ล้มละลายที่

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 15

การจะศึกษาให้เข้าใจเรื่องล้มละลาย

อจ อยากให้นักศึกษานึกภาพหนึ่งให้ออกก่อนทำไม่ถึงจะต้องมีกฎหมายล้มละลาย

ยกตัวนักศึกษาเป็นคนคนหนึ่ง ซึงนักศึกษาอยุ่ในสภาพวะหนีสินล้นพ้นตัวซึงอาจจะเป็นเพราะว่านักศึกษาประกอบธุรกิจเช่นมีการลดค่า เงินบาท


เดิมที่นักศึกษากู้เงินจากต่างประเทศเพื่อซื่อเครื่องจักร โดยซื่อมา100 ดอลลาร์ซึ่ง100ดอลลาร์ ทำกับ 2500บาทหลังจากที่มีการลดค่าเงินบาท
เพราะภาวะเศรษฐกิจทำให้เค้าลดค่าเงินบาท เมือมูลค่าเงินบาทมันลดลง กลายเป็น 5000บาทจึงจะชำระเงิน100ดอนลลาร์ได้

ทำให้การเงินติดขัด เนื่องจากไม่ได้เป็นไปตามเปาหมายลักษณะที่เป็นการขาดทุนเป็นการขาดสภาพคล่อง

ในกรณีที่่สองคือนักศึกษาทำตัวไม่ดี อาทิไปติดการพนัน ตนได้นำเงินของบริษัทมาใช้จนตนเองไม่มีเงินไปชำระหนีบริษัท จนเกิดสภาพที่เรียกว่าหนีสิน


ล้นพนตัว

เมือเกิดสภาพวะหนีสินล้นพ้นตัว การเป็นหนี้สินล้นพนจะมีปัญหากรณีที่มีรายรับเยอะมีการทำกิจการที่มีเม็ดเงินจำนวนมากก็เริมมีปัญหา กับคนที่เรา


ไปกูเงินหรือกระทบต่อผู้รับจ้างหรือรับชวงงานจากนักศึกษาหรือผู้ที่ว่าจ้างงานให้ทำผลกระทบแพรวงกว้าง อาจส่งผลกระทบต่อสภาวะเศรษฐกิจ

จึงเป็นเหตุให้รัฐบาลมาบริหารกิจการเพราะผู้ที่มีหนี้สินล้นพนตัวไม่สามารถที่จะแก้ปัญหาได้แล้วตัวใช้อำนาจรัฐเข้าไปดำเนินการแก้ไขปัญหา
มากระทำการแทน จึงเป็นที่มาของกฎหมายล้มละลาย
วิธีการที่จะฟ้องร้องหรือยืนคำร้องต่อศาลข้อ
ให้บุคคลล้มละลายมีทั้งหมด 5วิธี (นาที่27:41)

01 การฟ้องคดีล้มละลายของเจ้าหนีธรรมดา (ม 9)

02 การฟ้องคดีล้มละลายของเจ้าหนีมีประกัน (ม 10)

03 ร้องข้อให้จัดการทรัพย์สินของลูกหนี้ที่ตายตามกฎหมายละลาย (82-87)

04 ผู้ชำระบัญชีข้อให้นิติบุคคลล้มละลายเมือเงินลงทุนหรือเงินค่า
หุ้นทีใช้เสร็จหมดแล้ว สินทรัพย์ก็ยังไม่พอกับหนีสิน ( ม 88

05 กรณีผู้เป็นโจทก์หรือเจ้าพนักงานพิทักษ์ทรัพย์ข้อให้หุ้น
สวนที่ไม่จำกัดความรับผิดล้มละลายตามห้าง( ม 89)
มาเริ่มกัน
หลักใหญ่ของเรื่องล้มละลาย

บุคคลนั้นต้องเป็นผู้หนี้สินล้นพนตัว ( ม 7)

ลูกหนี้ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัว อาจถูกศาลพิพากษาให้ล้มละลาย ได้ถ้าลูกหนี้นั้น มีภูมิลำเนาในราชอาณาจักร หรือประกอบกิจการ


ในราชอาณาจักร ไม่ว่าด้วยตนเอง หรือ โดยตัวแทน ในขณะที่มี การขอให้ลูกหนี้ล้มละลาย หรือภายในกำหนดเวลาหนึ่งปี
ก่อนนั้น

คำว่าหนึ่ง ปี ก็มีได้กล่าวถึงไว้โดยเฉพาะแต่ก็มีคำพิพากษา กล่าวถึง ในมาตรา150


มาตรา150 วางหลัก ว่า การยื่นคำฟ้อง หรือ คำร้องขอให้ล้มละลาย ให้ยื่นต่อศาลซึ่งลูกหนี้ มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตหนึ่ง


ประกอบกิจการอยู่ในเคสไม่ว่าด้วยตนเองหรือโดยตัวแทน ในขณะที่ ที่ยื่นคำฟ้องหรือคำร้องขอหรือภายในกำหนดเวลาหนึ่ง
ปีก่อนนั้น

มาตรา150กล่าวถึงอำนาจฟ้อง และมีการใช้ถ้อยคำที่มีลักษณะ เดียวกันกับมาตรา7 ซึ่งในมาตรา150 ซึ่ง ศาลฎีกาเคยให้คำ


พิพากษาไว้ในคดี 181ปี2521 คำว่าหนึ่งปีก่อนนะเนี่ย ขยายคำว่าภูมิลำเนา อยู่ในราชอาณาจักรด้วย เพราะฉะนั้นแล้ว เมื่อ
พิจารณาตามมาตราเจ็ด ว่าลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว อยู่ใน ขณะที่มีการขอให้ลูกหนี้ล้มละลาย หรือภายในหนึ่งปี เคย มี
ภูมิลำเนา เมื่อหนึ่งปีที่ผ่านมา หรือเคยประกอบธุรกิจ ภายในราชอาณาจักรหนึ่งปีที่ผ่านมา ก็สามารถที่จะร้องขอศาล ให้ลูก
หนี้นั้นเป็นบุคคลล้มละลายได้
H
การฟ้องของเจ้าหนี้ธรรมดา

ซึ่งมีบัญญัติไว้ในมาตรา 9 เจ้าหนี้จะฟ้องลูกหนี้ให้ล้มละลาย ได้ก็ต่อเมื่อ

(1)ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว

(2)ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์เดียวหรือหลายคน ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคล
ธรรมดาเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์เดียวหรือหลายคน เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า หนึ่งล้านบาทหรือลูกหนี้
ซึ่งเป็นนิติบุคคล เป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์ คนเดียว หรือหลายคน เป็นจำนวนไม่น้อยกว่าสองล้าน
บาท และ

(3)หนี้นั้นอาจจะ กำหนดจำนวนโดยแน่นอนไม่ว่าหนี้นั้นจะถึงกำหนดชำระ โดยพลัน อนาคตก็ตาม

จะสังเกตได้ว่า การที่จะฟ้องเรื่องนี้ให้เป็นบุคคลล้มละลายนั้น ในกรณีที่โจทก์เป็นเจ้าหนี้ธรรมดา


จะต้องประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่มีระบุไว้ในมาตรา9ทั้ง 3องค์ประกอบ
T
มาตรา9(1)
องค์ประกอบข้อแรกที่ว่า ลูกหนี้ มีหนี้สินล้นพ้นตัว หมายความว่า มีหนี้สินมากกว่าทรัพย์สินนั้น
เอง K
N H

P I
ซึ่งมีการที่จะรู้ว่าลูกนี้ นั้น มีหนี้สินล้นพ้นตัวหรือเปล่า การที่จะทราบ ว่า ลูกหนี้เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้น
ตัวหรือเปล่านั่นเป็นเรื่องที่ยาก หรือ เป็นการยากต่อการนำสืบ ดังนั้น จึงมีข้อสันนิษฐานไว้ใน
มาตรา 8 ว่าถ้ามีเหตุอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าลูกหนี้นั้นเป็น ผู้ที่มีหนี้
สินล้นพ้นตัว ก็สังเกตได้ว่า มาตรา8นั้น มิใช่ข้อสันนิษฐานเด็ดขาด ถ้าเข้าองค์ประกอบอย่างหนึ่ง

Y
อย่างใด ตามอนุมาตรา ในมาตรา8

AG
ให้ถือว่าลูกหนี้นั้น เป็นผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัว สิ่งที่สำคัญถ้าโจทย์ต้องการนำบทสันนิษฐาน มาเป็นตัว
ช่วย

RN
ในการสืบพยาน โจทก์ก็ต้องนำสืบ ให้เขากลับมา มาตรา8อนุได้อนุหนึ่ง เพื่อให้โจทก์ได้ผล

A
ประโยชน์จากข้อสันนิษฐานกฎหมาย ว่าลูกหนี้ มีหนี้สินล้นพ้นตัว แต่อย่างไรก็ตามเนื่องจาก ไม่ใช่
บทสันนิษฐานเด็ดขาดจำเลย สามารถที่จะนำสืบ หักล้าง ต่อสู้ บทสันนิษฐาน ที่โจทก์นำสืบได้

L F O
แต่ว่าโจทก์ หรือ เจ้าหนี้ก็ สามารถที่จะนำสืบด้วยตนเอง โดยไม่ใช้บทสันนิฐาน ก็ได้
ที่สำคัญ ในมาตรา8 ข้อเท็จจริงตามอนุมาตรา8นั้น จะต้องเป็นข้อเท็จจริงที่มีอยู่แล้ว ในเวลาที่ยื่นคำฟ้อง ยกตัวอย่างเช่น
กรณี ตามมานุมาตราห่าง ถ้าลูกหนี้ ถูกยึดทรัพย์ตามหมายบังคับคดี ไม่มีทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใด ที่จะพึงยึดมาชำระหนี้
ถ้า เจ้าหนี้จะฟ้อง โดยอาศัยมาตรา8 อนุ5 นั่นหมายความว่า เจ้าหนี้จะต้องไปยึดทรัพย์ของลูกหนี้แล้ว และ ลูกหนี้ ไม่มี
ทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใด ที่จะนำมาชำระหนี้ได้อีก ข้อสังเกต เจ้าหนี้นั้น ต้องทำการยึดทรัพย์ ถอนฟ้องศาล

ตรงนี้มีคำพิพากษา ศาลฎีกา 798ปี53 การพิจารณา หรือฐานะข้อเท็จจริง อันเป็นข้อสันนิษฐาน ว่าเป็นหนี้สินล้นพ้นตัว จะ


ต้อง จะต้องเป็นข้อเท็จจริงต่างๆที่มี อยู่แล้ว ตามที่โจทก์ฟ้องคดีการที่พนักงาน เดินหมายของศาล ส่งหมายเลขสำเนา
คำฟ้อง ให้จำเลยโดย โดยปิดหมายไว้โดยภูมิลำเนา และรายงานว่า สอบถามบ้านข้างเคียง ได้รับ แจ้งว่า คนในบ้าน คนใน
บ้านออกไปธุระ ไม่มีใครรู้จัก ไม่ใช่ข้อเท็จจริงที่มีอยู่แล้วในเวลาที่เริ่มต้นคดี จึงฟังไม่ได้ว่าจำเลย ไปจากเคหะสถาน ที่เคยอยู่
เพื่อ ปวินการ ชำระหนี เหลือเพื่อมิให้เจ้าหนี้ มิได้รับการชำระหนี้

จากฎีกาดังกล่าวนั้นเป็นเรื่องมาตรา 8 อนุ 4 เมื่อไปยื่นฟ้อง นำหมายเลขสำเนาคำฟ้อง ไปส่งให้แก่ลูกหนี้ ปรากฏว่า มีคน


แจ้งว่าลูกหนี้ออกไปจากบ้านแล้ว เจ้าหนี้จึงเอาพฤติการณ์ดังกล่าวนี้ ว่าเป็นข้อ สันนิฐาน ศาลฎีกาบอกว่าไม่ได้ ข้อเท็จจริง
ที่มีอยู่ตรงนี้ ต้องเป็นข้อเท็จจริงที่มีมาก่อนเริ่มต้นคดี ซึ่งในกรณีดังกล่าวนี้เป็นกรณีที่เกิด ตอนที่มีการเริ่มต้นคดีแล้ว ตอน
ที่มีการเริ่มต้นคดีแล้ว ก็จะนำมาเป็นข้อสันนิฐานไม่ได้
มาตรา8อนุ5 ถ้าลูกหนี้ถูกยึดทรัพย์ ตามหมายบังคับคดี หรือไม่มีทรัพย์สิน อย่างหนึ่งอย่างใด ที่จะมา พึงยึดมาชำระหนี้ ได้
เป็นข้อสันนิษฐานที่ ทนาย มักนำมาใช้บ่อยๆ ซึ่งเป็นเรื่องที่สืบเนื่องมาจากว่า ก่อนจะนำคดี มาฟ้องเป็นคดีล้มละลาย เจ้าหนี้
ฟ้องเป็นคดีแพงมาก่อน จนศาลในคดีแพ่งได้มีคำพิพากษา มีการออกคำบังคับ มีหมายบังคับคดี แล้วปรากฏว่าลูกหนี้ไม่ชำระ
หนี้ เจ้าหนี้ก็นำเจ้าพนักงาน บังคับคดี ไปยึด ทรัพย์ เป็นการ ตามหมายบังคับคดี หรือเมื่อไปยึดทรัพย์แล้ว ไม่มีทรัพย์สินอย่าง
หนึ่งอย่างใด พึงยึดมาชำระหนี้ได้ ไม่ว่าจะเป็นกรณีที่ถูกยึดทรัพย์ ก็ต้องได้ข้อสันนิษฐานของกฎหมาย ว่าลูกหนี้ นั้น มีหนี้สิน
ล้นพ้นตัว ซึ่งเป็นกรณีที่ใช้ในทางปฏิบัติ มากพอสมควร

ฎีกาที่8777/57

ในทางปฏิบัติเนี่ย ในการทนายจะพิสูจน์ ตรงนี้ ว่าทรัพย์สินอย่างหนึ่งอย่างใดที่จะพึงมาชำระหนี้ได้ สมัย30ก่อน


โทรศัพท์พื้นฐาน เป็นสิ่งที่มีค่ามาก เครื่องนึงนี่แปดเก้าหมื่นบาทเมื่อสมัยสักสี่สิบปี บ้านไม่มีเลขมือถือบ้านในมี
โทรศัพท์เป็นคนมีฐานะเท่านั้นในการที่จะหยิบ บ้านไม่มีเลขมือถือบ้านในมีโทรศัพท์เป็นคนมีฐานะเท่านั้นในการที่จะ
ยึดทรัพย์ เขาก็จะไป สิทธิการเช่าจากองค์การโทรศัพท์ ว่ามีการเช่า ใช้บริการโทรศัพท์ องค์การบริษัทใหม่ ไปตรวจ
สอบจากสำนักงานที่ดินดู ไปตรวจสอบสำนักงานขนส่งว่าลูกหนี้มีรถใหม่ จากนั้น กลับไม่พบว่าลูกหนี้ ไม่มี
ทรัพย์สิน ดังกล่าว เค้าก็จะนำพยานหลักฐานเหล่านี้มาสืบ ศาล เป็น การสืบทรัพย์ ก็ถือว่าเขา มาตรา8 อานุ5
มาตรา 8 อนุ 8 ลูกหนี้เสนอคำ ขอประนอมหนี้ ให้แก่เจ้าหนี้ตั้งแต่สองคนขึ้นไป

มีคดีเรื่องหนึ่ง จำเลยขอ ขอผ่อนชำระหนี้ให้กับเจ้าหนี้อื่น ซึ่งเป็นผู้เสียหาย สามคดี ศาลบอกว่า เป็นเรื่องที่ จำเลยขอ


ประนอม หนี้ ตั้งแต่สองคนขึ้นไป

ฎีกาที 7602/53

มาตรา 8 อานุ 9 คือเป็นอานุใช้กันเป็นอย่างมาก


ถ้าลูกหนี้ได้รับหนังสือทวงถาม จากเจ้าหนี้ ให้ชำระหนี้ ไม่น้อยกว่าสองครั้ง มีระยะเวลาห่างกันไม่น้อยกว่าสามวัน และ
ลูกหนี้ ไม่ชำระหนี้

คำอธิบายของ อจ อันนี้ก็เป็นกรณีที่ ว่า ก่อนที่จะฟ้อง ทนายความเค้าจะมี มีหนังสือทวงถาม บอกท่วมทำให้ลูกหนี้ชำระ


หนี้ ซึ่งครั้งแรกก็ได้ส่งไป ลูกหนี้ได้รับหนังสือแล้ว ลูกหนี้ได้รับหนังสือแล้วนะ ก็ เงียบ ไม่ชำระหนี้ และ ได้ทิ้งเวลาซัก
30 สามสิบวัน นับแต่หนังสือของแรกไปถึง และก็ส่งไปอีกครั้งหนึ่ง ปรากฏว่าลูกหนี้ก็ไม่ชำระหนี้อีก ซึ่งข้อเท็จจริงดัง
กล่าวสามารถนำสื่อ ว่า ลูกหนี้นั้น เป็นบุคคลอื่น ที่มีหนี้สินล้นพ้นตัวได้ตามบทสันนิษฐานตามมาตรา 8อานุ9
แต่ว่า มีปัญหา ในกรณีดังกล่าวนี้เวลาส่ง ในการส่งหนังสือทวงถามไป ปรากฏว่า
ส่งไม่ได้ ส่งที่บ้านแล้วไม่มีคนรับ ลูกนี้นี้ไม่ได้มารับ แบบนี้จะถือ ลูกหนี้ ได้รับหนังสือ
ทวงถามแล้วหรือไม่่

ในกรณีดังกล่าวก็มีคำพิพากษา ศาลฎีกา7994/53

มีการส่งหนังสือถาม ไปยังภูมิลำเนาของลูกหนี้ แต่ไม่สามารถ หนังสือ ให้ได้ ซึ่งเกิด


จากการที่จำเลยหลีกเลี่ยง ไม่ รับหนังสือ ศาลฎีกาถือว่า จำเลย ได้รับหนังสือ
ทวงถามโดยชอบแล้ว
กาที่7241/57

ส่ง หนังสือทวงถามไปตาม ภูมิลำเนา ตามหนังสือรับรอง แต่ปรากฎว่า ไม่ ไม่สามรถว่าส่ง


ทวงถาม มีการอ้าง ว่าจำเลย ย้ายไม่ทราบที่อยู่ ทั้งที่ยัง มีภูมิลำเนาอยู่ที่ มีภูมิลำเนาอยู่ที่เดิม ตาม
ที่แจ้งไว้ การส่งหนังสือทวงถาม ไปยังจำเลยที่สอง หุ้นส่วนผู้จัดการ จำเลยที่หนึ่งตามภูมิลำเนา ก็
ไม่มีผู้รับ ศาลฎีกาจึงเชื่อว่าจำเลยที่หนึ่ง ซึ่งเป็นห้าง หลีกเลี่ยง รับหนังสือทวงถาม จึงถือว่า
จำเลย นั้นทราบถึง หนังสือการทวงถามแล้ว

คำอธิบายจาก อจ ในกรณีที่มีการหลีกเลี่ยง ไม่รับหนังสือทวงถาม ซึ่งได้ทำการส่งหนังสือ


ทวงถามไปยังภูมิลำเนาโดยชอบแล้ว ศาลฎีกานั้นจะถือว่า ให้ถือว่าลูกหนี้นั้นได้รับหนังสือ นั้นแล้ว
ฎีกาที่6605/60

ส่ง หนังสือทวงถามทางไปรษณีย์ ไปยังภูมิลำเนาของจำเลยสองครั้ง ครั้งแรก ส่งได้โดยมีผู้รับระบุ


ความ เกี่ยวพันธุ์ ในความเป็นสามี ครั้งที่สองไปรษณีย์กับ ส่งให้แก่จำเลยไม่ได้ ไปรษณีย์ระบุ ไม่มารับ
ภายในกำหนด พฤติกรรมดังกล่าวแสดงให้เห็น ว่า เหตุที่เจ้าหน้าที่ไปรษณีย์ไม่สามารถส่ง หนังสือ
ทวงถามได้ เกิดจากจำเลย หลีกเลี่ยงไม่รับ หนังสือทวงถาม ก็ถือได้ว่ารับหนังสือโดยชอบแล้ว

คำอธิบายจาก อจ จากฎีกาดังกล่าวจะเห็นได้ว่าครั้งแรกนั้น ในการ ส่งหนังสือทวงถาม มีคนรับ ก็คือ


สามี ของ จำเลย ในครั้งที่สอง ด้วยเหตุที่ว่า เจ้าหน้าที่ไปไม่สามารถส่งหนังสือทวงถามได้ ได้มี
จดหมายแจ้งไว้ว่า จะมีหนังสือมาถึง ซึ่งไปรษณีย์ ถ้าเกิดกรณีนี้ไปส่งไม่ได้ ก็ให้ไปรับที่ไปรษณย์แทน
แต่ปรากฎว่าจำเลยนะ ไม่ได้ไปรับที่ไปรษณีย์ กับปล่อยทิ้งไว้ ฎีกาจึงถือว่าการส่งหนังสือทวงถามครั้ง
ที่สองนั้น เป็นการส่ง โดยชอบแล้ว
เคยมีคดีอยู่เรื่องหนึ่ง มีการนำหนี้เป็นโมฆะ มาฟ้องเป็นคดีแพง ปรากฏว่าศาลในส่วนแพ่งไม่
ทราบ ข้อเท็จจริง กพิพากษาให้ทุกดีแพ้คดี ซึ่งโจทก์ หรือเจ้าหนี้ได้นับว่า หนี้ตามคำพิพากษา
ศาลแพ่ง มาฟ้องคดีล้มละลาย โดยไม่นับถือ นี้เดิม มาฟ้อง ซึ่งจะเห็นได้ว่า หมู่นี้เดิม เป็นฐาน
ของมูลนี้ ตามคำพิพากษา ซึ่งมูลหนี้เดิมนั้น เป็นหนี้ที่โมฆะ

ฎีกาที่ 1506/58

วินิจฉัยว่า จำเลยทำสัญญาจ้างโจทก์ในขณะที่ศาลล้มละลาย กลางมีคำสั่งพิทักษ์ทรัพย์เด็ด


ขาด สัญญาจ้างฝ่าฝืนต่อ กฎหมาย จึงเป็นโมฆะ โดยไม่คำนึงว่าโจทก์ เป็น ซึ่ง เป็นคู่สัญญา
ว่าจำเลยเป็นผู้ถูกพิทักษ์ทรัพย์หรือไม่ แม้ต่อมาศาลจังหวัดมีนบุรี มีคำพิพากษาให้จำเลยชำระ
เงิน คำพิพากษานั้นก็ไม่มีผลผูกพันศาลล้มละลาย เนื่องจากกฎหมายล้มละลาย เป็นกฎหมาย
ที่เกี่ยวกับความสงบเรียบร้อย ของประชาชน ว่าโจทก์ ตามคำพิพากษาขอให้จำเลย โดยมีมูล
หนี้มาจากสัญญาจ้าง จ้างทำของที่ โมฆะ ดังนั้นจำเลยจึงไม่เป็น โจทก์ไม่มีสิทธิ นำมูลหนี้ดัง
กล่าว มาฟ้องขอให้จำเลยล้มละลายได้
คำอธิบายจากอาจารย์

ข้อเท็จจริง ลูกหนี้ นั้นถูกพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาด ในคดีล้มละลายการพิทักษ์ทรัพย์เด็ดขาดเนี่ย ลูกหนี้


นั้นจะกระทำการใดอันเกี่ยวกับทรัพย์สินไม่ได้ ดังนั้นลูกหนี้ ไปทำสัญญาว่าจ้างคนอื่นย่อมตกเป็น
โมฆะ ดังนั้น โจทย์ ได้นำสัญญา นั้น มาเป็นมูลหนี้ในการฟ้องคดีล้มละลาย แต่ยังไร้คำพิพากษา ให้
จำเลยนั้นแพ้คดี แต่คำพิพากษา ดังกล่าวมีมูลหนี้มาจาก นี้ที่เป็นโมฆะ ถึงแม้ว่าคำพิพากษาของ
ศาลแพ่งจะระบุว่า ลูกมีหนี้ ตามสัญญา จ้างทำของนี้ แต่ความเป็นจริง จำเลยไม่ได้เป็นลูกหนี้โจทก์
เพราะสัญญาดังกล่าวนั้น ตกเป็นโมฆะเสียแล้ว จะนำหนี้ดังกล่าว หมาเป็นเหตุ ให้ฟ้อง ให้ลูกหนี้ล้ม
ละลายหาได้ไม่ พอถือได้ว่าคำพิพากษาดังกล่าวมิได้ผูกพัน ศาลล้มละลาย เพราะนิติกรรมเป็นโมฆะ
จึงไม่เข้ามาตรา9 (1) ในเรื่องของ ลูกหนี้มีหนี้สินล้นพ้นตัว
มาตรา 9 (2) เป็นเรื่องจำกัดว่าหนีเท่าใดฟ้องคดีล้มละลายได้

ในกรณีกหนี้ซึ่งเป็นบุคคลธรรมดาเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์เดียวหรือหลายคน ลูกหนี้ซึ่งเป็นบุคคล
ธรรมดาเป็นเจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์เดียวหรือหลายคน เป็นจำนวนไม่น้อยกว่า หนึ่งล้านบาทหรือลูกหนี้ซึ่ง
เป็นนิติบุคคล

ข้อสังเกต คำว่า ไม่น้อยกว่า

บุคคลธรรมดา1ล้านบาทพอดีก็ฟ้องได้

นิติบุคคล 2ล้านบาทพอดีก็ฟ้องได้

กรณีนี้ ต้องดูจาก ลูกหนี้


ก็มีปัญหาว่า เกี่ยวกับ เจ้าหนี้ผู้เป็นโจทก์เดียวหรือหลายคน


ตัวอย่าง

ถ้าในคดีแพ่ง 0 จำเลย ผู้มีหนี้สินล้นพ้นตัวเป็นหนี นาย a 5แสน นาย b 4 แสง c 2แสง


จะได้ว่า ลูกหนี้ ไม่ได้เป็นหนี้ ต่อเจ้าหนี้คนไหนที่มีมูลค่ากว่าหนึ่งล้านบาท ตามปกติแล้ว ถ้าเป็นในคดีแพ่ง ไม่


สามารถที่จะฟ้องร่วมกันได้ต้องแยก เป็นคนๆไปแต่ในคดีล้มละลายนั้น ไม่ได้มีไว้เพื่อประโยชน์จากลูกหนี้คนใด
คนหนึ่ง โดยเฉพาะเจาะจง แต่เป็นการฟ้องเพื่อ หนี้สินทั้งปวง เพื่อประโยชน์แก่ เจ้าหนี้ทั้งหลาย แม้นายaนาย
bนายc ซึ่งแต่ละคนนั้นไม่มีสิทธิ์ที่จะฟ้องให้ลูกหนี้แล้วและได้แต่ เจ้าหนี้สามคนนี้สามารถร่วมกันฟ้องลูกหนี้คน
เดียวได้ เพราะอยู่ในประเด็นที่ว่าลูกหนี้หนี้สินล้นพ้นตัวและมีหลักเกณฑ์ ตามที่ระบุไว้

กรณีมาตรา 9 (3) หนี้นั้นอาจจะ กำหนดจำนวนโดยแน่นอนไม่ว่าหนี้นั้นจะถึงกำหนดชำระ โดยพลัน อนาคตก็ตาม

You might also like