Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 1

ไชยเชษฐ์

ไชยเชษฐ์ เป็น นิทานพื้นบ้าน สมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี มีผู้นำนิทาน


เรื่องนี้มาเล่นเป็นละครเพราะเป็นเรื่องสนุก ต่อมา พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้า
นภาลัย รัชกาลที่ 2 ทรงนำนิทาน เรื่องไชยเชษฐ์มาพระราชนิพนธ์เป็นบทละครนอก
เดิมละครนอกเป็นละครที่ราษฎรเล่นกัน ให้ผู้ชายแสดงเป็นตัวละครทั้งหมด

ท้าวอภัยนุราช
มีพระนิสัยหลงมัวเมาในความเป็นเจ้า
ชีวิต โปรดการแสดงอำนาจบาทใหญ่ไม่
เลือกหน้า แม้แต่เทพารักษ์ก็มิได้ทรง
นางจำปาทอง
“นางจำปาทอง” เพราะเมื่อนางร้องไห้จะมีดอกจำปา
เคารพถึงกับตรัสสั่งให้เผาศาลเทพารักษ์ ทองร่วงลงมา ครั้นนางจำปาทองเจริญวัยขึ้น นางได้
ทิ้ง ดังความว่า จึงตรัสว่าป่าดงพงไพร ก็ นำไข่จระเข้จากสระในสวนมาฟักจนเป็นตัวและเลี้ยง
อยู่ในเขตแคว้นแดนเรา เพราะอารักษ์หัก จระเข้ไว้ในวัง ครั้นจระเข้เติบใหญ่ขึ้น ก็ดุร้ายตามวิสัย
ของมัน มันเที่ยวไล่กัดชาวเมืองจนชาวเมืองเดือดร้อน
แกล้งกูแผลงศร ไม่แน่นอนเหมือนหมาย ไปทั่ว ท้าวอภัยนุราชทรงขัดเคืองจึงขับไล่นางจำปา
อายเขา ไม่ยำเยงเกรงกดูเบา เอาไฟเผา ทองออกจากเมืองเวสาลี “นางแมว” ซึ่งเป็นแมวที่
นางจำปาทองเลี้ยงไว้ได้ติดตามนางไปด้วย นางจำปาง
ศาลให้ไหม้หมดโครง
ทองกับนางแมวเดินซัดเซพเนจรอยู่ในป่า ไปพบยักษ์
ตนหนึ่งชื่อ “นนทยักษ์” ซึ่งกำลังจะไปเฝ้าท้าวสิงหล
นางตกใจกลัวจึงวิ่งหนีไปพบพระฤๅษี พระฤๅษีช่วย
นางไว้ นางจำปาทองกับนางแมวจึงขออาศัยอยู่รับใช้
พระฤๅษีในป่านั้น

พระไชยเชษฐ์
ไชยเชษฐ์เป็นเจ้าเมืองเหมันต์ได้นางสุวิชญา
ธิดาท้างสิงหลมาเป็นมเหสีเอก
พระนารายณ์ธิเบศร์
มเหสีอีก ๗ นางเกิดความริษยาจึงแกล้ง พระนารายณ์ธิเบศร์โกรธพระไชยเชษฐ์ที่มาจับ
ทูลว่านางสุวิชญาประสูติโอรสเป็นท่อนไม้ ต้องตัวและจับหัวของพระพี่เลี้ยงของตนจึงใช้
พระไชยเชษฐ์จึงขับนางออกจากเมือง นาง ศรธนูหมายจะฆ่าให้ตาย แต่ธนูที่ยิงออกไปนั้น
แมวที่สุวิชญาเคยเลี้ยงไว้คอยช่วยเหลือ กลับกลายเป็นดอกไม้กระจายเติมพื้นดิน จึง
ทำให้พระไชยเชษฐ์เกิดความประหลาดใจยิ่งนัก
ต่อมาไชยเชษฐ์รู้ความจริงเกิดความเสียใจ
จึงอธิษฐานจิตว่าถ้ากุมารองค์นี้เป็นลูกของตน
สำนึกผิด จึงไปตามนางกลับเมือง ที่เกิดกับนางสุวิญชาขอให้ธนูที่ยิงออกไปนั้น
และครองคู่กันอย่างมีความสุข กลายเป็นอาหาร ทันใดนั้นพระไชยเชษฐ์ก็

แผลงศรออกไปและศรธนูที่ยิงออกไปนั้นก็กลาย
เป็นอาหารมากมายเต็มพื้น จึงทำให้พระไชย
เชษฐ์มั่นใจเป็นแน่แท้ว่าเป็นบุตรของตนจริงจัง

ประเภทของโรงละคร

เวทีแบบโพรซีเนียม

ประเภทของฉาก
ละครนอก ฉากอเนกประสงค์
เกิดขึ้นจากการแก้ไข และพัฒนาจาก ละครชาตรี นำมาเล่นเป็นเรื่องราว ใช้
ผู้ชายแสดง
ล้วน เนื่องจากละครผู้หญิง มีอยู่แค่เฉพาะในวัง
เล่นกันอย่างตลกขบขัน ได้รับความนิยมกันมากในหมู่ชาวบ้าน เล่นเกี่ยวกับเป็น
เรื่องนิยาย
และตำนานพื้นถิ่นทั่วไปไม่ได้กำหนดแบบแผนมากนัก
เช่น พิกุลทอง ไกรทอง สังข์ทอง โคบุตร

ทำไม พระมหากษัตริย์ ต้องแต่งรามเกียรติ์?

ละครใน แสดงพระปรีชาสามารถด้านวรรณกรรม
เป็นเครื่องราชูปโภคในรัชกาล เป็นมรดกเชิดชูราชวงศ์
สมัยอยุธยาตอนปลาย เล่นอยู่กันหลักๆ คือ รามเกียรติ์ อุณรุทหรืออนิรุทธ์ ดาหลัง และ
อิเหนา ซึ่งละครที่นิยมแสดงกันมาก คือ อุณรุท และ อิเหนา
สัญลักษณ์แห่งความเป็นสมมติเทพ (จากตัวกษัตริย์)
บทละคร อิเหนา นั้น เล่าสืบกันมาว่า ในแผ่นดินสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ทรงมี
นางข้าหลวง เป็นเชลยหญิงเชื้อสายแขกมลายู ที่ได้มาแต่เมืองปัตตานี ได้เล่าเรื่องอิเหนาถวาย แทรกเรื่องราว และอัตชีวประวัติของพระองค์เอง
เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฏ พระราชธิดาของพระองค์ โดยทั้งสองทรงพอพระราชหฤทัยมาก
จึงทรงนิพนธ์เป็นบทละครขึ้น แต่ทั้งสองเรื่องเป็นบทละครที่กล่าวถึงวีรบุรุษคนเดียวกัน
คนทั้งหลายเรียก อิเหนาใหญ่ (ดาหลัง) และอิเหนาเล็ก

นายจิราธิวัฒน์ สันติปรีดาธรรม ม.4/3 เลขที่ 13

You might also like