Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 11

รายงาน

สมุนไพรที่สนใจ (ว่านหางจระเข้)

รหัสวิชา พ 22102

จัดทำโดย

เด็กชาย ธราดล มูสิกสังข์

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2/3 เลขที่ 1

นำเสนอ

คุณครู วีระพัฒน์ ปานยิ่ง


โรงเรียนตะโหมด

อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564


คำนำ
รายงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของรายวิชาการสุขศึกษา โดยรวบรวม
ข้อมูลที่เกี่ยวกับว่านหางจระเข้ ชื่อทางวิทยาศาสตร์ ชื่อวงศ์ ชื่อที่เรียกกัน
ในท้องถิ่น และวิธีการเพาะปลูกหรือวิธีการขยายพันธุ์

ผู้จัดทำคาดหวังเป็ นอย่างยิ่งว่าการจัดทำเอกสารฉบับนีจ
้ ะมีข้อมูล
ที่เป็ นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาว่านหางจระเข้เป็ นอย่างดี

ผู้จัดทำ

เด็กชาย ธราดล มูสิกสังข์

20 ธันวาคม 64

สารบัญ

เนื้อหา
คำนำ ก

สารบัญ ข

ว่านหางจระเข้ 1

ชื่อทางวิทยาศาสตร์ 1

ชื่อวงศ์ตระกูล 1

ชื่อที่เรียกกันในท้องถิ่น 1

สรรพคุณ 1

วิธีการเพาะปลูกหรือวิธีการขยายพันธุ์ 3

อ้างอิง ค

ภาคผนวก 4
1

ว่านหางจระเข้
ชื่อทางวิทยาศาสตร์
Aloe barbadensis Miller

ชื่อวงศ์ตระกูล
Asphodelaceae

ชื่อที่เรียกกันในท้องถิ่น
ภาคกลาง – ว่านหางจระเข้ (ทั่วไป) – ว่านตะเข้

ภาคเหนือ – ว่านไฟไหม้

ภาคใต้ – ว่านหางเข้

ชื่อท้องถิ่นประเทศอื่น :

– มาเลเซีย : ยาดาม

– จีน : ลูฮุย หรือ น่าเต็ก


– สเปน : ชาวิลลา

– สหรัฐอเมริกา และยุโรป : อโลเอ (aloe)

สรรพคุณ

1. ช่วยป้ องกันโรคเบาหวาน ด้วยการรับประทานเนื้อวุ้น หรือจะทำ


เป็ นน้ำปั่ นว่านหางจระเข้มาดื่มก็ได้ ก็จะช่วยบรรเทาอาการและ
ป้ องกันโรคเบาหวานได้
2. ว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยแก้อาการปวดศีรษะ ด้วยการตัดใบ
สดของว่านหางจระเข้แล้วทาปูนแดงด้านหนึ่ง แล้วเอาด้านที่ทาปูน
ปิ ดตรงขมับ จะช่วยบรรเทาอาการปวดศีรษะได้ (ใบ)
2

3. วุ้นว่านหางจระเข้มีสรรพคุณช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหาร ช่วย
ป้ องกันและลดการเกิดแผลในกระเพาะขณะท้องว่าง ช่วยรักษาโรค
เกี่ยวกับระบบทางเดินอาหารต่าง ๆ
4. สรรพคุณว่านหางจระเข้ช่วยแก้กระเพาะลำไส้อักเสบ ด้วยการใช้ใบ
นำมาปอกเปลือกเอาแต่วุ้น นำมารับประทานวันละ 2 ครัง้ ครัง้ ละ
2 ช้อนโต๊ะ (เนื้อวุ้น)

5. ใช้เป็ นถ่าย ยาระบาย ที่เปลือกของว่านหางจระเข้จะมีน้ำยางสี


เหลือง ในน้ำยางจะมีสารแอนทราควิโนน (Anthraquinone) ที่มี
ฤทธิเ์ ป็ นยาระบาย หากนำน้ำยางไปเคี่ยวให้น้ำระเหยออกแล้วทิง้ ไว้
ให้เย็น ก็จะได้สารสีน้ำตาลเกือบดำ หรือเรียกว่า "ยาดำ" ซึ่งยาดำนี ้
เองใช้เป็ นส่วนผสมในตำรับยาแผนโบราณที่ต้องการให้มีฤทธิเ์ ป็ นยา
ระบายอยู่หลายตำรับ (ยางในใบ)
6. ช่วยแก้หนองใน (ราก, เหง้า)
7. ช่วยแก้มุตกิดหรือระดูขาวของสตรี (ราก, เหง้า)
8. ทัง้ ต้นของว่านหางจระเข้มีรสเย็น ใช้ดองกับสุรานำมาดื่มช่วยขับน้ำ
คาวปลาได้ (ทัง้ ต้น)
9. ช่วยบรรเทาและแก้อาการปวดตามข้อ ด้วยการรับประทานเนื้อวุ้น
ครัง้ ละ 1-2 ช้อนโต๊ะ วันละ 3 ครัง้ เป็ นประจำ จะช่วยทำให้อาการ
ปวดดีขน
ึ ้ (วุ้นจากใบ)
10. ใบว่านหางจระเข้มีรสเย็น นำมาตำผสมกับสุราใช้พอกรักษาฝี
ได้ (ใบ)
11. ช่วยรักษาแผลสด แผลจากของมีคม แผลที่ริมฝี ปาก แก้ฝี แก้
ตะมอย ด้วยการใช้วุ้นจากใบนำมาแปะบริเวณแผลให้มิดชิดและใช้
3

ผ้าปิ ดไว้ แล้วหยอดน้ำเมือกลงตรงแผลให้ชุ่มอยู่เสมอ หรือจะเตรียม


เป็ นขีผ
้ งึ ้ ก็ได้ (วุ้นจากใบ)
12. ช่วยรักษาแผลถลอกและแผลจากการถูกครูด (แผลพวกนีจ
้ ะ
เจ็บปวดมาก) ให้ใช้วุ้นว่านหางจระเข้นำมาทาแผลเบา ๆ ในวันแรก
ต้องทาบ่อย ๆ จะช่วยในการสมานแผล ทำให้แผลหายเร็วยิ่งขึน

และทำให้ไม่เจ็บแผลมาก (วุ้นจากใบ)
13. ช่วยรักษาแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ช่วยดับพิษร้อนบรรเทา
อาการปวดแสบปวดร้อนจากแผล ด้วยการใช้วุ้นจากใบสดที่ล้างน้ำ
สะอาด แล้วฝานบาง ๆ นำมาทาหรือแปะไว้บริเวณแผลตลอดเวลา
จะช่วยทำให้แผลหายเร็วมากขึน
้ และอาจไม่เกิดรอยแผลเป็ นด้วย (วุ้
นจากใบ)
14. ช่วยขจัดรอยแผลเป็ น ทำให้แผลเป็ นจางลง ป้ องกันการเกิด
รอยแผลเป็ น (วุ้นจากใบ)
15. ช่วยรักษาตาปลาและฮ่องกงฟุต ด้วยการใช้วุ้นจากใบที่ล้าง
สะอาดแล้ว นำมาปิ ดไว้บริเวณที่เป็ นและหมั่นเปลี่ยนบ่อย ๆ
จนกว่าจะดีขน
ึ ้ (วุ้นจากใบ)
16. วุ้นจากใบใช้ทาเพื่อปกป้ องผิวจากแสงแดด ด้วยการใช้วุ้นจาก
ใบทาก่อนออกแดด หรือจะใช้ใบสดก็ได้ แต่ใบสดอาจทำให้ผิวหนัง
แห้ง เพราะใบมีฤทธิฝ์ าดสมาน ถ้าต้องการลดการทำให้ผิวแห้ง ก็
อาจจะใช้ร่วมกับน้ำมันพืชหรืออาจเตรียมเป็ นโลชั่นก็ได้ (วุ้นจากใบ)
17. ช่วยรักษาอาการผิวหนังไหม้จากแสงแดด หรือไหม้เกรียมจาก
การฉายรังสี หรือแผลเรื้อรังจากการฉายรังสี โดยนำวุ้นของว่ายหาง
จระเข้มาทาผิวบ่อย ๆ ก็จะช่วยลดการอักเสบได้ แต่ถ้าไปนาน ๆ
ระวังผิวแห้ง ควรผสมกับน้ำมันพืช เว้นแต่ว่าจะทำให้ผิวเปี ยกชุ่มอยู่
ตลอดเวลา (วุ้นจากใบ)
4

18. วุ้นจากใบใช้ทาเพื่อรักษาฝ้ า (วุ้นจากใบ)


19. ช่วยรักษาโรคเรื้อนกวาง (โรคสะเก็ดเงิน) ช่วยลดการตก
สะเก็ดและลดอาการคันของโรคเรื้อนกวาง ทำให้แผลดูดีขน
ึ ้ (วุ้น
จากใบ)
20. น้าว่านหางจระเข้ สามารถช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ มีส่วนช่วย
ชะลอความแก่ชรา และช่วยเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรค
21. ช่วยบำรุงผิวพรรณ ช่วยทำให้ผิวพรรณเนียนนุ่ม ดูชุ่มชื้น แก้
ปั ญหาผิวแห้งกร้านตามหัวเข่า, ข้อศอก หรือส้นเท้าได้ เพียงแค่ใช้
วุ้นจากใบว่านหางจระเข้แช่ในอ่างอาบน้ำ ในระหว่างอาบให้ใช้เนื้อ
วุ้นถูตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกายที่ต้องการ หากทำเป็ นประจำก็จะ
ช่วยทำให้ผิวพรรณของคุณเนียนนุ่มชื่นชื้นและเต่งตึงได้
22. ช่วยเติมน้ำให้ผิว ทำให้ผิวหน้าและผิวกายชุ่มชื้น และป้ องกัน
การเกิดริว้ รอยแห่งวัย เพียงแค่ใช้วุ้นจากใบว่านหางจระเข้นำมา
พอกให้ทั่วบริเวณใบหน้าหรือบริเวณผิวที่ต้องการ ทิง้ ไว้ประมาณ
15 นาทีแล้วล้างออก จะช่วยทำให้ผิวพรรณชุ่มชื้นสดใสและดูเต่งตึง
ขึน

23. ช่วยรักษาจุดด่างดำตามผิวหนัง อันเนื่องมาจากแสงแดดหรือ
จากอายุที่มากขึน
้ ด้วยการใช้วุ้นจากใบสดนำทาที่ผิววันละ 2 ครัง้
หลังอาบน้ำ และต้องทำอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอจึงจะเห็นผล
24. วุ้นจากใบสดใช้ชโลมบนเส้นผม จะช่วยทำให้เส้นผมสลวย ผม
ดกเป็ นเงางาม ช่วยป้ องกันและขจัดรังแค ช่วยบำรุงต่อมที่รากผมให้
มีสุขภาพดี และยังช่วยรักษาแผลบนหนังศีรษะได้อีกด้วย
5

วิธีการเพาะปลูกหรือวิธีการขยายพันธุ์
การขยายพันธุ์
1. การเพาะเลีย
้ งเนื้อเยื่อ เป็ นวิธีที่นิยมประเภทหนึ่งสำหรับการปลูกใน
แปลงขนาดใหญ่เพื่อการพาณิชย์ที่ต้องใช้ต้นกล้าจำนวนมาก ซึง่ วิธีนจ
ี ้ ะมี
ในบางเฉพาะพื้นที่ และต้องรู้จักหน่วยงานที่มีการเพาะเนื้อเยื่อจำหน่าย
2. การแยกหน่อ ถือเป็ นวิธีที่นิยมวิธีหนึ่งสำหรับการปลูกว่านหางจระเข้
ทัง้ การปลูกในแปลงขนาดใหญ่ และการปลูกในครัวเรือน ด้วยการขุดหน่อ
ที่แตกออกจากต้นแม่มาปลูกเพื่อให้เป็ นต้นใหม่
3. การปั กชำ เป็ นวิธีที่ไม่ค่อยนิยม ใช้สำหรับการปลูกแบบทั่วไปที่มีการ
ตัดยอดหรือต้นออก ซึ่งส่วนยอดหรือต้นนัน
้ สามารถนำมาปั กชำหรือปลูก
ลงแปลงหรือในพื้นที่ได้เลย วิธีนจ
ี ้ ะได้ต้นเดิมที่มีการแตกยอดใหม่เท่านัน

ทำให้ได้ใบว่านหางที่ใหญ่งามเหมือนการเพาะเลีย
้ งเนื้อเยื่อหรือการแยก
หน่อ

วิธีการปลูก
ทำการขุดหลุมปลูกลึกประมาณ 20 ซม. ระยะห่างระหว่างหลุม และแถว
สำหรับแถวคู่ 60×60 ซม. เว้นขอบแปลง 20-30 ซม. ก่อนนำต้นกล้าลง
หลุมอาจใส่ปุ๋ยคอกประมาณ 1-2 กำมือ หากไม่ต้องการใส่ในช่วงการเตรี
ยมแปลง ซึ่งจะทำให้ประหยัดปุ๋ยได้ หลังจากนัน
้ นำต้นกล้าลงหลุมปลูก
กลบดินให้แน่นพอประมาณ พร้อม รดน้ำให้ชุ่มชื้น

อ้างอิง
พืชเกษตร. (2021) .ว่านหางจระเข้.สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม
2564.จาก.https://puechkaset.com/ว่านหางจระเข้

Medthai. (2021).ว่านหางจระเข้.สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม


2564.จาก.https://medthai.com/ว่านหางจระเข้
4

ภาคผนวก

You might also like