Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 33

 
เอกสารประกอบการเรี ยน วิชา เดินเรื อ ( Gyro & Magnetic Compass) 
 

MAGNETISM (อํานาจแม่เหล็ก)  

 เพือ่ ความเข้าใจการทํางานของเข็มทิศแม่เหล็ก (Magnetic Compass) อย่างสมบูรณ์นนั ้ จําเป็ นทีจ่ ะมีความรู้


เกีย่ วกับ “แม่เหล็ก (Magnet)” ด้วย
 แม่เหล็กเป็ นวัสดุทม่ี คี ณ
ุ สมบัตดิ งึ ดูดและก่อให้เกิดสนามแม่เหล็กรอบตัวเอง
 อํานาจแม่เหล็ก (Magnetism) ทีไ่ ด้แสดงออกมาเมื่อวัสดุอยูภ่ ายใต้อทิ ธิพลของ สนานแม่เหล็กภายนอกนัน้ เรียกว่า
“อํานาจแม่เหล็กเหนี่ยวนํา (Induced magnetism) ”
 อํานาจแม่เหล็กคงเหลือ(Residual magnetism) คือ อํานาจแม่เหล็กทีค่ งอยู่ ภายหลังจากการถ่ายเทพลัง
แม่เหล็กออกไป
 อํานาจแม่เหล็กถาวร (Permanent magnetism) คือ อํานาจแม่เหล็กทีค่ งอยู่ ในช่วงระยะเวลา
ยาวนานโดยปราศจากการลดอํานาจแม่เหล็ก เว้นเสียแต่ มีความประสงค์ทจ่ี ะลดอํานาจความดึงดูด
 แม่เหล็ก (Magnet) คือ แร่เหล็กและออกไซด์ของเหล็กทีม่ คี ุณสมบัตแิ ม่เหล็กด้วยตัวเอง
 โลกมีคุณสมบัติท่คี ล้ายคลึง และอาจถูกพิจารณาว่าเป็ น แม่เหล็กที่มขี นาดใหญ่ โตมโหฬาร (Gigantic
magnet)

 

สนามแม่เหล็กโลก (Earth’s Magnetic Field)

 โลก มีขวั ้ แม่เหล็ก 2 ขัว้ คือ


 ขัว้ เหนือแม่เหล็ก ( Magnetic north pole)
 ขัว้ ใต้แม่เหล็ก ( Magnetic south pole)
 ขัว้ เหนือแม่เหล็กอยูท่ ป่ี ระมาณ ละติจดู 70 º N ลองติจดู 97 º W
 ขัว้ ใต้แม่เหล็กอยู่ทป่ี ระมาณ ละติจดู 72 º S ลองติจดู 154 º E
 ขัว้ แม่เหล็กอยูใ่ นตําแหน่งทีต่ ่างจากตําแหน่งขัว้ เหนือจริง ละติจดู 90 º N และขัว้ ใต้จริง ละติจดู 90 º S

 

การเปลี่ยนแปลงของอํานาจแม่เหล็กโลก
 อํานาจแม่เหล็กโลก (Earth’s magnetism) มีการเปลีย่ นแปลงดังนี้
 Diurnal Changes คือ การเปลีย่ นแปลงในแต่ละวัน เกิดขึน้ จากการเคลื่อนย้ายของขัวแม่
้ เหล็กในวงโคจรมีเส้นผ่า
ศูนย์ประมาณ 50 ไมล์
 Annual Changes คือ การเปลีย่ นแปลงในสนามแม่เหล็กโลกประจําปี
 Secular Changes คือ การเปลีย่ นแปลงทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างปี
 เส้นแรงแม่เหล็ก (Magnetic lines of force) ทีผ่ า่ นขัวแม่
้ เหล็กนัน้ เรียกว่า เมริเดียนแม่เหล็ก ( Magnetic meridians)
แต่เมริเดียนดังกล่าวไม่ใช่เส้นวงใหญ่ ( Great circle) เนื่องมาจากการกระจายทีไ่ ม่ปกติของวัสดุแม่เหล็ก ในโลกจึงเป็ น
เมริเดียนทีไ่ ม่ปกติ และ plan ของเมริเดียนแม่เหล็กไม่ได้ผา่ นศูนย์กลางของโลก ตรงกลางระหว่างขัวแม่
้ เหล็กเป็ นเส้นที่
เรียกว่า อิเควเตอร์แม่เหล็ก ( Magnetic equator)
 เมริเดียนแม่เหล็ก (Magnetic meridian) เป็ นวงใหญ่ ซึง่ ผ่านขัว้ โลกเหนือและขัวใต้
้ ของเข็มแม่เหล็กโลก ในเมือ่ ไม่มอี าํ นาจ
แม่เหล็กของตําบลทีม่ ารบกวน เข็มแม่เหล็ก หรือเป็ นเส้นซึง่ แม่เหล็กของโลกออกแรงของมัน
 อิเควเตอร์แม่เหล็ก (magnetic equator) เป็ น area ทีไ่ ม่ปกติ มีการผันผวน ในแลตติจดู ที่ 15 º S ใน South America ถึง
20 º S ใน Africa

 
Earth’s Magnetic Field – Magnetic compass

 วาริเอชัน่ (Variation) วาริเอชันของตํ


่ าบลทีเ่ ป็ นมุมในระหว่างเมริเดียนจริง และเมริเดียนแม่เหล็ก
 ถ้าทิศเหนือแม่เหล็กอยู่ทาง ตอ. ของทิศเหนือจริง เรียกว่าวาริเอชั ่น ตอ. ใช้เครือ่ งหมาย +
 ถ้าทิศเหนือแม่เหล็กอยู่ทาง ตก. ของทิศเหนือจริง เรียกว่าวาริเอชัน่ ตก. ใช้เครือ่ งหมาย -
 แบริง่ แม่เหล็ก (Magnetic bearing) เป็ นมุมในระหว่างทิศของตําบลที่ หรือวัตถุกบั ทิศเหนือแม่เหล็ก หรือเป็ น
มุมในระหว่างวงใหญ่ซง่ึ ผ่านวัตถุนนั ้ และผูต้ รวจกับเมริเดียนแม่เหล็ก

อัตราผิดเข็มทิ ศแม่เหล็ก
่ Variation) คือ มุมแตกต่างระหว่าง ทิศเหนือแม่เหล็ก กับ ทิศเหนือภูมศิ าสตร์ ซึง่ เกิดจากอิทธิพลของ
วาริ เอชัน(
สนามแม่เหล็กโลก มีค่าเปลีย่ นแปลงไปตามตําบลทีบ่ นโลก ค่าดังกล่าวจะแสดงไว้ในวงเข็มทิศของแผนที่

ดิ วิเอชั ่น ( Deviation) คือ มุมแตกต่างระหว่าง ทิศเหนือแม่เหล็ก กับแกนเข็มทิศแม่เหล็ก ซึง่ เกิดจากอิทธิพลของ


สนามแม่เหล็กในตัวเรือ และมีคา่ เฉพาะสําหรับเรือในแต่ละลํา ทัง้ นี้คา่ ดังกล่าวจะเปลีย่ นแปลงไปตามทิศหัวเรือ

อัตราผิ ดเข็มทิ ศ( Compass Error) เท่ากับ วาริเอชัน่ + ดิวเิ อชัน่


(ทิ ศตะวันออก(E)เป็ นบวก และ ทิ ศตะวันตก(W)เป็ นลบ)

Magnetic Variation

 

Compass Error

อัตราผิดเข็มทิศแม่เหล็ก
่ Variation) คือ มุมแตกต่างระหว่าง ทิศเหนือแม่เหล็ก กับ ทิศเหนือภูมศิ าสตร์ ซึง่ เกิดจากอิทธิพล
วาริเอชัน(

 
ของสนามแม่เหล็กโลก มีคา่ เปลีย่ นแปลงไปตามตําบลทีบ่ นโลก ค่าดังกล่าวจะแสดงไว้ในวงเข็มทิศของแผนที่
ดิวเิ อชั ่น ( Deviation) คือ มุมแตกต่างระหว่าง ทิศเหนือแม่เหล็ก กับแกนเข็มทิศแม่เหล็ก ซึง่ เกิดจาก
อิทธิพลของสนามแม่เหล็กในตัวเรือ และมีคา่ เฉพาะสําหรับเรือในแต่ละลํา ทัง้ นี้คา่ ดังกล่าวจะเปลีย่ นแปลงไปตาม
ทิศหัวเรือ
อัตราผิดเข็มทิศ( Compass Error) เท่ากับ วาริเอชัน่ + ดิวเิ อชัน่

(ทิศตะวันออก(E)เป็ นบวก และ ทิศตะวันตก(W) เป็ นลบ)

สรุปวิธีแก้ เข็มเรื อเป็ นเข็มจริง


- วาริเอชันและดิ
่ วเิ อชั ่นตะวันตกทัง้ คู,่ เข็มจริ ง = เข็มเรือ – (วาริ เอชัน่ + ดิ วิเอชัน)่
- วาริเอชันและดิ
่ วเิ อชั ่นตะวันออกทัง้ คู,่ เข็มจริ ง = เข็มเรือ + วาริ เอชั ่น + ดิ วิเอชัน่
่ นตกและดิวเิ อชั ่นตะวันออก, เข็มจริ ง = เข็มเรือ + ดิ วิเอชั ่น - วาริ เอชั ่น
- วาริเอชันตะวั

Earth’s Magnetic Field 
 

 

เข็มทิศแม่ เหล็ก (Magnetic Compass)


เข็มทิศแม่เหล็ก แบ่งเป็ น 2 ชนิด
1. เข็มแห้ ง (Dry Compass)
2. เข็มนํ ้า (Liquid Compass)

โครงสร้ างของเข็มทิศแม่ เหล็กชนิดเข็มแห้ ง


 แผ่นเข็มทําด้ วยกระดาษ, นํ ้าหนักเบา, คงอยูก่ บั ทีโ่ ดยอํานาจของแม่เหล็กโลก
 ขอบแผ่นเข็มทําด้ วยอะลูมิเนียมเป็ นวงกลม
 หม้ อเข็ม (Compass bowl) ทําด้ วยทองแดง หรื อทองเหลือง หรื อบรอนซ์ วางบนวงระดับ (Gimbals), มี
นํ ้าหนักถ่วงที่ก้นหม้ อเข็มเพือ่ ให้ หม้ อเข็มอยูใ่ นระดับแนวนอนเมื่อมีคลืน่ จัด
 ภายในหม้ อเข็มมีเส้ นหัวเรื อ ซึง่ แสดงทิศของหัวเรื อ
 เข็มทิศแม่เหล็กชนิดเข็มแห้ ง แกว่งหรื อกระเทือนได้ งา่ ย เมื่อคลืน่ จัด

 

 

 
โครงสร้ างของแผ่ นเข็มทิศแม่ เหล็กชนิดเข็มนํา้
 แผ่นเข็มทําด้ วยไมก้ า (Mica) หรื อทองเหลือง, หรืออลูมิเนียม, เป็ นแผ่นกลมแช่อยูใ่ นนํ ้า
 ้ 0 ถึง 360 องศา, เวียนตามเข็มนาฬิกา, แบ่งทุก ¼ ปอยนต์ หรื อทุก 4 ปอยนต์
แบ่งขีดไว้ ทกุ องศา ตังแต่
 เส้ นที่ตอ่ ขีด 0 และ 180 องศา ของแผ่นเข็ม, เป็ นเส้ นเหนือใต้ หรือแกนของแผ่นเข็มทิศ
 ใต้ แผ่นเข็มมีแท่งแม่เหล็ก 2 แท่งกับลูกลอยทองแดง 1 ลูกยึดติดอยูก่ บั แผ่นเข็ม
 แท่งแม่เหล็กติดไว้ ขนานกับแกนของแผ่นเข็มทิศ โดยปลายชี ้เหนือหันไปทางขีดเหนือของแผ่นเข็มทิศ, ติดให้
ระยะห่างเท่ากัน (สวมอยูใ่ นกระบอกทองเหลืองปิ ดตาย)

 แผ่นเข็มนํ ้าวางอยูบ่ นเดือย ซึง่ ติดอยูบ่ นสะพานในหม้ อเข็ม


 ลูกทองแดงมีหมวกทําด้ วยพลอยแซฟไพร์ อยู่ตรงศูนย์กลางของลูกลอย
 หมวกวางอยูบ่ นปลายเดือย, ทําด้ วยอิริเดียม
 แผ่นเข็มหันได้ โดยอิสระบนปลายเดือยนี ้

 
ส่ วนประกอบของของเหลวหรื อของไหลภายในหม้ อเข็มทิศฯ 
ชนิดนํา้
 ประเทศร้ อน - นํ ้ากลัน่ , บรรจุในหม้ อเข็ม, นํ ้ากลัน่ ไม่หดตัวหรื อแข็งได้
 ประเทศหนาว - นํ ้ากลัน่ ผสมแอลกอฮอลบริ สทุ ธิ์, บรรจุในหม้ อเข็ม, ป้องกันมิให้ นํ ้าหดตัว, ส่วนผสมโดยมาก
ใช้ นํ ้ากลัน่ 2 ส่วน + แอลกอฮอร์ 1 ส่วน (แบบเก่า)
 ใช้ นํ ้ามัน “วาร์ โซล (Varsol)” เพราะมีความหนืดคงตัว, ไม่เปลีย่ นแปลงเมื่ออุณหภูมิลดลง
 

ประโยชน์ ของเหลวหรื อของไหลภายในหม้ อเข็มทิศฯ ชนิดนํา้


 
 ทําให้แผ่นเข็มลอยตัวอยูไ่ ด้เนื่องจากลูกลอย ทีต่ ดิ อยูต่ รงศูนย์กลางของแผ่นเข็ม, ช่วยลด นน.แผ่นเข็มที่
ปลายเดือยรองรับ
 นน.แผ่นเข็มน้อยการเสียดทานทีป่ ลายเดือยหม้อเข็มก็มนี ้อย
 ทําให้ นํ้าหนักทีป่ ลายเดือยรองรับแผ่นเข็มมีประมาณไม่เกิน 100 กรัม
 นํ้าช่วยลดความเร็วในการแกว่งกวัดของแผ่นเข็ม (Oscillations of the card)
 ทําให้อ่านเข็มในเวลามีคลืน่ จัดได้งา่ ย

ส่วนประกอบภายในหม้อเข็มทิศฯ ชนิดนํ้า
 หม้อเข็ม ทําด้วยทองแดง หรือทองเหลือง หรือบรอนซ์
 ฝาหม้อเข็มข้างบนทําด้วยกระจกใสเรียบปิ ดไว้
 ก้นหม้อทําด้วยกระจกฝ้ าเพือ่ ให้แสงสว่างกระจาย
 มียางอัดอยูร่ ะหว่างกระจกฝาหม้อกับด้านข้างภายใน, ป้ องกันของเหลวรัว่
 ภายในหม้อเข็มบรรจุของเหลวไว้เต็ม
 ก้นหม้อเข็มมีแผ่นไดอะแฟรม (Diaphragm) ลูกฟูก หรือ แผ่นขยายตัว (Expansion
chamber), ทําด้วยทองแดงเคลือบดีบกุ หรือทองเหลือง, เพือ่ ให้ของเหลวภายในหม้อเข็มขยายตัว
หรือหดตัวได้เมือ่ อุณหภูมเิ ปลีย่ น โดยมิให้กระจกฝาครอบหม้อเข็มแตก และมิให้เกิดฟองอากาศ
 ด้านข้างของหม้อเข็มตอนบนมีรสู าํ หรับบรจุน้ําลงในหม้อเข็ม
 ก้นหม้อเข็มมีแหวนตะกัวติ
่ ดไว้ เพือ่ ถ่วงหม้อเข็มอยูใ่ นระดับแนวนอน
10 
 

Components of the 7 1/2-inch Navy Compass

แท่งแม่เหล็ก Magnets (A)


แผ่นเข็ม Compass Card (B)
หม้อเข็ม Compass Bowl (C)
ของเหลว (Fluid) (D)
แผ่นอลูมิเนียมลอยกลางแผ่นเข็ม Float (E)
ที่ดนั ลมให้ขยายตัว Expansion Bellows (F)
11 
 

    

เรือนเข็มทิ ศ (Binnacle) ทําด้วยไม้ หรือ ทองเหลือง


ตัวเรือนเข็มทิศเรือนเอก แบ่งออกเป็ น 3 ตอน
 ตอนบน เป็ นทีส่ าํ หรับติดเข็มทิศ และมีทร่ี องรับเดือยของวงรักษาระดับวงนอก
 ตอนกลาง มีหลอดไฟให้หม้อเข็มมีแสงสว่าง, มีรตู รงศูนย์กลางเรือนเข็มหนึ่งรู สําหรับสวมสาแหรกของ
แท่งแม่เหล็กแนวยืน
 ตอนล่าง มีทร่ี องรับแท่งแม่เหล็กแนวนอนซึง่ ทําด้วยทองเหลือง,ทีร่ องรับเลือ่ นขึน้ -ลงได้ดว้ ยโซ่และเฟื อง
ซึง่ ใช้กุญแจหมุน(เก็บไว้ในซอกข้างประตูเรือนเข็มทิศ) ทีป่ ระตูฯ มีหมุดห้าม สําหรับดึงสลักห้ามมิให้เฟื อง
หมุน
12 
 
 

ภายนอกตัวเรือนเข็ม ในทางมุมฉากกับเส้นหัวเรือมีเท้าแขนติดไว้ทงั ้ สองข้างขอเรือนเข็มสําหรับรองรับลูกกลม


เหล็กอ่อนแก้ ดิวเิ อชั ่นตรีจกั ร และด้านหน้าของเรือนเข็มทิศในแนวเดียวกับเส้นหัวเรือมีทเ่ี ท้าแขนสําหรับรับฟลิน
เดอร์สบาร์

การเอาฟองอากาศออกจากหม้ อเข้ มทิศ 


 สําหรับเข็มทิ ศที่มีแผ่นไดอะแฟรมลูกฟูกสําหรับขยายตัว ยกเอาหม้อเข็มทิศ ออกจากวงรักษาระดับ,
วางหม้อเข็มให้นอนตะแคงลงให้รบู รรจุน้ําขึน้ บน, ถอดปลั ๊กสําหรับบรรจุน้ําออกจากรูบรรจุน้ํา, ดันฝ้ าทีก่ น้
หม้อเข็มเข้าไปเบาๆ เพือ่ ดันให้แผ่นไดอะแฟรมลูกฟูกแอ่นเข้าไปภายใน พร้อมกับบรรจุ นํ้ากลั ่นลงในหม้อ
เข็ม (โคลงหม้อเข็มไล่อากาศ), ปล่อยกระจกฝ้ าทีด่ นั ไว้, กระทําซํ้าๆ จนอากาศออกหมดจึงจะสวมปลั ๊ก
เข้าที่
 สําหรับเข็มทิ ศทีม่ ีแผ่นไดอะแฟรมสําหรับขยายตัว ประกอบกับนอตและเกลียว วางหม้อเข็มให้นอน
ตะแคงลงให้รบู รรจุน้ําขึน้ บน, ถอดปลักสํ
๊ าหรับบรรจุน้ําออก, สวมนอตเข้ากับก้านเกลียวขยายตัวทีก่ น้
หม้อและกวดนอตเข้าเต็มที,่ บรรจุน้ํากลันเข้
่ าไปในหม้อเข็มโครงหม้อเข็มไปมาเพือ่ ไล่อากาศ, เมือ่ นํ้าล้น
ออกจากรูให้คลายนอตประมาณ 2 รอบ ซึง่ จะทําให้น้ําล้นมากขึน้ สวมปลั ๊กสําหรับบรรจุน้ําเข้าที,่ คลาย
นอตออกจนหลุด

กฎข้อบังคับ
1. การออกแบบในขันแรกในการต่
้ อเรือจะต้องแสดงทีต่ งั ้ เข็มทิศในแบบแปลน
2. เข็มทิศเรือนเอก ต้องติดตัง้ อยู่ ณ ทีท่ าํ การเดินเรือ และมีสงิ่ กีดขวางในการ เห็นวิวน้อยทีส่ ดุ
3. ห้ามมีเหล็กธรรมดา หรือเหล็กกล้า นอกจากสิง่ ทีไ่ ม่เป็ นธาตุเหล็กติดตัง้ อยูใ่ นระยะ 10 ฟุต จากเข็มเรือนเอก
เว้นเสียแต่เรือลํานัน้ ๆ มีเข็มทิศไยโรสองเรือน
4. ระยะห่างของมวลเหล็กธรรมดา หรือเหล็กกล้าทีย่ ดื ได้ จะต้องให้อยูห่ า่ งจากเข็มทิศให้มากทีส่ ดุ (ควรเกิน 20
ฟุต), ปล่องอันทีใ่ กล้ทส่ี ดุ ไม่ควรอยูใ่ กล้กว่า 32 ฟุต,
5. ห้ามมีสงิ่ ทีท่ าํ ด้วยเหล็กธรรมดาหรือเหล็กกล้า ซึง่ มีการหัน หรือเคลือ่ นทีเ่ ป็ นครัง้ คราวอยูภ่ ายในระยะ 12 ฟุต
จากเข็มทิศเรือนเอก
13 
 
6. กรณีทแ่ี รงตรงของเข็มทิศในสะพานเดินเรือมีน้อยกว่าแรงตรง ณ ทีต่ งั ้ เข็มทิศเรือนเอกมาก ต้องให้วตั ถุทท่ี าํ
การรบกวนต่อเข็มทิศอยูใ่ นระยะห่างเท่าๆ กัน หรือห่างมากกว่า
7. กฎข้อบังคับนี้ ต้องนําไปใช้กบั เข็มทิศแม่เหล็กอื่นๆ ทีต่ ดิ ตัง้ ไว้ และห้ามนําเข็มทิศแม่เหล็กเข้าไปใกล้เหล็กแนว
ยืนภายในระยะ 6 ฟุต
8. การเลือกหาทีต่ ดิ ตัง้ เครือ่ งจักรไฟฟ้ าและเครือ่ งมือไฟฟ้ า เครือ่ งฯ ต้องมีรายการแสดงระยะห่างอย่างตํ่าทีส่ ดุ
จากเครือ่ งจักรไปยังเข็มทิศเรือนเอก และเข็มทิศทีส่ ะพานเดินเรือติดกํากับไว้
9. ระยะห่าง อย่างตํ่าสุดในระหว่าง โครโนเมตร กับเครือ่ งกําเนิดไฟฟ้ าให้ใช้ระยะครึง่ หนึ่งของระยะห่างทีไ่ ด้
กําหนดไว้สาํ หรับเข็มทิศเรือนเอก
 

 
14 
 
 

เข็มทิศไยโร(Gyro-Compass)

 เมริ เดียนจริ ง คือ วงใหญ่ของโลกซึง่ ผ่านขัวโลกทั


้ ง้ สอง หรือเส้นซึง่ ลากจาก ตําบลใด
ตําบลหนึ่งบนพืน้ โลกไปยังขัวโลก
้ เป็ นมาตรฐานทีใ่ ช้ซง่ึ ใช้อา้ งถึงทิศทาง ขอบเส้นอื่นๆ ซึง่ ลากอยู่
บนพืน้ ผิวโลกได้
 เข็มทิ ศไยโร เป็ นเครือ่ งมือเดินเรือชนิดหนึ่งทีซ่ ง่ึ มีความแม่นยําสามารถ ชีท้ ศิ
เหนือจริงของขอบฟ้ าให้นกั เดินเรือทราบอยูต่ ลอดเวลา ไม่มกี ารหักเห และไม่มคี วามคลาดเคลือ่ น
 คุณสมบัตใิ นการหาทิศของเข็มทิศไยโรไม่เกีย่ วข้องกับเข็มแม่เหล็ก
 การกระทําของเข็มทิศไยโรพึง่ พิงอยูก่ บั กฎกล (mechanic law) และ
กฎพลศาสตร์ (dynamical law)
 เข็มทิศไยโร เป็ นเครือ่ งกลเชิงซ้อนเดินด้วยไฟฟ้ า แต่อา่ นง่ายและชีท้ ศิ เหนือจริง ธาตที่
สําคัญ คือ ลูกข่าง (spinning wheel) ทีห่ มุนด้วยอัตราเร็วตัง้ แต่ชา้ ทีส่ ดุ จนถึง 20,000
รอบต่อนาที

 สิ่ งที่สาํ คัญของเข็มทิ ศไยโร คือ ทําให้ลกู ข่างหมุน, จนแกนของมันหันเข้ามาอยูใ่ นพืน้ เมริเดียนจริง และ
มันพยายามทําให้แกนนัน้ ชีข้ นานไปยังทิศเหนือและทิศใต้จริงของขอบฟ้ าไม่วา่ ภาวะของทะเลจะเป็ น
อย่างไร
 แรงทีเ่ ข็มทิศไยโรหาทิศเหนือนัน้ ขึน้ อยูก่ บั อัตราเร็วของลูกข่างคูณด้วยอัตรเร็วซึ่งโลกหมุนตัวรอบ
แกนโลกเอง
15 
 
 อัตราเร็วซึง่ โลกหมุนในตัวนัน้ เร่งไม่ได้ (accelerated) ไม่ได้, ลูกข่างจึงหมุนตัวเร็วทีส่ ดุ เท่าทีจ่ ะเร็ว
ได้โดยไม่แปรปรวนและติดต่อ
 ลูกข่างยิง่ หมุนเร็วขึน้ เพียงใด แรงตรง (directive force) ของเข็มทิศก็ยงิ่ มีมากขึน้
 โลก เป็ นไยโรสะโคปที่ดดั แปลงแล้ว (gyrostat) และแกนของโลกชีแ้ น่วแน่นไปในทิศเดียวกัน
เนื่องจากการหมุนทีโ่ ลกได้รบั แยกมาตัง้ แต่ครัง้ โลกเริม่ ต้นหมุน

 ไยโรสโคป (gyroscope) เป็ นลูกข่าง (ลูกล้อ) ทีห่ มุนตัวด้วยอัตราความเร็วสูง หมุนตัวอยู่


บนแกน , วงแหวน , หมุนตัวอยูบ่ นวงรักษาระดับ ทัง้ ลูกข่างและวงแหวนหมุนตัวอยูด่ ว้ ยกันบน
แกนแนวยืน
 ไยโรสะโคปมีความเสรี สามองศา (three degrees of freedom) เคลือ่ นไหวได้สามพืน้
พร้อมกัน คือ
 เคลือ่ นไหวรอบแกนของมันเอง
 เคลือ่ นไหวรอบแกนแนวนอน
 รอบแกนแนวยืน

 
 การหมุนตัวประจําวันของโลกจากทิ ศตะวันตกไปทิ ศตะวันออก เมือ่ วางไยโรสะโคปไว้บนผิวโลก หรือ
วางบนพืน้ ดาดฟ้ าเรือทีท่ อดสมอก็จะเห็นได้วา่ ไยโรสโคปถูกพาไปรอบแกนโลกในอัตราหนึ่ งรอบบริบูรณ์
ต่อหนึ่ งวัน
 ถ้าไยโรสโคปมีความเสรี สององศา คือ
 เคลือ่ นไหวรอบแกน ของมัน
16 
 
 เคลือ่ นไหวรอบแกนแนวยืน ,
 กวดเกลียวห้ามวงแหวนให้อยูใ่ นพิน้ แนวนอน ฉะนัน้ แกนของลูกข่างจะชี้ เมริเดียนจริง และจะแกว่ง
กวัดไปช้าๆ รอบๆ จุดทิศเหนือจริงของขอบฟ้ า (ได้ทิศเหนื อจริง)
 กวดเกลียวห้ามแนวตัง้ และปล่อยวงแหวนให้เสรีไยโรสโคปจะมีความเสรีสององศา คือ
 เคลือ่ นไหวรอบแกน
 เคลือ่ ไหวรอบแกนวงรักษาระดับ (เคลือ่ นไหวรอบแกนแนวนอน), แกนลูกข่างจะกระดกขึน้ และชี้
ไปทางดาวเหนือ และจะชีต้ ลอดไป

 
17 
 

 เข็มทิ ศไยโร นําเอาเฉพาะเพียงส่วนประกอบแนวนอนของคุณสมบัตใิ นการหาทิศทางเท่านัน้ มาใช้


เช่นเดียวกันกับเข็มทิศแม่เหล็ก
 เข็มทิศแม่เหล็กและไยโรมีสิ่งที่เหมือนกันคือ เข็มทิศทัง้ สองจะใช้ได้ผลดีทส่ี ดุ ในแถบอิ เควเตอร์
 ค่าในการหาทิศทางจะค่อยๆ ลดลงจนเป็ นศูนย์ (ไม่มผี ล) ในเมือ่ ละติจดู ทวีขน้ึ (ละติ จดู สูงขึน้ ) ขัว้ โลก
แม่เหล็ก (Magnetic pole)
 เข็มทิศแม่เหล็กใช้ไม่ได้เมือ่ อยูท่ ข่ี วโลกแม่
ั้ เหล็ก (Magnetic pole) , เข็มทิศไยโรใช้ไม่ได้เมือ่
ั ้ มิศาสตร์ (geographical pole)
อยูท่ ข่ี วภู
 การถ่วงนํ้าหนัก การทําให้แกว่ง และการติดประกอบลูกข่างเพือ่ ให้ลกู ข่างทําหน้าทีไ่ ด้แม่นยําในเรือทีโ่ คลง
ต้องใช้ความรูท้ างวิทยาศาตร์และใช้ฝีมอื กลชัน้ เยีย่ ม ส่วนของเข็มทิศไยโรชิน้ ทีส่ มั พันธ์ตอ้ งทําหน้าทีอ่ ย่าง
เดียวกับวงแหวนในไยโรสโคปธรรมดา ไม่ได้ประกอบติดไว้ในวงรักษาระดับ เช่น วงแหวนของไยโรส
โคป
 การเอาแรงการโน้มถ่วงของโลก (Earth’s gravitational force) มาใช้เพือ่ ทําหน้าทีใ่ ห้
แกนของลูกข่างอยูใ่ นพืน้ ขนานกันกับผิวพืน้ โลก
 เป็ นทํานองเดียวกับทีค่ วามเร็วการหมุนตัว (Rotational velocity) ของโลกทําให้แกน
ลูกข่างของไยโรชีไ้ ปยังทิ ศเหนื อของขอบฟ้ า
 เข็มทิศไยโรทีใ่ ช้กนั อยูม่ ี 3 แบบ คือ
18 
 
 อันชุตซ์ (Anschutz) ของเยอรมัน
 สเปอรี (Sperry) ของอเมริกนั
 เบราวน์ (Brown) ของอังกฤษ
 แบบอันชุตซ์ ใช้ลกู ข่าง 3 ลูก แต่ละลูกมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว และ หนัก 5 ปอนด์ วางไว้ตรงแต่
ละมุมของรูปสามเหลีย่ มด้านเท่า และหมุนเร็วประมาณ 20,000 รอบต่อนาที
 แบบสเปอรี ใช้ลกู ข่างลูกเดียวมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 10 นิ้ว กว้าง 2 นิ้ว หนัก 55 ปอนด์ หมุนเร็ว
6,000 รอบต่อนาที
 แบบบราวน์ มีลกู ข่างลูกเดียว เส้นผ่าศูนย์กลางโต 4 นิ้ว หนัก 4 ½ ปอนด์ ติดประกอบไว้ตรงมุมศูนย์
ของระบบการเคลือ่ นไหว และหมุนเร็ว 15,000 รอบต่อนาที
 การติดตัง้ เข็มทิศไยโรนัน้ มีเข็มทิศไยโรเรือนเอก (Master gyro compass)
 ติดตัง้ ไว้ใกล้ศนู ย์กลางความถ่วง (Central of gravity) ของเรือ และเข็มทิศย่อย
(Repeater compass) ติดตัง้ ไว้ตามทีต่ ่างทีต่ อ้ งการ
 การติดตัง้ เข็มทิศไยโรนัน้ อาจติดเอาหน้าปั ด ควํ่าลง หรือหงายขึน้ หรือ แขวนไว้ในแนว ยืนทีผ่ นัง
เรือก็ได้ และจะยกไปมาก็ได้สดุ แต่ความยาวของสายลวดอ่อนทีต่ ดิ ต่อมันกับหีบจ่ายกระแสไฟฟ้ าทีต่ ดิ ต่อ
กับเข็มทิศไยโรเรือนเอกจะอํานวย
 กระแสไฟฟ้ าทีใ่ ช้ในเรือต้องแปลงให้เป็ นกระแสไฟฟ้ าสลับ สามวัตต์ภาค ( Phase) เพือ่ ให้ได้
ลักษณะทีเ่ หมาะสําหรับการหมุนไยโร และใช้ระบบคอนแท็กต์ไฟฟ้ า (Electrical contacts),
เครือ่ งยนต์ชว่ ย ( Auxiliary motors) และเครือ่ งกลไก และเครือ่ งกลไกทําให้การเคลื่อนไหว
ของทิศหัวเรืออันสัมพันธ์อยูก่ บั แกนลูกข่างของเข็มทิศไยโรเรือนเอก ถูกส่งอาการต่อไปยังเข็มทิ ศไยโร
ย่อยในทํานองคล้ายกันกับการทํางานตามกัน ( Synchronous work) ของนาฬิกาไฟฟ้ า
 เข็มทิศไยโรอาจขัดข้องได้ ทัง้ นี้ยอ่ มพึง่ พิงเครือ่ งไฟฟ้ าของเรือเป็ นสิง่ สําคัญ แต่เมือ่ มีสงิ่ หนึ่งสิง่ ใด
เกิดขัดข้องกับเข็มทิศไยโรแล้ว ก็จะเกิดเสียงสัญญาณดังขึน้ เอง
 เมือ่ เกิดการขัดข้องขึน้ ลูกข่างก็ตงหมุนต่อไปตามเดิมโดยอาการโมเม็นตัมอีกหนึ่งหรือสองชัวโมง

หลังจากกระแสไฟขาดลงแล้ว, เข็มทิศไยโรเรือนเอกยังคงทําหน้าทีต่ อ่ ไปอีกชัวระยะเวลาหนึ
่ ่ง
19 
 
 เมือ่ กระแสไฟฟ้ าของเรือขาดลงจึงให้สบั สวิทซ์ไฟไปยังหม้อแบตเตอรีอ่ ะไหล่, เมือ่ ไฟฟ้ าของเรือใช้
การได้แล้วก็ให้เปลีย่ นใช้ไฟฟ้ าของเรือ
 ต้องตรวจความแม่นยํา (Accuracy) ของเข็มทิศไยโรไว้เสมอ ใช้ตรวจโดยวิธแี อซิมธั ดวง
อาทิตย์และดาว
 เข็มทิศทีม่ คี วามแม่นยํา ต้องคลาดเคลื่อนไม่เกิ น + หรือ – 2 องศา
 เข็มทิศไยโรจะชีต้ รงไปยังทิศเหนือจริงเท่านัน้ ในเมือ่ แกนของลูกข่างได้ระดับ อย่างสมบูรณ์ และความ
มุง่ หมายเบือ้ งต้นนัน้ ได้แก่การติดประกอบและการแขวน ( Pendulant)
 ระบบเข็มทิศไยโรเพือ่ ให้แกนของลูกข่างรักษาอยูใ่ นพืน้ แนวนอนอย่างแข็งแกร่งโดยรักษาให้
ศูนย์กลางความถ่วงของระบบเข็มทิศไยโรอยูต่ าํ่ กว่าพืน้ ของวงรักษาระดับ
 ถ้าแกนลูกข่างกระดกขึน้ (Tilt up) ด้วยเหตุใดก็ตามมันก็จะเซ( Precess) ไป
 สําหรับไยโรซึง่ ปราศจากการเสียดทานแล้วการเซเคลือ่ นที่ (Precessional motion)
นี้ต่อเนื่องไปโดยไม่จาํ กัด เว้นเสียแต่การแกว่งกวัดจะได้ถกู ลด (damped) ลงโดยอัตโนมัตใิ นวิธใี ดวิธี
หนึ่ง
 อาการเซ (Precession) เป็ นการเคลือ่ นทีข่ องไยโรทีส่ าํ คัญเหนืออาการเคลือ่ นทีอ่ ่นื ๆ
 ไยโรสโคปไม่กระทบสัมผัสกับพืน้ ดินและสภาพเครือ่ งติดตัง้ ทําให้ มุมเห (Angle of
deflection) มีเขตจํากัด

ลูกข่ าง 

  

 
20 
 
 การทีจ่ ะทําให้แกนของเข็มทิศไยโรชีท้ ิ ศเหนื อได้โดยเร็วทีส่ ดุ นัน้ จําต้องทําให้การเซแกว่งกวัด
(Precessional oscillation) ของมันลดลง แต่มใิ ห้ลดโดยการใช้วธิ กี ารเสียดทานอันเกิ ด
จากการถู (Rubbing friction) เพราะการประดิษฐ์เข็มทิศไยโรนัน้ ต้องการลดการต้านทานอัน
เกิดจากการเสียดทาน (Frictional resistance) ให้มนี ้อยทีส่ ดุ ทีจ่ ดุ กระทบทุกแห่ง
 ให้ลดโดยวิธที ใ่ี ห้ตวั เข็มทิศไยโรนัน้ เอง เอาแรงทีม่ กี าํ ลังเท่ากัน และการทําในทิศทางตรงข้าม
กับแรงภายนอกทีอ่ าจมากระทํามาต่อต้านทีแ่ กนของลูกข่างโดยอัตโนมัตแิ ละในทันทีทนั ใด ความชักนํา
ต่อต้านอาการเซนี้ใช้กระทําโดยเอาของเหลวบรรจุไว้ในกระปุก
 เข็มทิศแบบอันซุตซ์ และแบบเบราน์ ใช้นํ้ามันเป็ นของเหลว และแบบสเปอรี แบบใหม่ทส่ี ดุ
ใช้ปรอท
 กระปุกบรรจุของเหลวนี้ตดิ และประกอบไว้ให้ได้(Balance) ซึง่ กันและกันในเมือ่ แกนของ
ลูกข่างอยูใ่ นระดับขอบฟ้ า
 เมือ่ แกนลูกข่างกระดก นํ้ามันก็จะไหลจากกระปุกสูงไปยังกระปุกตํ่า จํานวนและความเร็วใน
การไหลของนํ้ามันนี้ใช้แต่ง (Regulate) โดยการเอียงแกน (Inclination of axis)
 นํ้าหนักของนํ้ามัน หรือปรอททีม่ มี ากเกินต้องการนัน้ จะถูกแจกจ่ายออกไป เป็ นเหตุให้ เข็ม
ทิ ศเซ (Precess) ไปในทิศตรงข้ามกับทิศทางทีเ่ กิดจากแรงทีม่ มี ากระทําให้มนั เซไปทีแรก
 หน่วยชีท้ ศิ (Sensitive element) ของเข็มทิศไยโรประกอบด้วยลูกข่าง
(Spinning wheel) แกนลูกข่าง, โครงหรือ วงแนวยืนต่างๆ (supporting rings) ท่อ
เชือ่ มต่างๆ

 
21 
 

การแก้ไขเข็มทิศ (Compass Corrections)


เข็มแม่เหล็ก (Magnetic Compass)ที่ปล่อยให้แขวนหรือลอยอยู่โดยอิสระ ณ ที่ตําบลหนึ่ง
ตําบลใดและอยูภ่ ายในสนามแม่เหล็กของโลกแล้ว เข็มแม่เหล็กนัน้ จะหยุดนิ่งอยูใ่ นเส้นแรง ณ ทีต่ าํ บลนัน้ วง
ใหญ่ของโลก ในพืน้ ทีซ่ ง่ึ เข็มแม่เหล็กชีอ้ ยูน่ นั ้ เรียกว่า เมริเดียนแม่เหล็กของตําบลที่ มุมแนวนอนในระหว่างเม
ริเดียนแม่เหล็กและเมริเดียนจริงของตําบลทีเ่ รียกว่า “วาริเอชัน” ่

วาริเอชัน่ (Variation of the compass)


22 
 
23 
 
ดิ วิเอชัน่ (Deviation of the compass)
ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศ (compass error) ทีใ่ ช้อยูใ่ นเรือเหล็กนัน้ มิได้มแี ต่วาริเอชันอย่ ่ าง
เดียวเท่านัน้ ยังมีความคลาดเคลือ่ นอีกชนิดหนึ่ง คือ“ดิวเิ อชัน”
่ เป็ นความผิดทีข่ วเหนื
ั ้ อของเข็มทิศชีผ้ ดิ ไปจากเม
ริเดียนแม่เหล็กซึง่ เกิดจากอํานาจแม่เหล็กในตัวเรือดึงดูดให้ขวเหนื
ั ้ อของเข็มทิศชีผ้ ดิ ไป หรืออีกนัยหนึ่งเป็ นมุมใน
ระหว่างเมริเดียนแม่เหล็กและแกนของแผ่นเข็มทิศ

You already know what T is, so write it down as follows

Do the following if the chart shows a variation of 11° E

When uncorrecting, remember that you subtract easterly and add


westerly errors. The 11° is an easterly variation so subtract it from 360°
to get a magnetic course of 349° .Write that down as follows:
24 
 
Sometimes you need to know a magnetic heading or bearing. If
that were all you were looking for in this example, you could stop right
here. However, you want to go on and find the compass course. Let
us say the deviation table shows a deviation of 14° W for a 349°
heading. Write that down as follows:

When uncorrecting, you add westerly error, so add 14° to 349° and
get 003° . Now you have the following:
______________________________________________

ตัวอย่าง เรือลําหนึ่งแล่นแล่นเข็มจริง 045 วาริเอชัน่ 2 ตก. หาเข็มเรือ


สําหรับถือท้าย ใช้ดวิ เิ อชันตามบั
่ ญชีทใ่ี ห้ไว้
วิ ธีทาํ เข็มจริง 045˚
วาริเอชัน่ 2˚ ตก.
เข็มแม่เหล็ก 047˚
เทียบหาดิ วิเอชัน่
เข็มเรือ 050˚ 00' เข็มเรือ 060˚ 00'
ดิวเิ อชั ่น 3 30 ตก. ดิวเิ อชั ่น 8 00 ตก.
เข็มแม่เหล็ก 046 30 เข็มแม่เหล็ก 052 00
ดังนัน้ 1) เข็มแม่เหล็ก 046 30 มีดวิ เิ อชัน่ 3 30 ตก.
2) “ 052 00 “ 8 00 ตก.
ผลต่างเข็มแม่เหล็ก 5˚ 30' มีดิวิเอชัน่ 4˚ 30' ตก.
ทิ ศหัวเรือ ดิ วิชนั ่ ทิ ศหัวเรือ ดิ วิชนั ่
โดย โดย
25 
 
เข็มทิ ศเรือนเอก เข็มทิ ศเรือนเอก

0˚ 0 00 180˚ + 0 00
10 + 2 00 190 + 8 30
20 + 1 00 200 + 15 00
30 + 0 30 210 + 16 30
40 - 2 30 220 + 19 00
50 - 3 30 230 + 21 00
60 - 8 00 240 + 22 00
. . . .
160 - 15 00 340 - 2 00
170 - 13 00 350 - 1 00

แต่ผลต่างระหว่างเข็มแม่เหล็ก 047˚กับ 046˚ 30’; นัน้ เท่ากับ 000 ˚ 30’


เพราะฉะนัน้ ดิวเิ อชันจะต้
่ องเพิม่ ขึน้ = 4˚ 30 x (0˚ 30 / 5˚ 30) = 4.5˚x (0.5˚/5.5˚)
= 24.5 ' ตก.
หรือ ประมาณ = 25 ' ตก. (ใกล้เคียง)
เพราะฉะนัน้ เข็มแม่เหล็ก 047˚ จะมีคา่ ดิวเิ อชั ่น = 3˚ 30 ' ตก. + 0˚ 25 ' ตก.
= 3˚ 55 ' ตก.
แล้วเอาดิวเิ อชันนี
่ ้ไปแก้กบั เข็มแม่เหล็ก ทีต่ อ้ งการจะได้เข็มเรือทีถ่ กู จริง คือ
เข็มแม่เหล็ก 047˚ 00 '
ดิวเิ อชั ่น 3˚ 55 ' ตก.
เข็มเรือ 050˚ 55 '
26 
 

วิธีหมุนเรือหาดิวิเอชัน่
การหมุนเรือหาดิวเิ อชันของเข็
่ มทิศทําได้ 5 วิธี คือ
1. โดยแบริง่ วัตถุสงิ่ เดียวอยูไ่ กล (By bearing of a distant object)
2. โดยแบริง่ วัตถุซง่ึ รูแ้ บริง่ จริงแล้ว (By transits or ranges)
3. โดยแบริง่ กลับเข็มทิศบนบก (By reciprocal bearings)
4. โดยเปรียบเทียบกับเข็มทิศไยโร (By comparison with a gyro compass)
5. โดยแบริง่ ดวงอาทิตย์ (By bearings of the sun)

หลักการหาดิวเิ อชั ่นโดนแบริง่ วัตถุซงึ ่ รูแ้ บริง่ จริงแล้ว


 วิธนี ้เี ป็ นวิธที ไ่ี ด้ผลทีส่ ดุ , จําเป็ นต้องรูแ้ นวแบริง่ จริงของวัตถุเสียก่อน
 วัตถุ ได้แก่ ทีห่ มายนํา (leading marks) เช่น กระโจม, ทุน่ หรือหลักนํา ฯลฯ
ซึง่ จัดให้วตั ถุสองแห่งอยูใ่ นแนวเดียวกัน แนวนี้เรียกว่า แนวนํา (leading line)
 นําเรือให้พน้ จากพืน้ ทีอ่ นั ตราย หรือแนวบอกร่องนํ้าทีด่ ที ส่ี ดุ ทีเ่ รือควรแล่น
 เมือ่ รูแ้ นวแบริง่ จริงของวัตถุแล้ว ก็หาแบริง่ แม่เหล็ก
าบลทีจ่ ากแผนทีเ่ ข้าแก้( M,V,T)
 โดยเอาวาริ เอชันของตํ

 จะรูว้ า่ เข็มทิศทีใ่ ช้นนั ้ มีดวิ เิ อชันหรื
่ อไม่ ได้โดยการแล่นเรือให้ตรงตามแนวนัน้
่ ว ทิ ศเข็มเรือโดยเข็มเรือก็จะเท่ากับแบริง่ เข็มทิ ศแม่เหล็ก
ถ้าเข็มทิศไม่มเี ดวิเอชันแล้
่ C,D,M)
แต่ถา้ ไม่เท่ากันก็มดี วิ เิ อชัน(
27 
 
Determine Deviation of the Compass by a Range

วิธีหาดิวิเอชั่นโดยแบริ่งวัตถุซ่ งึ รู้แบริ่งจริงแล้ ว 
ตัวอย่าง เรือลําหนึ่งต้องการหาดิวเิ อชันของเข็
่ มทิศเรือนเอก
 จึงได้แล่นเรือผ่านวัตถุ (แนวนํา) ซึง่ รูแ้ บริง่ จริงแล้วตามทิศหัวเรือต่างๆ และทุกครัง้ ทีเ่ รือผ่านแนวนํา
ได้วดั แบริง่ ของวัตถุไว้ในตารางข้างล่างนี้
 วาริเอชั ่นของตําบลที่ = 7˚E
 แบริง่ จริงของแนวนํา = 302˚
28 
 
ทิศหัวเรือ แบริง่ จริง วาริเอชั ่น แบริง่ แม่เหล็ก แบริง่ ของวัตถุโดย เดวิเอชั ่น
โดยเข็มทิศ ของวัตถุ ของวัตถุ เข็มทิศเรือนเอก
เรือนเอก

(T) (V) (M) (C) (D)

000˚ 302˚ 7˚ อ. 295˚ 310˚ 30' 15˚ 30'


015 302 295 310 00 ตก.
7 อ.
030 302 295 308 15 15 00
7 อ.
ตก.
045 302 295 306 15
7 อ.
. 302 295 . 13 15
7 อ. ตก.
330 302 295 308 30
7 อ. 11 15
345 302 295 311 00 ตก.
7 อ.
.
13 30
ตก.
16 00
ตก.
วิธีหาดิวเิ อชั่นโดยเปรี ยบเทียบกับเข็มทิศไยโร 
 วิธนี ้จี ะใช้ได้ตอ่ เมือ่ มีเข็มทิ ศไยโร
 โดยเอาเข็มเรือทีใ่ ช้เข็มทิศไยโร เปรียบเทียบกับเข็มเรือทีใ่ ช้เข็มทิศเรือนเอก (หรือเข็มทิศเรือนอื่นที่
ต้องการหาดิวเิ อชัน)

 ถ้าเข็มทิศไยโรไม่มคี วามคลาดเคลือ่ นแล้ว จะได้ความคลาดเคลือ่ นของเข็มทิศ (วาริ เอชัน่ + ดิ วิเอชัน)

 ถ้าเข็มทิศไยโรมีความคลาดเคลื่อนแล้วจะต้องแก้อตั ราคลาดเคลือ่ นเสียก่อน
 เมือ่ รูว้ าริ เอชันของตํ
่ าบลที่แล้วให้เอาวาริเอชั ่นไปแก้กบั ความคลาดเคลือ่ นของเข็มทิศ
 ผลต่างระหว่างความคลาดเคลื่อนของเข็มทิ ศกับวาริเอชันจะเป็
่ นค่าของ ดิ วิเอชัน่

ตัวอย่าง เข็มเรื อโดยเข็มทิศไยโรได้ 214 และโดยเข็มทิศเรื อนเอกได้ 201


ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศไยโร 1˚ตก. วาริ เอชัน่ 5˚ 30' อ. หาดิวเิ อชัน่
ของเข็มทิศเรื อนเอก
วิธีทาํ
เข็มเรือโดยเข็มทิศไยโร 214˚ 00'
อัตราคลาดเคลื่อนของเข็มทิศไยโร 1 00 ตก.
เข็มทิศไยโรที่แก้ แล้ ว (เข็มจริง) 213˚ 00 ‐ T
เข็มเรือโดยเข็มทิศเรือนเอก 201˚ 00 ‐ C
ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศ( Compass error)             12 ˚ 00 ตอ. ‐ CE
วาริเอชั่น 5 ˚ 30 ตอ. ‐ V
ดิวเิ อชั่น 6˚ 30' ตอ. ‐ D
ตัวอย่าง เข็มเรือโดยเข็มทิศไยโรได้ 214 และโดยเข็มทิศเรือนเอกได้ 201
ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิศไยโร 1˚ ตก. วาริเอชั ่น 5˚ 30 อ. หาดิวเิ อชั ่น
ของเข็มทิศเรือนเอก
วิ ธีทาํ
เข็มเรือโดยเข็มทิ ศไยโร 214˚ 00'
อัตราคลาดเคลื่อนของเข็มทิ ศไยโร 1 ˚ 00 ตก.
เข็มทิ ศไยโรที่แก้แล้ว (เข็มจริ ง) 213˚ 00 - T
วาริ เอชั ่น 5 ˚ 30 ตอ. - V
เข็มแม่เหล็ก 207˚ 30 - M
เข็มเรือโดยเข็มทิ ศเรือนเอก 201˚ 00 - C
ดิ วิเอชั ่น 6˚ 30' ตอ. - D

-----------------------------------------------------

วิธีหาดิวิเอชันโดยแบร
่ ิ่ งดวงอาทิตย์
 การหาแบริง่ จริงหรือแอซซิมธั ของดวงอาทิตย์นนั ้ ย่อมคํานวณหาได้ทุกเวลาเมือ่ สามารถวัดแบริง่ ดวง
อาทิตย์ได้
 เมือ่ ได้แบริ่งจริ งแล้ว ให้เอาไปเปรียบเทียบกับแบริง่ ของดวงอาทิตย์ทว่ี ดั ได้โดยเข็มทิศเรือนเอก
 จะได้ความคลาดเคลื่อนของเข็มทิ ศ (วาริ ช ั ่น + ดิ วิชน)
ั่
 เอาวาริเอชันของตํ
่ าบลทีเ่ ข้าแก้กบั ความคลาดเคลือ่ นของเข็มทิศ
 ผลต่างระหว่างระหว่างความคลาดเคลือ่ นของเข็มทิศ กับ วาริเอชั ่น จะเป็ นค่าของดิวเิ อชันตามทิ
่ ศหัวเรือ
นัน้
 หรือ เมือ่ หาแบริง่ จริงดวงอาทิตย์ได้แล้วเอาวาริเอชันเข้
่ าแก้ จะได้แบริง่ แม่เหล็กของดวงอาทิตย์ แล้วเอา
แบริง่ แม่เหล็กนี้ไปเปรียบเทียบกับแบริง่ เข็มเรือจะได้ดวิ เิ อชัน่
เวลา ทิ ศหัวเรือ แบริ่ ง วาริ แบริ่ ง แบริ่ ง ดิวเิ อชัน่
เอชัน่ แม่เหล็ก เข็มเรือ
โดย ของ
ดวง
เข็มทิ ศเรือน
อาทิ ตย์
เอก

0800 000 085 4 081 082 1 ตก.


อ.
0802 045 085 081 084 3 ตก.
0805 090 086 4 082 084 2 ตก.
0808 135 086 4 082 082
0
0811 180 087 4 083 082
1 อ.
0814 225 087 4 083 081
2 อ.
0817 270 088 4 084 081
3 อ.
0820 315 088 4 084 083
4 1 อ.
Fluxgate compass หรือเข็มทิศสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า

เป็ นเข็มทิศอิเลคโทรนิคทีถ่ กู พัฒนา ในยุคต้นๆ ช่วงราวปี คริสต์ศกั ราช 1928 เพือ่ ใช้ในการค้นหาและ
ตรวจจับเรือดํานํ้า และเพือ่ ใช้ ในการวิจยั ทางฟิ สกิ ส์ในการค้นหาสนามแม่เหล็กบนพืน้ ผิวโลก และต่อมาได้ถกู
พัฒนามาใช้เป็ น เข็มทิศอิเลคโทรนิคบนเรือเดินทะเล สําหรับควบคุมระบบการถือท้ายอัตโนมัตหิ รือ auto
pilot

เข็มทิศ fluxgate compass เป็ นเข็มทิศแม่เหล็กทีถ่ กู พัฒนาขึน้ มาโดยใช้ตวั จับวัด หรือ sensor ใน
เครือ่ งตรวจวัดค่าสนามแม่เหล็กไฟฟ้ าทีเ่ รียกว่า fluxgate megtronemitor แล้วแปลงอ่านค่า เป็ นเข็ม
ทิศดิจติ อล

เข็มทิศ fluxgate compass เป็ นเครือ่ งมือทีม่ คี วามสําคัญ และทํางานแตกต่าง จากเข็มทิศแม่เหล็กทั ่วไป
แม้วา่ เข็มทิศ fluxgate compass จะถือว่าเป็ นเข็มทิศแม่เหล็กชนิดหนึ่ง ทีอ่ าจมีความคลาดเคลือ่ น
เนื่องจากค่าของสนามแม่เหล็กโลก และอํานาจของสนามแม่เหล็กบนเรือ
แต่วา่ การทํางานของ fluxgate compass นี้อาศัยหลักการของสนามแม่เหล็กไฟฟ้ า ทีส่ ร้างขึน้ จากขดลวด
ไฟฟ้ าสองขดในตัวเข็มทิศ และยังมีวงจรอิเลคโทรนิคทีใ่ ช้ปรับแต่งและแก้ไข ค่าอัตราผิดดังกล่าว ดังนัน้ อาจกล่าว
ได้วา่ เข็มทิ ศ fluxgate compass ใช้แก้ปัญหาของเข็มทิ ศ แม่เหล็กธรรมดาได้ เนื่องจากเป็ นเข็ม
ทิ ศแม่เหล็กอิ เลคโทรนิ ค การใช้งานของเข็มทิศชนิดนี้ ส่วนใหญ่กใ็ ช้ในระบบการถือท้ายอัตโนมัติ เนื่องจากเข็ม
ทิศ fluxgate จะมีคา่ ความผิดพลาดน้อย นอกจากจะใช้ในระบบการถือท้ายอัตโนมัตแิ ล้ว เข็มทิศประเภทนี้ยงั
ใช้รว่ มกับเครือ่ งมือเดินเรือ อิเลคโทรนิคอื่นๆอีก เช่น เรดาร์ หรือเครือ่ งหาทีเ่ รือ อัตโนมัติ เพือ่ แสดงตําแหน่งของ
เรือ และทิศทาง ได้อย่างถูกต้อง

ความแตกต่างระหว่างเข็มทิ ศแม่เหล็กและเข็มทิ ศอิ เล็กทรอนิ กส์ fluxgate นี้ กค็ ือ เข็มทิ ศแม่เหล็ก
จะมีเข็มชี้นําทางอยู่ตลอดเวลา แต่เข็มทิ ศอิ เล็กทรอนิ กส์นี้จะไม่มีตวั ชี้ที่ระบุทิศทาง
หลักการทํางานของเข็มทิศอิเลคโทรนิค fluxgate ก็คอื การจ่ายกระแสไฟฟ้ าให้ไหลผ่านขดลวดที่ เก็บอยู่
ภายในเข็มทิศ ทีม่ ขี ดลวดสองเส้นซึง่ ตัง้ อยูใ่ นแนวตัง้ ฉากซึง่ กันและกัน รอบๆกับวัสดุตวั นํา แม่เหล็ก เมือ่
กระแสไฟฟ้ าถูกส่งผ่านขดลวด วัสดุหลักจะทํางานเป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า และจะตรวจจับทิศทางขององค์ประกอบใน
แนวนอนของสนามแม่เหล็กของโลก ด้วยตัวจับสัญญาณ หรือตัว sensor จะเป็ นตัวบ่งบอกทิศทางทาง
ภูมศิ าสตร์ทแ่ี สดงแบบดิจทิ ลั ซึง่ หลักการทํางานนี้ จะขจัดปั ญหาทีเ่ กิดจากการแทรกแซงของอํานาจแม่เหล็ก ทีท่ าํ
ให้การชีท้ ศิ เหนือผิดไปอย่างสิน้ เชิง

ข้อดีอกี ประการหนึ่งของการติดตัง้ เข็มทิศประเภทนี้กค็ อื เราสามารถวางเข็มทิศนี้ไว้ในตําแหน่ง ใดก็ได้บนเรือ ซึง่


เข็มทิศประเภทนี้จะไม่ได้รบั ผลกระทบจากตําแหน่งการจัดวางบนเรือ ซึง่ จะวางเข็มทิศไว้ทใ่ี ดก็ได้ และทิศทางทีช่ ้ี
โดยเข็มทิศก็สามารถพึง่ พาได้อย่างสมบูรณ์
เข็มทิศ Fluxgate มีการทดลองและสามารถพิสูจน์ได้วา่ ใช้ได้ดีแม้อยูใ่ นพื้นที่ที่มีคลื่นลมแรงในทะเล แม้ เรื อทีโ่ คลง
มากๆก็ไม่ ได้ รับผลกระทบ จากการอ่ านค่ าทิศหัวเรื อแต่ อย่ างใด
 
อย่างไรก็ตามข้อเสี ยของเข็มทิศอิเล็กทรอนิกส์แบบ fluxgate นี้กค็ ือ ถ้าไม่มีการกระแสไฟฟ้า มาจ่ายให้ตวั เข็มทิศ
อุปกรณ์ของเข็มทิศนี้จะไม่ทาํ งาน สิ่ งที่สาํ คัญอื่นๆที่ควร สังเกตเกี่ยวกับเข็มทิศอิเล็กทรอนิกส์น้ ีกค็ ือ ชิ้นส่ วนที่ใช้ในเข็ม
ทิศจะต้องได้รับการดูแลและตรวจ สอบอย่างต่อเนื่อง หากมีปัญหาที่อาจเกิดกับเข็มทิศนี้ แม้แต่กบั อุปกรณ์ขนาดเล็กที่
อยูภ่ ายใน ก็อาจเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้การชี้ทิศทางของเข็มทิศผิดพลาดได้ และจะส่ งผลทําให้เกิดปัญหากับอุปกรณ์
เครื่ องช่วยการนําเรื ออื่นๆที่เกี่ยวข้องได้ อย่ างไรก็ดเี ข็มทิศ fluxgate compass นีถ้ ือว่ าเป็ น อุปกรณ์ เครื่ องช่ วยนํา
เรื อ และบอกทิศทางได้ อย่างดี และมีประโยชน์ เป็ นอย่ างยิง่

You might also like