทาด้วยว่านหางจระเข้และปกติ

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานเรื่อง ศึกษาการชะลอความคล้ำของกล้วยจะสำเร็จมิได้
หากไม่ได้รับความกรุณาจาก นายเอกราช กาศโอสถ คุณครูกลุ่มสาระ
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่ได้ให้คำปรึกษาและคำแนะนำ ที่เป็ นประโยชน์
ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆด้วยความตัง้ ใจและเอาใจใส่
อย่างดี

คณะผู้จัดทำหวังเป็ นอย่างยิ่งว่า โครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับนีจ


้ ะเป็ น
ประโยชน์ไม่มากก็น้อยจึงขอมอบส่วนดีทัง้ หมดให้แก่คณะคุณครูผู้ให้
ข้อมูล ตลอดจนผู้ปกครองและผู้มีพระคุณทุกท่านสำหรับข้อผิดพลาด
ประการใดคณะผู้จัดทำขอรับผิดชอบเพียงผู้เดียวและยินดีรับฟั งคำ
แนะนำเพื่อนำไปพัฒนาในครัง้ ต่อไป

คณะผู้
จัดทำ
กุมภาพันธ์ 2564

สารบัญ(ไม่เสร็จ)

เรื่อง
หน้า
บทคัดย่อ

กิตติกรรมประกาศ

สารบัญ

สารบัญตาราง

สารบัญภาพ

บทที่ 1 บทนำ
1
ที่มาและความสำคัญ
1
วัตถุประสงค์
1
สมมติฐาน 1
ตัวแปร
1
ระยะเวลาดำเนินการทดลอง
1
ขอบเขตการศึกษา
2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
3
บทที่ 3 วัสดุ อุปกรณ์และวิธีดำเนินงาน
14
อุปกรณ์
14
วัตถุดิบ
14
สารเคมี
14

วิธีการดำเนินงาน
14
แผนภาพแสดงการเปรียบเทียบความขมของไส้ย่างจากวิธีการล้าง
16
บทที่ 4 ผลการดำเนินการ
17
บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินการ
19
สรุปผลการทดลอง
19
อภิปรายผลการทดลอง
19
ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
19
ข้อเสนอแนะ
19
บรรณานุกรม
20
ภาคผนวก 21

สารบัญตาราง(ไม่เสร็จ)

หน้า
ตารางที่ 1 จำนวนผู้เข้าร่วมทดสอบ
17
ตารางที่ 2 ความรู้สึกรับรสเมื่อรับประทานไส้ย่างของผู้ทดสอบ
17

สารบัญภาพ(ไม่เสร็จ)

หน้า
ภาพที่ 1 ไส้อ่อน
3
ภาพที่ 2 เกลือ
4

ภาพที่ 3 น้ำส้มสายชู
8
ภาพที่ 4 แป้ งมันสำปะหลัง
11
ภาพที่ 5 อุตสาหกรรมแป้ งมันสำปะหลัง
12
ภาพที่ 6 แป้ งดิบ
13
ภาพที่ 7 น้ำส้มสายชู 250 ml
21
ภาพที่ 8 เกลือ 250 g
21
ภาพที่ 9 แป้ งมันสำปะหลัง 500 g
21
ภาพที่ 10 เตรียมไส้อ่อนที่ตัดพังผืดแล้วล้างน้ำสะอาด 1-2 ครั ้ ง
22
ภาพที่ 11 ไส้อ่อนแช่ในน้ำเปล่า
22
ภาพที่ 12 ไส้อ่อนแช่ในน้ำส้มสายชูกับเกลือ
22

ภาพที่ 13 ไส้อ่อนเเช่ในน้ำเปล่าผสมแป้ งมันสำปะหลัง


23
ภาพที่ 14 นำไส้อ่อนที่เเช่แป้ งมันสัมปะหลังมาล้างน้ำสะอาด 1-2 ครัง้
23

ภาพที่ 15 นำไส้ท ี่แ ช่น ้ำส้ม สายชูก ับ เกลือ มาล้า งน้ำสะอาด 1-2 ครัง้
23
ภาพที่ 16 ตัง้ หม้อเติมน้ำเปล่ารอจนน้ำเดือด นำไส้ที่แช่ด้วยน้ำ น้ำส้ม
สายชูกับเกลือ แป้ งมัน 24
สำปะหลัง ลงไปต้มใช้เวลา 30 นาที
ภาพที่ 17 นำไส้อ่อนที่ต้มแล้วนำมาย่าง
24
ภาพที่ 18 - 49 ภาพขณะชิมไส้ย่างและทำแบบสอบถาม
25 - 30
1

บทที่ 1
บทนำ
ที่มาและความสำคัญ
ปั จจุบันกล้วยนับว่านับเป็ นผลไม้ที่อยู่ในชีวิตประจำวัน เป็ นผลไม้ที่
ให้ทัง้ ให้คุณค่าสารอาหารทัง้
คาร์โบไฮเดรต เกลือแร่ และวิตามิน แต่เมื่อตัดมานานๆจะทำให้สีของ
กล้วยดำและคล้ำ ซึง่ ไม่น่ารับประทาน
คณะผู้จัดทำสนใจศึกษากกล้วยด้วยการรมด้วยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่ ทาด้วยว่านหางจระเข้ เพื่อชะลอความ
คล้ำของกล้วย

วัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความคล้ำของกล้วยด้วยการรมด้วยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่ ทาด้วยว่านหางจระเข้ และกล้วยปกติ
ที่ไม่ได้ทำอะไรเลย

สมมติฐาน
ความคล้ำของกล้วยในโหลที่ใช้รมด้วยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จาก
เปลือกไข่ ชะลอการคล้ำของกล้วยได้ดีที่สุด รองลงมาด้วยกล้วยที่ทาด้วย
ว่านหางจระเข้ และ กล้วยปกติที่ไม่ได้ทำอะไรเลย ตามลำดับ

ตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จากเปลือกไข่, ว่านหาง
จระเข้
และกล้วยปกติ
2

ตัวแปรตาม คือ ลักษณะความดำคล้ำของกล้วย


ตัวแปรควบคุม คือ อุณหภูมิ
ขนาดของภาชนะที่ใช้บรรจุ
กล้วยจากหวีเดียวกันและมีขนาดใกล้เคียงกัน
ระยะเวลา

ระยะเวลาดำเนินการทดลอง
14 – 21 มกราคม 2565

ขอบเขตการศึกษา
1. กล้วยที่ใช้ในการทดสอบ ใช้กล้วยที่มาจกหวีเดียวกันและมี
ขนาดใกล้เคียงกัน

บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง

[1]
กล้วย
3

ภาพที่ 1 กล้วย

กล้วย คือ ชื่อไม้ล้มลุกหลายชนิดในสกุล Musa วงศ์ Musaceae มี


2 จำพวก คือ จำพวกมีเหง้าแตกกอได้ ส่วนใหญ่เป็ นกล้วยที่กินผลสุก.

ประโยชน์ของกล้วย 
1. ช่วยลดกลิ่นปากได้ดีในระดับหนึ่ง แต่ทัง้ นีค
้ วรรับประทานหลัง
ตื่นนอนตอนเช้าทันทีแล้วค่อยแปรงฟั น และถ้าเป็ นกล้วยน้ำว้าจะยิ่งช่วย
ลดกลิ่นปากได้ดีขึน

2. กล้วยช่วยควบคุมอุณหภูมิในร่างกายให้เป็ นปกติ
3. กล้วยอุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุต่าง ๆ ที่สำคัญและจำเป็ น
ต่อร่างกาย เช่น ธาตุเหล็ก ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม แมกนีเซียม
คาร์โบไฮเดรต โปรตีน วิตามินเอ วิตามินบี 6 วิตามินบี 12 และวิตามินซี
4. ช่วยเพิ่มพลังให้แก่สมองของคุณ เพราะมีสารที่ช่วยทำให้มีเกิด
สมาธิและมีการตื่นตัวตลอดเวลา
5. กล้วยก็มีสารต่อต้านอนุมูลอิสระเหมือนกันนะ ที่ช่วยในการ
ชะลอความแก่ตัวของร่างกายนั่นเอง
4

6. กล้วยมีส่วนช่วยในการลดความอ้วนได้ เพราะช่วยปรับระดับ
น้ำตาลในเลือด ช่วยให้ลดอาการอยากกินของจุกจิกลงได้พอสมควร
7. สำหรับผู้ที่มีอาการนอนไม่หลับ
8. แก้อาการหงุดหงิดยามเช้า
9. ช่วยลดอาการหงุดหงิดของผูห
้ ญิงในช่วงประจำเดือนมา
10.ช่วยลดอาการเมาค้างได้ดีระดับหนึ่ง เพราะจะช่วยชดเชย
น้ำตาลที่ร่างกายขาดไปในขณะดื่มแอลกอฮอล์
11.ช่วยรักษาแผลในลำไส้เรื้อรัง เพราะกล้วยมีสภาพเป็ นกลาง
ทำให้ไม่เกิดการระคายเคืองในผนังลำไส้และกระเพาะอาหารด้วย
12.ช่วยรักษาโรคความดันโลหิตสูงหรือเส้นเลือดฝอยแตกได้

[2]
เปลือกไข่

ภาพที่ 2 เปลิกไข่

เปลือกไข่ เป็ นส่วนนอกของฟองไข่ของไก่ มีลักษณะแข็งแต่เปราะ


หุ้มส่วนที่เป็ นของเหลวซึ่งจะเจริญเติบโตเป็ นตัวต่อไป

ประโยชน์ของเปลือกไข่
5

1. ทำความสะอาดของใช้ที่มีคราบฝั ง
2. ทำความสะอาด และลับใบมีดเครื่องปั่ น
3. รับประทานเพื่อเพิ่มแคลเซียม
4. ทำปุ๋ยใส่ต้นไม้
5. กำจัดมดด้วยสเปรย์เปลือกไข่

[3]
ว่านหางจระเข้
6

ภาพที่ 3 ว่านหางจระเข้

ว่านหางจระเข้ เป็ นพรรณไม้ล้มลุกมีอายุหลายปี มีความสูง


ประมาณ 0.5-1 เมตร ลำต้นเป็ นข้อปล้องสัน
้ มีใบเป็ นใบเดี่ยว ใบหนา
และยาว อวบน้ำ แผ่นใบมีสีเขียว มีจุดยาวสีขาวอ่อนออกเรียงเวียนรอบ
ต้น โคนใบใหญ่ ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก มีหนามแหลมเล็ก ๆ สีขาว
อยู่ห่างกัน ข้างในใบเป็ นวุ้นสีเขียวอ่อน ส่วนดอกว่านหางจระเข้ ออกดอก
เป็ นช่อกระจะที่ปลายยอด ดอกมีสีแดงอมสีเหลือง ก้านช่อดอกยาว โคม
เชื่อมติดกันเป็ นหลอด ปลายแยกเป็ น 6 แฉก เรียงเป็ น 2 ชัน
้ เป็ นรูปแตร
ส่วนผลว่านหางจระเข้ เป็ นผลแห้งคล้ายรูปกระสวย

ประโยชน์ของว่านหางจระเข้ 
1. น้ำว่านหางจระเข้ สามารถช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ มีส่วนช่วย
ชะลอความแก่ชรา และช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคได้อีกด้วย
2. ว่านหางจระเข้อุดมไปด้วยวิตามินและแร่ธาตุ รวมไปถึงกรดอะมิ
โนอีกหลายชนิดที่จำเป็ นและมีประโยชน์ต่อร่างกาย เช่น ธาตุแมกนีเซียม
7

ธาตุโพแทสเซียม ธาตุทองแดง ธาตุแมงกานีส ธาตุซีลีเนียม ธาตุโครเมียม


วิตามินเอ วิตามินซี วิตามิอี วิตามินบี 1 วิตามินบี 2 วิตามินบี 3 วิตามินบี
6 วิตามินบี 9 โคลีน และยังเป็ นพืชเพียงไม่กี่ชนิดที่มีวิตามินบี 12 ด้วย
3. ช่วยในการย่อยอาหาร ทำความสะอาดลำไส้ใหญ่ ช่วยในการดีท็
อกซ์ล้างสารพิษในร่างกาย ช่วยในการทำงานของระบบกระเพาะอาหาร
และช่วยลดปริมาณของเชื้อแบคทีเรียในลำไส้
4.จากวารสารแพทย์อังกฤษตีพิมพ์ในปี 2000 (British medical
journal) ระบุว่าสารสกัดจากว่านหางจระเข้สามารถช่วยลดระดับ
คอเลสเตอรอล ช่วยควบคุมความดันโลหิตและเพิ่มการไหลเวียนของ
โลหิต และอาจจะมีความเป็ นไปได้ว่ามันสามารถช่วยลดความเสี่ยงของ
การเกิดโรคหัวใจได้อีกด้วย
5.ช่วยป้ องกันและแก้อาการเมารถเมาเรือ ด้วยการรับประทานเนื้อ
วุ้นว่านหางจระเข้หรือน้ําว่านหางจระเข้เย็น ๆ ก็จะช่วยบรรเทาอาการดัง
กล่าวได้
6.การใช้วุ้นว่านหางจระเข้ทาเป็ นประจำวันละ 2-4 ครัง้ จะช่วย
ป้ องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง
7. ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยทำให้ผิวพรรณเนียนนุ่ม ดูชุ่มชื้น แก้
ปั ญหาผิวแห้งกร้านตามหัวเข่า, ข้อศอก หรือส้นเท้าได้ เพียงแค่ใช้วุ้นจาก
ใบว่านหางจระเข้แช่ในอ่างอาบน้ำ
8. ช่วยเติมน้ำให้ผิว ทำให้ผิวหน้าและผิวกายชุ่มชื้น และป้ องกันการ
เกิดริว้ รอยแห่งวัย เพียงแค่ใช้วุ้นจากใบว่านหางจระเข้นำมาพอกให้ทั่ว
บริเวณใบหน้าหรือบริเวณผิวที่ต้องการ ทิง้ ไว้ประมาณ 15 นาทีแล้วล้าง
ออก จะช่วยทำให้ผิวพรรณชุ่มชื้นสดใสและดูเต่งตึงขึน

8

9.ว่านหางจระเข้รักษาสิว ยับยัง้ การติดเชื้อที่เป็ นสาเหตุของสิว ช่วย


ลดรอยดำจากสิว และช่วยลดความมันบนใบหน้า เพราะในใบว่างหาง
จระเข้จะมีฤทธิเ์ ป็ นกรดอ่อน ๆ (ไม่แนะให้ใช้กับสิวอักเสบ เพราะจะทำให้
เกิดการติดเชื้อได้ง่าย)
10. ช่วยรักษาจุดด่างดำตามผิวหนัง อันเนื่องมาจากแสงแดดหรือ
จากอายุที่มากขึน
้ ด้วยการใช้วุ้นจากใบสดนำทาที่ผิววันละ 2 ครัง้ หลัง
อาบน้ำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอจึงจะเห็นผล
11. ช่วยป้ องกันการเกิดฝ้ า หากใช้ว่านหางจระเข้เป็ นประจำก็จะ
ช่วยป้ องกันการเกิดฝ้ าได้เป็ นอย่างดี (ไม่ใช่การรักษาแต่เป็ นการป้ องกัน)
12.วุ้นจากใบสดใช้ชโลมบนเส้นผม จะช่วยทำให้เส้นผมสลวย ผม
ดกเป็ นเงางาม ช่วยป้ องกันและขจัดรังแค ช่วยบำรุงต่อมที่รากผมให้มี
สุขภาพดี และยังช่วยรักษาแผลบนหนังศีรษะได้อีกด้วย

สรรพคุณทางยาของว่านหางจระเข้
1. ช่วยป้ องกันโรคเบาหวาน ด้วยการรับประทานเนื้อวุ้น หรือจะทำ
เป็ นน้ำปั่ นว่านหางจระเข้มาดื่มก็ได้ ก็จะช่วยบรรเทาอาการและป้ องกัน
โรคเบาหวานได้
2. ว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยแก้อาการปวดศีรษะ ด้วยการตัด
ใบสดของว่านหางจระเข้แล้วทาปูนแดงด้านหนึ่ง แล้วเอาด้านที่ทาปูนปิ ด
ตรงขมับ จะช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ (ใบ)
3.วุ้นว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
ช่วยป้ องกันและลดการเกิดแผลในกระเพาะขณะท้องว่าง ช่วยรักษาโรค
เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารต่าง ๆ
9

4.สรรพคุณว่านหางจระเข้ช่วยแก้กระเพาะลำไส้อักเสบ ด้วยการ
ใช้ใบนำมาปอกเปลือกเอาแต่วุ้น นำมารับประทานวันละ 2 ครัง้ ครัง้ ละ 2
ช้อนโต๊ะ (เนื้อวุ้น)
5.ใช้เป็ นถ่าย ยาระบาย ที่เปลือกของว่านหางจระเข้จะมีน้ำยางสี
เหลือง ในน้ำยางจะมีสารแอนทราควิโนน (Anthraquinone) ที่มีฤทธิ ์
เป็ นยาระบาย หากนำน้ำยางไปเคี่ยวให้น้ำระเหยออกแล้วทิง้ ไว้ให้เย็น ก็
จะได้สารสีน้ำตาลเกือบดำ หรือเรียกว่า "ยาดำ" ซึง่ ยาดำนีเ้ องใช้เป็ นส่วน
ผสมในตำรับยาแผนโบราณที่ต้องการให้มีฤทธิเ์ ป็ นยาระบายอยู่หลาย
ตำรับ (ยางในใบ)
6.ช่วยรักษาอาการท้องผูก ด้วยการกรีดเอายางจากว่านหางจระเข้
มาเคี่ยวให้งวด ทิง้ ไว้ให้เย็นจะได้ก้อนยาสีดำ (ยาดำ) แล้วตักมาใช้
ประมาณช้อนชา เติมน้ำเดือด 1 ถ้วย แล้วคนจนละลาย โดยผู้ใหญ่รับ
ประทานครัง้ ละ 2 ช้อนชาก่อนนอน แต่ถ้าเป็ นเด็กให้รับประทานครัง้ ละ
1 ช้อนชาก่อนนอน
7. ช่วยรักษาริดสีดวงทวาร ด้วยการใช้เนื้อวุ้นจากใบเหลาให้เป็ น
ปลายแหลมเล็กน้อย และนำไปแช่ตู้เย็นหรือน้ำแข็งจนเนื้อแข็ง แล้วนำไป
ใช้เหน็บในช่องทวารหนัก ควรหมั่นทำเป็ นประจำวันละ 1-2 ครัง้ จนกว่า
จะหาย (เนื้อวุ่น)
8.ช่วยแก้หนองใน (ราก, เหง้า)
9.ช่วยแก้มุตกิดหรือระดูขาวของสตรี (ราก, เหง้า)
10. ทัง้ ต้นของว่านหางจระเข้มีรสเย็น ใช้ดองกับสุรานำมาดื่มช่วย
ขับน้ำคาวปลาได้ (ทัง้ ต้น)
10

[4]
กรดไฮโดรคลอริก

ภาพที่ 4 กรดไฮโดรคลอริก

กรดไฮโดรคลอริกเป็ นเป็ นสารประกอบเคมีประเภทกรดละลายใน


น้ำ โดยเป็ นสารละลายของไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) เป็ นกรดแก่, เป็ น
ส่วนประกอบหลักของกรดกระเพาะ (gastric acid) และใช้กันอย่างกว้าง
ในอุตสาหกรรมเป็ นของเหลวที่มีพลังการกัดกร่อนสูง

ประโยชน์ของกรดไฮโดรคลอริก
1. ใช้เป็ นสารฟอกหนัง ฟอกสี
2. ใช้สำหรับปรับสภาพความเป็ นด่างของน้ำให้เป็ นกรด ใช้มากใน
ระบบบำบัดน้ำเสีย
3. ใช้ในอุตสาหกรรมชุบเคลือบโลหะ
4. ใช้ในอุตสาหกรรมอาหาร
5. ใช้เป็ นตัวทำละลายในอุตสาหกรรมผลิตสี และผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้
ตัวทำละลายกรด
11

6. ใช้เป็ นส่วนผสมในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด ผลิตภัณฑ์ทำความ


สะอาดโลหะ
7. ใช้ในอุตสาหกรรมปิ โตรเคมี กระบวนการเตรียมสารประกอบ
อินทรีย์เช่น ไวนิลคลอไรด์โมโนเมอร์
8. ใช้ในกระบวนการฆ่าเชื้อในระบบปรับปรุงคุณภาพน้ำหรือระบบ
บำบัดน้ำเสีย หรือใช้ฆ่าเชื้อ

          

บทที่ 3
วัสดุอุปกรณ์และวิธีดำเนินงาน

1. อุปกรณ์
1.1 โหลแก้ว
1.2 มีด
1.3 ถุงพลาสติก
12

1.4 ยางรัด
1.5 หลอดหยดสาร
1.6 ครกขนาดเล็ก

2. วัตถุดิบ
2.1 กล้วย
2.2 ว่านหางจระเข้
2.3 เปลือกไข่

3. สารเคมี
3.1 กรดเกลือ

4. วิธีการดำเนินงาน
1. นำเปลือกไข่มาบดด้วยครกขนาดเล็กให้ละเอียด และนำว่านหาง
จระเข้มาปลอกเปลือกด้วยมีด
2. นำกล้วย 2 ผลใส่ลงในโหลแก้วใบแรกปิ ดด้วยถุงพลาสติกและรัด
ด้วยยางรัดของ
3. นำกล้วย 2 ผลทาด้วยว่านหางจระเข้ที่เตรียมไว้และใส่ลงในโหล
แก้วใบแรกปิ ดด้วยถุงพลาสติกและรัดด้วยยางรัดของ
4. นำกล้วย 2 ผลใส่ในขวดใบที่ 3 นำเปลือกไข่ที่ตำจนละเอียดใส่ลง
ในถุงพลาสติก เจาะรูพอประมาณให้แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมาได้
หยดกรดเกลือด้วยหลอดหยดสารพอให้ท่วมเปลือกไข่ และนำถุงพลาสติก
มามัด
5. นำโหลแก้วทัง้ 3 ใบ ไปตัง้ ในห้องเดียวกันบริเวณใกล้กัน
6. สังเกตเปรียบเทียบและบันทึกผลทุกๆวัน เป็ นเวลา 1 สัปดาห์
13

บทที่ 4
ผลการทดลอง
การเปรียบเทียบความขมของไส้ย่างจากวิธีการล้าง

จำนวนผู้เข้าร่วมทดสอบ 100 คน
เพศ
หญิง จำนวน 66 คน
ชาย จำนวน 34 คน

ระดับชัน
้ การศึกษา เพศ
หญิง รวม
ชาย
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 26 8 34
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 9 10 19
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 5 3 8
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 4 1 5
14

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 5 2 4 6
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 6 20 8 28
รวม 66 34 100

4.1 ความรู้สึกรับรสเมื่อรับประทานไส้ย่างของผู้ทดสอบ

รายการ ไส้แช่ด้วยน้ำเปล่า
ขม 23
ไม่ขม 77
รวม 100

รายการ ไส้แช่ด้วยเกลือและน้ำส้ม
สายชู
ขม 26
ไม่ขม 74
รวม 100

รายการ ไส้แช่ด้วยแป้ งมันสำปะหลังกับ


น้ำเปล่า
ขม 10
ไม่ขม 90
รวม 100
15
16

บทที่ 5
สรุปผลการการดำเนินการ

สรุปผลการทดลอง
จากการเปรียบเทียบความขมของไส้ย่างจากวิธีการล้าง ซึ่งได้ไส้
อ่อนมาแช่น้ำเปล่า น้ำส้มสายชูผสมกับเกลือ และน้ำเปล่าผสมกับแป้ งมัน
สำปะหลัง พบว่าน้ำส้มสายชูผสมกับเกลือ ขจัดความขมของไส้อ่อนได้ดี
กว่าการล้างไส้ด้วยน้ำเปล่า และการไส้ล้างด้วยน้ำเปล่าผสมกับแป้ งมัน
สำปะหลัง

อภิปรายผลการทดลอง
จากการสำรวจการเปรียบเทียบพบว่าไส้ที่แช่ด้วยน้ำแป้ งมัน
สำปะหลัง มีประสิทธิภาพในการขจัด ความขมของไส้อ่อนเพราะแป้ งมัน
สำปะหลังมีคณ
ุ สมบัติที่สามารถดักจับเมือกสีเหลืองๆ ที่เกาะแน่นอยู่ด้าน
ในของไส้อ่อนหมูจึงทำให้ลดกลิ่นเหม็นคาว ส่วนไส้ที่แช่ด้วยน้ำเปล่าและ
น้ำส้มสายชูผสมเกลือไม่ช่วยลดกลิ่น เหม็นคาวแต่ช่วยลดความขมของไส้
ได้เพียงแค่เล็กน้อย
17

ประโยชน์ที่ได้รับจากโครงงาน
1. รู้วิธีการล้างไส้ไม่ให้ขม
2. สามารถนำไปประกอบเป็ นอาชีพเสริมเพื่อหารายได้
3. ผู้ที่สนใจสามารถนำข้อมูลที่ได้รับไปศึกษาเเละพัฒนาต่อไปได้น้ำ
เปล่าผสมกับแป้ งมันสำปะหลัง

ข้อเสนอแนะ
1. เพิ่มเวลาในการแช่ไส้จาก 10 นาทีเป็ น 15 นาที
2. เพิ่มปริมาณของน้ำส้มสายชูกับเกลือ แป้ งมันสำปะหลัง และน้ำ
เปล่า
3. เพิ่มเวลาในการต้มให้มากขึน
้ อีกหน่อย

บรรณานุกรม

[1] ไส้ออ
่ น. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
18

https://th.openrice.com/th/bangkok/article/ เรื่องไส้
ไส้ของหมู
(วันที่ค้นข้อมูล : 1 มีนาคม 2564).
[2] เกลือ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://th.wikipedia.org/wiki/เกลือ
(วันที่ค้นข้อมูล : 1 มีนาคม 2564).
[3] น้ำส้มสายชู [ออนไลน์]. เข้าได้จาก :
http://th.wikipedia.org/wiki/น้ำส้มสายชู
(วันที่ค้นข้อมูล : 1 มีนาคม 2564).
[4] แป้ งมันสำปะหลัง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://th.wikipedia.org/wiki/แป้ งมันสำปะหลัง
(วันที่ค้นข้อมูล : 1 มีนาคม 2564).
19

ภาคผนวก

ขัน
้ ตอนการเตรียมสารล้างไส้อ่อน

ภาพที่ 7 น้ำส้มสายชู 250 ml


ภาพที่ 8 เกลือ 250 g
20

ภาพที่ 9 แป้ งมันสำปะหลัง 500 g

ขัน
้ ตอนการเตรียมไส้อ่อนย่าง
21

ภาพที่ 10 เตรียมไส้อ่อนที่ตัดพังผืดแล้วล้างน้ำสะอาด 1-2 ครัง้


22

ภาพที่ 11 ไส้อ่อนแช่ในน้ำเปล่า

ภาพที่ 12 ไส้อ่อนแช่ในน้ำส้มสายชูกับเกลือ

ภาพ 13 ไส้อ่อนเเช่ในน้ำเปล่าผสมแป้ งมันสำปะหลัง

ภาพที่ 14 นำไส้อ่อนที่เเช่
แป้ งมันสัมปะหลังมาล้างน้ำ
23

ภาพ 15 นำไส้ที่แช่น้ำส้มสายชูกับเกลือมาล้างน้ำสะอาด 1-2 ครัง้


24

ภาพที่ 16 ตัง้ หม้อเติมน้ำเปล่ารอจนน้ำเดือด นำไส้ที่แช่ด้วยน้ำ น้ำส้ม


สายชูกับเกลือ แป้ งมันสำปะหลัง ลงไปต้มใช้เวลา 30 นาที

(แช่น้ำเปล่า) (แช่น้ำส้มสายชูกับเกลือ)
(แช่แป้ งมันสัมปะหลัง)

ภาพที่ 17 นำไส้อ่อนที่ต้มแล้วนำมาย่าง
25

ขัน
้ ตอนที่ 2 ภาพขณะชิมไส้ย่างและทำ
แบบสอบถาม

ภาพที่ 18 ภาพที่ 19
26

ภาพที่ 20
ภาพที่ 21

ภาพที่ 22
27
28

ภาพที่ 24
ภาพที่ 25

ภาพที่ 36

ภาพที่ 30

ภาพที่ 22

ภาพที่ 38

ภาพที่ 32

ภาพที
ภาพที่ 42
่ 40
29

You might also like