รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 380

รายงาน

ของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร

กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการคมนาคม
สานักกรรมาธิการ 1
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
รายงาน
ของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร

กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการคมนาคม
สานักกรรมาธิการ 1
สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
£4
(g?mn)
n aw oos^d.oc^/ amwuvi'uny/i?«u tW

mj'uenjjifi'u wmm nnw. g)ogtioo


*/
nin{]iayi bdrbs:

Lia^ nEJ^TUwam^^an'sm^n'winmj^aaa^lviaua^m^yiajui^^'s^ma^mi^namal^
S M

n^iaLla'u ‘Ui^sTua/nwuyn^^Twa^ U tH

' d I 2S *=S t£i


awfkaji^aa ina^nu^a^fmj^rniij'iBrmaansjaj^ai'san^nyim^^aaa^lviaua^miyi'^jin^u'y
<« aiuaii © ^
^
V ej oycj <u <u o *_^ a> *=J

(5n3j^yRj<3^6«3jaaiwu^‘uiTW/]‘3 fecr tlvi s^ ^r\ not (a£iaai£)aj\Ji^a0iila^'aaa^)


iSaa^yiq^aa^'M s)b unnau iscTbrn -yiJ^^^ajl^^animnry^^ tla^ 6uaHafnmLyi<uiity/]i
6 Q>
^aaisfmui5m‘3Qai3jaj<waT3mi^n<wnm‘3^aaa-3lyia (Thai Canal) layi g^A (waeil yi^na^ ^yia'a^i'u
Lilwia'ua) ai^i^ ila^ ‘ual'Maaiwim'U'si'y/i^am^n^uiBrmnaTiiaj^nwm^^aaa^yia (ynaai^vis^^af mm
iiJuwLa'ua) afaii tla^ ^aHaa'iwimuny/j'a^aajsiniiyjiBrmnaiajqj'waiinjn^n'wnvnutnvn^lunii
6u^aaa^araajj^a‘3^vnl'i^yisiaa,u^n3J'un,uvi^Laamlyia (‘uiaaai‘3 uwsrmj'u uastnaaayi'us auianaiil
iil^wia'ua) ila^ 6uaHa/iiwLiyii,5iy/],5^anj^n'3^ui5m‘3aai3jaj'wai^aji^nynni‘56(j^aaa^a
lauvn^uyn g<A ('uiaaqy/]yj'3<a inaa^a^ Lia^,uiaal{]|eytuu pilnaina LiJ^wiaua) $m ila^ uaH
aaiwu,yni‘3i<w/]i^anj^n‘3ijji5n'nnai3jaj^ai^0ji^n<ynni‘a6ij^aaa-3lyia (faam“aiman aiai afan
di/ o> ^ i/ay qj c* a qj Gk <=f
LiJ'uwLaua) tim Lla^ 6yaHafnwLm,uii'W{]‘3^fmj^ni‘5iJi5m‘3nai3jai^aimjinntwnmijjwui^a3J6(ja^
yltu'nl,un'y3an^L6upim‘3yi%j<un^,u'n,3^LC)a'3Lmmhaninl^aan^^a<u (SEC) (‘uia^L6(n^| ^aifla^‘wn<u
LiJtiWLa'ua) ru^i^ tla^ ^aHaniwayi'U'aiwni^nai^ni'aiJiBniiQaiajnj^aiiannnyiayispnapif
ni<3yiajyn^<u,n<3SiL‘ua^in‘3y^hamnl?ian\4anai^Lniy^ha<35i{f,uIan (SEC) (^na-u^^ia unna^tl
»<a u \j «#j s

iiJ^wLaua) tim ila^ 6uaHa/nwLmymy{]‘3^Fiai^n,3‘aui5minai3jnj^aTam^n<ynni‘3a(?itn0iIn‘3^nT5


yi^j,unLn^,w5nal,uyIt4‘n6«na^yisiiamnl^vn^‘u0n (naa^lvia) •ni^an (‘anlvtoiiminen) uasivn^aim^
(a\Ji3j€‘un<uanai^aiL^a,u) l<uIpr5-3ni?yi^,uiLPi‘3<W5nafnf;il^ (The New Thailand Southern
Economic) (uaamna vin^vifvia L'U'uwiaua) uasrueiii tla^ ‘uaHa/nwLiyiym^i^nai^n^^ynBni'a
naiajqj'waiian^nyiniT^naa^lvia (^laa^nnaj nmafllw'ba'u i.iJ'uwLayia) uas^a^yi^^
nnj^n^i^nBm,anai£jajwna!^viwma^aiinjinnwm‘36?j^naa-3lyiau)a^m'3™yn^tj‘n<3Sit,ua^in'3y5ha
a/ a/ ^ ^ ^ ^ *j

■v^.n. locTbio ‘fa s:^ \hi ^nnjsn'aisjisminaniinjnaj^'u

maana vin^vifyja b. ‘unasaa^ iviam^siyi^^


en. uia^a^ nuyiamnjatjsi si. 'uia'inaei a^aavis
•\
s' d \ Ji

di. v^amnalyi Xm afa^jjnu b. ^natunf6«,u‘u nlnama


(WdJ
d QJ €

ct). tnai^af’UJ “uinvia^ d. na^ii y^^na^) vi^ai^'u


g<. ^ailalyi sisavis
•» uauifa^j s)o. tiia'uyiPia urnamm
GKs). ‘uiailviB nuain ©is. ■una'uayi 6?ii^^,ua
sicn. uiatiaa^n a'a'aai'uyjyi'a (SKsi. liiadi^am^a vtuunav

sxn. uiad-asiaf? a'uvii^n^via^ G)b. nalvi “aa^un


-b-

gwj. (s)Cs.

art. ,m?j,mwu maj^ia loo. ‘UlEJ'WWIiei'U LaiViVI^^'USi


f Ji cH
lo®) c*a
lolo. ■U1^LW5 eini'imel
ben. ,u'i^an^3jm^ TAi'usQ'inwna loc^. d3
aais'nu
b&. meiuvii lob. ‘uiEJfnein‘5 uuwlajna <L/

bd. unaiutfa mqnjuviayis lod. UIEJ'I'U'UEJ tllUJflJim


bd. ■uiai'uwvi^^^af jj^vii eno . uiEmmyiw piUfi^n
en®). ‘unaiyiai viihi cnlo. lilEJQfm LPl6,J^5‘3ll%J,U
enen. ■Ul^mTa'aO! fia’Ug^l'U
s
m^. ,ui!j(3ifi6y?j
1
,ui(zi?n‘
I
5id
encr. <u'ia?i^agi3j naLafiMgail cnb. <U1^J?13J‘in£J

enen). ‘uiEJeimnej fisj'Ueiuagna end.

end. ‘uia^'ojvirja'u s:o. \4n&jau<iAi'U5 u.tliimj'u


d®. uiamjwus s:io.
c^en. tnaensi?! aa(?n^na
i v
ctct. ■unafivn
s
xj^vn] ai
c^£. ■u'laemws \Jg^1an>3^^
<* <ta ««
s:b. i^'usLaluja^na
sTeni. ^laaBf? fpi-uwgm
dJS «<-3
sid. ■unEjaimn‘3 mavismni
srd. faamgQaLan agm
•\ ?\im
%j qj ay i tt/ tf* «=J
I^anivai^g^asinaT^anian^n'bnH ©bo ru ^u^Qti^niyi ©d urm^iu bctTben
n-STUfingvi ©d: viq'waifiaj berben ^'aui^mi^ngiJJiBmiafnsjajl^a'ua'iaisa^nainig^aigan^n'wi
shmu si © a°TUTU ©bo in ^LL^'UL^nf^ ©b ^qwnasj bcTben ©b n'uaia'u bc^ben
b an'UTu do tu ^uin'auaiyipiavi ©en n'uaiau besrben fkruflfvfvi ©© s^n^nj bdrben af-3^ en
a°TU7u s:^ ru ©b suiiaw bet^en ammjmvi b& ajrm^ bc^c^ aiw ct snxnu do ru
SV ' cf fl- cj o (L/
(^imTua^mivi bb unna^j bet^bs: ^a<uai^^?j^ ber ujwau b(t:b(t uaspif^vi ^ a°TUTu do iv,
^im'a'uauvif^ bb betrb^ ^^‘ULeiii^ bsr nin/]naij b£bs:
(sididi iv ^anruna^^i aansgiu l^aaiaanainw'mvi'u^ngginBfmaensjaj iSai^a^aign
©d njjfnvi'us bct:bcn I^aH5wa^LL^ilQ,ua^(2ng^ ©d najfnmis bct:ben ua^l-uaiirUisi^w
a/nwLmiigi!w/]g wvi bet: iJn © af^vi eno (eiajarfqjiJ^aiiJ^Bwaa^) ^a^q^uw bo n3ja™B bet^en
'aiJg^6aum<u‘iia'yH^^ia?n(sii inaa^a^ itJ'uniiuiBfmienajqju.vru ^'aui'unaiJgsi^viB^a vnjtna
M'uaanaanainmLLvi'ii^ngginBmgBenajqj Lwaaiiaunf^ en ^vnm b^ben I^iaHfjwa^um'ua'uyiiyi
en bctben Lia^?igiTlJl^6ljJJfiaiWLm,Ugiy{]1 bet: \]y\ b F\^V\ eno (ei3ja?n3JUJiJgsiaiiJ
af-3^vi‘U'3) L^aati^qvifiullvi bo bd:ben viiJi^Tiui'W'U'iiaijl'w^ ■unaLny^j^'u^
iii^ngiunBnigBfuajaju^'u ^'awiuiaaBgg l^aaiaanam^ni.LVi'ii^niguiBrmBenajqj
« ^ ^
maTua^^mvi ©d wqpiama'u beTben I^aHAwa^itpiatia^^m^ ©d ■wq^ama'u b^ben uas/lumn
1 i is i ^ s/ oy d -ci

■UiK'au^'iwim'uii'y/jg mv bet: iJ^ b ct: (afeisjaiiJ^aiiJai^^) tilaawsvi bet: v^qpifma'u bet^en


viiJg^ui^waaH^ u'lafigBviB Q^?iBviaTU,uvi LiJ<ungg^iBfmBfn3jqji.Lyi\4
- cn -

s «u <w

6ua<i(siujsn‘ai3Ji5rma?n3jfy(5ial'iJ

6?jaLL?(^^fniu<uuaaadi^^

(ema) mvfi vn^na^i viviai^nl

(vn^na^i vmalVm)
iJ ^ si5Tu n w ns n i ^ ?n3J qj^a 11 m ^ n w
rmso^fieia^lyiau)a^m‘3^‘uivl,u^i^L<ua^u3iiyanafn(zi4l^
S M

ciTunni^jisnii s)
na'jj^i\4<sia!^niijji5niinii?uj'uiPi^
lyiipfvjvi o bbcate &.otoo ^ia bs)S!t5i
I'Uywdltfmanniaunei : thaicanall704@gmail.com

efiminn^'U

gj.trhlrm.
(ui^^niiJlaimal Linila'u)
wa^'uiamicimlnniiuiBrm s)

•uiawrauw u'aau/'wu'VN
■Lmfmaiivijji via^^ia/p'iiia

wnavnu
si uiasi'wa
afw b tn^anStn Irjiiaa
ts ^ tf 0> e' ^ o
aiw cn ui&Ynfiwus lanuni

รายนามคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร

พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์


ประธานคณะกรรมาธิการ

นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน นายเดชอิศม์ ขาวทอง พลโท พงศกร รอดชมภู นายชยุต ภุมมะกาญจนะ


รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ
คนที่หนึ่ง คนทีส่ อง คนที่สาม คนที่สี่

นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ นายฉลอง เทอดวีระพงศ์ นายนิยม ช่างพินิจ ร้อยตารวจเอก อรุณ สวัสดี


รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ
คนที่ห้า คนที่หก คนที่เจ็ด คนที่แปด

นายนพดล แก้วสุพัฒน์ นายสุทา ประทีป ณ ถลาง นายสุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา


รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ รองประธานคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
คนที่เก้า คนที่สิบ คนที่สิบเอ็ด

นายวิทยา ยาม่วง นายประเสริฐ จันทรรวงทอง นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ นายพิเชษฐ สถิรชวาล


ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ

นายวันชัย ปริญญาศิริ นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง นายพีรเดช คาสมุทร นายสัณหพจน์ สุขศรีเมือง


ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ โฆษกคณะกรรมาธิการ

นางสาวพิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุล นายเกษมสันต์ มีทิพย์ นายชวลิต วิชยสุทธิ์ พลตารวจโท โชติ ชัยชมภู


โฆษกคณะกรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

พลเรือโท ธีระยุทธ นอบน้อม นายนัทธี ถิ่นสาคู นายบัลลังก์ อรรณนพพร นายพนิต วิกิตเศรษฐ์


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายพยม พรหมเพชร นายพรพจน์ เพ็ญพาส นางพิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะ นายภาสกร เงินเจริญกุล


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์ นายวาสุเทพ ศรีโสดา นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ นางศิริวรรณ สุคนธมาน


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายศุภชัย นาคสุวรรณ์ นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ นายสาคร เกี่ยวข้อง นายสมชาย ฝั่งชลจิตร


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ นายสัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย นายสาธิต อุ๋ยตระกูล


กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ กรรมาธิการ

นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล นายอรรถกร ศิริลัทธยากร นายสมชาย สุมนัสขจรกุล นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ


กรรมาธิการ เลขานุการคณะกรรมาธิการ ผู้ช่วยเลขานุการ ผู้ช่วยเลขานุการ
คณะกรรมาธิการ คณะกรรมาธิการ

บทสรุปผู้บริหาร
(Executive Summary)
ตามที่ที่ประชุมสภาผู้ แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 1 ครั้งที่ 19 (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่ส อง)
เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ 16 มกราคม 2563 ได้ มี ม ติ ตั้ ง คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. 2562 ข้อ 49 มีกาหนดระยะเวลาพิจารณาศึกษาไว้ 120 วัน และได้มีการขยายเวลาอีกหลายครั้ง
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อีกทั้งเป็นการพิจารณา
ศึกษาโครงการขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Project) ที่คาดว่าจะนาพาประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยืน เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ตามยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) จึงต้องพิจารณาศึกษา
อย่างรอบด้านในทุกมิติเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ครบถ้วนสมบูรณ์ที่สุด คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ จึงได้ตั้งคณะอนุ
กรรมาธิการขึ้น จานวน 3 คณะ ดังนี้ 1) คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย 2) คณะอนุ
กรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ และ 3) คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา
ศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง เพื่อพิจารณาศึกษาและจัดทาข้อสั งเกต
และข้อเสนอแนะต่อสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาต่อไป มีรายละเอียดโดยสังเขป ดังนี้
ส่วนที่ ๑ ผลการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย จากหลักฐานทางวิชาการที่ปรากฏ พบว่า
แนวคิ ด การขุ ด คลองไทย เพื่ อ เชื่ อ มทะเลอั น ดามั น กั บ ทะเลอ่ า วไทยของไทยมี ม านาน เป็ น มรดก
ทางยุ ท ธศาสตร์ ช าติที่ บ รรพบุ รุ ษ ทิ้ งไว้ ใ ห้ ลู ก หลานไทยนาไปใช้ ประโยชน์ ได้ ก ล่ า วไว้ ว่า “คลองไทย”
เป็ น ภู มิ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ดี เหมาะสมที่ จ ะเป็ น เส้ น ทางเศรษฐกิ จ ใหม่ ข องโลก โดยในการพิ จ ารณาศึ ก ษา
ของสภาผู้แทนราษฎรในครั้งนี้ พบว่า ๑) แนวคลองที่เหมาะสมที่สุด คือ แนวทางเส้น ๙A ผ่าน ๕ จังหวัด
คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัด สงขลา ซึ่งสอดคล้ อง
ต่อยอดจากผลการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ
วุฒิสภา พ.ศ. ๒๕๔๘ ๒) การขุดคลองไทยอย่างเดียว ไม่สามารถจูงใจให้เกิดการลงทุนขนาดใหญ่ได้ จาเป็น
จะต้ องพั ฒนาจั งหวั ดแนวคลองเป็ นเขตเศรษฐกิ จพิ เศษภาคใต้ เพื่ อให้ เป็ นศู นย์ กลางการค้ าการลงทุ นระดั บโลก
๓) รูปแบบลักษณะของคลอง มีการศึกษาและเสนอหลากหลายรูปแบบขึ้นอยู่กับจานวน ลักษณะพื้นที่
ที่จะพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ โดยสรุปรูปแบบคลอง มี ๒ ลักษณะ คือ รูปแบบที่ ๑ มีคลองหลั ก
คลองเดียวขนาดใหญ่ เรือเดินสมุทรสามารถเข้า – ออก ได้ในคลองเดียวกัน และรูปแบบที่ ๒ มีคลองหลัก
ขนาดใหญ่เป็นคลองคู่ขนาน 2 คลอง เรือเดินสมุทรสามารถเข้า – ออก ในคลองคนละเส้นทาง เพื่อรองรับ
เรื อที่ มี ขนาดใหญ่ ที่ สุ ดในโลกได้ เพราะมี ภู มิ ยุ ทธศาสตร์ ที่ เหมาะสมเพื่ อเป็ นศู นย์ กลางเศรษฐกิ จใหม่ ของโลก
ในพื้นที่ 5 จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จัง หวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา
โดยกาหนดให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่และใหญ่ที่สุดในประเทศไทย
ส่วนที่ 2 ผลการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ วางกรอบการพัฒนา
เพื่อเป็ น แนวทางการพัฒ นาพื้น ที่ร ะเบี ยงเศรษฐกิ จภาคใต้ เ พื่ อรองรั บเรื อที่ มีข นาดใหญ่ ที่สุ ด ในโลกได้
ในเชิงยุทธศาสตร์เพื่อให้ บรรลุตามเป้าประสงค์ ได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ๑๕ ยุทธศาสตร์

ที่ส อดรั บ กับ แผนยุ ทธศาสตร์ ช าติ พ.ศ. 2561 – 2580 ในยุทธศาสตร์ช าติด้ านที่ ๒ ด้านการสร้ า ง
ความสามารถในการแข่ ง ขั น โดยประเด็ น ที่ ไ ด้ ศึ ก ษาเป็ น การศึ ก ษายุ ท ธศาสตร์ ช าติ ใ นมิ ติ ก ารสร้ า ง
ขี ดความสามารถในการแข่ งขั นระดั บโลก โดยได้ ก าหนดยุ ทธศาสตร์ ใหม่ ในการพั ฒนาภาคใต้ ให้ เป็ นเขตเศรษฐกิจ
พิเศษขวานทอง (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) ได้แก่ ๑) ยุทธศาสตร์ความมั่นคง
ของชาติ ศาสนา และพระมหากษั ต ริ ย์ ๒) ยุ ท ธศาสตร์ ก ารออกกฎหมายพิ เ ศษรองรั บ การพั ฒ นา
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) เพือ่ มุ่งสู่ความเป็นศูนย์กลางของโลกโดยเฉพาะ ๓) ยุทธศาสตร์การ
พั ฒ นาสู่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางทางการแพทย์ แ ละดู แ ลสุ ข ภาพระดั บ โลก (Medical Hub of the World)
๔) ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) ให้เป็นศูนย์กลางด้านการค้า การเงินและ
การธนาคารของโลก (World Financial Center) ๕) ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมการต่อเรือ
และการเดินเรือขนาดใหญ่ พาณิชย์นาวีและโลจิสติกส์ระดับโลก (World Class Logistic) ๖) ยุทธศาสตร์
การให้ สิ ทธิพิเศษและสวัส ดิการที่ดีที่สุ ดส าหรับผู้ ได้รับผลกระทบ รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนและสั งคม มั่น คง มั่งคั่ง ยั่ งยื น ๗) ยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางการศึกษา วิจัยและพัฒ นา
(Academic Hub of the World) ๘) ยุทธศาสตร์ด้านการกาลังทหารและพลเรือนเพื่อรักษาผลประโยชน์
แห่งชาติ ๙) ยุทธศาสตร์การขุดคลองไทย (Thai Canal) แนว9A เชื่อมทะเลอ่าวไทยและอันดามัน จานวน
2 คลอง (ลึก 40 เมตร กว้าง 1 กิโลเมตร ห่างกัน 10 กิโลเมตร) ๑๐) ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นศูนย์กลาง
การท่องเที่ย วระดับ โลกและ Smart City ๑๑) ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ สั งคม
การเมือง และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ ๑๒) ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ (S - Curve)
เทคโนโลยีและนวัตกรรมของโลก ๑๓) ยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม
อย่างยั่งยืน ๑๔) ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์เพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ๑๕) ยุทธศาสตร์เขตการค้าเสรีและสถานบันเทิงครบวงจร (Entertainment
Center Complex) ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) จะมีกฎหมายการบริหารพื้นที่โดยเฉพาะ
รวมถึงการบริหารคลองไทย ซึ่งเป็นองค์ประกอบสาคัญของเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) ซึ่งจะ
ทาให้ประเทศไทยพัฒนาเข้าสู่การเป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและการขนส่งของโลกแห่งใหม่จะทาให้ประเทศ
ไทยมีรายได้จากเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) อย่างมหาศาล
ส่วนที่ 3 ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้ อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง
โดยทาการพิจารณาศึกษาใน ๕ ด้าน ได้แก่ ๑) ด้านผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม ที่อาจเกิดขึ้นทั้งทางบวก
และทางลบ จากการเปลี่ ย นแปลงทางด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ ทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ ง
ทรัพยากรดิน แร่ธาตุและธรณีวิทยา ๒) ด้านผลกระทบด้านสังคม จากการย้ายถิ่นของชุมชนและการเวนคืน
ที่ดินการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต อาชีพและรูปแบบการประกอบอาชีพ การไหลบ่าทางวัฒนธรรมต่างชาติ
รวมทั้งผลกระทบต่อโบราณสถาน โบราณวัตถุในบางพื้นที่ ตลอดจนความวิตกกังวลของประชาชนผู้ได้รับ
ผลกระทบ ๓) ด้านผลกระทบด้านความมั่น คง โดยพิจารณาศึ กษาผลกระทบและแนวทางการรั ก ษา
ความมั่น คงภายใน การรั กษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ความมั่นคงทางภาคพื้นดิน ภาคอากาศ
ที่ เ ปลี่ ย นแปลง ๔) ผลกระทบด้ า นการเมื อ ง เป็ น การพิ จ ารณาศึ ก ษาด้ า นการเมื อ งภายในประเทศ
และด้านการเมืองระหว่างประเทศ รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ
ตลอดจนความขั ด แย้ งระหว่ า งประเทศอื่ น ๆ ที่ อ าจมี ผ ลกระทบถึ ง ประเทศไทย และ ๕) กฎหมาย

ที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เห็นควรเสนอให้
มี ก ารตรากฎหมายเพื่ อ ให้ มี ก ารจั ด ตั้ ง องค์ ก รควบคุ ม บริ ห ารจั ด การโครงการคลองไทยอย่ า งรั ด กุ ม
ทั้งในด้านการลงทุน การก่อสร้ าง แผนการบริห ารจัดการ บารุงรักษาภายหลั งการก่ อสร้ างแล้ ว เสร็ จ
ตลอดจนการชดเชยเยียวยาประชาชนในพื้นที่อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมต่อไป อย่างไรก็ตามในการศึกษา
ครั้ ง นี้ เ ป็ น การศึ ก ษาผลกระทบในเบื้ อ งต้น เห็ น ว่ า มี ค วามจาเป็น อย่ า งยิ่ ง ที่ รัฐ บาลจะต้ อ งมี ก ารศึ กษา
อย่างจริงจังเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นกลางและเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติมากที่สุด
โดยสรุปแล้ว การศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ พบว่า การขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้จะทาให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจของภาคใต้และประเทศไทยได้ อย่างไรก็ตาม
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและประชาชนย่อมเกิดขึ้นได้ ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เห็นว่ามีความจาเป็น
อย่างยิ่งที่รัฐบาลจะต้องมีการศึกษาเชิงลึกอย่างจริงจังและเป็นกลาง เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกที่เป็นกลางและ
เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติมากที่สุด
ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
จากการประชุมรั บ ฟังความคิดเห็น การเดินทางไปศึกษาดูงานและการจัดสั มมนา ตลอดจน
การรวบรวมเอกสารข้อมูลต่าง ๆ คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร มีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ ดังนี้
1) ส านั ก งานสภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ควรด าเนิ น การของบประมาณ
เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการ (Feasibility Study) ให้ เ พี ย งพอที่ จ ะศึ ก ษาให้ ค รอบคลุ ม
ทุ ก มิ ติ ทุ ก ประเด็ น และพื้ น ที่ เพื่ อ ให้ ส ามารถด าเนิ น การศึ ก ษาความเป็ น ไปไ ด้ อ ย่ า งเต็ ม รู ป แบบ
(Full Feasibility Study) ต่อไป
๒) การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการ (Feasibility Study) จะต้ อ งศึ ก ษาให้ ค รบถ้ ว น
ทุ ก ประเด็ น ไม่ ว่ า ประเด็ น ด้ า นความมั่ น คงระดั บ โลก ความมั่ น คงภายในประเทศ แหล่ ง เงิ น ลงทุ น
ที่ควรมาจากหลายแหล่ง ทั้งจากประเทศฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และต้องทราบถึงความต้องการ
ของผู้ มาใช้บ ริ การผ่ านคลองไทยด้ว ย ตลอดจนต้องมีการศึกษาขั้นสมบูรณ์ (Full Feasibility Study)
อย่ า งละเอี ย ดถี่ ถ้ ว น เพื่ อ ให้ ล ดผลกระทบในด้ า นต่ า ง ๆ โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
และด้านความมั่น คงของประเทศ การศึกษาข้อมูล ทั้งด้านธรณีวิท ยา ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้ อม
ด้านความมั่น คงด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านสังคมและวัฒ นธรรม เปรียบเทียบความเหมาะสม
ในทุกด้านทุกมิตจิ ะสามารถลดความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
๓) รั ฐ บาลควรประกาศให้ ก ารขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ นที่ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เศษภาคใต้
เป็ น “วาระแห่ งชาติ ” ซึ่งเป็ น หนึ่ งในยุ ทธศาสตร์ช าติที่จะต้องดาเนินการให้ แล้ ว เสร็จภายในกาหนด
ระยะเวลา
๔) ควรมี การจั ดตั้ งคณะกรรมการนโยบายและการขั บเคลื่ อนการขุ ดคลองไทยและการพั ฒนา
พื้ น ที่ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคใต้ โดยมี น ายกรั ฐ มนตรี เป็ น ประธา น และรองนายกรั ฐ มนตรี
ที่ได้รั บ มอบหมาย เป็ น รองประธาน ตลอดจนรัฐ มนตรีทุกกระทรวง เป็นกรรมการ และมี ส านักงาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ

๕) รั ฐ บาลควรจั ด สรรงบประมาณหรื อ หาแหล่ ง ทุ น เพื่ อ การศึ ก ษาเชิ ง ลึ ก ในการด าเนิ น งาน


ในทุ กมิ ติ ทั้ งภาพรวมและเชิ งพื้ นที่ ควบคู่ ไปกั บการขั บเคลื่ อนในมิ ติ ทางด้ านสั งคมและด้ านอื่ น ๆ อี กด้ วย
อย่างไรก็ตาม การที่จะพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
หลักการพิจารณา คือ การคานึงถึง “ผลประโยชน์ของชาติ ” (National Interest) เป็นเป้าหมายสูงสุด
การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น (Pre - Feasibility Study) ทั้งด้านธรณีวิทยา ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้า นกฎหมายฯ และทาการศึกษาเปรียบเทียบความเหมาะสมในทุกด้าน
ทุ ก มิ ติ จะสามารถลดความเสี่ ย ง และลดผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได้ อย่ า งไรก็ ต ามที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด
คือ “มติมหาชน” ที่จะต้องสร้างการรับรู้อย่างรอบด้าน สร้างการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและประชา
พิจารณ์
๖) ควรปรั บ รู ป แบบในการด าเนิน การโดยก าหนดให้ มีห น่ว ยงาน ที่รับผิ ดชอบโดยตรงก่ อ น
เช่ น กรมเจ้ า ท่ า หรื อ ส านั ก งานนโยบายและแผนการขนส่ ง และจราจรเป็ น หน่ ว ยงานที่ ศึ ก ษา
ความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อเสนอต่อรัฐบาล และให้สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ เป็นหน่วยงานกลั่นกรองก่อนที่รัฐบาลจะพิจารณาอนุมัติโครงการก่อสร้างต่อไป
๗) การขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้น ที่ร ะเบี ยงเศรษฐกิ จภาคใต้ ถื อว่า เป็น การดาเนิ น งาน
โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Project) จะต้องดาเนินการด้วยกฎหมายพิเศษที่มีลักษณะ
แนวทางเดีย วกับ พระราชบั ญญัติเขตพัฒ นาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ (Eastern Economic
Corridor Act : EEC Act) ดังนั้น จึงควรตั้งองค์กรลั กษณะเดียวกับเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวัน ออก
(Eastern Economic Corridor) โดยตราเป็นพระราชบัญญัติขึ้นมาโดยเฉพาะเพื่อดาเนินการ หากนา
หน่วยงานขนาดเล็กมาดาเนินการย่อมไม่มีทางสาเร็จเพราะโครงการดังกล่าวเป็นการเชื่อมโยงการพัฒนา
ประเทศในทุกมิติทั้งด้านการท่องเที่ยว การเกษตรกรรม การขนส่งสินค้าและถือเป็นการสร้างศักยภาพ
ในการแข่งขันกับนานาชาติ นอกจากนี้จะต้องมีการศึกษาให้รอบด้านอย่างแท้จริง และกาหนดขอบเขต
การศึกษาอย่างชัดเจน
๘) ควรน าบทเรี ย นเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอิ ส กั น ดาร์ ประเทศมาเลเซี ย มาเป็ น แนวทาง
ในการศึ กษาด้ านการบริ หารจั ดการเขตเศรษฐกิ จพิ เศษ เพราะเขตเศรษฐกิ จพิ เศษอิ สกั นดาร์ ประเทศมาเลเซี ย
เป็ น ประเทศในเอเชี ย ที่ ป ระสบความส าเร็ จ ในการจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษมาเป็ น กรอบแนวทาง
ในการศึกษาความเป็นไปได้ ( Feasibility Study) และการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษใน 5 จังหวัด ได้แก่
จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และจั ง หวั ด สงขลา ภายใต้ ชื่ อ
“เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ ” (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ)
เพื่อเป็นการขับเคลื่อนและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทยในภาคใต้ นอกจากนี้ควรนาบทเรียน
การบริหารท่าเรือ PSA (Port of Singapore Authority) ที่ได้รับการยกย่องว่าบริหารงานดีที่สุดแห่งหนึ่ง
ในโลก โดยเฉพาะความทันสมัยในด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นบทเรียนในการศึกษาการบริหารท่าเรือ
ด้วยเช่นกัน
๙) หากมี โ ครงการขุ ด คลองไทยส่ ง ผลดี ส าหรั บ การรั ก ษาความมั่ น คงทางทะเล เนื่ อ งจาก
สามารถสนั บสนุ นและส่ งเสริ มให้ ก าลั งทางเรื อสามารถเคลื่ อนย้ ายไปมาระหว่ างกั นได้ สะดวกหากถู กปิ ดล้ อม
และหากเกิดภัยพิบัติฝั่งใดฝั่งหนึ่ง กาลังทางเรืออีกฝั่งสามารถเข้าช่วยเหลือและสนับสนุนการรบได้รวดเร็ว
ยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามในบริบทด้านความมั่นคงเพื่อรองรับโครงการขุดคลองไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ควรมีการศึกษาและดาเนินการ ดังนี้

(๑) กองบั ญ ชาการกองทั พ ไทย ศึ ก ษาการอ านวยการยุ ท ธร่ ว ม/ผสมระหว่ า งเหล่ า ทั พ


และกองทัพต่างประเทศในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๒) กองทั พ บก ศึ ก ษาผลกระทบและแนวทางการรั ก ษาความมั่ น คงทางภาคพื้ น ดิ น
ที่เปลี่ยนแปลง และการจัดโครงสร้างกองกาลังทางบกที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๓) กองทัพเรือ ศึกษาผลกระทบและแนวการรักษาความมั่ นคงทางทะเลในพื้นที่รับผิดชอบ
และเส้นทางการคมนาคมทางทะเลที่เกี่ยวเนื่องกับคลองไทย รวมทั้งการจัดโครงสร้างกองกาลังทางเรือ
ที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๔) กองทั พ อากาศ ศึ ก ษาผลกระทบและแนวทางการรั ก ษาความมั่ น คงในห้ ว งอากาศ
และอวกาศและการจัดโครงสร้างกาลังทางอากาศที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๕) ส านั ก งานต ารวจแห่ ง ชาติ ศึ ก ษาผลกระทบและแนวทางในการรั ก ษากฎหมาย
และการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่การขุดคลองไทย และการจัดโครงสร้างกาลังที่บังคับใช้กฎหมายหากเกิด
โครงการขุดคลองไทย
(๖) ศูนย์อานวยการบริหารจังหวัดชายแดนภาคใต้ ศึกษาผลกระทบด้านความมั่นคงที่เกี่ยวกับ
สภาพสั ง คม เศรษฐกิ จ วั ฒ นธรรมหากมี โ ครงการขุ ด คลองไทย ตลอดจนแนวทางการมี ส่ ว นร่ ว ม
ของประชาชนในพื้นที่
๑๐) ด้ า นการเมื อ งภายในประเทศ หากมี ก ารด าเนิ น โครงการคลองไทยจะเป็ น การกระตุ้ น
เศรษฐกิจ ส่งเสริมให้เกิดอาชีพใหม่และการจ้างงาน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับคนในพื้นที่และกระจายรายได้
ทั่วประเทศ ลดความเหลื่อมล้ า ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศเข้มแข็งขึ้ น อย่างไรก็ตามการดาเนิน
โครงการขุดคลองไทยอาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สภาพเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งอาจส่งผลให้องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับภาระและแก้ปั ญหาต่าง ๆ ดังนั้น จึงสมควรให้มีกฎหมายการปกครองท้องถิ่น
รูปแบบพิเศษเพื่อให้ท้องถิ่นสามารถจัดเก็บภาษีและบริหารรายได้และสามารถจัดการกับผลกระทบด้านต่าง ๆ
ข้างต้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงเสนอให้กระทรวงมหาดไทยทาการศึกษาการปกครองทั้งส่วนภูมิภาค
และส่ วนท้องถิ่นเกี่ยวกับการบริ ห ารจั ดการในรูปแบบพิเศษ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่ อเป็ นแนวทาง
ในการรองรับหากเกิดโครงการคลองไทย
อย่างไรก็ตามหลักการพิจารณา คือ การคานึงถึง “ผลประโยชน์ของชาติ ” (National Interest)
เป็นเป้าหมายสูงสุด การศึกษาข้อมูลเบื้องต้น (Pre - Feasibility Study) ทั้งด้านธรณีวิทยา ด้านวิศวกรรม
ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ า นความมั่ น คง ด้ า นเศรษฐกิ จ ด้ า นกฎหมายและท าการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ
ความเหมาะสมในทุกด้าน ทุกมิติ อย่างละเอียด รอบคอบ จะสามารถลดความเสี่ยง และลดผลกระทบที่อาจ
เกิ ด ขึ้ น ได้ ที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ “มติ ม หาชน” ที่ จ ะต้ อ งได้ รั บ รู้ ข้ อ มู ล เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอย่ า งรอบด้ า น
และคานึงถึงผลประโยชน์ของคนไทย และสร้างการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของประชาชนในพื้นที่ ๕
จั ง หวั ด คื อ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช และจั ง หวั ด สงขลา
และประชาชนทั้งประเทศเพื่อให้ความเห็นชอบในการดาเนินขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้ ถ้ามีการศึกษาแล้วเห็นว่ามีประโยชน์ต่อประเทศอย่างแท้จริง

กิตติกรรมประกาศ

คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้ ขอขอบคุณกรรมาธิการและที่ปรึกษาทุกท่านที่ได้มีส่วนร่วมในพิจารณาศึกษาประเด็นต่าง ๆ เชิงลึก
อย่างละเอียดเกี่ยวกับ การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ซึ่งได้ศึกษาข้อมูล
เอกสารวิชาการ แนวคิดทฤษฎี และการรับฟังความคิดเห็ นของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้ อง ตลอดจน
ได้ เ ดิ น ทางไปศึ ก ษาดู ง านในพื้ น ที่ จ ริ ง และสั ม มนาเพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของ หั ว หน้ า ส่ ว นราชการ
และประชาชนในจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา
ขอขอบคุณคณะอนุกรรมาธิการและที่ปรึกษาทุกท่าน ทั้ง ๓ คณะ ได้แก่ ๑) คณะอนุกรรมาธิการ
พิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ๒) คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้ นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้ และ ๓) คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารพิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม ความมั่ น คง
และการเมืองที่ได้ศึกษาข้อมูลที่เป็นประโยชน์เชิงลึกตามที่ได้รับมอบหมายจากคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ซึ่ ง ท าให้ ส ามารถน าผลการศึ ก ษาของคณะอนุ ก รรมาธิ ก ารทั้ ง ๓ คณะ มาเป็ น ข้ อ มู ล ในการพิ จ ารณา
และจัดทารายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ จนสาเร็จลุล่วง
ขอขอบคุณผู้แทนจากกระทรวงต่าง ๆ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ที่มาให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อ
การพิ จ ารณาของคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ฯ และผู้ ที่ ม าให้ ข้ อ มู ล เพื่ อ ประกอบการพิ จ ารณาของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ขอขอบคุณคณะทางานในการจัดทารายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ทุกท่านที่ได้ระดมสมอง ศึกษา
ทบทวน วิเคราะห์ ตลอดจนสรุปและรวมรวมรายงานจนสาเร็จสมบูรณ์
ทั้ ง นี้ รายงานฉบั บ นี้ จ ะเสร็ จ สมบู ร ณ์ ไ ม่ ไ ด้ เ ลยถ้ า ไม่ ไ ด้ รั บ การอ านวยความสะดวก
จากฝ่ายเลขานุการ (กลุ่มงานคณะกรรมาธิการการคมนาคม) ในการประชุมพิจารณา ศึกษาดูงาน สัมมนา
และจัดทารูปเล่มรายงานจนเสร็จสมบูรณ์เพื่อเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎร
ดั ง นั้ น จึ ง ขอขอบคุ ณ ทุ ก ๆ ท่ า นเป็ น อย่ า งยิ่ ง ที่ มี ส่ ว นร่ ว มในการพิ จ ารณาศึ ก ษา วิ เ คราะห์
และจัดทารายงานฉบับนี้ จนเสร็จสมบูรณ์ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าจะได้ รับความร่วมมือจากทุกท่านเป็น
อย่างดีในโอกาสต่อไป

สารบัญ

หน้า
รายนามคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ก
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร
บทสรุปผู้บริหาร (Executive Summary) จ
กิตติกรรมประกาศ ญ
คานา ฎ
สารบัญ ฏ
สารบัญภาพ ณ
สารบัญตาราง ด
รายงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ต
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร
๑. คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติเลือกตั้ง ต
๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติตั้งที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวิสามัญ ถ
๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้มีมติแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการในคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ท
๔. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็นต่อที่ประชุม ท
๕. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ น
๖. ผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ ป
บทที่ ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา ๔
๑.๓ ขอบเขตการศึกษา ๔
๑.๔ ขั้นตอนการศึกษา ๔
๑.๕ วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการสอบถามความคิดเห็น ๕
๑.๖ ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ๖
๑.๗ นิยามศัพท์เฉพาะ ๖
๑.๘ กรอบแนวคิดในการศึกษา 11
บทที่ ๒ การทบทวนข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 12
๒.๑ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง 12
๒.1.1 ทฤษฎีเชิงระบบ (Systems Theory) 12
๒.1.๒ ทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์ ๑6
๒.1.2.๑ ทฤษฎีใจโลก หรือดินแดนหัวใจ (Heartland Theory) ๑8
๒.1.2.๒ ทฤษฎีขอบโลก (Rimland Theory) 20
๒.1.2.๓ ทฤษฎีอานาจทางทะเล หรือทฤษฎีสมุททานุภาพ 21
๒.1.3 ทฤษฎีเกม (Game Theory) ๒6
๒.๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 28

สารบัญ (ต่อ)

หน้า
บทที่ ๓ ผลการพิจารณาศึกษา 36
๓.1 ผลการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ๓7
๓.๑.๑ สรุปผลการพิจารณาศึกษาความเป็นไปได้ในการดาเนินการขุด ๓7
คลองไทยเพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
๓.๑.๒ สรุปผลการพิจารณาศึกษาความคุ้มค่าในการขุดคลองไทย 40
เพื่อเป็นศูนย์กลางของพานิชย์นาวีโลก
๓.๑.๓ สรุปผลการพิจารณาศึกษาการดาเนินการขุดคลองไทย 45
เพื่อเป็นศูนย์กลางค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวระดับโลก
๓.๑.๔ สรุปผลการพิจารณาศึกษารูปแบบคลองไทย 46
๓.๑.๔.๑ ผลการศึกษาของชมรมอาสาสมัครเพื่อให้ความช่วยเหลือ 46
ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ประชาชน ในสมาคม
วิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์ (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๓๒)
๓.๑.๔.๒ ผลการศึกษาของคณะกรรมการวิสามัญเพื่อศึกษาความ 47
เป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิสภา (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๔๘)
๓.๑.๔.๓ ผลการศึกษาของสมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษา 49
และพัฒนาร่วมกับบริษัทGrand Dragon International Holdings
Co., Ltd. (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๕๘)
๓.๑.๔.๔ ผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการ 50
ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศในคณะกรรมาธิการ
ความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดนไทย ยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูป
ประเทศ สภาผู้แทนราษฎร (ศึกษาใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)
๓.๑.๔.๕ ผลการศึกษาการขุดคลองไทยของบริษัท 54
BATA ENGINEERING KANCHANABURI COMPANY LIMITED
(ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
๓.๑.๔.๖ ผลการศึกษากลุ่มบริษัทในเครือ เบสท์ กรุ๊ป 57
ในนามบริษัท สุวรรณภูมซิ ิตี้ จากัด (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
๓.๑.๔.๗ ผลการศึกษาของบริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด 60
(ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
๓.๑.๔.๘ ผลการศึกษาของสภาวิศวกร (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓) 66
๓.๑.๔.๙ ผลการศึกษาของกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย 68
(ศึกษาในปีพ.ศ. ๒๕๖๓)

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
๓.๑.๕ ผลการสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 70
ต่อการดาเนินการขุดคลองไทยทั้งในส่วนของประชาชน
ภาครัฐและเอกชน
๓.๑.๖ ข้อเสนอแนะและข้อสังเกต 70
3.2 ผลการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ 73
๓.๒.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา 74
๓.๒.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 75
๓.๒.๓ ทฤษฎี แนวคิด และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 7๖
๓.๒.๓.๑ ยุทธศาสตร์ชาติ 7๖
๓.๒.๓.๒ แผนแม่บทตามยุทธศาสตร์ชาติ 77
ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๓.๒.๓.๓ ความเป็นมาทางภูมิยุทธศาสตร์ในการแข่งขัน 78
ของคลองไทยในระดับโลก
๓.๒.๓.๔ ลักษณะทางกายภาพของคลองไทย 78
๓.๒.๔ การศึกษา และทบทวนเอกสารทางวิชาการ และงานวิจยั ที่เกี่ยวข้อง 80
๓.๒.๔.๑ เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเซินเจิ้น ประเทศจีน 80
๓.๒.๔.๒ การบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ 81
สหพันธรัฐมาเลเซีย
๓.๒.๕ ขอบเขตของการศึกษา 82
๓.๒.๖ วิธีการศึกษา 82
๓.๒.๗ ประเด็นสาระสาคัญจากการศึกษา 82
๓.๒.๘ ผลการพิจารณาศึกษา 99
๓.๒.๙ บทสรุป ข้อเสนอแนะและข้อสังเกต 101
๓.๒.๙.๑ บทสรุปรายงานการศึกษา 101
๓.๒.๙.๒ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ 103
ภาคใต้
๓.๒.๙.๓ ข้อสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้104
๓.๓ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบการขุดคลองไทยและพัฒนาระเบียง 105
เศรษฐกิจทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง
๓.๓.๑ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 105
๓.๓.๒ ผลกระทบด้านสังคม 106
๓.๓.๓ ผลกระทบด้านความมั่นคง 107
3.3.4 ผลกระทบด้านการเมือง 108
๓.๓.๕ กฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาขุดคลองไทย 109
และพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้

สารบัญ (ต่อ)
หน้า
๓.๔ ผลการสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ 109
ต่อการดาเนินการขุดคลองไทย และพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ทั้งในส่วนของประชาชน ภาครัฐ และเอกชน
บทที่ ๔ ผลการวิเคราะห์และอภิปรายผลการศึกษา 113
๔.๑ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผลการศึกษาการขุดคลองไทย 11๕
๔.๑.๑ คลองไทยตามแนวของคณะอนุกรรมาธิการการขุดคลองไทย 11๕
๔.๑.2 คลองไทยตามแนวของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา 11๗
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๔.๒ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผลการศึกษาการพัฒนาพื้นที่ 1๑๙
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๔.๓ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผลการศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม 1๙๒
สังคม ความมั่นคงและการเมือง
บทที่ ๕ สรุปผลการศึกษา และข้อเสนอแนะ 203
5.1 สรุปผลการศึกษา 203
๕.๑.๑ สรุปผลการศึกษาการขุดคลองไทย 203
๕.๑.๒ สรุปผลการศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ 204
๕.๑.๓ สรุปผลการศึกษาผลกระทบการขุดคลองไทย 206
และพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม
ความมั่นคง และการเมือง
5.2 ข้อเสนอแนะ 209
๗. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญ 212
บรรณานุกรม 215
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก ประกาศและคาสั่งต่าง ๆ
ภาคผนวก ข ภาพการประชุมพิจารณา สรุปผลการเดินทางไปจัดสัมมนารับฟังความ
คิดเห็น และการเดินทางไปศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ภาคผนวก ค ทบทวนข้อมูล และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภาคผนวก ง รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
ภาคผนวก จ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้
ภาคผนวก ฉ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง

สารบัญภาพ

หน้า
ภาพที่ ๑ รูปแบบการวิเคราะห์ตามแนวคิดเชิงระบบของการบริหารโดยทั่วไปสมัยใหม่ ๑6
(Systems Format)
ภาพที่ ๒ Location of the Pivot Zone or Heart - Land in Mackinder’s Theory (1904) ๑9
ภาพที่ ๓ ทฤษฎีเกม (Game Theory) ๒6
ภาพที่ ๔ จาลองออกแบบรูปแบบ ๒ คลองที่มีความกว้าง และระดับความลึกต่างระดับกัน 47
ภาพที่ ๕ เส้นทางการขุดคลองไทย เส้นทางแนว ๙A 48
ภาพที่ ๖ เส้นทางการขุดคลองไทย แนว ๙A 50
ภาพที่ ๗ ภาพจาลองแนวการขุดคลองไทย และพื้นที่พัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ 53
ภาพที่ ๘ แผนผังของคลองไทยตามแนวคิดของอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติ 53
และการปฏิรูปประเทศ
ภาพที่ ๙ แนวคิด และลักษณะคลองไทย 56
ภาพที่ 10 แนวคิด และลักษณะคลองไทย 56
ภาพที่ 11 ผังรูปแบบคลอง และการพัฒนาพื้นที่ในเขตการขุดคลองไทยของบริษัท 60
สุวรรณภูมิซิตี้ จากัด
ภาพที่ 12 แผนในการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ และคลองไทย 65
ภายใต้แนวคิดของโครงการ “THE WORLD’S CAPITAL”
ภาพที่ 13 การจัดโซนนิ่งในการพัฒนาพื้นที่ในเขตการขุดคลองไทย 65
ภาพที่ 14 ภาพแนวคลองจากการสารวจของสภาวิศวกร พร้อมภาพแสดงจุดที่สารวจ 67
ภาพที่ ๑๕ แสดงข้อมูลพื้นฐานการขุดคลองตามแนว ๙A และพื้นที่ความกว้างคลองและจุดสูงสุด 68
จากโปรแกรมและฐานข้อมูลแสดงผลของกรมแผนที่ทหาร
ภาพที่ ๑๖ แสดงข้อมูลพื้นฐานการขุดคลองตามแนว ๙A และพื้นที่ความกว้างคลองและจุดสูงสุด 69
จากโปรแกรมและฐานข้อมูลแสดงผลของกรมแผนที่ทหาร
ภาพที่ ๑๗ กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสีน้าเงิน 91
ภาพที่ ๑๘ เศรษฐกิจสีน้าเงิน 92
ภาพที่ 19 รูปแบบแนวคิดในการออกแบบโครงการคลองไทย เส้น ๙A 99

สารบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ ๑ GASEZ Zoning / การพิจารณาศึกษาการจัดระเบียบกาหนดโครงสร้าง 84
การพัฒนาพื้นที่ GASEZ
ตารางที่ ๒ การวิเคราะห์ปัจจัยที่ทาให้ “สิงคโปร์” น่าลงทุนทาธุรกิจมากที่สุด 88

รายงาน
ของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร

ตามที่ที่ประชุ มสภาผู้ แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่ ส อง)


เมื่อวันพฤหัส บดีที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓ ที่ประชุมสภาผู้ แทนราษฎรได้มีมติตั้งคณะกรรมาธิการวิ ส ามัญ
พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ เพื่ อ พิ จ ารณาศึ ก ษา
การขุดคลองไทย และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๙ โดยได้กาหนดระยะเวลาพิจารณาศึกษาไว้ ๑๒๐ วัน และได้มีการขอขยายระยะเวลา
ในการศึกษาจานวน ๕ ครั้ง จนถึงวันที่ ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๔ รวมระยะเวลาในการศึกษา ๕๕๕ วัน เพื่อให้
การพิจารณาศึกษาได้ข้อมูลที่ครบถ้วนทุกประเด็นนั้น
บัดนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ดาเนินการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ซึ่งปรากฏผลดังนี้
๑. คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติเลือกตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้ดาเนินการเพื่อเลื อกตั้งตาแหน่งต่าง ๆ ในคณะกรรมาธิการวิสามั ญฯ
ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสอง แล้วมีมติดังนี้
(๑) พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์ เป็นประธานคณะกรรมาธิการ
(๒) นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง
(๓) นายเดชอิศม์ ขาวทอง เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สอง
(๔) พลโท พงศกร รอดชมภู เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สาม
(๕) นายชยุต ภุมมะกาญจนะ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
(๖) นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่ห้า
(๗) นายฉลอง เทอดวีระพงศ์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หก
(๘) นายนิยม ช่างพินิจ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่เจ็ด
(๙) ร้อยตารวจเอก อรุณ สวัสดี เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่แปด
(๑๐) นายนพดล แก้วสุพัฒน์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่เก้า
(๑๑) นายสุทา ประทีป ณ ถลาง เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สิบ
(๑๒) นายสุรสิทธิ์ วงศ์วิทยานันท์ เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สิบเอ็ด
(๑๓) นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๔) นายวิทยา ยาม่วง เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๕) นายประเสริฐ จันทรรวงทอง เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๖) นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๗) นายพิเชษฐ สถิรชวาล เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๘) นายวันชัย ปริญญาศิริ เป็นที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการ
(๑๙) นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๐) นายพีรเดช คาสมุทร เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ

(๒๑) นายสัณหพจน์ สุขศรีเมือง เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ


(๒๒) นางสาวพิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุล เป็นโฆษกคณะกรรมาธิการ
(๒๓) นายอรรถกร ศิริลัทธยากร เป็นเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๒๔) นายสมชาย สุมนัสขจรกุล เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
(๒๕) นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ เป็นผู้ช่วยเลขานุการคณะกรรมาธิการ
อนึ่ง ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ได้มีมติตั้งกรรมาธิการแทนตาแหน่งที่ว่างลง จานวน ๓ คน ดังนี้
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่สอง)
วั น พฤหั ส บดี ที่ ๒๐ กุ ม ภ าพั น ธ์ ๒๕๖๓ ได้ มี ม ติ ตั้ ง นายสาคร เกี่ ย ว ข้ อ งเป็ น กรรมาธิ ก าร
ในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
แทนนายพิสิฐ ลี้อาธรรม ที่ได้ขอลาออก
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๒ ครั้งที่ ๓๐ (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่หนึ่ง)
วั น พฤหั ส บดี ที่ ๒๐ สิ ง หาคม ๒๕๖๓ ได้ มี ม ติ ตั้ ง นายเกษมสั น ต์ มี ทิ พ ย์ เป็ น กรรมาธิ ก าร
ในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบี ยงเศรษฐกิจภาคใต้
แทนนายประสิทธิ์ชัย หนูนวล ที่ได้ขอลาออก
ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ 25 ปีที่ 2 ครั้งที่ 5 (สมัยสามัญประจาปีครั้งที่ส อง)
วั น พุ ธ ที่ ๒๕ พฤศจิ ก ายน ๒๕๖๓ ได้ ม ติ ตั้ ง นายสุ ร สิ ท ธิ์ วงศ์ วิ ท ยานั น ท์ เป็ น กรรมาธิ ก าร
ในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
แทนนายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ ที่ได้ขอลาออก
อนึ่ง ที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบี ยงเศรษฐกิ จภาคใต้ เมื่ อวั นพฤหั สบดี ที่ ๑๘ พฤศจิ กายน ๒๕๖๓ ได้ มี มติ เลื อกตั้ ง พลตรี ทรงกลด ทิ พย์ รั ตน์
เป็นประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ (นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ ได้ขอลาออกจากการเป็นกรรมาธิ การ
โดยมี ผ ลตั้ ง แต่ วั น ที่ ๑๗ พฤศจิ ก ายน ๒๕๖๓) และได้ มี ม ติ เ ลื อ กตั้ ง นายชยุ ต ภุ ม มะกาญจนะ
เป็นรองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่
๒. คณะกรรมาธิการวิสามัญได้มีมติตั้งที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวิสามัญ คือ
(๑) หม่อมหลวงปรียพรรณ ศรีธวัช
(๒) นายยงยศ แก้วเขียว
(๓) นายณรงค์ ขุ้มทอง
(๔) นายปัญญา ชูพานิช
(๕) นายเอนก มีมงคล
(๖) นายสุรรัฐ เนียมกลาง
(๗) นางภัทธมน เพ็งส้ม
(๘) นายธนิต คิวพัฒนกิจ
(๙) พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร
(๑๐) นายมงคลกิตติ์ สุขสินธารานนท์
(๑๑) นายบุญเกียรติ ทิพย์รัตน์
(๑๒) นายกฤต ธนิตสราพงศ์
(๑๓) นายณัฐชา บุญไชยอินสวัสดิ์

(๑๔) นายรุ่งโรจน์ รุ่งณรงค์รักษ์


(๑๕) พลตรี อมรเดช พิชิตรณภูมิ
(๑๖) นางสาวธัญพิชชา ตรีวิชาพรรณ
(๑๗) นายเทพสิทฐิ์ ประวาหะนาวิน
(๑๘) นายเจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์
(๑๙) นางสาวพิมพ์กาญจน์ กีรติวิราปกรณ์
(๒๐) นายสามารถ เจนชัยจิตรวนิช
(๒๑) นายวิศิษฎ์ ลิมป์ธีระกุล
(๒๒) นางสาวชณิฌา ล้อสีทอง
๓. คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้มีมติแต่งตั้งนางสาววารุณี แก้วสอาด ผู้บังคับบัญชากลุ่มงาน
คณะกรรมาธิ ก ารการคมนาคม ส านั ก กรรมาธิ ก าร ๑ ส านั ก งานเลขาธิ ก ารสภาผู้ แ ทนราษฎร
ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก ารในคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ฯ ตามข้ อ บั ง คั บ การประชุ ม สภา
ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสี่
อนึ่ง สานักงานเลขาธิ การสภาผู้แทนราษฎร ได้มีค าสั่งเรื่ องย้า ยและแต่งตั้งข้า ราชการ
รัฐสภาสามัญ ให้นางสาววารุณี แก้วสอาด ไปดารงตาแหน่งผู้อานวยการสานักการพิมพ์ และในคราว
ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ครั้งที่ ๖ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมเห็นชอบให้
แต่ ง ตั้ ง นางสาวจั น ทิ ม า ทองชาติ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ชากลุ่ ม งานคณะกรรมาธิ ก ารการคมนาคม
ส านั ก กรรมาธิ ก าร ๑ ส านั ก งานเลขาธิ ก ารสภาผู้ แ ทนราษฎร ปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ เ ป็ น ผู้ ช่ ว ยเลขานุ ก าร
ในคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๙๓ วรรคสี่ แทน
๔. ผู้ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญได้เชิญมาชี้แจงแสดงความคิดเห็น คือ
๔.1 สมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษาและพัฒนา
(๑) พลเอก ประดิษฐ์ บุญเกิด เลขาธิการสมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษาและพัฒนา
(๒) พลเอก ธวัชชัย สมุทรสาคร อุปนายกสมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษาและพัฒนา
(๓) นายวีรวัฒน์ แก้วนพ วิศวกรคลองไทย
(๔) นายจิมมี่ ชวาลา นักธุรกิจ
(๕) พลตารวจเอก สุนทร ซ้ายขวัญ นายกสมาคมชาวปักษ์ใต้
(๖) พลเรือเอก ศุภกร บูรณดิลก ที่ปรึกษาสมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษาและพัฒนา
(7) นายยงยศ แก้วเขียว นายกสมาคมกานันผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย
(๘) นายอรุณ เขียวคง นักเดินเรือ
(๙) นายณรงค์ ขุ้มทอง ประธานศูนย์อานวยการประสานงานฯ
๔.๒ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(๑) นายสุรรัฐ เนียมกลาง ผู้อานวยการกองยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์
(๒) นางสาวศศิชา หัวเขา นักวิเคราะห์นโยบายและแผนงานปฏิบัติการ
๔.๓ สานักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร
นางสาวกฤติกา บูรณะดิษ นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชานาญการพิเศษ

๔.4 กระทรวงการต่างประเทศ
(๑) นายปิยภักดิ์ ศรีเจริญ รองอธิบดีกรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
(๒) นางสาวพินทุ์สุดา ชัยนาม รองอธิบดีกรมเอเชียตะวันออก
(๓) นายกิรัณ มุ่งถิ่น นักการทูตชานาญการพิเศษ
(๔) นางสาวจีระพร จีระนันทกิจ นักการทูตชานาญการ
(๕) นางสาวดลลดา ทองสุข นักการทูตชานาญการ
(๖) นางสาวอรวรา ตริตระการ นักการทูตปฏิบัติการ
(๗) นายศุภชัย ธีระมังคลานนท์ นักการทูตปฏิบัติการ
๔.๕ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
(๑) ว่าที่ร้อยตารวจตรี อาพัทธ์ สุขะนันท์ รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
(๒) นายจักรพันธ์ จันทรเจริญ ผู้อานวยการสานักกฎหมาย
(๓) นางสุวิสา อินทแพทย์ ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานงบประมาณ
สานักการคลัง และงบประมาณ
(๔) นางรัชฎาภรณ์ อันสมศรี ผู้บังคับบัญชากลุ่มงานการเงิน
สานักการคลัง และงบประมาณ
๔.๖ กระทรวงกลาโหม
(๑) พลเรือโท ไชยวุฒิ นาวิกาญจนะ เจ้ากรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ
(๒) นาวาเอก ยงยศ ปราโมทร ผู้อานวยการฯ กรมอุทกศาสตร์
(๓) นาวาเอก พันธุ์นาถ นาคบุปผา นายทหารปฏิบัติการ ประจากองทัพเรือ
๔.๗ กรมการท่องเที่ยว กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
นายมนต์ชัย ภูสีเขียว หัวหน้ากลุ่มส่งเสริม และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
๔.๘ กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
(๑) นางเพราลัย นุชหมอน ผู้เชี่ยวชาญด้านการประมงทะเล
(๒) นายกมล ผิวเหมาะ เจ้าพนักงานประมงอาวุโส
(มาแทนประมงจังหวัดปัตตานี).
(๓) นายสุไลมาน ดาราโอะ ประธานชมรมประมงพื้นบ้าน ตาบลปะนาเระ
อาเภอปะนาเระ จังหวัดปัตตานี
๔.๙ กรมทรัพยากรธรณี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(๑) นางสุรีย์ ธีระรังสิกุล ผู้อานวยการคุ้มครองซากดึกดาบรรพ์
(๒) นางสุภาภรณ์ วรกนก นักธรณีวิทยาชานาญการพิเศษ
(๓) นางสาวศิรต พระสงฆ์ นักวิเคราะห์ชานาญการ
๔.๑๐ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่าและพันธุ์พืช กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(๑) นายสมหวัง เรืองนิวัฒน์ดิศัย รองอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติฯ
(๒) นายวิโรจน์ รัตนพรเจริญ ผู้อานวยการส่วนอานวยการ
สานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช
(๓) ร้อยตรี ไชยพร ชารีแสน นักวิทยาศาสตร์ชานาญการพิเศษ
สานักอนุรักษ์สัตว์ป่า

(๔) นายชลธร ชานาญคิด ผู้อานวยการส่วนวิจัยฯ สานักอุทยานแห่งชาติ


๔.๑๑ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
นายสมนึก จันทวงศ์ ประธานสภาอุตสาหกรรมจังหวัดกระบี่
๔.๑๒ สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย
(๑) นายภูมินทร์ หะรินสุต รองประธานกรรมการ หอการค้าไทย
(๒) นายประพันธ์ โลหะวิริยะศิริ คณะอนุกรรมการด้านการขนส่งทางน้า
และพาณิชย์นาวี
(๓) นางสาวรัตน์วรา ทองคา เจ้าหน้าที่หอการค้าไทย
๔.๑๓ สภาเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยางแห่งประเทศไทย
นายสุนทร รักษ์รงค์ เลขาธิการสภาเครือข่ายเกษตรกรชาวสวนยาง
แห่งประเทศไทย.
๔.1๔ สมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว (ATTA)
(๑) นายวิชิต ประกอบโกศล นายกสมาคมไทยธุรกิจการท่องเที่ยว
(๒) นางสาวสุมาลี ว่องเจริญสุข เลขาธิการ

๕. การพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
คณะกรรมาธิ ก ารวิส ามั ญ ได้ มี ก ารประชุม พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ดคลองไทยและการพัฒ นา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ซึ่งสรุปสาระสาคัญได้ ดังนี้
๕.๑ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯได้มีการประชุมพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้น ที่ร ะเบี ย งเศรษฐกิจ ภาคใต้ โดยเชิญหน่ว ยงานที่เกี่ยวข้องมาร่ว มประชุม เพื่อให้ ข้อมูล ข้อเท็จจริง
ตลอดจนชี้แจงแสดงความเห็น จานวน ๒๕ ครั้ง ดังนี้
ครั้งที่ ๑ วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 2 วันพฤหัสบดีที่ ๓๐ มกราคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 3 วันพฤหัสบดีที่ ๖ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ครั้งที่ 4 วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
ครั้งที่ 5 วันพฤหัสบดีที่ ๑๒ มีนาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 6 วันพฤหัสบดีที่ 4 มิถุนายน 2563
ครั้งที่ 7 วันพฤหัสบดีที่ ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ 8 วันพฤหัสบดีที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 9 วันพฤหัสบดีที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑0 วันพฤหัสบดีที่ ๖ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑1 วันพฤหัสบดีที่ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑2 วันพฤหัสบดีที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑3 วันพฤหัสบดีที่ ๑๐ กันยายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑4 วันพฤหัสบดีที่ ๒๔ กันยายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑5 วันพฤหัสบดีที่ ๘ ตุลาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ ๑6 วันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม 2563

ครั้งที่ ๑7 วันพฤหัสบดีที่ ๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓


ครั้งที่ ๑8 วันพฤหัสบดีที่ 12 พฤศจิกายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ 19 วันพฤหัสบดีที่ 1๘ พฤศจิกายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ 20 วันพฤหัสบดีที่ 26 พฤศจิกายน ๒๕๖๓
ครั้งที่ 21 วันพฤหัสบดีที่ 3 ธันวาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 22 วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม ๒๕๖๓
ครั้งที่ 23 วันพุธที่ 20 มกราคม 2564
ครั้งที่ 24 วันพุธที่ 3 กุมภาพันธ์ 2564
ครั้งที่ 2๕ วันพุธที่ ๒๔ กุมภาพันธ์ 2564
ครั้งที่ ๒๖ วันพุธที่ ๗ เมษายน ๒๕๖๔
ครั้งที่ ๒๗ วันพฤหัสบดีที่ ๘ เมษายน ๒๕๖๔
๕.๒ คณะกรรมาธิการวิสามัญ ฯ ได้พิจารณาศึกษาข้อเท็จจริง และรายละเอียดข้อมูลเรื่องนี้
จากเอกสาร ข้ อ มู ล ค าชี้ แ จงจากหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง รวมทั้ ง รายละเอี ย ดจากแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ
โดยนามาประกอบการพิจารณาศึกษาข้อเท็จจริงของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
๕.๓ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้มีมติให้เดินทางไปศึกษาดูงาน จานวน ๔ ครั้ง ดังนี้
(๑) การศึกษาดูงาน เรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเพิ่มศักยภาพการ
แข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย” ในวันจันทร์ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ จังหวัดกระบี่
(๒) การเดินทางศึกษาดูงานเรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ ของประเทศไทย” ในวันจันทร์ที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ ท่าเทียบเรือ
ฐานทัพเรือสงขลา ทัพเรือภาคที่ ๒ จังหวัดสงขลา
(๓) การเดินทางไปศึกษาดูงานเรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก
เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย” ในวั น ศุ ก ร์ ที่ ๑๖ ตุ ล าคม ๒๕๖๓
ณ สานักงานท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุด อาเภอเมือง จังหวัดระยอง
(๔) การเดินทางไปศึกษาดูงานเรื่อง “การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ ๓ เพื่อเพิ่ม
ศักยภาพรองรับการขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศในอนาคต” ในวันศุกร์ที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๓
ณ ท่าเรือแหลมฉบัง อาเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี
๕.๔ คณะกรรมาธิการได้มีมติให้จัดสัมมนา จานวน ๕ ครั้ง ดังนี้
(๑) การจั ดสั มมนาเรื่ อง “การขุดคลองไทยเพื่ อเป็ นศูนย์ กลางการค้าโลก แหล่ งอุตสาหกรรม
และการท่องเที่ยวระดับโลก” ในวันจันทร์ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ หอประชุมโรงเรียนองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดกระบี่ อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
(๒) การจั ดสั มมนาเรื่ อง “การขุดคลองไทยเพื่ อเป็ นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่ งอุตสาหกรรม
และการท่องเที่ยวระดับโลก” ในวันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ ศาลาประชาคมหอประชุมโรงละคร
องค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช อาเภอเมือง จังหวัดนครศรีธรรมราช
(๓) การจั ดสั มมนาเรื่ อง “การขุดคลองไทยเพื่ อเป็ นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่ งอุตสาหกรรม
และการท่องเที่ยวระดับโลก” ในวัน อังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ หอประชุมอาเภอหั ว ไทร จังหวัด
นครศรีธรรมราช

(๔) การจัดสัมมนาเรื่อง “การขุดคลองไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรม


และการท่ องเที่ ยวระดั บโลก” ในวั นจั นทร์ ที่ ๕ ตุ ลาคม ๒๕๖๓ ณ Conference Hall ศู นย์ ประชุ มนานาชาติ
ฉลองสิริราชสมบัติครบ ๖๐ ปี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
(๕) การจัดสัมมนาเรื่อง “การขุดคลองไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรม
และการท่องเที่ยวระดับโลก” ในวันอังคารที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๖๓ ณ หอประชุมเฉลิมพระเกียรติมหาวิทยาลัย
ทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง จังหวัดพัทลุง
๖. ผลการพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้จัดทารายงานผลการศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ซึ่งได้แบ่งผลการพิจารณาศึกษาออกเป็น ๕ บท พร้อมกับภาคผนวกของรายงาน
ซึ่งเป็นผลการศึกษาเชิงลึกของคณะอนุกรรมาธิการ จานวน ๓ ฉบับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
บทที่ 1 บทนา
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
1.4 ขั้นตอนการศึกษา
1.5 วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลและการสอบถามความคิดเห็น
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.7 นิยามศัพท์เฉพาะ
1.8 กรอบแนวคิดในการศึกษา
บทที่ ๒ การทบทวนข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
๒.๑ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
๒.1.1 ทฤษฎีเชิงระบบ (Systems Theory)
๒.1.๒ ทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์
๒.1.2.๑ ทฤษฎีใจโลก หรือดินแดนหัวใจ (Heartland Theory)
๒.1.2.๒ ทฤษฎีขอบโลก (Rimland Theory)
๒.1.2.๓ ทฤษฎีอานาจทางทะเลหรือทฤษฎีสมุททานุภาพ
๒.1.3 ทฤษฎีเกม (Game Theory)
๒.๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ ๓ ผลการพิจารณาศึกษา
๓.1 ผลการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
๓.๒ ผลการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๓.๓ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้ดา้ นสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง
๓.๔ ผลการสัมมนารับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ
บทที่ 4 การวิเคราะห์และอภิปรายผลการศึกษา

บทที่ 5 สรุปผลพิจารณาการศึกษา ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญ


5.1 สรุปผลการพิจารณาศึกษา
๕.๒ ข้อเสนอแนะ
๗. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก คาสั่งต่าง ๆ
ภาคผนวก ข ภาพประกอบการประชุม การจัดสัมมนา และศึกษาดูงาน
ภาคผนวก ค ทบทวนข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ภาคผนวก ง รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
ภาคผนวก จ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้
ภาคผนวก ฉ รายงานของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง

โดยมีรายละเอียด ดังนี้
บทที่ ๑
บทนำ

๑.๑ ควำมเป็นมำและควำมสำคัญของปัญหำ
การคาดการณ์อัตราการเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ GDP โลกในปี ๒๐๒๐ ล่าสุด
International Monetary Fund หรือ IMF คาดไว้ที่ระดับร้อยละ ๓.๔ ในขณะที่เศรษฐกิจสหรัฐ อเมริกา
คาดว่ า จะมี อั ต ราการเติ บ โตที่ ไ ม่ สู ง นั ก ที่ ร้ อยละ ๒.๑ ลดลงจากปี ๒๐๑๙ ที่ คาดว่ าจะเติ บโตร้ อยละ ๒.๔
ด้านกลุ่มประเทศยุโรปอยู่ที่ระดับ ร้อยละ ๑.๔ ประเทศญี่ปุ่นร้อยละ ๐.๕ และสาธารณรัฐประชาชนจีน
ร้อยละ ๕.๘8 ซึ่งเป็นครั้งแรกในรอบเกือบสามทศวรรษที่อัตราการเติบโตของจีนต่่ากว่า ร้อยละ ๖ ประเด็น
ความเสี่ ยงใหม่ ที่ อาจเกิ ดขึ้ นในปี ๒๐๒๐ ได้ แก่ สงครามการค้ าระหว่ างสหรั ฐอเมริ กากั บสาธารณรั ฐประชาชนจีน
ขยายวงไปเป็นสงครามเทคโนโลยี สงครามค่าเงินและสงครามการเงิน ซึ่งหากลุกลามก็จะกลายเป็นความเสี่ยง
ต่อเศรษฐกิจรอบใหม่ ในขณะที่ยังคงต้องติดตามมาตรการภาษียานยนต์และชิ้นส่วนระหว่างสหรัฐ อเมริกา
กับสหภาพยุโรป ส่วนประเทศญี่ปุ่นต้องติดตามผลกระทบจากการขึ้นภาษีการบริโภคและความขัดแย้ง
กับเกาหลีใต้ (ธนาคารไทยพาณิชย์, ๒๕๖๒) ส่าหรับเศรษฐกิจไทยปี ๒๐๒๐ สภาวะเศรษฐกิจของโลก
เริ่มชะลอตัวเข้าสู่สภาวะการถดถอยจากผลกระทบจากความขัดแย้งทางการค้าระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกา
กับสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไทย โดยภาวะเศรษฐกิจในประเทศที่ซ้่าเติมที่ท่าให้ประเทศไทยประสบ
ปัญหาทางเศรษฐกิจ มาจากภาวะภัย แล้ งที่ท่าให้ผลผลิตหดตัวราคาสิ นค้าเกษตรสูงขึ้นส่งผลให้ร ายได้
ภาคเกษตรหดตัวและรายได้ภาคบริการที่เกี่ยวเนื่องจากการท่องเที่ยวได้รับผลกระทบรุนแรงจากจากภาวะ
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 2019) ส่งผลให้การท่องเที่ยวที่มีส่วนส่าคัญ
ในการประคับประคองเศรษฐกิจกลับมีปัญหา (ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค, ธนาคารแห่งประเทศไทย. ๒๕๖๓,
หน้ า ๔ - ๗) ประกอบกั บ ปั ญ หาวิ ก ฤติ เ ศรษฐกิ จ ตกต่่ า หนี้ ค รั ว เรื อ นและหนี้ ส าธารณะจากข้ อ มู ล หนี้
สาธารณะของเดื อ น มีน าคม ๒๕๖๓ เท่ากับ ๗.๐๒ ล้ านล้ านบาท หรือประมาณร้อยละ ๔๑.๖๘ ของ
ผลิตภัณฑ์มวล รวมในประเทศ (GDP) พบว่า จ่านวนหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๓
– ๒๕๖๒ มีจ่านวนหนี้สาธารณะเพิ่มขึ้นจาก ๔.๒๓ ล้านล้านบาท เป็น ๖.๙๐ ล้านล้านบาท คิดเป็นร้อยละ
๖๓.๑๓ หรือเพิ่มขึ้นในอัตราเฉลี่ยร้อยละ ๖.๓๑ ต่อปี ทั้งนี้ ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ มีหนี้สาธารณะทั้งสิ้น ๖.๙๐ ล้าน
ล้านบาท คิดเป็ น ร้ อยละ ๔๑.๒๔ ของผลิ ตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) (ส่ านักงานเลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎร, ๒๕๖๓, หน้า ๒๐ - ๒๑) ปัญหาเสถียรภาพทางการเมืองและสังคม ความไม่มั่นคงความ
ขัดแย้งทางการเมือง ที่เป็นปัจจัยส่าคัญท่าให้นักลงทุนต่างชาติทั่วโลกย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อน
บ้านเช่น (CLMV) ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สาธารณรัฐแห่งสหภาพ
เมียนมาร์และสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม การขาดแคลนเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการแข่งขันท่าให้
สูญเสียรายได้เป็นอย่างมาก ส่งผลให้เกิด ปัญหาความยากจน ปัญหาการว่างงาน ปัญหาระดับคุณภาพชีวิต
ของคนที่ยังไม่สามารถหลุดพ้นจากกับดักรายได้ปานกลางได้
ในสภาวะเช่นนี้ การสนั บ สนุ นเพื่อ ยกระดับประเทศไทยให้ สามารถพัฒนาตนเองเป็นประเทศ
ที่พัฒนาแล้วได้ การสร้างอนาคตของประเทศไทยให้ ทันโลก การสนับสนุนการพัฒนาขีดความสามารถ
ในการแข่ ง ขั น ทางการค้ า ระหว่ า งประเทศ เพื่ อ เพิ่ ม จ่ า นวนสิ น ค้ า ส่ ง ออกให้ เ กษตรกรและผู้ ผ ลิ ต
ในอุตสาหกรรมของคนไทย ท่ามกลางวิกฤติเศรษฐกิจอันเปราะบางในกระแสโลกาภิวัตน์ ดังนั้น ประเทศไทยจ่าเป็น
จะต้องมีการวางแผนยุ ทธศาสตร์ด้านต่าง ๆ ที่รอบคอบและครอบคลุ มเพื่อเป็นกรอบในการขับเคลื่ อน

การพัฒนาประเทศ ให้เจริญก้าวหน้าอย่ างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยยกระดับศักยภาพของประเทศ


ในหลากหลายมิ ติ พั ฒ นาคนในทุ ก มิ ติ แ ละในทุ ก ช่ ว งวั ย ให้ เ ป็ น คนดี เก่ ง และมี คุ ณ ภาพ สร้ า งโอกาส
และความเสมอภาคทางสั งคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้ อม และมีภาครัฐ
ของประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ส่วนรวม (ส่านักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ.
๒๕๖๑, หน้า ๑-๒) รัฐบาลไทยจึงได้ก่าหนดยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) โดยมีเป้าหมาย
การพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติมั่นคง ประชาชนมีความสุข เศรษฐกิจพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สังคมเป็นธรรม
ฐานทรัพยากรธรรมชาติยั่งยืน” และก่าหนดยุทธศาสตร์ ๖ ด้าน คือ ๑) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง ๒)
ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขั น ๓) ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการพั ฒ นา
และเสริมสร้างศักยภาพทรั พยากรมนุ ษย์ ๔) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาค
ทางสั ง คม ๕) ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า งการเติ บ โตบนคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ เ ป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม
และ ๖) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
ส่าหรับยุทธศาสตร์ชาติส่าหรับยุทธศาสตร์ชาติด้านที่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ในประเด็ น ที่ ๔ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน เชื่ อ มไทย เชื่ อ มโลก เป็ น ประเด็ น ที่ ส่ ง เสริ ม ให้ ป ระเทศไทยก้าวสู่
การเป็นศูนย์กลางด้านเศรษฐกิจ เป็นจุดเชื่อมต่อที่ส่าคัญของภูมิภาคเอเชีย ในยุคของการเปลี่ยนแปลง
ทางด้านเทคโนโลยี อย่ างรวดเร็วและรุ นแรง โครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพในด้านโครงข่ายคมนาคม
พื้นที่และเมือง รวมถึงเทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ จะต้องครอบคลุม เพื่ออ่านวย
ความสะดวก รวมทั้งลดต้ นทุนในการเคลื่ อนย้ายสิ นค้า บริ การ เงินทุน บุคลากร และเชื่อมโยงประเทศไทย
กับประชาคมโลก โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ คือ ๑) เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ ๒) สร้างและพัฒนา
เขตเศรษฐกิจ พิเศษ ๓) เพิ่มพื้น ที่และเมืองเศรษฐกิจ ๔) พัฒ นาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
และ ๕) รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ มหภาค (ส่านักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ . ๒๕๖๒, หน้ า ๒๓ - ๒๙) ซึ่ ง ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นที่ ๒ คื อ การสร้ า งความสามารถ
ในการแข่งขันนี้ การขุดคลองไทยถึงโครงการหนึ่งที่จะสนองตอบได้อย่างดียิ่ง
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ สภาผู้แทนราษฎรชุดที่ ๒๕ ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญประจ่าปีครั้งที่สอง)
ที่ป ระชุมได้มีมติ แต่ง ตั้ง คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร เพื่อศึกษาความเป็นไปได้และเสนอรายงานการพิจารณาศึกษา
ต่ อ สภาผู้ แ ทนราษฎรต่ อ ไป ดั ง นั้ น การศึ ก ษาเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ใ นการแก้ ปั ญ หาจึ ง เป็ น เรื่ อ งเร่ ง ด่ ว น
ที่ รั ฐบาลจะต้ องรี บด่ าเนิ นการในการน่ าพาประเทศไทยสู่ ความมั่ นคง มั่ งคั่ ง ยั่ งยื น ตามวิ สั ยทั ศน์ ที่ ได้ ก่ าหนดไว้
โดยใช้ต่าแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่พิเศษสุดที่มีในประเทศไทยแห่งเดียวในโลกเป็นเส้นทางเศรษฐกิจใหม่
ของโลก ประเทศไทยเสียโอกาสในการแข่งขันในระดับโลกมานานจากปัญหาการเมืองในระดับประเทศ
และต่างประเทศ บัดนี้ถึงเวลาที่ต้องลงมือท่า
ในสถานการณ์เช่นนี้ การท่าให้เกิดความมั่นคง มั่งคั่ ง และความยั่งยืน ย่อมมีผลกระทบส่งผลให้
ไม่สามารถบรรลุยุทธศาสตร์ที่ก่าหนดไว้ได้ อีกทั้งปัจจุบันวิกฤตเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศต่าง ๆ ในโลก
ได้ส่งผลกระทบต่อการลงทุนในภาคอุตสาหกรรม การท่องเที่ยว การขนส่งและภาคบริการท่าให้เศรษฐกิจไทย
มีแนวโน้ มขยายตัวต่่ากว่าประมาณการเดิมและต่่ากว่าระดับศักยภาพมากขึ้น จากการส่ งออกที่ล ดลง
และส่งผลกระทบไปสู่ตลาดแรงงานชัดเจนยิ่งขึ้น โดยการส่งออกสินค้ามีแนวโน้มหดตัวมากกว่าที่ประเมินไว้
และจะฟื้นตัวได้ช้ากว่าที่คาดไว้ตามเศรษฐกิจ ประกอบกับ หนี้สาธารณะของประเทศที่เพิ่มขึ้น ความจ่าเป็น
เร่งด่วนในการศึกษาผลักดันโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มรายได้ให้ประชาชนชาวไทย ยกระดับคุณภาพ

ชีวิตให้แก่คนไทย เพื่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ เพื่อเพิ่มศักยภาพขีดความสามารถการแข่ง ขัน


ทางการค้าระหว่างประเทศ ให้เท่าทันกระแสการเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน และน่ามาซึ่งการศึกษาในครั้งนี้ ซึ่งการ
ด่าเนินการศึกษาทบทวน ๑) การขุดคลองไทย ตามแนวคิดการขุดคลองไทยเพื่อเชื่อมทะเลระหว่างทะเลฝั่งอันดามัน
และทะเลฝั่ ง อ่ า วไทย มี ม าตั้ ง แต่ ส มั ย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยาเพื่ อ ใช้ เ ป็ น เส้ น ทางในการค้ า ขายกั บ ชาติ ยุ โ รป
เช่น ประเทศฮอลันดา ประเทศโปรตุเกส ประเทศฝรั่งเศส ประเทศอังกฤษ เป็นต้น อย่างไรก็ตามแนวคิด
การขุดคลองเพื่อเชื่อมทะเลทั้งสองฝั่งของไทยยังถูกน่าเสนอเรื่อยมา ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ได้มีการน่าเสนอ
แนวคิดมาโดยตลอด ตั้งแต่รัชสมัยรัชกาลที่ ๑ รัชสมัยรัชกาลที่ ๔ รัชสมัยรัชกาลที่ ๕ และรัชสมัยรัชกาลที่ ๖
ตามล่ า ดั บ และแนวคิ ด โครงการขุ ด คลองเพื่ อ เชื่อ มทะเลทั้ ง สองฝั่ งยั ง มี ก ารน่า เสนอมาอย่ า งต่อ เนื่อง
เช่น พ.ศ. ๒๔๗๘ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยในขณะนั้น ได้รื้อฟื้นโครงการคลองกระ
มาพิจารณาต่อมาพลเอก เปรม ติณสูลานนท์ นายกรัฐมนตรีในขณะนั้นได้เสนอให้มีการขุดคอคอดกระ
โดยมีป ระเทศญี่ปุ่ น และสหรั ฐ อเมริ กา เป็นผู้ ล งทุนในโครงการแต่มีนักวิช าการและประชาชนคั ด ค้ า น
เป็นจ่านวนมาก จึงท่าให้ไม่สามารถด่าเนินโครงการได้ตามวัตถุประสงค์ และ ๒) การพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิ จ ภาคใต้ ภายใต้ โ ครงการเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ผนวกกั บ แนวคิ ด
อุตสาหกรรม ๔.๐ และแนวคิดการเพิ่มศักยภาพขีดความสามารถทางการแข่งขันในการแข่งขันในเวทีโลก
(Global Competitiveness) ให้ ส อดคล้ องพระราชบัญญัติส่ งเสริม การลงทุน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๐
(ราชกิจจานุเบกษา, ๒๕๖๐) พระราชบัญญัติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ส่าหรับอุตสาหกรรม
เป้ าหมาย พ.ศ. ๒๕๖๐ (ราชกิจ จานุเบกษา, ๒๕๖๐) และสอดคล้ องกับแผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์
ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) (ส่านักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ,
๒๕๖๑) โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เพิ่ ม รายได้ ใ ห้ กั บ ประชาชนชาวไทย และการบริ ห ารราชการแผ่ นดิน
ต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ยกระดับคุณภาพชีวิต ให้แก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัด
รวมทั้งพัฒนา Seaport Logistics Technology การขุดคลองไทยในแนวพื้นที่ ๕ จังหวัด (จังหวัดกระบี่ จังหวัด
ตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัด นครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา) ท่าให้เกิดการสร้างงาน สร้างรายได้ใหม่
ภายใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้นี้ โดยได้ก่าหนดพื้นที่การพัฒนาคุณภาพการเศรษฐกิจอุตสาหกรรมใหม่
S – Curve การบริ ห ารการจั ด การ การขนส่ ง ทางทะเล และท่ า เรื อ ที่ มี ค วามทั น สมั ย ในระดั บ สากล
เพื่อเชิญชวนนักลงทุนธุรกิจการขนส่งทางบกและทางทะเล รวมถึงนักท่องเที่ยวที่มีรายได้สูงเข้ามาท่องเที่ยว
คลองไทยและเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคใต้ (GASEZ) จะเป็ น ศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ แห่ ง ใหม่
ของภูมิภาคและของโลก โดยมีการพัฒนาอุตสาหกรรมการต่อเรือและการเดินเรือขนาดใหญ่ การพาณิชย์นาวี
อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลระดับโลก อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวโดยการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางทะเล
ควบคู่ ไ ปกั บ การอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม เนื่ อ งจากประเทศไทยมี ค วามได้ เ ปรี ย บทางภู มิ ศ าสตร์
ในการเป็นศูนย์กลางของภูมิ ภาคที่เหมาะสมต่อการขยายศักยภาพและมีขีดความสามารถในการรองรับ
การค้าการลงทุนในภูมิภาคที่มีแนวโน้มการเติบโตจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เริ่มเปลี่ยนฐานการผลิต
และการลงทุนมาสู่ภูมิภาคเอเชีย ตลอดจนผลักดันให้มีการวิจัยและการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สวัสดิการ
ขั้นพื้นฐาน ยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชนให้ดีขึ้น รวมถึงจากที่กล่าวมาแสดงให้เห็นว่า แนวคิด
โครงการขุดคลองไทยเริ่ มปรากฏมาตั้งแต่ส มัยอยุธ ยาและมีผู้ ส นใจศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการด่าเนิน
โครงการดั ง กล่ า วมาโดยตลอด ทว่ า ในการศึ ก ษาแต่ ล ะครั้ ง แม้ มี ก ารจั ด ท่ า รายการพิ จ าร ณาศึ ก ษา
ออกมาเรียบร้อยแต่ก็มักมีเหตุผลขัดข้องบางประการท่าให้ไม่อาจน่าผลการศึกษามาปฏิบัติให้เกิดผลลัพธ์ได้
ทั้ ง นี้ อาจเนื่ อ งมาจากโครงการขุ ด คลองไทยหากมี ก ารด่ า เนิ น การจะเป็ น โครงการที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด

ในประวัติศาสตร์ชาติไทย ต้องใช้งบประมาณจ่านวนมากและอาจส่งผลกระทบต่อประเทศในหลายด้าน
ทั้งด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรทางทะเล แหล่งท่องเที่ยว สภาพสังคม ความมั่นคงเกี่ยวกับอ่านาจ
อธิปไตยด้านดินแดน อาณาเขตทางทะเล และการเมือง ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบัน
เปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งรวดเร็ ว ทั้ ง นี้ หากมี แ นวคิ ด ในการด่ า เนิ น โครงการขุ ด คลองไทยอี ก ครั้ ง
คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาการขุ ด คลองไทยการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
สภาผู้ แ ทนราษฎร จึ ง มี ค วามจ่ า เป็ น ที่ จ ะต้ อ งพิ จ ารณาศึ ก ษาข้ อ มู ล อย่ า งรอบคอบอี ก ครั้ ง ดั ง นั้ น
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้ แ ทนราษฎร ได้ พิ จ ารณาเล็ ง เห็ น ความส่ า คั ญและค่ านึ ง ถึ ง ผลประโยชน์ข องชาติ แ ละประชาชน
จึงได้มีมติในคราวประชุม ครั้งที่ ๖ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ๔ มิถุนายน ๒๕๖๓ แต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการ
พิจารณาศึกษาจ่านวน ๓ คณะ ได้แก่ ๑) คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ๒) คณะอนุ
กรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ และ ๓) คณะอนุกรรมาธิการพิจารณา
ศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง เพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงลึกและข้อเท็จจริง
ที่เป็นปัจจุบันซึ่งสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันมากที่สุด และมีข้อมูลที่เป็นประโยชน์
ต่อการจัดท่ารายงานการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ เพื่อน่าเสนอรายงานผลการพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ต่อสภาผู้แทนราษฎรต่อไป

๑.๒ วัตถุประสงค์ของกำรศึกษำ
๑.๒.๑ เพื่อศึกษาวิเคราะห์สถานการณ์ความจ่าเป็นในปัจจุบันของการขุดคลองไทย การพัฒนา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง
๑.๒.๒ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์รูปแบบของการขุดคลองไทย การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้ และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง
๑.๒.๓ เพื่อประเมินความเป็นไปได้ในการก่าหนดรูปแบบของการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ และผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคงและการเมือง

๑.๓ ขอบเขตกำรศึกษำ
๑.๓.๑ ศึกษาสาระส่าคัญของยุทธศาสตร์ชาติในทุกมิติการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
๑.๓.๒ ก่าหนดยุทธศาสตร์ใหม่ ในการพัฒนาภาคใต้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (The Golden Ax
Special Economic Zone : GASEZ) ตั้ งอยู่ ในพื้ นที่ ๕ จั งหวั ด จั งหวั ดกระบี่ จั งหวั ดตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง
จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา
๑.๓.๓ ศึกษารูปแบบการขุดคลองไทย
๑.๓.๔ ศึกษาผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการขุดคลองไทย ใน ๕ มิติ ได้แก่ สิ่งแวดล้อม สังคม
การเมือง ความมั่นคง และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง

๑.๔ ขั้นตอนกำรศึกษำ
การศึกษาและวิเคราะห์แนวทางการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
มีขั้นตอนในการด่าเนินการศึกษา ดังนี้

๑.๔.๑ ก่ า หนดประเด็ น และกรอบในการศึ ก ษา ตลอดจนวางแผนในการศึ ก ษาเพื่ อ ให้ เ กิ ด


ความชัดเจนและมีทิศทางในการศึกษาอย่างเป็นระบบ
๑.๔.๒ ศึกษาและทบทวนวรรณกรรมและเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ
โดยใช้เทคนิคการวิจัยเอกสาร ในการศึกษาและรวมรวมข้อมูลมาเป็นหลักการในการศึกษา
๑.๔.๓ รวบรวมข้ อ มู ล จากเอกสารและสื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ข องหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
ทางการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เช่น สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ ส่านักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร (สนข.) ส่านักงบประมาณ กระทรวงการคลัง
กระทรวงคมนาคม กระทรวงกลาโหม เป็นต้น ตลอดจนรวบรวมข้อมูลเชิงลึกจากการลงพื้นที่สังเกตการณ์
แบบมีส่วนร่วมเพื่อให้ได้ข้อมูลเชิงประจักษ์
๑.๔.๔ จัดระเบียบข้อมูลอย่างเป็นระบบ โดยการน่าข้อมูลที่ได้ทั้งหมดมาวิเคราะห์ประเด็นส่าคัญ
และจัดหมวดหมู่ข้อมูลอย่างเป็นระบบ เพื่อให้สะดวกและง่ายต่อการน่าข้อมูลมาวิเคราะห์ต่อไป
๑.๔.๕ วิเคราะห์ โดยใช้แนวคิดทฤษฎีที่ได้ทบทวน วิเคราะห์เพื่อให้ได้แนวทางในการขุดคลองไทย
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๑.๔.๖ สรุปผลการศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ตลอดจน
ผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง
๑.๔.๘ จัดท่ารายงานวิชาการฉบับร่างเพื่อน่าเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ ตลอดจน
ปรับปรุงให้สมบูรณ์
๑.๔.๘ จัดท่ารายงานฉบับสมบูรณ์ และเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรพิจารณาเห็นชอบ ตลอดจน
ด่าเนินการตามกระบวนการต่อไป

๑.๕ วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูลและกำรสอบถำมควำมคิดเห็น
๑.๕.๑ หน่วยงานและกลุ่มตัวอย่างในการศึกษา
การศึกษานี้ได้ศึกษาจากหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนประชาชนตัวอย่างในพื้นที่
เป้ า หมายตามแนวพื้ น ที่ ๙A ที่ มี ส่ ว นได้ เ สี ย และคาดว่ า จะได้ รั บ ผลกระทบทั้ ง ทางตรงและทางอ้ อ ม
จากแนวคิดการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
เก็บรวบรวมข้อมูล ที่เกี่ย วข้องจากการสอบถามความคิดเห็ นของประชาชน การสอบถามความคิด เห็ น
จากหน่วยงานต่าง ๆ การประชุมสัมมนาแล้วแต่ตามความเหมาะสมกับสถานที่และสถานการณ์ และการรวบรวม
จากข้อมูลเอกสาร ตลอดจนรวบรวมข้อมูลจากสื่ออิเล็คทรอนิกส์ เป็นต้น
๑.๕.๒ ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล
การศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ ใ นครั้ ง นี้
มี ระยะเวลาในการศึกษาโดยประมาณ ๕๕5 วัน โดยเริ่มด่าเนินการศึกษาตั้งแต่เดือนวันที่ ๑๗ มกราคม ๒๕๖๓
ถึง ๒๔ กรกฎาคม ๒๕๖๔ ซึ่งใช้ระยะเวลาในศึกษา ๕๕๕ วัน
๑.๕.๓ วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล
การศึ ก ษาข้ อ มู ล ตามวิ ธี ก ารเชิ ง คุ ณ ภาพโดยใช้ เ ทคนิ ค วิ จั ย เอกสาร (Documentary
Research) จากเอกสารวิชาการต่าง ๆ รวมทั้งรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยใช้แนวคิดเชิงระบบ ทฤษฎีเกม
ทฤษฎีรัฐภูมิศาสตร์ ตลอดจนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี เป็นกรอบ และทิศทางการวิเคราะห์ในการศึกษาครั้งนี้

๑.๖ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
๑.๖.๑ ท่าให้ทราบถึงข้อมูลของความจ่าเป็นของการขุดคลองไทย
๑.๖.๒ ท่าให้ทราบถึงข้อมูลความคุ้มค่าของการขุดคลองไทยทางด้านเศรษฐกิจ
๑.๖.๓ ท่ า ให้ ท ราบถึ ง ข้ อ มู ล ผลกระทบที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จากการขุ ด คลองไทยทั้ ง ๕ มิ ติ ได้ แ ก่
ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม การเมือง ความมั่นคงและกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
๑.๖.๔ ท่าให้ทราบถึงรูปแบบและแนวทางขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้ นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้
๑.๖.๕ ท่าให้ทราบถึงข้อสังเกตและข้อเสนอแนะแนวคิดเสนอต่อคณะรัฐมนตรีต่อไป

๑.๗ นิยำมศัพท์เฉพำะ
คอคอดกระ หมายถึง ส่วนที่คอดหรือกิ่วที่สุ ดของคาบสมุทรมาลายู อยู่ระหว่างจังหวัดระนอง
และจั งหวัดชุมพร ในสมัย รั ช กาลที่ ๔ และรัช กาลที่ ๕ ได้มีการเสนอโครงการขุด คลองขึ้นที่ บริ เ วณนี้
เพื่ อ เชื่ อ มอ่าวเบงกอลกับอ่าวไทย คลองที่จะขุดที่คอคอดกระนี้จึงได้ชื่อว่า “คลองกระ” ซึ่งสอดคล้ องกับชื่ อ
คอคอดกระ
คลองกระ หมายถึง แนวที่ก่าหนดขึ้นตั้งแต่แนวคลองกระ ที่อ่าเภอกระบุรี ลงมาจนถึงเขตชายแดนไทย
ภาคใต้ติดกับประเทศมาเลเซีย
คลองไทย หมายถึง คลองที่ขุดเชื่อมทะเลอันดามันและทะเลอ่าวไทยตามแนว ๙A ซึ่งต่อยอด
ผลการศึกษาของวุฒิสภา ปี ๒๕๔๘ ผ่านพื้นที่ ๕ จังหวัด จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัด
นครศรี ธ รรมราชและจั ง หวั ด สงขลาจากการศึ ก ษาของคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ฯ ได้ เ สนอใช้ ชื่ อ นี้
และเส้นทางแนว9A และจากความเห็นชอบร่วมกันของคณะกรรมการแห่งชาติศึกษาความเป็นไปได้ในการ
ขุดคลองกระ ซึ่งร่วมประชุม ณ ท่าเนียบรัฐบาลเมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๕ โดยให้ความหมายถึงคลองที่
ขุดขึ้นในประเทศไทย เพื่อเป็นเส้นทางการเดินเรือแห่งใหม่ของโลกและเรียกชื่อเป็นภาษาอังกฤษว่า “THAI
CANALS”
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ (SEZ : Special Economic Zone) หมายถึ ง บริ เ วณเขตที่ ดิ น ที่ ป ระกาศ
เพื่ อ การลงทุนระหว่างประเทศ และผลิ ตสิ นค้าที่มี คุ ณภาพเป็นอุ ตสาหกรรมสะอาดปราศจากมลพิ ษแล้ วส่ งไปขาย
ทั่วโลกในราคาที่เป็นธรรม
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ : The Golden Ax Special Economic Zone)
หมายถึง ระเบียงเศรษฐกิจในพื้นที่ 5 จังหวัด ที่ประเทศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเ ศษ คือ กระบี่ ตรัง พัทลุง
สงขลาและนครศรี ธ รรมราช ประกอบด้ว ย ยุทธศาสตร์การพัฒ นา 15 ด้าน เป็นอย่างน้อย เพื่อ เป็ น
ศูนย์กลางความเจริญแห่งใหม่ของโลกโดยมีคลองไทยแนว9A จ่านวน 2 คลอง เป็นองค์ประกอบที่ส่าคัญ
ร่ ว มกับ การพัฒ นาอุ ตสาหกรรมการต่อเรื อและการเดินเรื อขนาดใหญ่ พาณิช ย์นาวี อุตสาหกรรมการ
ท่องเที่ยว อุตสาหกรรมอาหารฮาลาลระดับโลก เพิ่มศักยภาพการบริหารจัดการเศรษฐกิจของหน่วยงาน
ของรัฐมากขึ้น
ช่องแคบมะละกา (Malacca Strait) หมายถึง ช่องแคบระหว่างแหลมมลายู กับ เกาะสุ ม าตรา
อยู่ บ ริ เ วณทางด้ า นตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ข องประเทศไทย ตะวั น ตกและใต้ ข องมาเลเซี ย ทางด้ า น
ตะวันออกเฉียงเหนือและเหนือของเกาะสุมาตรา และเลยไปถึงทางด้านใต้ของสิงคโปร์ ระบุพิกัดที่ประมาณ
๑.๔๓ องศาเหนือ และ ๑๐๒.๘๙ องศาตะวันออก

ช่ อ งแคบซุ น ดา (Sunda Strait) หมายถึ ง ช่ อ งแคบระหว่ า งเกาะชวากั บ เกาะสุ ม าตรา


ของอินโดนีเซียและเป็นช่องแคบที่เชื่อมระหว่างทะเลชวากับมหาสมุทรอินเดีย
ช่องแคบลอมบอก (Lombok Strait) หมายถึง ช่องแคบที่เชื่อมระหว่างทะเลชวากับมหาสมุทร
อินเดียอยู่ระหว่างเกาะบาหลีกับลอมบอก ประเทศอินโดนีเซีย
ความมั่ น คงทางทะเล หมายถึ ง การที่ รั ฐ มี ค วามอยู่ ร อดจากภั ย คุ ก คามต่ า ง ๆ ทางทะเล
ตามพจนานุ ก รมภู มิ รั ฐ ศาสตร์ แ ละความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศได้ ใ ห้ ค วามหมายของความมั่ น คง
ว่ า เป็ น ความปลอดภัย จากภัย คุก คามหลายรูป แบบ โดยเป็ น ภาวะการณ์ ที่จ่ า เป็ นต่ อ การรั ก ษาตั ว เอง
ให้อยู่รอด
สิทธิการผ่านโดยสุจริต (Right of Innocent Passage) หมายถึง สิทธิของเรือต่างชาติในการผ่าน
เข้าไปในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่งได้โดยไม่ต้องขออนุญาต จารีตประเพณีในกฎหมายระหว่างประเทศ
ยอมรั บ สิ ทธิของเรื อต่างชาติในการผ่ านโดยสงบหรือโดยสุจริ ตในทะเลอาณาเขตของรัฐชายฝั่งได้ สิทธิ
การผ่ านโดยสุจ ริตเป็น การประนี ประนอมระหว่างความจ่าเป็นในการคมนาคมทางทะเลของรัฐต่าง ๆ
กับผลประโยชน์ของรัฐชายฝั่งในการควบคุมและรักษาอ่านาจในเขตทะเลประชิดชายฝั่งของตน
ไมล์ทะเล (Nautical Mile) หมายถึง หน่วยของระยะทาง ที่เท่ากับระยะทางบนผิวโลก ประมาณ
๑ ลิปดา บนเส้นเส้นเมริเดียนใด ๆ โดยเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า ๑ ไมล์ทะเล เท่ากับ ๑,๘๕๒ เมตร
นอต (Knot) หมายถึง หน่ ว ยวัดความเร็วภาคพื้นดิน ที่ใช้ ในวงการเดินเรือและการบินทั่วโลก
มีค่าเท่ากับ ๑ ไมล์ทะเล/ชั่วโมง
ACIA หมายถึง ASEAN Comprehensive Investment Agreement (ความตกลงด้านการลงทุน
ของอาเซียน)
ACMECS หมายถึง Ayeyawady-Chao Phraya - Mekong Economic Cooperation Strategy
(ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจอิรวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง)
ADB หมายถึง Asian Development Bank (ธนาคารพัฒนาเอเชีย)
ADMM หมายถึง ASEAN Defense Ministers Meeting (การประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน)
AEC หมายถึง ASEAN Economic Community (การรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน)
AFTA หมายถึ ง ASEAN Free Trade Area (กลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นผ่ า นกรอบเขตการค้ า เสรี
อาเซียน)
AIA หมายถึง Framework Agreement on the ASEAN Investment Area (กรอบความตกลง
ว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน)
AIIB หมายถึง The Asian Infrastructure Investment Bank (ธนาคารเพื่อการลงทุนโครงสร้าง
พื้นฐานแห่งเอเชีย)
AMF หมายถึง ASEAN Maritime Forum (การประชุมหารืออาเซียนว่าด้วยประเด็นทางทะเล)
APEC หมายถึง Asia-Pacific Economic Cooperation (ความร่ว มมือทางเศรษฐกิจ ในเอเชีย
- แปซิฟิก)
ARF หมายถึง ASEAN Regional Forum (การประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้านการเมือง
และความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก)
ASEM หมายถึง Asia-Europe Meeting (การประชุมเอเชีย - ยุโรป)

BIMSTEC ห ม า ย ถึ ง Bay of Bengal Initiative Multi-Sectoral Technical and Economic


Cooperation (ความริเริ่มแห่งอ่าวเบงกอล ว่าด้วยความร่วมมือหลากหลายสาขาทางเทคนิคและเศรษฐกิจ
ในโครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างบังคลาเทศ ภูฏาน อินเดีย เมียนมา เนปาล ศรีลังกาและไทย)
BOI หมายถึง The Board of Investment of Thailand (คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน)
BOOT หมายถึง Build Operate Own Transfer (ระบบสัมปทานที่เหมาะควรเป็นระบบ)
BSAA หมายถึง Bangkok Ship owners and Agents Association (สมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพ)
BW หมายถึง Bonded Warehouse (คลังสินค้าทัณฑ์บน)
CE หมายถึง Circular Economy (เศรษฐกิจหมุนเวียน)
CLMV หมายถึง Cambodia Lao PDR Myanmar Vietnam (กลุ่มประเทศอินโดจีน ประกอบด้วย
ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ สาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวสาธารณรัฐ
สังคมนิยมเวียดนาม )
CSR หมายถึง Corporate Social Responsibility ในการด่าเนินธุรกิจ และการประกอบธุร กิจ
จ่าต้องค่านึงถึงผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
DEPA หมายถึง Digital Economy Promotion Agency (ส่านักงานส่งเสริมเศรษฐกิจดิจิทัล)
DFS หมายถึง Duty Free Shop (ร้านค้าปลอดอากร)
DOC หมายถึง Declaration on the Conduct of Parties in the South China Sea (ปฏิญญา
ว่าด้วยการปฏิบัติของภาคีในทะเลจีนใต้)
DWT หมายถึง Dead Weight Ton (น้่าหนักที่เรือนั้น ๆ สามารถใช้ในการบรรทุกทุกสิ่งรวมทั้ง
น้่ า หนั ก สิ น ค้ า น้่ า มั น เชื้ อ เพลิ ง น้่ า จื ด เสบี ย งอาหาร อะไหล่ อุ ป กรณ์ ซ่ อ มบ่ า รุ ง และลู ก เรื อ เป็ น ต้ น
ที่เรือจะรับได้โดยปลอดภัย มีหน่วยเป็นเมตริกตัน)
EC หมายถึง Economic Corridor (ระเบียงเศรษฐกิจ)
EEC หมายถึง Eastern Economic Corridor (การพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก)
EEC Act หมายถึ ง Eastern Economic Corridor Act (พระราช บั ญ ญั ติ เ ขตพั ฒ นาพิ เ ศษ
ภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑)
EEZ หมายถึง Exclusive Economic Zone (เขตเศรษฐกิจจ่าเพาะ)
EIA หมายถึ ง Environmental Impact Assessment (การประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ ม
หรือการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม)
EIP หมายถึง Eco-Industrial Park (นิคมอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ)
EPZ / EPZs หมายถึง Export Processing Zone / Export Processing Zones (เขตอุตสาหกรรม
เพื่อการส่งออก หรือการให้บริการและการขายสินค้าในนิคมอุตสาหกรรมพิเศษ)
ERM หมายถึง Effect Range Median (เกณฑ์ขั้นกลางที่ส่งผลกระทบ)
ESB หมายถึง Eastern Seaboard Development Program (โครงการพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่ง
ทะเลตะวันออก)
EWEC หมายถึ ง East-West Economic Corridor (ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ตะวั น ออก - ตะวั น ตก
หรือพื้นที่เศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก)
FDI หมายถึง Foreign Direct Investment (การดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ)
FTA หมายถึง Free Trade Area (พื้นที่การค้าเสรี)

FTZ หมายถึง Free Trade Zone (เขตการค้าเสรี)


GASEZ หมายถึง The Golden Ax Special Economic Zone (เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง)
GCC หมายถึ ง Gulf Cooperation Council (กลุ่ ม ประเทศอ่ า ว หรื อ คณะมนตรี ค วามร่ ว มมื อ
รัฐอ่าวอาหรับ)
GCI หมายถึง Global Competitive Index (ความสามารถในการแข่งขันระดับโลก)
GDP หมายถึง Gross Domestic Product (ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ)
GFCI หมายถึง Global Financial Centers Index (ศูนย์กลางทางการเงินของโลก)
GI หมายถึง Geographical Indications (สิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์)
GIF หมายถึง Global Infrastructure Fund (กองทุนรวมโครงสร้างพื้นฐาน)
GMS หมายถึง Greater Mekong Sub - region (กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาค
ลุ่มแม่น้่าโขง หรือหกเหลี่ยมเศรษฐกิจ)
GRT หมายถึง Gross Tonnage (กรอสตันเนจ หมายถึง การวัดปริมาตรภายในทั้งหมดของเรือ
คิดเป็นตัน คือ ๑ ตัน เท่ากับ ๑๐๐ ลูกบาศก์ฟุต หรือ ๒.๘๓ ลูกบาศก์เมตร)
GVA หมายถึง Gross Value Added (มูลค่าเพิ่มรวม)
HIA หมายถึง Health Impact Assessment (การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ)
ID หมายถึง Innovation Districts (เขตนวัตกรรม)
IE หมายถึง Industrial Estate (นิคมอุตสาหกรรม)
IMT - GT หมายถึ ง Indonesia-Malaysia-Thailand Growth Triangle (แผนงานการพั ฒ นา
เขตเศรษฐกิจสามฝ่าย สาธารณรัฐ อินโดนีเซีย – สหพันธรัฐ มาเลเซีย – ประเทศไทย หรือความร่วมมือ
โครงการสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ)
IORA หมายถึง Indian Ocean Rim Association (สมาคมแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย)
IRDA หมายถึง Iskandar Regional Development Authority (การบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจ
พิเศษอีสกันดาร์)
ISC หมายถึง Iskandar Service Centre (ศูนย์ข้อมูลอีสกันดาร์)
IUU Fishing ห ม า ย ถึ ง Illegal Unreported and Unregulated Fishing (ก า ร ท่ า ป ร ะ ม ง
อย่างขาดความรับผิดชอบ การประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม)
JICA หมายถึ ง Japan International Cooperation Agency (องค์ ก รความร่ ว มมื อ ระหว่ า ง
ประเทศแห่งญี่ปุ่น)
JWG หมายถึง Thailand-India Joint Working Group on Security Cooperation (คณะท่างาน
ร่วมว่าด้วยความร่วมมือด้านความมั่นคง ไทย – อินเดีย)
MIEC หมายถึง Mekong-India Economic Corridor (ระเบียงเศรษฐกิจแม่โขง-อินเดีย)
MOU หมายถึง Memorandum of Agreement (บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ)
MPA หมายถึง Maritime and Port Authority of Singapore (การท่าเรือแห่งประเทศสิงคโปร์)
MVA หมายถึง Megavolt – Ampere (หม้อแปลงไฟฟ้าที่มีก่าลังไฟฟ้ามากกว่า 10 เมกะโวลต์
แอมแปร์)
MW หมายถึง Megawatt (เมกะวัตต์ = 1,000 กิโลวัตต์ หรือเท่ากับ 1,000,000 วัตต์)
MWQI หมายถึง Marine Water Quality Index (ดัชนีคุณภาพน้่าทะเล)
๑๐

NCMS หมายถึ ง National Committee on Maritime Security (คณะกรรมการความมั่ น คง


ทางทะเลแห่งชาติ)
NeEC ห ม า ย ถึ ง Northeastern Economic Corridor (พื้ น ที่ ร ะ เ บี ย ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ)
NOAA หมายถึ ง National Oceanographic and Atmospheric Association (สถาบั น สมุ ท ร
ศาสตร์และภูมิอากาศแห่งชาติของสหรัฐอเมริกา)
NSC หมายถึง National Security Council (สภาความมั่นคงแห่งชาติ)
NSEC หมายถึง North-South Economic Corridor (ระเบียงเศรษฐกิจเหนือใต้)
OECD หมายถึ ง Organization for Economic Cooperation and Development (องค์ ก าร
เพื่อความร่วมมือและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ)
OIC หมายถึง Organization of the Islamic Cooperation (องค์การความร่วมมืออิสลาม)
OSC หมายถึง One-Stop Centre (การให้บริการธุรกิจแบบจุดเดียวเบ็ดเสร็จ)
PEMSEA หมายถึง Partnership Management for the Seas of East Asia (พันธมิตรเพื่อการ
จัดการสิ่งแวดล้อมทางทะเล ในเอเชียตะวันออก)
PPP ห ม า ย ถึ ง Public Private Partnership (ข้ อ ต ก ล ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ภ า ค รั ฐ
และภาคเอกชน)
PSA หมายถึ ง Port of Singapore Authority (องค์ ก รที่ เ ป็ น เจ้ า ของท่ า เรื อ สิ ง คโปร์ มี ห น้ า ที่
บริ ห ารและประกอบการท่าเรื อ โดยหน่ ว ยงานนี้อยู่ภ ายใต้การก่ากับดูแลของ การท่าเรือแห่ งประเทศ
สิงคโปร์)
SAARC หมายถึ ง The South Asian Association for Regional Cooperation (กลุ่ ม ประเทศ
ในเอเชียใต้ ผ่านทางสมาคมความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้)
SAP หมายถึง Special Area Plan (การวางผังเฉพาะพื้นที่เขตเศรษฐกิจอีสกันดาร์)
SBEZ หมายถึง Special Border Economic Zone (เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน)
SEC หมายถึง Southern Economic Corridor (ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้)
SOLAS หมายถึ ง International Convention for Safety of Life at Sea (อนุ สั ญ ญาว่ า ด้ ว ย
ความปลอดภัยทางทะเล)
SPP หมายถึง Small Power Producer (ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็ก)
SRI หมายถึง Strategic Research Issues (ประเด็นวิจัยเชิงยุทธศาสตร์)
SSEZ หมายถึง Shenzhen Special Economic Zone (เขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้น)
TAC หมายถึ ง Total Allowable Catch (ก่ า หนดปริ ม าณสั ต ว์ น้่ า ทั้ ง หมดที่ อ นุ ญ าตให้ จั บ ได้
ในแต่ละปี)
TAC หมายถึง Treaty of Amity and Cooperation in Southeast Asia (สนธิสัญญามิตรภาพ
และความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
TEU หมายถึง Twenty foot Equivalent Unit (ตู้สินค้าที่มีขนาด 20 ฟุต โดยภายในมีความยาว
20 ฟุต กว้าง 8 ฟุต สูง 8 ฟุต โดยประมาณ น้่าหนักตู้เปล่าประมาณ ๓.๘๐ ตัน สามารถบรรจุสินค้าน้่าหนัก
สูงสุดได้ประมาณ ๒๗ ตัน และมีปริมาตรสูงสุดประมาณ ๓๓ ลูกบาศก์เมตร)
TOR หมายถึง Terms of Reference (กรอบข้อก่าหนด)
๑๑

TP หมายถึง Technology Park (เมืองเทคโนโลยี)


TPP หมายถึ ง Trans - Pacific Partnership (ข้ อ ตกลงหุ้ น ส่ ว นยุ ท ธศาสตร์ เ ศรษฐกิ จ ภาคพื้ น
แปซิฟิก)
ULCC หมายถึ ง Ultra Large Crude Carrier (เรื อ ขนาดประมาณ 320,000 ถึ ง 565,000
เดทเวทตัน)
UNCLOS หมายถึง The United Nations Conference on the Law of the Sea (การประชุม
สหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล หรืออนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล)
UNCLOS 1982 หมายถึง The United Nations Convention on the Law of the Sea 1982
(อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982)
UNEP ห ม า ย ถึ ง United Nations Environment Programme ( โ ค ร ง ก า ร สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม
แห่งสหประชาชาติ)
VLCC หมายถึ ง Very Large Crude Carrier (เรื อ ขนาดใหญ่ ที่ มี ข นาดระวางบรรทุ ก ระหว่ า ง
200,000 ถึง 320,000 เดทเวทตัน)
VSPP หมายถึง Very Small Power Producer (ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนขนาดเล็กมาก)
WEF หมายถึง World Economic Forum (สภาเศรษฐกิจโลก)

๑.๘ กรอบแนวคิดในการศึกษา

ขั้นตอนการศึกษา วิธีการศึกษา ผลลัพธ์

๑.การศึกษา วิเคราะห์ ๑.ข้อมูลความจาเป็นและ


ศึกษาวิเคราะห์แนวคิด รูปแบบของการขุดคลองไทย
สถานการณ์ความจาเป็น ทฤษฎี จากเอกสาร
ในปัจจุบันของการขุดคลองไทย และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
โดยการวิเคราะห์เนื้อหา ๒.ข้อมูลความเป็นไปได้และ
๒.การศึกษา วิเคราะห์ ยุทธศาสตร์ชาติ ที่เชื่อมโยง รูปแบบของการพัฒนาพื้นที่
สถานการณ์ความจาเป็น และเกี่ยวกับการขุดคลองไทย ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ในปัจจุบันของการพัฒนา และการพัฒนาพืน้ ที่
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ๓.ข้อมูลรูปแบบผลกระทบ
ที่อาจจะเกิดขึ้นจากการ
๓.การศึกษา วิเคราะห์ ขุดคลองไทยและการพัฒนา
สถานการณ์ความจาเป็น พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ในปัจจุบันของผลกระทบ รายงานผลการศึกษา ภาคใต้ด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม การขุดคลองไทยและ สังคม ความมั่นคงและ
ความมั่นคง และการเมือง การพัฒนาพื้นที่ระเบียง การเมือง
เศรษฐกิจภาคใต้ (GASEZ)
บทที่ ๒
การทบทวนข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
การศึกษาในครั้งนี้ดาเนินการทบทวนข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อประกอบการวิเคราะห์
ในครั้งนี้ด้วย ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
๑. ทฤษฏี ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ใช้ ท ฤษฎี เ ชิ ง ระบบ (Systems Theory) ทฤษฎี ภู มิ รั ฐ ศาสตร์
แ ล ะ ท ฤ ษ ฎี เ ก ม ( Game Theory) เ ป็ น ต้ น ม า เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ก า รศึ ก ษา
ของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ในครั้งนี้ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก ค)
๒. ข้อมูล เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งเป็นข้อมูล ที่ใช้เป็นฐานในการเชื่อ มโยง
เปรี ย บเที ย บ เนื่ อ งจากการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
จะต้องสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล
พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๖๔ นอกจากนี้ยังใช้แนวคิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ แนวคิดเศรษฐกิจสีน้าเงิน (Blue
Economy) แนวความคิ ด ในการขุ ด คลองเพื่ อ เชื่ อ มต่ อ ทะเล (การขุ ด คลองเพื่ อ เชื่ อ มทะเล
ในต่างประเทศ และการขุดคลองเพื่อเชื่อมทะเลของไทย) อาณาเขตทางทะเลและกฎหมายทะเล
การวิ เ คราะห์ ส ถานการณ์ สิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม การเมื อ งและความมั่ น คงตามแนวคิ ด และทฤษฎี
ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมทางสังคม ทางเศรษฐกิจ และเอกสารและงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องมาเป็นแนวทางในการศึกษาและกาหนดแนวทางในการพัฒนา (ดูรายละเอียดเพิ่มเติม
ในภาคผนวก ค) ดังนั้น ในบทนี้จึงได้สรุปทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่เป็นแนวทางในการวิเคราะห์โดยสังเขป
ดังนี้

๒.๑ ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
๒.1.1 ทฤษฎีเชิงระบบ (Systems Theory)
การคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ (Systems Thinking) เริ่ ม พู ด ถึ ง แนวคิ ด นี้ เ ป็ น คนแรก คื อ
Bertalanfy นักชีววิทยา ต่อมาแนวคิดนี้เป็นที่รู้จักแพร่หลายและพัฒนาไปสู่สาขาอื่นๆ เช่น ฟิสิกส์
เริ่มมาจากการตั้งข้อสัน นิษฐาน (Thesis) แล้วมีข้อขัดแย้งของสั นนิษฐานนั้น ๆ เกิดขึ้นแต่ก็ไ ม่ถู ก
ทั้งหมด ดังนั้น จึงเกิดการสังเคราะห์ (Synthesis) สิ่งใหม่ และสิ่งเหล่านี้ได้พัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง
ความรู้ต่าง ๆ จะพัฒนาเป็นแบบนี้ไปอย่า งไม่หยุดยั้ง ทุกอย่างเคลื่อนไหวไม่แน่นอน วิธีคิดแบบนี้
มี ม านานแล้ ว ทุ ก อย่ า งมี มู ล เหตุ ความรู้ เ รื่ อ งทฤษฎี ร ะบบเป็ น การมองโลกแบบองค์ ร วม ดั ง นั้ น
ทุกอย่างมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์จากส่วนย่อยไปสู่ส่วนใหญ่
การคิ ด อย่ า งเป็ น ระบบ หมายถึ ง วิ ธี ก ารคิ ด อย่ า งมี เ หตุ ผ ล ท าให้ ผ ลของการคิ ด
หรือผลของการแก้ปัญหาที่ได้นั้นมีความถูกต้อง แม่นยาและรวดเร็ว
การคิดอย่างเป็นระบบ หมายถึง การคิดถึงสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่มองภาพรวมที่เป็นระบบ
และมีส่ ว นประกอบย่ อย ๆ โดยอาศัย การคิ ด ในรู ปแบบโดยตรง และโดยทางอ้ อม ทฤษฎี ร ะบบ
ให้ แ นวคิ ด ว่ า ทุกสิ่ งล้ วนย่ อมอยู่ ในเอกภพ รวมทั้งสิ่ งเล็ กหรือใหญ่ ล้ วนเป็นระบบมีวงจรการทางาน ปัจจัย
๑๓

กระบวนการเกิดจากการประสานงานกันหลาย ๆ ระบบ แต่ละหน่วยย่อมมีบทบาทหน้าที่ที่แตกต่างกัน


แต่ละสิ่งในเอกภพมีความเป็นระบบตามมิติต่าง ๆ กันในเวลาเดียวกัน (Gharajedaghi)
การคิดอย่างเป็นระบบ หมายถึง การคิดที่มีความเข้าใจ เชื่อมโยง มีความเชื่อในทฤษฎี
ระบบเป็นพื้นฐาน ในสมองคนปกติมีความเข้าใจเกี่ยวกับระบบในสรรพสิ่งที่อยู่ในโลกที่สอดคล้อง
กับทฤษฎีระบบอยู่แล้ว เพียงแต่ความสามารถในการทาได้ดีในระดับความเข้มข้นของระบบแตกต่าง
กัน (Ackoff)
โดยสรุปการคิดอย่างเป็ นระบบ หมายถึง เป็นการคิดในภาพรวมที่เป็นระบบ และมี
ส่วนประกอบย่อย ๆ มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงจากส่วนย่อยไปหาส่วนใหญ่ เป็นการคิดอย่างมีเหตุมีผล
เน้นการแก้ปัญหาอย่างชาญฉลาดเพื่อให้เกิดความถูกต้อง แม่นยา รวดเร็ว
ความสาคัญของการคิดอย่างเป็นระบบ
การคิดอย่างเป็นระบบมีความสาคัญดังนี้ (Checkland. 1981 : 35)
1) ช่วยให้เกิดความคิดเพื่อพัฒนาองค์กรในภาพรวมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2) ประสานงานร่วมกับบุคคลอื่นให้เป็นไปตามกระบวนการ และระบบการบริหารงานภายใน
3) สามารถแก้ปัญหา ตัดสินใจ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4) แก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งที่จะเกิดขึ้นในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5) เพื่ อ มองเห็ น กระบวนการเปลี่ ย นแปลงที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น กั บ ระบบภายในองค์ ก ร
อย่างเป็นระบบเชื่อมโยงติดต่อกัน และสามารถแก้ไขสถานการณ์อย่างมีประสิทธิภาพ
การคิดอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับองค์กร คือ องค์กรที่มีประสิทธิภาพ ต้องนาระบบการคิ ด
อย่ า งเป็ น ระบบมาจั ด การระบบต่ า ง ๆ ในองค์ ก รให้ ส อดคล้ อ งสั ม พั น ธ์กั น องค์ ก รประกอบด้ ว ย
ส่ ว นประกอบต่ า ง ๆ ที่ เ ชื่ อ มสั ม พั น ธ์ กั น อย่ า งแยกไม่ อ อก ทั้ ง หมดรวมเป็ น หนึ่ ง เดี ย วกั น การคิ ด
อย่างเป็นระบบจะไม่มองเฉพาะจุดใดจุดหนึ่ง แต่จะมองในภาพรวมทั้งองค์กรและพยายามใช้ความคิด
ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น การคิดอย่างเป็นระบบแท้จริง จะมองเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเกิดจากองค์กร
แต่ไม่ใช่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเท่านั้น ปัญหาทุกอย่างสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันจนไม่สามารถแยกออกจากกัน
ได้โดยที่การทางานใด ๆ ของมนุษย์ล้วนเป็นระบบทั้งสิ้น การกระทาทุกอย่างจะถูกโยงด้วยสายใย
แห่งความสัมพันธ์กันและกันตลอดเวลา แต่ไม่สามารถมองเห็นได้ในทันที ต้องใช้เวลากว่าเหตุการณ์
หนึ่ งจะเกิดขึ้น โดยที่เราไม่รู้ ตัว โดยเฉพาะหากปรากฏการณ์ที่มีเราอยู่ร่ว มด้ว ยยากที่จะมองเห็ น
(Ackoff. 2010 : 47)
โดยสรุป การคิดอย่างเป็นระบบจะเน้นการมองเห็นความสัมพันธ์กันและกันในองค์กร
ไม่ใช่มองเหตุผลเป็นเส้นตรงต่อ ๆ กันไปเท่านั้น และมองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลงในองค์กร ไม่ใช่
มองสิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเท่านั้น
การคิดอย่างเป็นระบบ จะต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้ (Checkland : 1981)
1) การคิ ด แบบมี ค วามเป็ น องค์ ร วม (Holistic) หรื อ Wholeness เป็ น การประเมิ น
องค์ประกอบของสถานการณ์หรือสภาพปัญหาของหน่วยงานในภาพรวมทั้งหมด
2) การคิดเป็นเครือข่าย (Networks) เป็นการคิดเชื่อมโยงปฏิสัมพันธ์ของระบบต่าง ๆ
ที่ประกอบกันขึ้นมาเป็นเครือข่ายของระบบ
๑๔

3) คิดเป็นลาดับชั้น (Hierarchy) ระบบหนึ่ง ๆ อาจจะมาจากระบบย่อย ๆ หลายระบบ


ที่ ป ระกอบกั น ขึ้ น มา และในระบบย่ อ ยเองก็ มี ค วามสั ม พั น ธ์ ข องส่ ว นต่ า ง ๆ ที่ เ ป็ น องค์ ป ระกอบ
ของระบบ
4) คิ ด แบบมี ป ฏิ สั ม พั น ธ์ ต่ อ กั น (Interaction) ระหว่ า งระบบด้ ว ยกั น ทั้ ง ระบบย่ อ ย
กับระบบย่อยด้วยกัน ระบบใหญ่กับสภาพแวดล้อม ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของระบบย่อยจะมีผลต่อ
ระบบใหญ่ด้วย
5) คิ ด อย่ า งมี ข อบเขต (Boundary) ระบบหนึ่ ง ๆ มาจากระบบย่ อ ยหลายระบบ
และระหว่างระบบย่ อย และระบบใหญ่ ต่า งมีข อบเขตที่ แสดงให้ เห็ นว่า ระบบนั้น ๆ ครอบคลุ ม
อะไรบ้าง และอะไรบ้าง ที่อยู่นอกเขตแดน ซึ่งในความเป็นจริงระบบก็ไม่ได้แยกเขตแดนกันอย่าง
เด็ดขาด แต่มีการทับซ้อน (Overlap) กันอยู่
6) คิดอย่างมีแบบแผน (Pattern) ระบบจะต้องมีความคงที่แน่นอน เพื่อเป็นหลักประกัน
ว่ากระบวนการทางานทุกอย่างในทุก ๆ ขั้นตอน จะไม่เบี่ยงเบนไปจากเป้าหมายโดยรวมของระบบ
7) คิ ด อย่ า งมี โ ครงสร้ า ง (System Structure) แต่ ล ะส่ ว นที่ ป ระกอบเป็ น ระบบ
ที่มีความเป็ น ตัว ของตัว เอง มีความเป็ นอิส ระ แต่ก็มีความเชื่อมโยงกัน อย่างเหมาะสมทาหน้ า ที่
อย่างสัมพันธ์กัน ทางานเสริมประสานกันกับส่วนอื่น ๆ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายของระบบโดยรวม
8) คิดอย่ างมีการปรั บ ตัว ต่อการเปลี่ ยนแปลง (Adaptation) ระบบต่าง ๆ จะมีการ
ปรับตัว และพยายามสร้างสภาวะสมดุล และคงความสมดุลนั้นไว้ ด้วยการจัดระบบภายในตนเอง
(Self - Organize) คิ ด เป็ น วงจรป้ อ นกลั บ (Feedback - Loops) เป็ น การคิ ด ในลั ก ษณะเป็ น วง
(Loops) มากกว่าจะเป็นเส้นตรง ทุกส่วนต่างมีการเชื่อมต่อ ทั้งโดยตรงและโดยอ้อม
แนวคิดเชิงระบบ (Systems Concept) เป็นแนวคิดที่นาหลายสาขาวิชามาประยุ กต์
ผสมผสานสร้างเป็นทฤษฎีระบบขึ้นมา โดยระบบหมายถึงส่วนประกอบต่าง ๆ ซึ่งประกอบกันขึ้นมา
เป็นหนึ่งเดียว มีความสัมพันธ์กันในทางหนึ่งทางใดรวมกลุ่มอยู่ด้วยกันกระทาการเพื่อความสาเร็จ
ตามที่ต้องการและการเคลื่อนไหว ในส่วนหนึ่งจะมีปฏิกิริยากระทบต่อส่วนอื่น ๆ ด้วย ส่วนประกอบ
แต่ล ะส่ ว นก็เป็ น ระบบย่ อ ยในตัว ของมั นเองแนวคิ ดเชิ งระบบจึ งเป็น แนวคิด หนึ่ งที่ มี ความส าคั ญ
ในการน าไปใช้ใ นการคิ ด และปฏิ บั ติ งานอย่า งเชื่ อมสั ม พั นธ์กั น อย่ างเป็ นระบบ ซึ่งมีความส าคั ญ
ในการนาไปใช้ (อัญชลี ธรรมะวิธีกุล, 2552, น.1) ดังนี้
1) แนวคิ ด เชิ ง ระบบเป็ น เครื่ อ งมื อ ที่ ช่ ว ยให้ ส ามารถก าหนดกรอบการท างานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถมองเห็นกระบวนการทางานทัง้ หมดตั้งแต่ต้นจนจบ
2) ส่งเสริมการทางานเป็นทีม เนื่องจากสามารถสื่อสารกระบวนการทางานทุกขั้นตอน
กับทีมงานได้กระจ่างชัด ซึ่งทาให้สามารถอธิบาย หรือแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ ในมุมมองที่กว้าง
3) ทาให้มองเห็นสิ่งที่เกิดขึ้นหรือสิ่งที่กาลังปฏิบัติอยู่และความผิดพลาดต่าง ๆ ที่เกิด
จากระบบ จะท าให้ ส ามารถมองเห็ น ได้ ชั ด เจนและหาวิ ธี แ ก้ ไ ขได้ ถู ก ต้ อ งทั น ท่ ว งที ซึ่ ง เป็ นผลดี
ทั้งในระยะสั้นและระยาว
4) ทาให้การทางานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ คือ มีความถูกต้อง ประหยัดค่าใช้จ่าย
ทันตามเวลาที่กาหนดและสอดคล้องกับเป้าหมายที่กาหนดไว้
๑๕

ในขณะที่ ปิยนาถ ประยูร (2548) ได้กล่าวความคิดกระบวนเชิงระบบว่า ขณะที่เรา


กาลังเผชิญหน้ากับโลกที่ซับซ้อนมากขึ้น ปัญหาต่าง ๆ ในองค์กรเกิดขึ้นมากมาย มีความซับซ้อนมากขึ้น
การแก้ปัญหาไม่ใช่เรื่องง่าย หลายครั้งที่การจัดการกับปัญหาเกิดจากความไม่รู้หรือความรู้ไม่เพียงพอ
เรื่องของความรู้และการเรียนรู้ จึงเป็นเรื่องสาคัญอย่างมากในอนาคต พื้นฐานการเรียนรู้ที่ดีไม่ได้มาจาก
การเรี ย นรู้ แ บบท่ อ งจ า แต่ เ ป็ น ความสามารถในการคิ ด การรู้ จั ก คิ ด มี ทั ก ษะการคิ ด ที่ ถู ก ต้ อ ง
เป็ น พื้ น ฐานที่ ดี สู่ ทั ศ นคติ ค วามเชื่ อ ภาพจ าลองทางความคิ ด ความคิ ด เชิ ง กลยุ ท ธ์ และการคิ ด
เชิงวิสัยทัศน์ต่อไป ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของสุธิชา ชิตกุล (2550, น.5) ได้กล่าวว่า วิธีคิดใหม่
จิ ตส านึ กเชิ งบู ร ณาการ องค์ร วม หรื อความคิดเชิงระบบ หรือการคิดกระบวนการระบบสามารถ
น ามาใช้ กั บ ระบบย่ อ ย ๆ ในระบบใหญ่ ไ ด้ อย่ า งไรก็ ต าม อรวรรณ วงษ์ ป ระคอง (มปป, น. 1)
ได้สรุปว่า กระบวนการคิดเชิงระบบเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับการพัฒนาองค์การให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมโลกปัจจุบันอยู่ตลอดเวลา บุคลากรในหน่วยงานต้องมีความรู้ ความเข้าใจในกระบวนการคิด
เชิงระบบ รู้และเข้าใจระบบงานต่ าง ๆ ขององค์การในภาพรวม โดยไม่แยกส่วน รวมทั้งสามารถ
มองเห็ น ความเชื่ อ มโยงระหว่ า งงานต่ า ง ๆ ในองค์ ก าร และสภาพแวดล้ อ มต่ า ง ๆ ทั้ ง ภายใน
และภายนอกองค์การที่มีผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์การเพื่อวิเคราะห์ประเด็นปัญหาต่าง ๆ
อย่ า งเป็ น ระบบ ดั ง นั้ น การคิ ด เชิ ง ระบบ (Systems Thinking) จึ ง เป็ น การคิ ด ถึ ง สิ่ ง ใดสิ่ ง หนึ่ ง
ที่มองภาพรวมที่มีความสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการคิดอย่างเป็นระบบ (เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์, 2554)
1) ยอมรับตนเองและเปลี่ยนใจตนเองให้ ได้ว่าตนคือส่ว นประกอบส าคัญที่เชื่ อ มโยง
สิ่งต่าง ๆ
2) เข้าใจธรรมชาติของระบบ และทุกสรรพสิ่งในโลกนี้สัมพันธ์กัน
3) ฝึกการมองภาพรวมแทนสิ่งเล็ก ๆ แล้วค่อย ๆ มองย้อนกลับ
4) มองเห็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง และปัจจัยต่าง ๆ ที่เอื้อต่อระบบ
5) มองเห็นวัฎจักรของเหตุปัจจัย และการส่งผลย้อนกลับ
6) เปิดอิสระในเรื่องการคิด ไม่ตีกรอบ ครอบงาความคิดของคนอื่น
7) ส่งเสริมสนับสนุนให้ทุกคนเกิดแรงร่วมในการสร้างความสัมพันธ์
8) ยึดหลักการเรียนรู้ในองค์กรเป็นส่วนประกอบ คือ การเป็นนายตนเอง ลบความเชื่อ
ฝังใจในอดีต สร้างความใฝ่ฝันถึงอนาคตร่วมกัน (Shared Vision) และฝึกการเรียนรู้ของทีม
โดยสรุปแล้วแนวคิดเชิงระบบ (Systems Concept) เป็นแนวคิดที่เน้นถึงความสัมพันธ์
ของสิ่งต่าง ๆ อย่างเป็นระบบ มีเหตุปัจจัยของการกระทาย่อมมีผลของการกระทานั้น มีปัจจัยนาเข้า
ย่อมมีผลของปัจจัยนั้น จะทาให้เห็นผลกระทบทั้งบวกและลบ ดังนั้น โดยสรุปแล้วการศึกษาในครั้งนี้
ใช้ แ นวคิ ด เชิ ง ระบบมาเป็ น แนวทางในการวิ เ คราะห์ ผ ลการศึ ก ษาทั้ ง ผลกระทบเชิ ง บวกและลบ
อย่ า งเป็ น ระบบ ที่ เ ปรี ย บเที ย บกั บ บริ บ ทอื่ น ๆ ซึ่ ง เป็ น การวิ เ คราะห์ เ ชื่ อ มโยงความสั ม พั น ธ์ กั น
อย่างเป็นระบบ ในทางการบริหารจัดการ ระบบที่สมบูรณ์จะต้องบรรลุถึงหลักเกณฑ์ทางธุรกิจ ซึ่งก็คือ
เป้าหมาย (Goals) และวัตถุประสงค์ (Objectives) ของธุรกิจ ทรัพยากร ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
และกระบวนการ ส่วนประกอบของระบบคือ ปัจจัยนาเข้า (Input) กระบวนการ (Process) ผลผลิต
(Output) การป้อนกลับ (Feedback) และสภาพแวดล้อม (Environment) ดังภาพ
๑๖

ปัจจัยแวดล้อม/กลไกควบคุม
(5)
(Environment/Control
Mechanism)

ปัจจัยนาเข้า (1) กระบวนการดาเนินการ (2) ผลผลิต (3)


(Input) (Implementation Process) (Out Put)

ข้อมูลย้อนกลับ (4)
(Feed Back)

ภาพที่ ๑ รูปแบบการวิเคราะห์ตามแนวคิดเชิงระบบของการบริหารโดยทั่วไปสมัยใหม่
(Systems format)
ที่มา: สมยศ นาวีการ (2547 : 84 – 85)

1) ปั จจั ยน าเข้ า (Input) คื อ ทรั พยากรที่ ใส่ เข้ าไปจะถู กแปรสภาพตามกระบวนการ


เพื่ อให้ บรรลุ เป้ าหมายขององค์ การปั จจั ยน าเข้ า คื อ 6 Ms ได้ แก่ ก าลั งคน หรื อพนั กงาน (Manpower)
เครื่อ งจัก ร หรือ อุป กรณ์ (Machines) วัต ถุดิบ (Materials) ตลาด (Markets) ซึ่ง ก็คือ ลูก ค้ า
เงิน ทุน (Money) วิธีการ หรือกระบวนการ (Methods)
2) กระบวนการ (Process) เป็น ขั้น ตอนในการทางาน รูป แบบกิจ กรรมการผลิต
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การอธิบายรายละเอียดของลาดับขั้นตอนในการปฏิบัติงาน
3) ผลผลิ ต (Output) เป็ น ส่ ว นประกอบของระบบองค์ ก ารซึ่ ง เกี่ ย วกั บ สิ น ค้ า
บริ ก ารและผลผลิตอื่น ๆ และสิ่งอื่นที่ถูกผลิ ตโดยองค์การ
4) การป้อ นกลับ (Feedback) เป็น ข้อ มูล เกี ่ย วกับ สภาพ และผลลัพ ธ์เ กี ่ย วกับ
กิจ กรรมขององค์ก าร ข้อ มูล เหล่า นี้ใ ช้เ พื่อ ปรับ ปรุง ปัจ จัย นาเข้า และกระบวนการแปรสภาพ
เพื่อให้ได้ผ ลลัพธ์ที่พึง พอใจมากขึ้น ซึ่งการป้อนกลับจะช่ว ยให้เกิด ประสิทธิภ าพและประสิท ธิผ ล
สูงสุดตามเป้าหมายที่ต้องการ
5) ปั จ จั ย แวดล้ อ ม/กลไกควบคุ ม (Environment/ Control Mechanism) ห ม า ย ถ ึง
สภาพแวดล้อมภายนอกหรื อภายในซึ่งมีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในองค์การ
๒.1.๒ ทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์
ภูมิรัฐศาสตร์ (geopolitics) คือ การศึกษาเกี่ยวกับผลกระทบทางภูมิศาสตร์ (มนุษย์และ
กายภาพ) ที่ มี ต่ อ การเมื อ งและความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ (Devetak et al. 2012,
p. 492) แม้ว่าภูมิรัฐศาสตร์มีความเกี่ยวข้องกับกลุ่ม ประเทศและความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น แต่ก็อาจ
๑๗

มุ่งเน้ น ถึงสถานะอื่น ๆ ของรั ฐ อีกสองชนิด คือ รัฐ อิส ระโดยพฤตินัย ซึ่ ง ได้รับ การรับรองอย่ า งไม่
สมบูรณ์ และความสัมพันธ์ระหว่างการแบ่งเขตภูมิศาสตร์ระดับชาติ เช่น รัฐรวมอันเกิดจากการใช้
ระบอบสหพันธรัฐ สมาพันธรัฐ หรือกึ่งสหพันธรัฐ ในระดับของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ภูมิ
รัฐศาสตร์เป็นวิธีการในการศึกษานโยบายต่างประเทศเพื่อทาความเข้าใจ อธิบาย และคาดการณ์
พฤติกรรมการเมืองระหว่างประเทศจากตัวแปรทางภูมิศาสตร์ ซึ่งรวมถึง ภูมิภาคศึกษา ภูมิอากาศ
ภู มิ ป ระเทศ ประชากรศาสตร์ ทรั พ ยากรธรรมชาติ และวิ ท ยาศาสตร์ ประยุก ต์ ข องการประเมิน
ในระดับภูมิภาค (Evans, G & Newnham, J., 1998) วิชาภูมิรัฐศาสตร์โดยทั่วไป แบ่งออกเป็น ๒
ประเภท คือ
1) แนวความคิ ด สั ม พั น ธ์ ข องสิ่ ง แวดล้ อ ม ( The Study of Environmental
Relationship) เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ร ะหว่างลักษณะแวดล้อมทางภายภาพและพฤติกรรม
ที่เกี่ยวกับมนุษย์
2) แนวความคิดอานาจของชาติ (The Study of National Power)
แนวคิดนี้เป็นการศึกษาถึงพื้นฐานทางภูมิศาตร์ของพลังแห่งชาติระหว่างชาติ ผู้ริเริ่ม
ทฤษฎีนี้ เป็นนักภูมิศาสตร์ชาวเยอรมันมีชื่อว่า เฟรดริก รัทเซล (Friedrich Ratxel) รัทเซล ได้เขียน
บทความขนาดสั้นขึ้นมาชิ้นหนึ่งชื่อว่า “ที่อยู่อาศัย” (Lebensrasum) ซึ่งบทความนี้ได้รับการยกย่อง
ว่าเป็นเสมือนจุดกาเนิดของแนวคิดอานาจของชาติในทางภูมิรัฐศาสตร์ แนวคิดสาคัญของรัท เซล
ได้ แ ก่ การที่ เ ขาเห็ น ว่ า การที่ รั ฐ ประกอบขึ้ น มาด้ ว ยองค์ ป ระกอบ สองประการ คื อ ประชากร
และแผ่นดิน ดังนั้น รัฐจึงเปรียบเสมือนสิ่งมีชีวิต (Organic State) คือ รัฐนั้นสามารถที่จะเจริญเติบโต
ได้ดังเช่นสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ดังนั้นแล้ว พรมแดนของรัฐจึงสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับ
การเติบโตของรัฐ ในการนี้รัฐใดที่มีอานาจ เข้มแข็งก็จะใช้กาลัง (กองทัพ) รุกรานรัฐอื่นเพื่อปรับปรุง
อาณาเขตดินแดนของตน
ภูมิรัฐศาสตร์มุ่งเน้นถึง อานาจการเมืองในพื้นที่ทางภูมิศาสตร์ โดยเฉพาะอาณาเขต
ทางน้าและทางบกภายใต้ความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์การทูต ในทางวิชาการภูมิรัฐศาสตร์ทาหน้าที่
ในการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์โดยอ้างถึงภูมิศาสตร์ภายใต้ความสัมพันธ์ทางการเมือง
มีกลุ่ มต่าง ๆ ที่ห ลากหลายนอกเหนือจากทางวิชาการที่แสดงถึงการคาดการณ์ทางภูมิรัฐศาสตร์
รวมถึงกลุ่มไม่แสวงหาผลกาไรและสถาบันเอกชนที่แสวงหาผลกาไร (เช่น นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
และบริ ษั ท ที่ ป รึ ก ษา) หั ว ข้ อ ของภู มิ รั ฐ ศาสตร์ ป ระกอบด้ ว ยความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งผลประโยช น์
ของตั ว กระท าการทางการเมื อ งระหว่ า งประเทศและผลประโยชน์ ที่ มุ่ ง เน้ น ถึ ง เนื้ อ ที่ พื้ น ที่
หรื อ องค์ ป ระกอบทางภู มิ ศ าสตร์ อั น เกี่ ย วข้ อ งกั บ การสร้ างระบบภูมิ รั ฐ ศาสตร์ Michael Crotty,
1998) "ภู มิ รั ฐ ศาสตร์ เ ชิ ง วิ พ ากษ์ " โจมตี ท ฤษฎี ค ลาสสิ ก ทางภู มิ รั ฐ ศาสตร์ โ ดยสะท้ อ นบทบาท
ทางการเมืองหรือแนวคิดเพื่อ มหาอานาจในช่วงยุคและหลังยุคของจักรวรรดินิยม (Mehmet Akif
Okur, 2014, pp. 76 - 90)
คริ ส โตเฟอร์ ก็ อ กวิ ล ต์ (Christopher Gogwilt) และนั ก วิ จั ย อื่ น ๆ ได้ ใ ช้ ค าว่ า
ภูมิรัฐศาสตร์เพื่ออธิบายภาพกว้าง ๆ ของแนวคิด โดยทั่วไปหมายถึง "คาพ้องของความสัมพันธ์ทาง
การเมืองระหว่างประเทศ" โดยเฉพาะ "เพื่อบ่งบอกถึงโครงสร้างระดับโลกของความสัมพันธ์ดังกล่าว"
ซึ่งสร้างขึ้นใน "ช่วงต้นศตวรรษที่ ๒๐ สาหรับวิทยาศาสตร์เทียมของภูมิศาสตร์การเมือง" และทฤษฎี
๑๘

ทางวิ ท ยาศาสตร์ เ ที ย มอื่ น ๆ ของนิ ยั ติ นิ ย มทางประวั ติ ศ าสตร์ แ ละภู มิ ศ าสตร์ (Gogwilt,


Christopher,2000. p. 1., Jason Dittmer, Jo Shar (2014). p. 64., Deudney, Daniel.
(2000) การแข่ ง ขั น ด้ า นทรั พ ยากรน้ ามั น และแก๊ ส ระหว่ า งประเทศเป็ น หนึ่ ง ในจุ ด สนใจหลั ก
ของวรรณกรรมทางภู มิ รั ฐ ศาสตร์ ใ นช่ ว งหลั ง สงครามโลกเป็ น ต้ น ไป (Overland, Indra. 2015,
pp. 3517 – 3544) ตั้ ง แต่ ค.ศ. ๒๐๑๐ เกิ ด แขนงใหม่ ท างภู มิ รั ฐ ศาสตร์ ขึ้ น โดยมุ่ ง เน้ น ถึ ง
ความสัมพันธ์ทางอานาจระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทดแทน Overland, Indra et al.
2017)
โดยทฤษฎีภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) มีองค์ประกอบเชื่อมโยงกัน ๓ ทฤษฎี คือ
๑) ทฤษฎีใจโลก หรือดินแดนหัวใจ (Heartland Theory)
๒) ทฤษฎีบริเวณขอบนอก (Rimland Theory)
๓) ทฤษฎีอานาจทางทะเล (Sea Power)
๒.1.2.๑ ทฤษฎีใจโลก หรือดินแดนหัวใจ (Heartland Theory)
ทฤษฎีที่ว่ารัฐซึ่งสามารถครอบครองทรัพยากรทางมนุษย์และทางกายภาพ
ของผื น แผ่ น ดิ น ใหญ่ ใ นยู เ รเซี ย ซึ่ ง อยู่ ร ะหว่ า งเยอรมนี กั บ ไซบี เ รี ย ตอนกลางได้ ก็ จ ะอยู่ ใ นฐานะ
ครอบครองโลกได้ ทฤษฎีหัวใจนี้ได้รับ การพัฒ นาโดยนักภูมิศาสตร์ชาวอังกฤษชื่อ เซอร์ฮัล ฟอร์ด
เจ. แมคคิน เดอร์ (Sir Halford J. Mackinder) (1869 - 1947) ในบทความของเขาชื่ อ “หั ว ใจ
ทางภูมิศาสตร์ของประวัติศาสตร์” (The Geographical Pivot of History: 1904) และในงานเขียน
ที่ โ ด่ ง ดั ง ของเขา คื อ อุ ด มคติ ป ระชาธิ ป ไตยและความเป็ น จริ ง : การศึ ก ษารั ฐ ศาสตร์
ของการฟื้น ฟู (Democratic Ideals and Reality: A Study in the Politics of Reconstruction :
1919) ทฤษฎีหัวใจนี้เกิดขึ้น มาได้ก็เพราะผลจากการที่แมคคินเดอร์ได้ทาการศึกษาสั มพันธภาพ
ในระดับโลกระหว่างมหาอานาจทางบกกับมหาอานาจทางทะเลด้วย
ความสาคัญ (H. J. Mackinder. 1919. p. 272) แมคคินเดอร์ได้ตั้ งข้อ
สมมติ ฐ านขึ้ น มาว่ า มี ข้ อ เท็ จ จริ ง ทางภู มิ ศ าสตร์ บ างอย่ า งมี อิ ท ธิ พ ลอย่ า งยิ่ ง ยวดต่ อ แนวทาง
ของการเมืองโลก ข้อเท็จจริงที่เขาพูดถึงนี้ ได้แก่
๑) เกาะโลก (World Island) (ยุโรป,เอเชีย และแอฟริกา) อยู่ล้อมรอบ
“ดิ น แดนหั ว ใจ” (Heartland) หรื อ “พื้ น ที่ หั ว ใจ” (Pivot Area) ของยู เ รเซี ย ที่ ไ ม่ ส ามารถเข้ า ถึ ง
ได้ จ ากทางทะเล เกาะโลกนี้ มี จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ส าคั ญ ยิ่ ง คื อ ดิ น แดนในแถบยู เ รเชี ย (Eurasia)
(ทวีปเอเชียและยุโรปรวมกัน) โดยดินแดนนี้เริ่มจากชายฝั่งทะเลบอลติกและทะเลดาทางตะวันตก
ไปจนกระทั่งถึงเขตไซบีเรียทางตะวันออก และทางเหนือเริ่มจากมหาสมุทรอาร์กติกลงมาจนจรด
เทือกเขาหิมาลัยทางตอนใต้
๒) ดิ น แดนรู ป วงเดื อ นริ ม ใน (Inner Marginal Crescent) มี ดิ น แดน
ชายฝั่ งทะเลของเกาะโลกนี้ คือ “ดิน แดนภายใน” (Inner) หรือ “ดินแดนเกือบเป็นรูปวงเดือ น”
(Marginal Crescent) ประกอบกั น เป็ น มหาอ านาจทางทะเล และรวมเอาส่ ว นใหญ่ ข องที่ร าบสู ง
อิหร่านทางตะวันตกเฉียงใต้และที่ราบสูงมองโกเลียทางตะวันออกเฉียงใต้เข้ามาไว้ด้วยกัน แมคคินเดอร์
เรียกบริเวณนี้ว่า “ดินแดนหัวใจ” (Heartland) บริเวณดินแดนหัวใจนี้ จะเห็นได้ว่ากาลังทางเรื อ
จะเข้าถึงได้ยากมาก อีกทั้งมีลักษณะภูมิประเทศเป็นภูเขาล้อมรอบซึ่งถือเป็นชัยภูมิที่ดี นอกจากนี้
๑๙

ยังสามารถเคลื่อนย้ายกาลังเข้าไป ยึดครองยุโรปตะวันออกและตะวันตกได้ สาหรับดินแดนหัวใจจะถูกล้อม


ด้วยทวีปยุโรปและเอเชีย มีประเทศ จีน อังกฤษ ฝรั่งเศส เยอรมัน ฯลฯ ล้อมรอบ
๓) ดินแดนรูปวงเดือน ริมนอก (Outer, Insular Crescent) มีฐานอานาจ
ของเกาะ และดินแดนถัดมา ประกอบด้วย ทวีปแอฟริกา ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้
เรียกว่า “อินซูลาร์” (Insular) หรือ “วงเดือนรอบนอก” (Outer Crescent)

ภาพที่ ๒ Location of the pivot zone or heart-land in Mackinder’s theory (1904)


ที่มา : Mackinder (1904), p.435.

นอกจากนี้ แมคคิ น เดอร์ มี ส มมติ ฐ านว่ า มหาอ านาจทางบ ก


จะเจริญเติบโตข้นเรื่อย ๆ จนเข้าครอบงามหาอานาจทางทะเล เขาจึงได้กล่าวไว้ว่า “Who rules East
Europe commands the Heartland, Who rules the Heartland commands the World-
Island, Who rules the World - Island commands the World.” โดยถอดความเป็น ไทยได้ว่า
“ใครครองยุโรปตะวันออก ผู้นั้นควบคุมใจโลก ผู้ใดควบคุมใจโลกได้ผู้นั้นควบคุมเกาะโลก และผู้ใด
สามารถคุมเกาะโลกได้ผู้ นั้ น จะควบคุ มโลก” และได้ประกาศสนับสนุ นนโยบายที่มีวัต ถุประสงค์
เพื่อสร้างดุลยภาพแห่งอานาจระหว่างมหาอานาจทางบกกับมหาอานาจทางทะเล ทั้งนี้ก็เพื่อที่จะไม่ให้
ประเทศใดประเทศหนึ่ ง อยู่ ใ นฐานะที่ จ ะเข้ า ครอบง าดิ น แดนหั ว ใจนั้ น ได้ ในช่ ว งสงคราม โลก
ครั้งที่ ๒ แมคคินเดอร์ได้ปรับปรุงทฤษฎีของเขาเพื่อให้สามารถนาไปใช้ศึกษาพัฒนาการอานุภ าพ
ทางทะเลและการเติบโตทางอานาจชาติของสหรัฐอเมริกาที่ตั้งอยู่ภายนอกเกาะโลกนั้น ต่อมาในปี
ค.ศ. ๑๙๑๙ เขาได้เตือนถึงผลที่จะตามมาหากเยอรมนีสามารถครอบครองสหภาพโซเวียตได้ และในปี
ค.ศ. ๑๙๔๓ เขาก็ ไ ด้ เ ตื อ นถึ ง ผลที่ จ ะตามมาหากสหภาพโซเวี ย ตสามารถครอบครองเยอรมนี
ได้แนววิเคราะห์ของแมคคินเดอร์นี้ก็ยังสามารถนามาใช้กับโลกปัจจุบันได้โดยใช้อธิบายถึงเหตุผลว่า
๒๐

ทาไมสหรั ฐ อเมริ กาต้องดาเนิน นโยบายปิดล้อมคอมมิวนิสต์ หรือใช้อธิบายถึงผลที่จะตามมาจาก


การรวมตัวอย่างใกล้ชิดของสหภาพโซเวียตและจีน
๒.1.2.๒ ทฤษฎีขอบโลก (Rimland Theory)
ทฤษฎีที่เน้ นย้าว่าดิน แดนขอบนอกต่า ง ๆ ของยุโ รป ตะวันออกกลาง
แอฟริกา เอเชียใต้ และตะวันออกไกลเป็นกุญแจสาคัญที่จะไขไปสู่ ความมั่นคงของสหรัฐ อเมริ กา
ทฤษฎีขอบนอกนี้ ได้รับการพัฒนาขึ้นมาโดยนักภูมิศาสตร์และนักภูมิรัฐศาสตร์ ชาวอเมริกันชื่อ นิโคลาส
เจ. สปิ๊ ก แมน (Nicholas J. Spykman, 1893 - 1943) ในหนั ง สื อ ของเขาที่ ชื่ อ ภู มิ ศ าสตร์
แห่ ง สั น ติ ภ าพ The Geography of Peace (ตี พิ ม พ์ เ มื่ อ ค.ศ.1944) สปิ๊ ก แมนได้ พั ฒ นาทฤษฎี
โดยอิ ง แนวความคิ ด ในเรื่ อ งขอบนอก (Rimlands) ทั้ ง นี้ โ ดยสอดประสานไปกั บ แนวความคิ ด
เรื่องวงเดือนรอบใน (Inner Crescent) ของแมคคินเดอร์ (Sir Halford J. Mackinder) เพียงแต่ได้
ดั ด แปลงและเรี ย กชื่ อ ใหม่ เ ท่ า นั้ น เอง สปี ก แมน มองว่ า ดิ น แดนที่ อ ยู่ ถั ด จากดิ น แดนรู ป วงเดื อ น
ริมในออกมา ทั้งนี้ไม่รวมตะวันออกกลาง ตะวันออกใกล้ ตะวันออกไกล และเอเชียอาคเนย์ ต่างหาก
ที่เป็นภูมิประเทศทางยุทธศาสตร์ ที่สาคัญ เพราะว่าเป็นบริเวณกันชน (Buffer Zone) ซึ่ง สปีกแมน
เรียกว่า “ขอบโลก”
สปิ๊กแมนมีข้อสมมติฐานว่า การครอบงาดินแดนขอบนอกเหล่านี้ ณ ที่ใด
ที่หนึ่งโดยมหาอานาจที่เป็นศัตรูจะเป็นภัยคุกคามต่อความมั่นคงของสหรัฐอเมริกา เพราะว่าจากจุด
นั้นไปจะทาให้มหาอานาจนั้นมีสถานะที่สามารถโอบล้อมโลกใหม่ไว้ได้ สปิ๊กแมนได้ดัดแปลงแก้ไข
ถ้อยคาอันโด่งดังของแมคคินเดอร์เสียใหม่เป็นว่ า “ใครครอบครองดินแดนขอบนอกก็จะครอบครอง
ยูเรเซียได้ ใครครอบครองยูเรเซีย ได้ก็จะครอบครองชะตากรรมของโลกได้ ” (who controls the
Rimland rules Eurasia; who rules Eurasia controls the destinies of the world.)
ความสาคัญ ในการพัฒนาทฤษฎีขอบนอกนี้ สปิ๊กแมนได้ให้ความสนใจ
ที่จะให้สหรัฐอเมริกายอบรับในสิ่งต่อไปนี้ คือ
๑) ให้แต่ละรัฐรับผิดชอบต่อความมั่นคงของตนเองในขั้นสุดท้าย
๒) ให้ความสาคัญต่อดุลอานาจโลก
๓) ความจาเป็นที่จะต้องเพิ่มพูนอานาจของสหรัฐอเมริกา
เพื่ อ สร้ า งเสถี ย รภาพดุ ล อ านาจโลกดั ง กล่ า ว ในการวิ เ คราะห์ ปั จ จั ย
ของความมั่นคงของสหรัฐอเมริกานี้ได้นาปัจจัยต่าง ๆ มา พิจารณาอย่างกว้างขวางดังนี้ คือ
๑) ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ กล่าวคือ ที่ตั้ง, ขนาด, ภูมิประเทศ
๒) ปั จ จั ย ทางเศรษฐศาสตร์ กล่ า วคื อ ทรั พ ยากรทางการเกษตร
และทรัพยากรทางด้านอุตสาหกรรม, ประชากร, การผลิตทางอุตสาหกรรม
๓) ปัจจัยทางการเมือง กล่าวคือ ขวัญของชาติ , เสถียรภาพทางการเมือง
และบูรณาการทางสังคม
เมื่ อ เป็ น เช่ น นี้ สปิ๊ ก แมนจึ ง มิ ไ ด้ ใ ช้ ปั จ จั ย ทางภู มิ ศ าสตร์ อ ย่ า งเดี ย ว
มาวิเคราะห์ เพียงแต่เขาได้เน้นย้าว่าภูมิศาสตร์เป็น "ปัจจัยสร้างเงื่อนไขสาคัญมากที่สุดของนโยบาย
ต่างประเทศ" (most fundamentally conditioning factor of foreign policy)
๒๑

สรุ ป ตามทฤษฎี ใ จโลก (Heartland Theory) กั บ ทฤษฎี ข อบโลก


(Rimland Theory) ที่กาหนดให้ดินแดน “ยูเรเชีย” หรือเกือบทั้งหมดของยุโรปกับเอเชียตอนบน
เป็ น พื้น ที่ใจโลก อัน อุดมไปด้ว ยทรั พยากรธรรมชาติ โดยมีดินแดนโดยรอบรวมทั้ง ไทยเป็ น พื้ น ที่
ขอบโลก และเป็นทางผ่านสู่ใจโลก ซึ่งในยุคปัจจุบันบริเวณดังกล่าวล้วนเป็นเมืองท่าที่สาคัญ และ
ตั้งอยู่บนเส้นทางการค้าและการเดินเรือในทะเลที่สาคัญ ดังนั้น จึงส่งผลทาให้รัฐมหาอานาจพยายามที่
จะขยายอิทธิพลเข้ามาในบริเวณดังกล่าว โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทยซึ่งถือว่าเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่
ดีที่สุดในการรุกเข้าสู่ใจโลก และในทางกลับกันประเทศที่อยู่ในใจโลกก็ต้องการหาช่องทางออกสู่
น่านน้าเพื่อประโยชน์ทางการค้าและการทหารด้วยเช่นกัน
ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ท ฤ ษ ฎี ท า ง ภู มิ รั ฐ ศ า ส ต ร์ กั บ แ น ว ค ว า ม คิ ด เ รื่ อ ง
ของการขุดคลองกระหรือคลองไทยนั้น กล่าวคือ ภูมิรัฐศาสตร์ของไทยอยู่ในบริเวณที่สามารถออกสู่
ทะเลได้ทั้ง ๒ ฝั่ง คือ ฝั่งตะวันออกด้านอ่าวไทยและฝั่งตะวันตกด้านทะเลอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย
พื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่บริเวณปากทางเข้าช่องแคบมะละกา ซึ่งเป็นเส้นทางคมนาคมทางเรือที่สาคัญ
ยิ่งที่เชื่อมมหาสมุทรอินเดียเข้ากับมหาสมุทรแปซิฟิก กองเรือสินค้าและเรือรบของประเทศต่าง ๆ ใช้
เป็นทางผ่านที่สาคัญ รวมทั้งเส้นทางนี้เป็นเส้นทางที่สั้ นที่สุดและช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายมากกว่า
เส้นทางอื่น ๆ ฉะนั้นแนวคลองไทย จะเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางการค้า เศรษฐกิจที่ส าคัญแห่ ง ใหม่
ของโลก
๒.1.2.๓ ทฤษฎีอานาจทางทะเล หรือทฤษฎีสมุททานุภาพ
สมุ ท ทานุ ภ าพ (Sea Power) (A.T. Mahan. 1987, pp. 26 - 32)
ถูกกาหนดมาจากแนวความคิ ดของ พลเรือตรี อัล เฟรด เธเยอร์ มาฮาน (Rear Admiral Alfred
Thayer Mahan) ซึ่งถูกนามาใช้ครั้งแรกในหนังสือ The influence of Sea Power upon History
1660 – 1973 ซึ่ง มาฮาน เป็นนักยุทธศาสตร์ทางเรือผู้มีชื่อเสียง ได้ทาการศึกษาและวิเคราะห์
ประวัติศาสตร์ การก้าวขึ้นมาเป็นมหาอานาจทางทะเลของประเทศอังกฤษ สรุปเป็นทฤษฎีสมุททานุภาพ
แล้วเปรียบเทีย บถึงขีดความสามารถของสหรัฐ ฯ ในการเป็นชาติมหาอานาจทางทะเลด้วยปัจ จัย
สมุ ท ทานุ ภ าพหลาย ๆ ปั จ จั ย ซึ่ ง มี ส่ ว นคล้ า ยคลึ ง กั บ ประเทศอั ง กฤษ ทั้ ง นี้ ความส าคั ญ
ของสมุ ท ทานุ ภ าพถื อ หลั ก ส าคั ญ ว่ า มหาอ านาจทางทะเลจะเหนื อ กว่ า มหาอ านาจทางบก
ในเชิงภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitic) ซึ่งความจริงในทฤษฎีนี้ได้รับการพิสูจน์ว่าเป็นความจริงและถูกต้อง
จากสงครามโลกทั้งสองครั้ ง ซึ่ งประเทศที่มีส มุทานุภ าพที่เหนือกว่าจะเป็นผู้ช นะสงครามในที่สุด
หากพิจารณา ความหมายของสมุททานุภาพ อันเป็นการผสมคาระหว่าง คาว่า “สมุทร” (ทะเล)
กับ คาว่า “อานุ ภ าพ” (กาลั งอานาจ) ความหมายโดยรวมของสมุ ททานุภ าพ มีบริบทเช่นเดี ย ว
กับที่มาฮาน ได้เขียนไว้คือ “อานาจ กาลังอานาจ หรือศักยภาพของชาติ (หรือรัฐใด รัฐหนึ่ง) จากการ
ใช้ทะเลให้เกิดประโยชน์ตามที่ต้องการ” (สามารถ จาปีรัตน์. ๒๕๕๖, หน้า ๑๑ - ๑๓) จากผลลัพธ์
ของสงครามโลกครั้ ง ที่ ๑ และครั้ ง ที่ ๒ จึ ง พิ สู จ น์ ไ ด้ ว่ า ทฤษฎี แ ละหลั ก การของสมุ ท ทานุ ภ าพ
ที่ได้กาเนิดขึ้นมากว่า ๑๐๐ ปี แล้ว ก็ยังสามารถนามาปรับใช้ได้จนถึงปัจจุบัน เพราะทะเลยังคงเป็น
เส้นทางคมนาคมที่สาคัญของโลก แม้ว่าปัจจุบันการขนส่งทางอากาศจะมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นก็ตาม
แ ต่ ก็ ยั ง ไ ม่ ส า ม า ร ถ ท ด แ ท น ก า ร ข น ส่ ง ท า ง ท ะ เ ลไ ด้ แ ล ะ ท ะ เ ล ก็ ยั ง เ ป็ น แ ห ล่ ง อ า หาร
กับแหล่งทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ ของมนุษย์ ที่สาคัญ นอกจากนี้กาลังทางเรือก็ยังสามารถขยาย
๒๒

อานาจจากทะเลขึ้นสู่ฝั่ง (Power Projection Ashore) ได้คล้ายกับการขยายอานาจของกาลังทางบก


แต่ ทั้ ง นี้ ทฤษฎี ส มุ ท ทานุ ภ าพไม่ มี สู ต รส าเร็ จ ที่ แ น่ น อน รั ฐ ชายฝั่ ง จะต้ อ งน าทฤษฎี ม าประยุ ก ต์
ใช้ให้เหมาะสมกับรัฐของตนเองด้วย
ศักยภาพหรือขนาดความยิ่งใหญ่ของสมุททานุภาพของประเทศที่แท้จริง
คือ เครื่องมือหรือกลไกที่จ ะขับเคลื่ อนปัจจัยทั้งหมดดังกล่าว ในการที่จะใช้หรือแสวงหาประโยชน์
จากทะเลได้อย่างเต็มที่ (สามารถ จาปีรัตน์. ๒๕๕๖, น. ๙ - ๑๐) เพื่อผลักดันให้เป็นพลังของสมุททานุภาพ
ซึ่งเครื่องมือทีจ่ ัดได้ว่าเป็น องค์ประกอบของสมุททานุภาพ (Components of Sea power) ได้แก่
๑) นาวิ ก านุ ภ าพ (Naval Power) เป็ น เครื่ อ งมื อ ในการที่ จ ะได้ ม า
ซึ่งองค์ประกอบของการขยายดินแดนตามทฤษฎีและหลักการของสมุททานุภาพ รวมทั้งใช้ในการ
รั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล อี ก ทั้ ง ยั ง ใช้ ใ นการป้ องปรามและแก้ ไ ขความขั ด แย้ ง
ด้วยกาลังอีกด้วย ปัจจุบัน กาลังรบทางเรือมิได้มีเพียงเรือรบผิวน้า เช่น ในยุคของมาฮานเท่านั้น กาลังรบ
ทางเรือหรือนาวิกนุภาพในปัจจุบันประกอบด้วย เรือรบ ทั้งเรือผิวน้า เรือดาน้า อากาศนาวี และทหาร
นาวิกโยธิน
๒) กองเรื อสิ นค้า (Merchant Fleet) เป็นเครื่องมือส าคัญในการสร้าง
ความเจริญให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งการค้าขายกับต่างประเทศและการค้าขายระหว่าง
เมืองท่าต่าง ๆ ภายในประเทศ ประเทศที่ไม่มีกองเรือสินค้าที่เข้มแข็ง ก็จะตกอยู่ในสถานะเสียเปรียบ
ทางการค้า เพราะต้องเสียค่าระวางสินค้ าให้กับเรือพาณิชย์ต่างชาติเป็นจานวนไม่น้อยในยามสงบ
พาณิชย์นาวีเป็นปัจจัยพื้นฐานสาคัญของระบบเศรษฐกิจชาติ และในยามสงครามพาณิชย์นาวีก็จะเป็น
กาลังสาคัญอีกเช่นกันที่จะสนับสนุนนาวิกานุภาพและการปฏิบัติการทางทหาร
๓) ฐานทั พ และท่ า เรื อ (Naval Bases and Harbors) เป็ น ฐานที่ มั่ น
ที่ ห ยุ ด พั ก ผ่ อ นรั บ การส่ ง ก าลั งบ ารุ ง (ส าหรั บ กองเรื อ รบ) และขนถ่ า ยสิ น ค้ า (ส าหรั บ เรื อ สิ นค้า)
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญอีกสิ่งหนึ่ง การขาดแคลนท่าเรือและอุปกรณ์อานวยความสะดวกประจา
ท่าเรือนั้น อาจเป็นอุปสรรคในการขนถ่าย และการค้าขายกับต่างประเทศและในประเทศได้ รวมทั้ง
ลดทอนขี ด ความสามารถในการส่ ง ก าลั ง บ ารุ ง เพราะเรื อ สิ น ค้ า เรื อ รบ และคนประจ าเรื อ
ไม่อาจจะปฏิบั ติงานบนเรื อในทะเลได้ต่อเนื่องตลอดไป นอกจากนี้ท่าเรือจะเป็นประตูเศรษฐกิจ
และสังคมวัฒนธรรมที่ประเทศชาติสามารถนาเศรษฐกิจ และวัฒนธรรมไปเผยแพร่ยังอีกประเทศ
หนึ่ ง ได้ ท่าเรื อจะดีห รื อ ไม่ นั้ น จะขึ้น อยู่กับขนาดที่ ตั้ง อุ ปกรณ์การขนถ่าย ลั กษณะลมฟ้า อากาศ
และเส้นทางคมนาคมจากท่าเรือสู่ตัวเมือง
๔ ) อู่ ส ร้ า ง เ รื อ / ซ่ อ ม เ รื อ ( Shipyards/Dockyards) เ ป็ น ร า ก ฐ า น
ทางอุตสาหกรรม สาหรับเสริมสร้างและบารุงรักษากองเรือสินค้าและกองเรือรบของประเทศ รวมทั้ง
สิ่งอานวยความสะดวกทั้งปวงที่ทาให้เรือมีความคงทนทะเล (Seaworthiness) และสามารถใช้งาน
ได้เป็นอย่างดี
๕) พาณิ ช ย์ ก ารและการติ ด ต่ อ ระหว่ า งประเทศ ( Commercial
Establishments and Contacts) การที่ประเทศมีพาณิช ย์นาวีที่เข้มแข็งยังไม่เพียงพอที่จะท าให้
การค้าขายร่ารวยและเจริญรุ่งเรืองได้ การค้าขายจึงจาเป็นต้องมีสถาบันทางพาณิชย์การหรือสถาบัน
การค้าที่จะกาหนดนโยบาย กากับ ดูแลการค้าขาย และหาตลาดที่จะนาสินค้าไปขายหรือไปซื้อสินค้า
๒๓

กับประเทศต่าง ๆ ด้วย สถาบันการค้าจึงนับเป็นองค์ประกอบที่สาคัญที่จะควบคุมให้มีการถ่ายเท


สินค้าทั้งขาเข้าและขาออก อย่างมีประสิทธิภาพ
๖) องค์บุคคล (Personnel) องค์บุคคลหรือคนเป็นองค์ประกอบส าคัญ
ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งองค์ ป ระกอบอื่ น ๆ ทั้ ง หมด อาทิ คนเป็ น ผู้ ใ ช้ แ ละบ ารุ ง รั ก ษาเรื อ ทั้ ง เรื อ รบ
และเรือพาณิชย์ เรือประมง เป็นต้น ผู้บริหารและดาเนินกิจการท่าเรือ และสิ่งอานวยความสะดวก
ทั้งปวง คนเป็นผู้สร้างและซ่อมเรือ รวมทั้งคนเป็นผู้บริหารและดาเนินกิจการสถาบันการค้าต่าง ๆ
ดังนั้น การที่จะได้องค์บุคคลที่ดีที่จะเป็นกาลังในการพัฒนาและการใช้สมุททานุภาพนั้น นอกจาก
จะเกิดจากการที่คนมีความคุ้นเคยกับ ทะเลหรือสิ่ งแวดล้ อมแล้ว การฝึกอบรม การสร้างแรงจูงใจ
คนจะทาให้ เกิดความนิ ย มในอาชีพทางทะเล รวมทั้งอุตสาหกรรมทางทะเลที่เกี่ยวข้อง สิ่งต่าง ๆ
เหล่านี้ล้วนมีส่วนทาให้ประเทศมีองค์บุคคล ที่มีคุณสมบัติดีด้วย
ทั้ ง นี้ ปั จ จั ย ที่ จ ะเสริ ม สร้ า งหรื อ เกื้ อ กู ล ต่ อ การพั ฒ นาสมุ ททานุ ภาพ
(Factors of Sea Power) ของแต่ละประเทศ ประกอบไปด้วยปัจจัยที่สาคัญ ๖ ประการ คือ
๑) ต าบลที่ ตั้ ง ทางภู มิ ศ าสตร์ (Geographical Position) ภู มิ ศ าสตร์
ที่เกื้อกูลต่อการเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางทะเล การป้องกันประเทศ และการขยายอาณาบริเวณ
ทางทะเล
๒) สภาพภู มิ ประเทศ (Physical Conformation) ลั ก ษณะของขอบฝั่ ง
แม่น้ า กระแสน้ า มีผ ลต่อการพัฒ นาท่าเรือ และกาลั งทางเรือในการป้องกันประเทศ นอกจากนี้
ยั งส่ งผลต่อการพัฒ นาสมุททานุ ภ าพของประเทศที่มีอ่าวลึ ก ระดับน้าลึ ก แม่น้า ทางออกสู่ ทะเล
กว้างและร่องน้าลึกเพียงพอ มีแนวขวางกันคลื่นลม ซึ่งสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้เป็นศักยภาพในการพัฒนา
เป็นท่าเรือที่ดีได้
๓) ขอบเขตของดินแดน (Extents of Territory) ความยาวขอบฝั่งทะเล
เป็นทั้งจุดอ่อนและจุดแข็งของประเทศที่ต้องได้รับการป้องกัน และต้องการกองทหารในการวางกาลัง
แต่ในเชิงของสมุท ทานุ ภ าพ หมายถึง ขอบฝั่งที่มีความยาวมากรวมถึงจานวนช่องทางเข้าออกจานวนมาก
จะถื อ ว่ า เป็ น จุ ด แข็ ง ง่ า ยต่ อ การใช้ ท รั พ ยากรทางทะเล อี ก ทั้ ง ประชากรมั ก ชอบใช้ ท ะเล
ในการติดต่อกับโลกภายนอก แต่ยากแก่การป้องกันดินแดน
๔) จานวนประชากร (Numbers of Population) คุณลักษณะประชากร
ที่ส่งผลต่อการพัฒนาสมุททานุภ าพของประเทศ มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความยาวของขอบฝั่ ง
ซึ่งมิได้ หมายถึง จานวนประชากรต่อพื้นที่แต่หมายถึงประชากรที่มีอาชีพที่เกี่ยวกับทะเล อันได้แก่
คนที่ประกอบอาชีพเป็นทหารเรือ ทางานบนเรือสินค้า เรือประมง อู่ต่อเรือ และการบริการต่าง ๆ
ที่เกี่ยวกับทางเรือ เป็นต้น ซึ่งคนเหล่านี้เป็นผู้ผลักดันให้เกิดสมุททานุภาพ และสามารถใช้เป็นกาลัง
ในการป้องกันประเทศทางทะเลได้
๕) คุ ณ ลั ก ษณะประจ าชาติ เนื่ อ งจากก าลั ง อ านาจทางทะเลมี พื้ นฐาน
มาจากการขยายตัวของการค้า ดังนั้น นิสัยรักการค้าจึงเป็นคุณลักษณะที่สาคัญของรัฐในการพัฒนา
ไปสู่ความเป็นมหาอานาจทางทะเล ความต้องการของประชาชนในการแสวงหาความมั่งคั่งจากการค้า
จะผลักดันให้รัฐบาลสนับสนุนการค้ามากขึ้น นอกจากนิสัยรักการค้าแล้วประชาชนในรัฐยังต้องมีนิสัย
รักการเสี่ยงโชคและผจญภัยในทะเลเพื่อแสวงหาโอกาสใหม่ ๆ
๒๔

๖) คุณลักษณะของรัฐบาล เป็นปัจจัยสุดท้ายซึ่งกระตุ้นให้รั ฐพัฒนากาลัง


อานาจทางทะเล เนื่องจากรัฐบาลที่มีวิสัยทัศน์ทางทะเล จะสนับสนุนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตลอดจน
ประชาชนในรั ฐ ให้ ร่ ว มมื อ กั น ประกอบอาชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ ท ะเลเพื่ อ สร้ า งความมั่ ง คั่ ง
ทางเศรษฐกิจและความมั่นคง ให้แก่รัฐอย่างต่อเนื่อง
จากค าอธิ บ ายความส าคั ญ ของแต่ ล ะปั จ จั ย ดั ง กล่ า วข้ า งต้ น นั้ น พบว่ า
มาฮาน ได้กล่าวถึงความสาคัญของกองทัพเรือ กองเรือพาณิชย์ และอาณานิคมโพ้นทะเล ซึ่งใช้เป็น
สถานีการค้าทางเรือและฐานทัพเรือไว้ด้วย สิ่งเหล่านี้มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันอย่างที่ไม่สามารถ
แยกออกจากกัน ได้ เพราะทาให้ รั ฐ มีขีดความสามารถในการแสวงหาวัต ถุดิบ เพื่ อ การผลิ ต สิ น ค้ า
เพิ่มมากขึ้น และยังทาให้รัฐ มีขีดความสามารถในการแสวงหาตลาดเพื่อจาหน่ายสินค้าได้มากขึ้นด้วย
ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า กองทัพเรือ กองเรือพาณิชย์ ตลอดจนท่าเรือ ฐานทัพเรือ และสิ่งอานวยความสะดวก
ก็เป็นปัจจัยสาคัญอีก ๓ ประการที่ก่อให้เกิดอานาจทางทะเลด้วย ซึ่ง เจฟฟรี่ย์ ทิลล์ ได้อธิบายปัจจัย
ทั้ง ๖ ประการดังกล่าวข้างต้น ว่าเป็นปัจจัยพื้นฐาน (Sources) และอธิบายปัจจัย ๓ ประการหลังว่า
เป็ น ปั จ จั ย ปฏิบั ติการ (Elements) โดยแต่ล ะปัจจัยปฏิบัติการมีความส าคัญ ซึ่งจะทาให้ ประเทศ
มีสมุททานุภาพที่เข้มแข็งได้อย่างแท้จริง (Eric Grove, 2017)
จากองค์ ป ระกอบของสมุ ท ทานุ ภ าพและปั จ จั ย ที่ จ ะเสริ ม สร้ า งหรื อ
จะเกื้อกูลต่อการพัฒนา สมุททานุภาพ (ช่อฉัตร กระเทศ, ๒๕๖๐ หน้า ๑๓) สังเกตได้ว่า มหาอานาจ
ทางทะเลได้ ใ ช้ เ รื อ สิ น ค้ า หรื อ พาณิ ช ย์ น าวี ข องตนเป็ น เครื่ อ งมื อ ส าคั ญ ในการสร้ า งความเจริ ญ
ให้กับระบบเศรษฐกิจของประเทศ ทั้งการค้าขายกับต่างประเทศและการค้าขายระหว่างเมืองท่าต่าง ๆ
ภายในประเทศ แต่ลาพังการมีกองเรือสินค้าที่มีจานวนมากเพียงอย่างเดียวก็ไม่อาจจะดาเนินการ
ได้โดยลาพัง จาเป็นต้องมี กาลังรบทางเรือหรือนาวิกานุภาพ (นาวี + อานุภาพ) ให้ความคุ้มครอง
รวมทั้งต้องอาศัยองค์ประกอบอื่น ๆ สนับสนุนด้วย เช่น ฐานทัพ ท่าเรือ สิ่งอานวยความสะดวก ฉะนั้น
จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบต่าง ๆ ของสมุททานุภาพและปัจจัยเสริมสร้างหรือเกื้ อกูลต่อการพัฒนา
สมุ ท ทานุ ภ าพตามที่ ก ล่ า วมาแล้ ว มี ค วามเกี่ ย วพั น กั น อย่ า งใกล้ ชิ ด และสนั บ สนุ น ซึ่ ง กั น และกั น
อย่ า งแยกกั น ไม่ ไ ด้ เป็ น ส่ ว นเกื้ อ กู ล โดยตรงที่ จ ะท าให้ ป ระเทศนั้ น ๆ มี ส มุ ท ทานุ ภ าพที่ เ ข้ ม แข็ ง
และเมื่อประเทศมีสมุททานุภาพที่เข้มแข็งแล้ว ก็จะทาให้ประเทศนั้นสามารถแสวงหาผลประโยชน์
ต่าง ๆ จากทะเลได้ ซึ่งจะนาความเจริญมั่งคั่งมาสู่ประเทศได้ในที่สุด
สมุททานุ ภ าพในยุคโลกาภิวัฒ น์ (ศูนย์ปืน โสมภีร์ และจเร โฉมเฉลา.
๒๕๕๐, หน้า ๒ - ๕) เมื่อสิ้นยุคสงครามเย็น แรง ๔T อันประกอบด้วย การขนส่ง (Transportation)
การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecommunication) โทรทัศน์ (Television) และการค้าขาย (Trade)
ได้ผ ลั กดัน ให้ โ ลกก้าวเข้าสู่ กระแสแห่ งระบบโลกใหม่ อย่า งรวดเร็ว เรียกได้ว่าเป็นยุคโลกาภิวัต น์
ซึ่งก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลเหนื อแรงบังคับอื่น ผลสาคัญที่สุดประการหนึ่งของระบบ
โลกใหม่นี้ คือ ทาให้ตลาดโลกเชื่อมต่อกันเป็นตลาดเดียวกันโดยสิ้นเชิง และผู้ใดที่มองเห็นโอกาส
จากความเป็นหนึ่ งเดียวกันนี้ จะสามารถตักตวงเอาความมั่งคั่งจากตลาดโลกไปได้อย่างมหาศาล
ข้อสรุปสาคัญที่ได้ คือ ใครก็ตามที่คิดจะวางยุทธศาสตร์ในการตักตวงผลประโยชน์จากระบบโลกใหม่
จะจ ากั ด ตนเองอยู่ แต่ เ พี ย งเส้ น เขตแดนของประเทศไม่ ไ ด้ อี ก ต่ อ ไป จะต้ อ งมี วิ สั ย ทั ศ น์ ม องโลก
ในลั ก ษณะองค์ ร วมและต้ อ งมี ส มุ ท ทานุ ภ าพที่ เ ข้ ม แข็ ง ซึ่ ง ลั ก ษณะส าคั ญ ของระบบโลกใหม่
๒๕

ก็คือ การกาจัดพรมแดนระหว่างประเทศออกไป และรวมตลาดของโลกเข้าเป็นหนึ่งเดียว เศรษฐกิจ


โลกจะกลายเป็นเรื่องธรรมดาสามัญที่ประชาคมโลก (Global Citizen) สามารถสัมผัสได้โดยไม่ยาก
ธุรกรรมต่าง ๆ จะถูกเชื่อมเข้าหากัน เสริมแรงกัน ทุกแวดวงธุรกิจไม่ว่าจะเป็นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก
ขนาดใหญ่ต่างก็มุ่งหน้าเข้าสู่ เวทีโลกเกือบหมดสิ้น ปรากฏการณ์นี้ ทาให้เกิดทั้งโอกาสและสิ่งท้าทาย
มากมายต่ อ ประชาชนของประเทศต่ า ง ๆ ทั่ ว โลกที่ ทุ ก มิ ติ สั ง คมของตนจะถู ก กลื น เข้ า หากั น
อย่ า งไม่ มี ทางหลี กเลี่ ยงได้ ไม่ว่าจะเป็นค่านิยม ความรู้ ความเชื่ อ ทรัพยากร ตลาดเงิ นและตลาดทุ น
การกลืนกินเข้าหากันนี้ย่อมส่งผลให้เกิดทั้งแรงผลักดันและแรงเสียดทานในเวลาเดียวกันถึงแม้ระบบ
โลกจะเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วอย่างไร แต่สมุททานุภาพก็ยังคงเป็นเครื่องมือที่สาคัญยิ่งสาหรับมนุษย์
ในการค้าขายทางทะเลอยู่จนถึงปัจจุบัน เมื่อพิจารณาในแง่เศรษฐกิจแล้วโลกาภิวัตน์ทาให้ต ลาดโลก
กลายเป็นตลาดเดียว ส่งผลให้ปริมาณการค้าขายระหว่างประเทศมีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง
จ า ก ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ส ถ า บั น Hamburg International Economics ( HWWI)
(Großmann, Harald et al., 2020, pp 61 - 64) พบว่า ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๕๕๙ เป็นต้นมา ประเทศ
ชั้นนาได้แสวงหาความมั่งคั่งจากการค้าขายระหว่างประเทศมีมูลค่าสูงถึง ๘.๙๗๕ ล้านล้านดอลลาร์
สหรัฐอเมริกา ในจานวนนี้เป็นมูลค่าในการขนส่งทางทะเลร้อยละ ๖ ปริมาณการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศทางทะเลต่อปีมีสูงถึง ๖.๗๘ พันล้านตัน ด้วยอัตราการเจริ ญเติบโตเฉลี่ยอยู่ที่ร้อยละ ๓.๗
ต่อปีเพื่อตักตวงผลประโยชน์อันมหาศาลจากโอกาสทางเศรษฐกิจที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง ชาติชั้นนา
ต่าง ๆ ได้เตรียมการเสริมสร้างสมุททานุภาพของตนเองเพื่อรองรับการเติบโตทางเศรษฐกิจในยุค
โลกาภิวัตน์ และหนึ่งในสมุททานุภ าพนั้น คือ“ท่าเรือ” ซึ่งเป็นที่รับและขนส่งสินค้ากิจการท่าเรือ
ที่มีความสาคัญและเชื่อมโยงต่อการขนส่งสินค้าในระบบเศรษฐกิจโลกนั้น ปัจจุบันมีท่าเรือระดับโลก
ที่สาคัญอยู่ ๒ ท่า ตั้งอยู่ในทะเลเหนือ คือ ฮัมบวร์ก และ ร็อตเตอร์ดัม ซึ่งสองเมืองท่านี้ ติดระดับหนึ่ง
ในสิบของท่าเรือที่ใหญ่ที่สุดในโลก และมี ๖ ท่าเรือสาคัญอยู่ในเอเซียประกอบด้วย สิงคโปร์ ฮ่องกง
เซี่ยงไฮ้ เสิ่นเจิ้น ปูซาน และเกาชิง ในตะวันออกกลางมี ๑ ท่าเรือ คือ ดูไบ และในสหรัฐอเมริกา
อีก ๑ ท่าคือ ลอสแอนเจลิ ส และเมื่อพิจารณาถึ ง ความได้เ ปรีย บของท่าเรื อสิ ง คโปร์ แล้ ว พบว่ า
ได้เปรียบทางตาแหน่งทางภูมิศาสตร์มากที่สุด เพราะอยู่ในช่องแคบมะละกา ซึ่ งเป็น ช่องแคบที่มี
เส้นทางการเดินเรือผ่านมากที่สุดในโลกคิดเป็นร้อยละ ๓๐ ของการขนส่งทางทะเลทั้งโลก มีเรือผ่าน
ช่องแคบนี้มากกว่า ๒,๐๐๐ ลาต่อวัน ในขณะที่ท่าเรือฮ่องกงเป็นศูนย์กลางสินค้าของเอเชียแปซิฟิกใต้
ท าหน้ า ที่ ใ นการรวบรวมสิ น ค้ าที่ จ ะส่ ง ทางเรื อ จากท่ า เรื อ เล็ ก ในภู มิภ าคแล้ ว ท าการส่ ง ผ่ า นสาย
การเดินเรือขนาดใหญ่ไปยังภูมิภาคอื่น ๆ ด้วยวิธีการนี้จะสามารถขนส่งสินค้าได้ในปริมาณที่มากด้วย
ค่าใช้จ่ายที่น้อยลง ในขณะเดียวกันระยะเวลาในการขนส่งของเรือใหญ่ก็ลดลงด้วย เพราะเรือใหญ่
ประเภทนี้ไม่จาเป็นต้องเข้าจอดทุกท่า นอกจากนี้แล้วการขยายตัวของท่าเรือเสิ่นเจิ้น ซึ่งมีภูมิศาสตร์
ที่ใกล้เคียงกับฮ่องกง ยิ่งจะทาให้ท่าเรือสองแห่งนี้สามารถตั้งตัวเองเป็นศูนย์กลางท่าเรือนานาชาติ
ในภูมิภาคนี้ได้ไม่ยาก สาหรับท่าเรือดูไบ เป็นท่าเรือที่อยู่ระหว่างยุโรปกับเอเชีย มีอัตราการขยายตัว
ในลาดับ ๓ และกาลังตั้งเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ซึ่งจากการพยากรณ์ของธนาคารโลก อัตราการ
ขยายตัวของท่าเรือของโลก จะมีแนวโน้มมุ่งไปทางการขยายตัวเพื่อรับมือกับสินค้าประเภทบรรจุ
คอนเทนเนอร์ โดยคาดว่าจะสูงถึงร้ อยละ ๖๒.๐ นับจากปี พ.ศ. ๒๕๔๖ ไปจนถึงปี พ.ศ. ๒๕๗๓
ในขณะที่การรับมือกับสินค้าประเภทเทกองมีอัตราการขยายตัวเพียง ร้อยละ ๘๕ ส่วนสินค้าประเภท
๒๖

ของเหลวมีอัตราการขยายตัวในราวร้อยละ ๑๐ ยิ่งไปกว่านั้น ชาติที่ประสบความสาเร็จในการตักตวง


ความมั่งคั่งจากทะเลต่างก็หันมาเสริมสร้างกองเรือพาณิชย์ของตนทั้งสิ้น

๒.1.3 ทฤษฎีเกม (Game Theory)


เครื่ องมือที่ถูกน ามาใช้ ในการตัดสิ นใจภายใต้ความขัดแย่งที่กาลังเป็นที่นิยม คือ
ท ฤ ษ ฎี เ ก ม ( Aumann and Dreze, 1974; Nagarajan and Sosic, 2008) ใ น ท ฤ ษ ฎี ท า ง
เศรษฐศาสตร์ การตัดสิ น ใจของผู้ผลิ ตในตลาดผู้ขายน้อยรายมีผลกระทบซึ่งกันและกัน กล่ าวคือ
การใช้กลยุ ทธ์ของผู้ ผ ลิ ตรายหนึ่ งจะน ามาซึ่งการตอบโต้ของผู้ ผ ลิ ตรายอื่น ดังนั้นกลยุทธ์ที่ดีที่สุ ด
ของผู้ผลิตแต่ละรายจะขึ้นอยู่กับปฏิสัมพันธ์เชิงกลยุทธ์ของคู่แข่งขัน (Wen and Fang, 2012)

ภาพที่ 3 ทฤษฎีเกม (game theory)


ที่มา: https://tradinginstitute.org/wp-login.php?redirect_to=https%3A%2
F%2Ftradinginstitute.org%2Fwp-admin%2F&reauth=1
ทฤษฏี เ กมถู ก น ามาประยุ ก ต์ ใช้ กั น อย่ า งแพร่ ห ลายในการวิ เ คราะห์
พฤติกรรมการแข่งขันและอธิบายว่าทาไมคู่แข่งขันถึงเลือกใช้กลยุทธ์ที่แตกต่างกัน อีกทั้ง
ยังเป็นเครื่องมือทีมีเหตุผลในการพิจารณาผลตอบแทนทางเศรษฐกิจ และปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้าร่วม
แข่งขัน (Nagarajan and Sosic, 2008) นอกจากนี้ ทฤษฎีเกมยังเป็นทฤษฎีทางคณิตศาสตร์ที่แสดง
ถึงการโต้ตอบในสถานการณ์การตัดสินใจซึ่งถูกใช้ในการจาลองสถานการณ์ที่แท้จริง ในเกมเชิงกลยุทธ์
จะมีการสมมุติว่าผู้เล่นแต่ละรายเลือกกลยุทธ์ที่โดดเด่นโดยไม่คานึงทางเลือกของผู้เล่นรายอื่น สาหรับ
ในเกมที่มีผู้เล่น 2 รายและมีทางเลือก 2 ทางเลือก ผู้เล่นแต่ละรายจะมีสองทางเลืทอกในการตัดสินใจ
ว่าจะเลือกหรือไม่เลือก ดังนั้น ผู้เล่นทั้งสองรายจะมีการตัดสินใจที่เป็นไปได้ทั้งหมดร่วมกัน 4 การ
ตัดสินใจ (Wen and Fang, 2012; Safari and Soufi, 2014) ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดของเกมอาจเป็นการ
ใช้กลยุทธ์เดียวหรือใช้กลยุทธ์ผสมก็ได้ ซึ่งเป็นประโยชน์ในการตัดสินใจเลือกใช้กลยุทธ์ได้อย่างถูกต้อง
ทฤษฎีเกม (Game Theory) เป็นแนวทางหรือทฤษฎีที่ใช้ในการเจรจา
ต่ อ รองที่ มี ก ารศึ ก ษาและน าไปใช้ กั น ในวงกว้ า ง ความจริ ง นั้ น ทฤษฎี เ กม (Game Theory) นั้ น
เป็ น ทฤษฎี ที่ มี ก ารใช้ กั น ในวงการต่ า ง ๆ ไม่ ว่ า จะเป็ น ในทางรั ฐ ศาสตร์ ตลอดจนเป็ น เครื่ อ งมื อ
ที่ ใ ช้ ใ นการเจรจาต่ อ รอง ทฤษฎี เ กมสามารถที่ จ ะใช้ ใ นการวิ เ คราะห์ แ ละพยากรณ์ พ ฤติ ก รรม
ของคู่เจรจาหรื อในกรณีที่เป็ น การเจรจาทางการทูตนั้น ก็ส ามารถที่จ ะพยากรณ์ ถึงผลการเจรจา
๒๗

ที่จะเกิดขึ้นในทางวิชารัฐศาสตร์นั้นทฤษฎีเกมก็เคยถูกหยิบยกมาอธิบายในเรื่องเกี่ยวกับพฤติกรรม
ของประเทศต่าง ๆ ในโลกยุคสงครามเย็นอันเป็นโลกซึ่งมีการแบ่งระบบการเมืองออกเป็น 2 ขั้ว
หรื อทางวิช าเศรษฐศาสตร์ ทฤษฎีเกมได้ถูกนาไปใช้เป็นเครื่องมือในการศึก ษาพฤติกรรมกลยุ ท ธ์
(Strategic Behavior)
ในเรื่องการเจรจาต่อรองนั้นทฤษฎีเกมได้ถูกนามาใช้กันอย่างกว้างขวาง
และมีประสิ ทธิภาพซึ่งทาให้ การเจรจาต่อรองนั้นเป็นตามเงื่อนไขหรือทิศทางที่กาหนดไว้ ทฤษฎี เกมนั้น
ตั้งอยู่บนสมมุติฐานว่าคู่เจรจานั้นจะมีความรู้ความสามารถเท่าเทียมกันและมีข้อมูลมากเท่าเทียมกัน
ซึ่งองค์ประกอบดังกล่าวจะส่งผลให้การเจรจามีข้อยุติในลักษณะที่คาดการณ์ได้ อย่างไรก็ตามทฤษฎี
เกมนั้นสามารถที่จะใช้ในการอธิบ ายได้อย่างดีในกรณีที่ถ้าหากว่าคู่เจรจาฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งมีข้ อ มูล
ที่ดีกว่าและมีการเตรียมการที่ดีกว่าย่อมประสบความสาเร็จและได้เปรียบอีกฝ่ายหนึ่งที่ขาดข้อมูล
และการเตรียมการ
ทฤษฎี เ กมอธิ บ ายว่ า การเมื อ งภายในประเทศหรื อ การเมื อ งระหว่ า ง
ประเทศก็ดี ต่างก็มีลักษณะคล้ายเกมชนิดหนึ่งซึ่งมีการแข่งขัน (Competition) และในการแข่งขันนี้
จะต้องมีผู้แสดงบทบาทหรือตัวกระทา (Actors) ตั้งแต่สองคนขึ้นไป โดยผู้แสดงเหล่านั้นจะต้องเป็น
ผู้มีเหตุผล ในการเลือกใช้ยุทธศาสตร์ (Strategy) หรือยุทธวิธีที่อานวยผลประโยชน์ต่อตนมากที่สุด
และในกรณี ที่ ต้ อ งเผชิ ญ กั บ การสู ญ เสี ย ซึ่ ง ไม่ อ าจจะทนต่ อ ไปได้ ผู้ แ สดงจะต้ อ งยอมแพ้ ใ นทั นที
ถ้ า ผู้ แ สดงไม่ มี เ หตุ ผ ลโดยไม่ ย อมแพ้ ก็ จ ะมี ผ ลท าให้ ก ารท านายของทฤษฎี นี้ ผิ ด ทั น ที (ศิ โ รฒน์
ภาคสุวรรณ, ๒๕๓1, น.๓๘)
ทฤษฎีเกม (Game Theory) จาแนกออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้
ทฤษฎีเกมที่ใช้ คือ แนวทางเกมศูนย์ (Zero Sum Game) และแนวทาง
เกมไม่ศูน ย์ (Non - zero Sum Game) ซึ่งอาจจาแนกออกเป็น เกมบวก (Positive Sum Game)
และเกมลบ (Negative Sum Game) (พีรพงศ์ ไวกาสี, ๒๕50 : ๑๙ - ๒๐)
1) ทฤษฎี เ กมศู น ย์ (Zero Sum Game) หมายถึ ง แนวทางในการ
ตัดสินใจว่าต้องมีผู้ได้ (Winner) และผู้เสีย (Looser) ผู้ตัดสินใจที่จะเล่นเกมนี้ จะต้องมีการประเมิน
อานาจต่อรองและต้องมีความมั่นใจว่าตนเองนั้นมีอานาจตัดสินใจสูงกว่าอีกฝ่ ายหนึ่ง ตัวอย่างเช่น
ในวงไพ่ ถ้ามีผู้ได้ ๓๐๐ บาทจะต้องมีผู้เสียรวมกันแล้ว ๓๐๐ บาท ดังนั้น บวก ๓๐๐ รวมกับลบ ๓๐๐
จึงเท่ากับศูนย์
2) แนวทางเกมไม่ศูนย์ (Non - zero Sum Game)
2.1) ทฤษฎี เ กมลบ (Negative Sum Game) หมายถึ ง กรอบการ
ตัดสินใจบนพื้นฐานที่ว่าถ้าเมื่อใดผลการตัดสินใจนั้นจะทาให้ผู้ตัดสินใจทุกฝ่ายเป็นผู้เสีย ผู้ตัดสินใจนั้น
จะหลีกเลี่ยงการตัดสินใจดังกล่าว ตัวอย่าง คือ นาย ก กับ นาย ข มีการเจรจาต่อรองกัน แต่ในที่สุด
ก็ทะเลาะกันทาให้การเจรจาต่อรองล้มเหลว และทาให้ธุรกิจของทั้งสองฝ่ายต่างพังทั้งคู่ เพราะนาย ก
ซื้อวัตถุดิบจากนาย ข ซึ่งมีราคาถูกและหาซื้อจากที่อื่นไม่ได้ ทาให้นาย ก มีความได้เปรียบคู่ แ ข่ง
ในขณะที่นาย ข ต้องพึ่งนาย ก ซึ่งเป็นลูกค้ารายใหญ่ ซึ่งถ้านาย ก ไม่ซื้อวัตถุดิบนาย ข ก็จะขาดทุน
ทฤษฎีเกมลบ ก็จะอธิบายพฤติกรรมของของนาย ก และ นาย ข ในอนาคตว่าจะต้องกลับมาเจรจากันใหม่
๒๘

และมีโอกาสที่จะประสบความสาเร็จในการเจรจาด้วยความจาเป็นของการหลีกเลี่ยงความเสียหาย
ที่จะเกิดขึ้นกับทั้งสองฝ่าย (จุลชีพ ชินวรรโณ, ๒๕๔๗, น. ๒ – ๕)
2.2) ทฤษฎี เ กมบวก (Positive Sum Game) มี ห ลั ก การส าคั ญ
ที่อธิบายการตัดสินใจบนพื้นฐานของเหตุและผลว่า ผู้ตัดสินใจจะต้องพยายามหาแนวทางที่ได้ทั้งคู่
(Win - Win) ทางออกในการตัดสินใจของทุกฝ่ าย คือ การประเมินสถานการณ์ของตัวเองและของอีก
ฝ่ายหนึ่งหรือหลายฝ่ายก็ได้ และหาแนวทางที่จะมีจุดพบกันของผลประโยชน์ของทุกฝ่ ายที่เรียกว่า
“เกมบวก” (Positive Sum Game) จุดที่เป็นเกมบวกนั้นย่อมเป็นจุดรวมของการหักลบผลประโยชน์
และต้น ทุน ของแต่ละฝ่ าย โดยมีข้อสรุ ปว่าการหักลบของแต่ล ะฝ่ ายมีผลบวก (Positive) มากกว่า
ผลลบ และแน่นอนในทางปฏิบัติบางฝ่ ายย่อมมีมากกว่าบางฝ่ าย ทั้งนี้ย่อมขึ้นอยู่กับอานาจต่อรอง
หรือความฉลาดและข้อมูลของแต่ละฝ่ าย บางคนที่อาจจะมีอานาจต่อรองน้อยแต่เข้าใจฝ่ ายตรงข้าม
และมี ข้ อ มู ล มากกว่ า ก็ อ าจจะได้ ผ ลประโยชน์ สู ง กว่ า ฝ่ า ยตรงข้ า ม ซึ่ ง แม้ จ ะมี อ านาจต่ อ รอง
ในความเป็นจริงมากกว่าก็ได้ อย่างไรก็ตามการที่ฝ่ ายใดฝ่ายหนึ่งได้ย่อมไม่ได้ หมายถึง อีกฝ่ายหนึ่ง
เป็นผู้เสีย เพราะถ้าเป็นเช่นนั้ นจะเข้าใจกรอบขอบเกมศูนย์ แต่ในทฤษฎีเกมบวก ผลได้อาจจะไม่
เท่ากันแต่ทุกฝ่ายสรุปหักลบแล้วต้องเป็นผู้ได้

๒.๒ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กอแก้ว จันทร์กิ่งทอง และคณะ (๒๕๕๙) ศึกษาผลกระทบและความเป็นไปได้ ในการดาเนิน
โครงการขุดคลองไทย (คอคอดกระ) ผลการวิ จัยพบว่า ๑) การศึกษาผลกระทบที่ประชาชน จะได้รับนั้น
ประชาชนในแต่ ละเส้ นทาง (๒A, ๗A, ๕A และ ๙A) มี ความคิ ดเห็ นค่ าผลกระทบในแต่ ละด้ านแตกต่ างกั น
๒) ผลการศึกษาความคิดเห็น ของประชาชนต่อการดาเนินการขุดคลองไทย (คอคอดกระ) พบว่า
ประชาชนในเส้ น ทาง ๙A เห็ น ด้ ว ยกั บ การด าเนิ น โครงการขุ ด คลองไทย ในขณะที่ ป ระชาชน
ในเส้ น ทางแนว ๒A และ ๗A ต่างไม่แน่ใจกับการดาเนินโครงการ ส่ ว นประชาชนในเส้ นทาง ๕A
ไม่เห็นด้วยกับการดาเนินโครงการ ๓) ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการ
ดาเนิ น โครงการขุดคลองไทย (คอคอดกระ) ตามเส้ นทางต่าง ๆ ทั้ง ๒A, ๗A, ๕A และ ๙A พบว่า
ประชาชนที่ มี ร ะดั บ การศึ ก ษา อาชี พ รายได้ และพื้ น ที่ พั ก อาศั ย ต่ า งกั น มี ร ะดั บ ความคิ ด เห็ น
ต่อการดาเนินโครงการขุดคลองไทยในทุกด้านแตกต่างกัน ๔) การศึกษาความคิดเห็นของผู้บริห าร
เจ้ า หน้ า ที่ ของหน่ ว ยงานภาครั ฐ เอกชน และประชาชนที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ในการด าเนิ น โครงการ
ขุ ด คลองไทย (คอคอดกระ) และข้ อ ดี ข้ อ เสี ย ของเส้ น ทางการด าเนิ น โครงการขุ ด คลองไทย
(คอคอดกระ) มีความคิดเห็นที่แตกต่างกัน
ดลหทัย จิรวิวรรธน์ (๒๕๕๙) ศึกษาเรื่อง คลองไทย: ประเด็นที่ต้องพิจารณาและการเตรียม
ความพร้ อมด้ านกฎหมาย ทั้ งนี้ จากการศึ กษาโดยการสั มภาษณ์ ผู้ เชี่ ยวชาญพบว่ า รองศาสตราจารย์
ชัชชาติ สิทธิพันธ์ ได้เสนอข้อคิดเห็นว่า โครงการขุดคลองไทยยังไม่มีความจาเป็นสาหรับบริบทของ
ประเทศไทยในปัจจุบันสอดคลองกับความคิดเห็นของ ร.ศ.ดร.รุธิร์ พนมยงค์ ซึ่งแสดงความเห็นว่าไม่
เคยมีความจาเป็นของประเทศไทยเลยที่จะต้องขุดคลองไทย แต่เป็นการตอบแทนผลประโยชน์ของ
ต่างชาติทั้งสิ้น ส่วนสมาคมเจ้าของและตัวแทนเรือกรุงเทพฯ เสนอความเห็นว่า การที่สายการเดินเรือ
จะพิจารณาเลือกใช้คลองนั้น จะขึ้นอยู่กับอัตราค่าผ่านคลองเป็นสาคัญ ทั้งนี้ ในช่วงที่น้ามันมีราคาต่า
๒๙

และทาให้ค่าใช้จ่ายของเรือถูกกว่าค่าผ่านคลอง สายเรือก็อาจจะไม่เลือกใช้คลอง นอกจากนี้ ยังมองว่า


คลองไทยจะช่วยลดระยะทางได้ประมาณ ๙๐๐ กว่ากิโลเมตร และช่วยระยะเวลาไปเพียง ๓๐ ชั่วโมง
ซึ่ ง เส้ น ทางนี้ โ ดยทางกายภาพแล้ ว ไม่ ไ ด้ ช่ ว ยร่ น ระยะเวลา หรื อ เป็ น ทางลั ด ได้ ม ากมาย ดั ง เช่ น
คลองปานามาหรื อคลองสุ เอซ ซึ่งถ้าไม่มีคลองสุ เ อซเรือ จะต้อ งแล่ น อ้อมทวีปแอฟริ กาเสี ย เวลา
เพิ่มราว ๑๐ - ๑๒ วัน หรือหากไม่มีคลองปานามาการแล่ นเรือจาก East Coast ไป West Coast
ของอเมริกาจะต้องวิ่งอ้อมอเมริกาใต้ ซึ่งเสียเวลาอีกประมาณ ๑๐ วัน
นรพั ช ร เสาธงทอง (๒๕๕๙) ศึ ก ษาการขุ ด คลองกระกั บ ความมั่ น คงทางภู มิ รั ฐ ศาสตร์
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จากการศึกษา พบว่าโครงการขุดคอคอดกระนั้นมีแนวคิดที่จะขุด
โครงการดั ง กล่ า วมาแล้ ว หลายยุ ค สมั ย ซึ่ ง ในแต่ ล ะยุ ค สมั ย ล้ ว นมี ปั จ จั ย ที่ ต่ า งกั น จนเป็ น เหตุ ใ ห้
ไม่ส ามารถดาเนิ น โครงการได้อย่ างลุ ล่ ว ง ซึ่งในยุคปัจจุบันนี้ความขัดแย้งในระดับชาติและระดั บ
ภูมิภ าคมีแนวโน้ มเพิ่มมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความไร้เสถียรภาพทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม
ข้อพิพาทตามชายแดน ความตึงเครี ย ดทางด้านเชื้อชาติ ศาสนา และการแข่งขันในการแสวงหา
ทรัพยากร การแย่งชิงทรัพยากรระหว่างประเทศ ปัญหาเหล่านี้ ได้ผสมผสานกันขึ้นในหลายภูมิภาค
และมีแนวโน้ มที่จ ะเกิด ความรุ น แรงมากขึ้ นทุ กขณะ ประเทศต่าง ๆ ในเอเชียตะวันออกเฉี ย งใต้
จึงพยายามปรับปรุงและสร้างโครงสร้างพื้นฐานของตนเอง เพื่อให้เศรษฐกิจมีความเข้มแข็งสามารถ
ผ่ า นพ้ น วิ ก ฤติ ดั ง กล่ า วได้ แต่ ใ นกรณี ข องประเทศไทยนั้ น ยั ง ขาดแผนแม่ บ ทในการเร่ ง รั ด พั ฒ นา
เศรษฐกิ จ อย่ า งจริ ง จั ง เมื่ อ เที ย บกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นในกลุ่ ม เอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ อนาคต
ของประเทศไทยจึงควรที่จะต้องเร่งพัฒนาโครงการพื้นฐานทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น เขตเศรษฐกิจ
พิเศษ คลองกระ ก็เป็นส่วนหนึ่งในโครงการที่ช่วยพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศให้เกิดการ
เติบ โตทัดเทีย ม กับ ประเทศเพื่ อนบ้ า น ซึ่งรัฐ บาลไทยเองก็ ต้ องตระหนั ก ถึง ความส าคัญ ดั ง กล่ า ว
และนามาเป็นแนวทางที่ใช้พัฒนาประเทศต่อไปในอนาคต
อรรถพร บรมสุข (๒๕๕๓) ศึกษาวิจัยเรื่อง การขุดคลองกระกับความมั่นคงทางทะเลของไทย
ผลการศึกษา พบว่า ที่ผ่านมามีทั้งฝ่ายสนับสนุนและฝ่ ายคัดค้าน การขุดคลองในส่วนที่สนับสนุน
จะมองความเป็ น ไปได้ ใ นทุ ก ๆ ด้านในเชิงบวก โดยมีแนวคิดหลั กว่ า การขุด คลองจะช่ว ยพั ฒ นา
เศรษฐกิจ ของไทยที่จะช่วยแก้ปัญหาอื่น ๆ รวมทั้งปัญหาความมั่นคงด้วย ในส่วนที่คัดค้านจะมองว่า
การขุดต้องลงทุนสู ง และมีความยากล าบากที่จะคุ้มทุน และยังจะสร้างปัญหาด้านต่าง ๆ ตามมา
ทั้ ง ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ ม และความมั่ น คง เมื่ อ พิ จ ารณานโยบายของรั ฐ บาลที่ ผ่ า นมาพบว่ า รั ฐ บาล
ทุกรัฐบาลยังไม่มั่นใจต่อการลงทุน ที่จะขุดคลองไทย แต่มีความเชื่อสูงว่าต้องมีการดาเนินการพัฒนา
ให้ภาคใต้ของไทยเป็น ศูนย์ กลางการคมนาคมและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับวัตถุ ดิบ
ด้านพลังงาน อย่างไรก็ตามในภาพรวมแล้วการขุดคลองไทยจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
หรือด้านภูมิศาสตร์ที่สาคัญ คือ เกิดคลองเป็นเส้นทางคมนาคมทางน้าเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทร
อินเดีย (ทะเลอันดามัน ) และมหาสมุทรแปซิฟิก (อ่าวไทย) ในส่วนของการเชื่อมแผ่นดินที่ถู กแบ่ง
อ อ ก ไ ป จ ะ มี ส ะ พ า น /อุ โ ม ง ค์ เ ชื่ อ ม ต่ อ แ ผ่ น ดิ น ท า ง ต อ น ใ ต้ แ ล ะ ต อ น เ ห นื อ ข อ ง ค ล อ ง
ในด้านการเปลี่ยนแปลงเชิงรัฐศาสตร์จะทาให้ประเทศไทย เป็นศูนย์กลางการคมนาคมค้าขายของโลก
คลองที่ขุดจะเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่มหาอานาจต่าง ๆ จะต้องการมีอิทธิพลเหนือพื้นที่นี้ ในขณะเดียวกัน
พื้น ที่ภ าคใต้ของไทยจะมี ความเด่ น ชัด ถึง ความแตกต่า งด้ านเชื้ อชาติ ภาษา และศาสนากั บ พื้ น ที่
๓๐

ด้านเหนือของคลอง อีกทั้งจะมีการเปลี่ ยนแปลงจากการพัฒนาพื้นที่บริเวณหัวคลองและท้ายคลอง


เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ที่มีความสาคัญต่อเศรษฐกิจไทย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวจะส่งผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งด้านบวกและด้านลบที่ไม่อาจตัดสินได้อย่างง่ายนักว่าการลงทุน
ขุดคลองไทย จะคุ้มค่าและยอมรับความเสี่ยง ได้หรือไม่โดยเฉพาะด้านความมั่นคง
จตุพร ศุขเฉลิม (๒๕๕๓) ได้ศึกษาความเป็นไปได้เชิงพาณิชย์ด้วยระบบเทคโนโลยียกเรื อ
สาหรับโครงการคลองกระ จากการศึกษาเรื่องระยะทางและเวลาที่เรือใช้เดินทางเปรียบเทียบระหว่าง
การผ่านคลองยกระดับกับการผ่านช่องแคบมะละกาโดยวิธีการวัดระยะทางเส้นทางเดินเรือ (Dead
Reckoning : DR) พบว่า การเดินทางระหว่างมหาสมุทรอินเดียไปยังตะวันออกไกลโดยใช้เส้นทาง
คลองกระจะช่วยย่นระยะทาง ๕๒๔ ไมล์ทะเล และช่วยประหยัดเวลา ๓๐ ชั่วโมง ส่วนการเดินทาง
จากมหาสมุทรอินเดียมายั งภาคตะวัน ออกของไทยจะช่วยย่นระยะทาง ๖๐๔ ไมล์ทะเล และช่วย
ประหยัดเวลา ๔๒ ชั่วโมง
คณะกรรมาธิการวิส ามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิ ส ภา
(๒๕๔๘) ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ ผลการศึกษาสรุปว่า คณะกรรมาธิการ
วิ ส ามั ญ ฯ ได้ เ สนอแนวคลองเส้ น ๙A ซึ่ ง ผ่ า นพื้ น ที่ จั ง หวั ด กระบี่ ตรั ง พั ท ลุ ง นครศรี ธ รรมราช
และสงขลา ซึ่ ง ลั ก ษณะการขุ ด คลองจะเป็น การขุ ด คลองแบบคู่ ข นาน ระยะทางประมาณ ๑๒๐
กิ โ ลเมตร กว้ า ง ๓๐๐ - ๔๐๐ เมตร ลึ ก ๓๐ - ๓๕ เมตร สามารถรองรั บ เรื อ ขนาด ๕๐๐,๐๐๐
เดทเวทตั น ใช้ ง บประมาณในการก่ อ สร้ า ง ๖๕๐,๐๐๐ ล้ า นบาท ทั้ ง นี้ ก ารขุ ด คลองไทยจะท าให้
ประเทศไทยได้รับประโยชน์ ดังนี้ ๑) คลองไทยจะเป็นเส้นทางเศรษฐกิจใหม่ของโลก ๒) สามารถแก้ไข
ปัญหา ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้อย่างละมุนละม่อม ๓) จะเป็นสายธารขนาดใหญ่เชื่อมสองฝั่ง
ทะเลไทย ๔) เสริมสร้างสมุททานุภาพด้านความมั่นคง ๕) ขยายโอกาสด้านการประมง ๖) ลดพื้นที่
ยากจน ๗) เพิ่มบทบาทให้ไทยมีอานาจต่อรองทางเศรษฐกิจ การเมือง และทางทหารระหว่างประเทศ
มหาอานาจของโลก ๘) ลดต้นทุนการผลิตน้ามัน ๙) ประหยัดค่าขนส่งสินค้าทางเรือ ๑๐) ประเทศ
มีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจในภูมิภาค ๑๑) ลดปัญหาภาวะเรือนกระจก ย่นระยะทาง
ประหยัดเชื้อเพลิง และ ๑๒) เป็นแหล่งรายได้หลักยุคเศรษฐกิจไร้พรมแดน
สุกัลยา โชคบารุง (๒๕๔๗) ศึกษาโครงการคลองกระ โดยผลการศึกษาพบว่าหากประเทศไทย
สามารถพัฒ นาโครงการคลองกระได้ส าเร็จแล้ว จะได้รับผลประโยชน์อย่างมากมาย ทั้งทางด้าน
เศรษฐกิ จ ด้ า นความมั่ น คง และความเจริ ญ เติ บ โตของอุ ต สาหกรรมต่ า ง ๆ ด้ ว ยการ
บริ ห ารจั ด การที ่ ดี ป ระเทศไทยจะสามารถพัฒ นาประเทศให้ เป็นศูนย์กลางการขนส่ งทางทะเล
ส าหรั บ ภู มิ ภ าคเอเชี ย ซึ่ ง จะสร้ า งความสะดวกในการขนส่ ง เป็ น จุ ด ดึ ง ดู ด การค้ า การลงทุ น ใน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่จะช่วยสร้างงานและรายได้ให้กับคนไทยได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ไม่ว่าจะ
ก่อนหรือภายหลังโครงการเสร็จเรียบร้อยแล้ว นับเป็นการสร้างเสถียรภาพและโอกาสทางเศรษฐกิจ
ให้ กั บ ประเทศไทยอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง พร้ อ มทั้ ง ยั ง เป็ น ประโยชน์ ต่ อ ประเทศอื่ น ๆ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงใต้ด้วย
สุวภาคย์ อิ่มสมุทร (๒๕๔๖) ศึกษาเรื่อง การวิเคราะห์ปัจจัยทางธรณีวิทยาตามแนวเส้นทาง
คลองไทยแนว ๙A จังหวัดนครศรีธรรมราช - ตรัง ได้สารวจธรณีวิทยาตามแนวเส้นทางคลองกระ
จังหวัดนครศรีธรรมราช - จังหวัดตรัง (เส้น ๙A) เพื่อประเมินความเหมาะสมทางธรณีวิทยา โดยมีแนว
๓๑

ขอบเขต ของพื้นที่สารวจห่างจากแนวคลองกระด้านละ ๕ กิโลเมตร และมีความยาวทั้งสิ้น ๑๒๕


กิโลเมตร ผลการสารวจพบว่าโครงสร้างทางธรณีไม่ได้มีผลกระทบต่อการขุดคลองกระ แต่แนวรอย
เลื่อนในพื้นที่สารวจจานวน ๓ แนว คือ แนวตะวันออกเฉียงเหนือ - ตะวันตกเฉียงใต้ แนวเหนือ - ใต้
และแนวตะวันตกเฉียงเหนือ - ตะวันออกเฉียงใต้ จะส่งผลกระทบต่อการขุด ทรัพยากรแหล่งแร่ที่พบ
ตามแนวคลองประกอบด้วย ดีบุก วุลแฟรม แบไรต์ พลวง ฟอสเฟต ซึ่งปริมาณแร่ดังกล่าวมี น้ อย
แต่พบว่าหลายบริเวณเป็นแหล่งทรัพยากร แหล่งหินและแหล่งทราย
คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารพิ จ ารณาการขุ ด คอคอดกระ ในคณะกรรมาธิ ก ารการทหาร
สภาผู้แทนราษฎร (๒๕๔๓) บริษัท Productivity Management จากัด ประเทศไทย และ Global
Infrastructure Fund Research Foundation-Japan (๒๕๔๓) ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ เ บื้ อ งต้ น
ของโครงการขุดคอคอดกระ โดยสรุปผลได้ว่า การขุดคอคอดกระจะเป็นการสร้างองค์ประกอบสาคัญ
ของสมุททานุภาพ (SEA POWER) หรืออนุภาพทางทะเล ให้เกิดขึ้นกับประเทศไทย กล่าวคือ จะทาให้
ประเทศไทยมี ที่ ตั้ ง อยู่ บ นเส้ น ทางเดิ น เรื อ ของโลก และกลายเป็ น จุ ด ยุ ท ธศาสตร์ ส าคั ญ ของโลก
ทั้งยุทธศาสตร์ด้านการทหารและยุทธศาสตร์ด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ด้านเศรษฐกิจนั้น ประเทศไทย
จะได้รับประโยชน์เหมือนกับประเทศสิงคโปร์ได้รับในปัจจุบัน อันจะนาไปสู่ การพัฒนาแรงงาน การค้า
ขายจนกลายเป็นศูนย์กลางทางการค้าและพัฒนาอุตสาหกรรมต่อเนื่องอื่น ๆ โดยเมื่อเกิดการลงทุน
แล้ว ระยะสั้นสามารถกระตุ้นเศรษฐกิจในภาคอุตสาหกรรมการก่อสร้างและบริการได้ทันที สร้างงาน
สร้างอาชีพไม่ต่ากว่า ๓ ล้านคน ส่วนระยะยาว สามารถสร้างความสะดวกรวดเร็วในการเดินเรือ เป็น
การสร้างศักยภาพให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางการคมนาคมทางทะเลและศูนย์กลางทางเศรษฐกิ จ
แห่งภูมิภาค สามารถสร้างรายได้ทางตรงจากค่าเดินเรือผ่านคลองและรายได้ทางอ้อมจากภาคการค้า
ขาย และภาคอุตสาหกรรมต่อเนื่องประมาณหนึ่งแสนล้านบาทต่อปีขึ้นไป
ชมรมอาสาสมัครเพื่ อช่ว ยเหลื อทางวิท ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแก่ประชาชน (อชวท.)
(๒๕๓๒) ศึกษาโครงการคลองกระ โดยการพิจารณาข้อมูลเบื้องต้นของบริษัท TAMS และทาการ
ปรับปรุงตัวเลขให้เป็นปัจจุบันที่สุด ทั้งนี้ อชวท. ได้เสนอแนวคลองเส้นทาง 5A คือ แนวสตูล - สงขลา
เนื่องจากเป็นส่วนที่แคบที่สุดรองจากกระบุรี และระดับน้าทะเลสองฝั่งต่างกันเพียงเล็กน้อย เป็นการ
ขุดคลองแบบ ๒ เลน กว้าง ๔๗๐ เมตร ลึก ๒๖ เมตร เพื่อให้เรือขนาด ๒๕๐,๐๐๐ เดทเวทตันสวน
ทางกันได้ ส่วนค่าขุดคลองมีมูลค่าประมาณ ๑,๖๘๓ พันล้านเหรียญสหรัฐ หรือ ๔๒๐,๗๕๐ ล้านบาท
(ราคาปี ๒๕๓๙)
อิทธิพล ปานงามและคณะ (2541) ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบศักยภาพท่าเรือ
ในภูมิ ภ าคอิน โดจี น พบว่า การปฏิบั ติงานของท่าเรือ ที่สิ นค้ าเปลี่ ยนถ่ายเรื อที่ใ หญ่ที่สุ ดของภาค
ตะวันออกไกล คือ ท่าเรือฮ่องกงและท่าเรือสิงคโปร์ ท่าเรือ feeder ในประเทศไทย และประเทศ
เวียดนาม วัตถุประสงค์ของการวิจัย คือเพื่อศึกษาปริมาณและประเภทของสินค้าที่ส่ งผ่านท่าเรื อ
ศั ก ย ภ า พ ค ว า ม เ จ ริ ญ เ ติ บ โ ต ข อ ง ท่ า เ รื อ แ ล ะ พื้ น ที่ แ น ว ห ลั ง เ ป็ น captive hinterland
และ competitive hinterland การศึกษาพบว่า ท่าเรือที่ทาการกระจายสินค้าและรวบรวมที่ใหญ่
ที่สุดทั้ง 2 แห่งของเอเชีย ที่อยู่ภายใต้ความกดดัน ทาให้ต้องมีการขยายความสามารถในการรับสินค้า
อยู่ตลอดเวลาและอย่างต่อเนื่อง เพื่อลดค่าใช้จ่ายของเรือแม่ที่ขนส่งสินค้า จึงมีขนาดใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ
ทั้งสิงคโปร์และฮ่องกง จึงจาเป็นต้องพัฒนาอุปกรณ์ยกขน และขนย้ายสินค้าให้สามารถปฏิบัติงาน
๓๒

บรรทุกขนถ่ายตู้สินค้าจากเรือ แม่น้าขนาดใหญ่เหล่านี้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ท่าเรือของประเทศ


เวียดนามอยู่ในสภาพล้าหลัง รัฐบาลส่งเสริมให้ต่างประเทศเข้าไปลงทุนในโครงการพัฒนาท่าเรื อ
นอกจากนี้ท่าเรือทุกแห่งยกเว้นดานังและวุงเตง เป็นท่าเรือแม่น้าซึ่งต้องทาการขุดลอกประจาและต้อง
มีการพัฒนาการขนส่ งภายในประเทศทั้งถนนและรถไฟไปพร้อมๆกับการพัฒนาท่าเรือ อุปสรรค
ที่ ส าคั ญ คื อ การก่ อ สร้ า งสะพานข้ า มแม่ น้ าและปากแม่ น้ าขนาดใหญ่ สะพานแต่ ล ะแห่ ง ต้ อ งใช้
งบประมาณมากมายมหาศาล ความต้องการใช้ท่าเรือทางตอนใต้ของประเทศนั้นมีมากกว่าทางตอนเหนื อ
ทั้งประเทศไทยและประเทศเวียดนามต่างมุ่งหมายให้ประเทศจีนขนส่งสินค้าผ่านท่า เรือของตน ดังนั้น
การแข่งขันระหว่างท่าเรือทั้ง 2 ประเทศในอนาคตจึงเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ถึงแม้ว่าประเทศไทย
จะได้เปรียบในแง่ที่มีระบบโครงข่ายถนนดีกว่า แต่ประเทศยังจะต้องมีความสัมพันธ์ที่ดีกับประเทศ
เมียนมาร์และลาว เพื่อให้ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่สินค้ ามณฑลตะวันออกเฉียงใต้ของจีนมายัง
ท่าเรือไทยซึ่งจ้าเป็นต้องขนส่งผ่านประเทศทั้งสอง
สุมาลี สุขดานนท์และคณะ (2552) ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาประเมินสถานภาพการใช้
ท่าเรือ พบว่า เรือไทยยังไม่สามารถใช้ท่าเรือได้อย่างเต็มศักยภาพ เนื่องจากยังไม่มีท่าเรือใดที่การใช้
ท่าเทียบเรือทุกท่าได้อย่ างมีป ระสิทธิผ ลและประสิทธิภ าพครบถ้วน ปัจจัยที่มีผลต่อการใช้ท่ าเรื อ
ในทุกด้าน คือ นโยบายภาครัฐที่มีต่อท่าเรือ เนื่องจากนโยบายที่มีอยู่ยังขาดสาระที่เป็นกรอบในการ
พัฒนาท่าเรือ ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาท่าเรือไทยเป็นไปอย่างไร้ทิศทาง นอกจากนี้ ยังไม่ครอบคลุ ม
ท่าเรือทุกแห่งของประเทศ ทาให้การพัฒนาท่าเรือขาดความเป็นเอกภาค ขาดกลไกการตรวจสอบ
และประเมิ น ผลท่ าเรื อ ขาดองค์ ก รเฉพาะเพื่ อ ความรั บผิ ด ชอบกิ จการท่ า เรือ ไทยทั้ ง ของภาครัฐ
และของเอกชน และขาดกฎหมายเฉพาะที่ ใช้ ใ นการบริห ารกิจ การท่ าเรื อ ไทย ทาให้ ไม่ส ามารถ
ควบคุมดูแล ตลอดจนพัฒนาท่าเรือได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กิตติกุล ลิ่มสกุล (2541) ศึกษาวิจัยเรื่อง การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบศักยภาพท่าเรือแหลมฉบัง
และท่ า เรื อ กรุ ง เทพ สรุ ป ผลได้ ดั ง นี้ เป็ น การศึ ก ษาวิ จั ย เกี่ ย วกั บ ความเป็ น มาของโครงการ
และภาวการณ์ ขนส่งของไทย ซึ่งจากอดีตที่ผ่านมามีแนวโน้มที่ขยายตัว มาตลอดตามสภาวการณ์
ขยายตัวของเศรษฐกิจไทย รวมถึงวิเคราะห์แนวโน้มนโยบายของรัฐในการสร้างท่าเรือแหลมฉบัง
รวมถึ ง นโยบายที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การขนส่ ง ของประเทศ ซึ่ ง รั ฐ บาลได้ ใ ห้ ก ารส่ ง เสริม และสนับสนุน
อย่างต่อเนื่องรวมทั้งองค์ ประกอบที่สาคัญของท่าเรือสาคัญทั้ง 3 แห่ง ได้แก่ ท่าเรือกรุงเทพ ท่าเรือ
แหลมฉบัง และท่าเรือเอกชน ในด้านต่าง ๆ ทั้งในด้านกายภาพและด้านเศรษฐกิจ ซึ่งได้ วิเคราะห์ถึง
วิ สั ย ทั ศ น์ แ ละประสิ ท ธิ ภ าพในการด าเนิ น งานให้ บ ริ ก ารของท่ า เรื อ แต่ ล ะแห่ ง โดยที่ ค วามมี
ประสิทธิภาพของท่าเรือแต่ละแห่งนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถในการเชื่อมโยงเข้ากับระบบโครงข่าย
คมนาคมของประเทศซึ่งได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและขยายตัวมาโดยตลอดตามภาวการณ์ขยายตัว
ของเศรษฐกิจของประเทศ การพัฒนาระบบการขนส่งในแต่ละหมวดการขนส่ง (Mode) ซึ่งประกอบ
ไปด้ ว ยการขนส่ ง ทางถนน ทางรถไฟ ทางน้ า จะต้ อ งสอดประสานกั น เป็ น ระบบ (Intermodel
linkage) เพื่อลดต้นทุนในการขนส่งรวมถึงลดระยะเวลาในการขนส่งด้วย จากการวิเคราะห์ความ
ได้เปรียบระหว่างท่าเรือแหลมฉบังและท่าเรือกรุงเทพ ในแง่ของเศรษฐศาสตร์ ซึ่งได้นาเอาต้นทุนอัตรา
ค่าภาระของท่าเรือและต้นทุนค่าส่งสินค้า มาเป็นตัวแปรในการวิเคราะห์ โดยกาหนดว่าต้นทุนด้าน
อัตราค่าภาระของท่าเรือเป็นต้นทุนคงที่เพราะไม่ว่าจะขนถ่ายสิ นค้าปริมาณเท่าใดก็จะต้องเสียอัตรา
๓๓

ค่าภาระในจานวนที่เท่ากัน ส่วนต้นทุนค่าขนส่งสินค้าเป็นต้นทุนแปรผัน เพราะจะมีการเปลี่ยนแปลง


ตามระยะทาง และตามประเภทหมวดการขนส่ง จากการศึกษาพบว่า การเปรียบเทียบระยะทางของ
จุดขึ้นสินค้าระหว่างท่าเรือกรุงเทพและท่าเรือแหลมฉบังกับปริ มณฑลและภาคกลาง ระยะทางจาก
ท่าเรือแหลมฉบังไปยังปริมณฑลและภาคกลางจะไกลกว่า แต่ในด้านระยะยาวแล้วท่าเรือแหลมฉบัง
นั้นจะได้เปรียบมากกว่าเนื่องจากการพัฒนาระบบการขนส่งระดับประเทศ
นายยศวีร์ ตันกิมหงษ์ (2551) ศึกษาวิจัยเรื่อง การเปรียบเทียบรูปแบบการส่งสินค้าตู้
ทางบกและทางทะเล จากประเทศไทยสู่ประเทศเวียดนาม เป็นการศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพล
ต่อการเลือกรู ป แบบการขนส่ งสิน ค้าตู้ทางบกและทางทะเล และพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อการเลื อ ก
รู ป แบบการขนส่ ง สิ น ค้ า ตู้ คื อ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ในการขนส่ ง สิ น ค้ า ระยะเวลาในการขนส่ ง สิ น ค้ า
ค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้า ความยืดหยุ่นในการขนส่งสินค้า ความเสียหายของสินค้า ความสามารถ
ในการควบคุมและการติดตามการขนส่ง ระยะทางการขนส่ง ความสะดวกสบาย สภาพแวดล้ อม
และเข้ากับโครงสร้างโลจิสติกส์ ได้ดีที่สุดและงานวิจัย แสดงแสดงถึงผลิตภัณฑ์ที่ไทยส่งออกสู่ประเทศ
เวียดนาม คือ เคมีภัณฑ์และพลาสติก รองลงมา คือ ชิ้นส่วนอะไหล่ยานยนต์ นอกจากนี้ ต้นกาเนิด
สินค้าตู้ในประเทศไทยส่วนใหญ่อยู่ที่เขตกรุงเทพและปริมณฑล โดยคิดเป็นร้อยละ 69.5 ส่งออกสู่
ประเทศเวียดนาม ซึ่งมีปลายทาง คือนครโฮจิมินห์ เป็นส่วนใหญ่ คิดเป็นร้อยละ 46.3 ของปลายทาง
สินค้า รูปแบบการขนส่งสินค้าตู้ส่วนใหญ่จะทาการขนส่งโดยทางทะเล คิดเป็นร้อยละ 82.9
กชกร โกทนุท (2558) ศึกษาวิจัยเรื่อง พัฒนาการเชิงนโยบายการพัฒนาเป็นศูนย์กลาง
การขนส่งทางภาคพื้นสมุทร กรณีศึกษาท่าเรือน้าลึกแหลมฉบัง ประเทศไทย และท่าเรือกลังประเทศ
มาเลเซีย งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพัฒนาการเชิงนโยบายในการเป็นศูนย์กลางการขนส่ง
ทางภาคพื้นสมุทรของประเทศไทยและประเทศมาเลเซีย 2) เปรียบเทียบศักยภาพการเป็นระหว่าง
ท่าเรือแหลมฉบัง ประเทศไทยและท่าเรือกลัง ประเทศมาเลเซีย ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันศักยภาพ
ของท่าเรือกลัง มีความได้เปรียบมากกว่าในการเป็นศูนย์กลางทางการขนส่งภาคพื้นสมุทรเนื่องจาก
ที่ตั้งของท่าเรื อกลังอยู่ในจุ ดยุ ทธศาสตร์ในด้านการขนส่ งสินค้าทางภาคพื้นสมุทรเป็นท่าเรื อ ที่ อยู่
ระหว่ า งช่ อ งแคบมะละกา ประกอบกั บ ภาครั ฐ ด าเนิ น นโยบายด้ า นสิ่ ง อ านวยความสะดวก
ในด้านโครงสร้างพื้นฐานที่ประสิทธิภ าพและดินแดนหลังท่า มีระยะห่างไม่ไกลและมีระบบขนส่ ง
อย่ างต่อเนื่ องจากท่า เรื อไปสู่ ร ะบบรางทาให้ต้นทุนค่าขนส่ งต่า (multimodal transport) มีพื้นที่
ครอบคลุ มในหลายเขต ถึงแม้จ ะไม่มากเท่าท่าเรือแหลมฉบังก็ตาม ในด้านนโยบายต่าง ๆ มีการ
ดาเนินงานสอดคล้องกันเพื่อช่วยผลักดันศักยภาพของท่าเรือกลัง ในขณะที่ท่าเรือแหลมฉบังก็มีปัจจัย
ที่ช่วยส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการขนส่งได้อย่างดี แต่โครงการระบบรางที่เชื่อมระหว่างแหลมฉบัง -
ทวายที่สาคัญที่จะช่วยให้ท่าเรือแหลมฉบัง มีศักยภาพในเชื่อมต่อกับประเทศอื่น ๆ ยังคงเป็นเพียงแค่
โครงการที่กาลังดาเนินอยู่ยังไม่สามารถใช้เส้นทางได้ ซึ่งในอนาคตหากโครงการดังกล่าวเสร็จสมบูรณ์
ตามแผนงาน ประเทศไทยก็อาจจะมีแนวโน้มด้านศักยภาพการขนส่งเทียบเท่าหรือมากกว่าประเทศ
มาเลเซีย และสามารเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางภาคพื้นสมุทรได้
Australia and New Zealand Banking Group Limited (ANZ) (2019) ท า ก า ร ศึ ก ษา
VIETNAM’S GROWTH HERE TO STAY พบว่า นักลงทุนมีความเห็นเชิงบวกเกี่ยวกับนิคม
อุตสาหกรรม เพราะมีแรงจูงใจในเรื่องภาษีและการผ่อนคลายพิธีการศุลกากร โดยอัตราการเข้าดาเนิน
๓๔

กิ จ การในนิ ค มอุ ต สาหกรรมมี ม ากกว่ า ๗๐% ซึ่ ง รั ฐ บาลเวี ย ดนามได้ ย้ าเป้ า หมายการเติ บ โต
ทางเศรษฐกิจที่ ๖.๗% โดยคาดว่าเวียดนามจะยังคงทารายได้จากการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ
อย่างน้อย ๑๐,๐๐๐ ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ ต่อปีตลอด ๕ ปี ข้างหน้า ซึ่งการลงทุนโดยตรงจาก
ต่างประเทศ ส่ ว นใหญ่อยู่ ในภาคการผลิ ต นับเป็นกุญแจส าคัญในการเจริญเติบโตของเวียดนาม
ในปี ๒๕๕๙ มีการทารายได้ถึง ๑๕,๘๐๐ ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐ และเพิ่มขึ้น ๖% ในช่วง ๕ เดือน
แรกของปี ๒๕๖๐ นอกจากนี้ เวียดนาม ได้วางแผนการเปิดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ๓ แห่ง ที่เสนอสิ่งจูงใจ
แก่นักลงทุนและมีข้อจากัดน้อยกว่าเขตเศรษฐกิจอื่น โดยกาลังออกกฎหมายสาหรับเขตเศรษฐกิจ
พิเศษในพื้น ที่ จั งหวัดกว่างนี ง ทางภาคเหนือ จังหวัดแค้ งฮวา ทางภาคกลาง และจังหวัดฝุ ก๊ ว ก
ทางภาคใต้ โดยเขตเศรษฐกิจพิเศษเหล่านี้จะปลอดจากกฎระเบียบท้องถิ่น เพื่อทาให้ เขตเศรษฐกิจนี้
แข่งขันได้ในระดับสากล
N.S.F. Abdul Rahman and Other (2016) ศึกษาการวิเคราะห์การตัดสินใจขุดคลองกระ
ที่มีผลต่อโครงสร้างธุรกิจทางทะเลของมาเลเซีย ผลการศึกษาพบว่า ประเด็นของคลองกระ ได้มีการ
กล่าวขานกันอย่างกว้างขวางในบรรดาผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการขนส่งทางทะเล เช่น ผู้กาหนดนโยบาย
ผู้ ค วบคุ ม บริ ษั ท เดิ น เรื อ และผู้ ป ระกอบธุ ร กิ จ ท่ า เรื อ ซึ่ ง ดู เ หมื อ นว่ า แนวคิ ด ในการสร้ า ง
คลองกระจะได้ รั บ ความสนใจเป็ น อย่ า งมาก เนื่ อ งจากช่ ว ยประหยั ด ต้ น ทุ น ได้ ม าก มี ร ะดั บ
ความปลอดภัยสูง และช่วยย่นระยะเวลา ในการเดินทางให้สั้นลง เมื่อเปรียบเทียบกับการเดินทางผ่าน
ช่ อ งแคบมะละกา ปรากฏการณ์ นี้ เ ป็ น สิ่ ง ท้ า ทาย ต่ อ ธุ ร กิ จ ทางทะเลของมาเลเซี ย ในปั จ จุ บั น
เป็นอย่างมาก เพราะปริมาณของเรือระหว่างประเทศที่จะเข้ามาใช้บริการท่าเรือหลักของมาเลเซีย
คาดว่าจะมีจานวนลดลงอย่างแน่นอน
Chen Ching - mu and Kumakai Satoru (2016) ศึ ก ษ า ผ ล ก ร ะ ท บ ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ
ของคลองกระ จากการศึกษาพบว่า คลองกระจะช่วยย่นระยะทางจากท่าเรือในทะเลจีนใต้ไปยังยุโรป
และท่ า เรื อ ในทะเลอั น ดามั น ประมาณ ๑,๓๐๐ กิ โ ลเมตร ส่ ว นเส้ น ทางจากท่ า เรื อ ในเอเชี ย
ตะวันออกเฉียงเหนือไปยังยุโรปและท่าเรือในทะเลอันดามัน ย่นระยะทางได้ประมาณ ๙๐๐ กิโลเมตร
ส าหรั บ ผลกระทบทางเศรษฐกิ จ พบว่ า จี น อิ น เดี ย ญี่ ปุ่ น และยุ โ รปจะได้ รั บ ประโยชน์ สู ง สุ ด
จากการก่อสร้างคลอง นอกจากประเทศไทย นอกจากนี้ เส้นทางช่องแคบมะละกาจะมีประโยชน์
อย่างมหาศาลต่อประเทศมาเลเซีย บรูไน และอินโดนีเซีย นอกจากสิงคโปร์ ดังนั้น จึงเป็นประโยชน์
ต่อประเทศที่เป็นสมาชิกอาเซียนทั้งหมด ซึ่งคลองกระและช่องแคบมะละกาจะต้ององค์ประกอบ
ซึ่งกันและกัน
Cheng Yong Lau and Jason Wai Chow Lee (2016) ศึ ก ษ า วิ ธี ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง
ยุทธศาสตร์สาหรับการบริโภคพลังงานของจีนโดยคลองกระ จากการศึกษาพบว่า ประเทศจีนสามารถ
มองได้ว่าการสร้างคลองกระ จะเป็นยุทธศาสตร์ทางเลือกสาหรับการจัดหาของจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
การจัดหาน้ามันดิบและแก๊สที่มีต้นทุนต่ากว่า โครงการอันยิ่งใหญ่นี้จะกลายเป็นเส้นทางผ่านที่เชื่อมต่อ
มหาสมุทรอินเดีย ทะเลอันดามัน และอ่าวไทย บริเวณคอคอดของภูมิภาคในประเทศไทย อย่างไร
ก็ ต ามโครงการนี้ อ าจกระตุ้ น ให้ เ กิ ด ความขั ด แย้ ง ภายในประเทศไทย และส่ ง ผลกระทบ
ต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและการเมืองในกลุ่มประเทศอาเซียน
๓๕

N.S.F. Abdul Rahman, A.H.Saharuddin and R. Rasdi (2014) ศึ ก ษ า ผ ล ก ร ะ ท บ


ของการเปิ ดเส้ น ทางเดิน เรือสาย Northern Sea Route ต่อกิจกรรมด้านการขนส่ งสิ นค้าทางเรือ
บริเวณ ช่องแคบมะละกา ผลการศึกษาพบว่า การเปิดเส้นทางเดินเรือสาย Northern Sea Route
เพื่อเป็นทางเลือกในการขนส่งสินค้าระหว่างตะวันออกไกลกับยุโรป ดูเหมือนจะเป็นที่ยอมรับอย่างสูง
จากสายการเดินเรือ เนื่องจากจะช่วยลดอัตราการสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง ประหยัดค่าใช้จ่ายในส่วนน้ามัน
ค่าใช้จ่ายในการปฏิบัติการ รวมทั้ง ระยะเวลาในการเดินทาง ปรากฏการณ์นี้ไม่เพียงแต่จะส่ งผล
กระทบต่อกิจ กรรมด้านการขนส่งสิ นค้าทางทะเลบริเวณช่องแคบมะละกาเท่านั้น แต่ยังส่งผลต่อ
เศรษฐกิจของประเทศมาเลเซียในมิติที่แตกต่างกั น เนื่องจากคาดว่าเรือที่เดินทางจากคลองสุ เ อซ
และมหาสมุทรอินเดียจะมีจานวนที่ลดลง
Mohd Hazmi Mohd Rusli (2010) ศึ ก ษาเส้ น ทางเลื อ กทดแทนช่ อ งแคบมะละกา
และสิ ง คโปร์ จากการศึ ก ษาพบว่ า เมื่ อ มี ก ารเปิ ด เส้ น ทางเดิ น เรื อ คลองไทยจะแสดงให้ เ ห็ น ถึ ง
ก้าวกระโดด ที่สาคัญสาหรับอุตสาหกรรมการเดินเรือ และคลองไทยจะเป็นทางเลือกของช่องแคบ
มะละกาและสิงคโปร์
Amornthep Thongsin (2002) ศึ ก ษาคลองกระกั บ การรั ก ษาความปลอดภั ย ของไทย
ผลการศึ ก ษา พบว่ า คลองกระจะมี บ ทบาทส าคั ญ ต่ อ สมุ ท ทานุ ภ าพของไทย เนื่ อ งจากคลอง
จะเป็นประโยชน์ ต่อกองทัพเรือและการค้าทางทะเลของไทย นอกจากนี้คลองกระยังช่วยสนับสนุน
การรักษาความปลอดภัยของไทย เนื่องจากคลองกระจะเป็นประโยชน์ต่อประเทศไทยในการจัดการ
ความตึงเครียดกับประเทศเพื่อนบ้าน
โดยสรุ ป แล้ ว การขุดคลองไทยมีทั้ งที่เห็ น ด้ว ยและไม่เห็ นด้ว ยเพราะอาจจะมีผ ลกระทบ
ทั้ ง ด้ า นการเมื อ งการปกครอง สิ่ ง แวดล้ อ ม เศรษฐกิ จ สั ง คม และความมั่ น คง ในขณะเดี ยวกั น
ถ้ามีการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ น่าจะเกิดประโยชน์ต่อประเทศไทย
ทั้งการพัฒนาเศรษฐกิจสังคม ความเป็นอยู่ของประชาชนโดยรวม และจะเกิดเส้นทางการเดินเรือใหม่
และคาดว่าจะมีเรื อเป็ น จ านวนมากผ่ า นเส้ นทางนี้ ที่ส าคัญนั้นจะเกิดการพัฒ นาอย่างเป็น ระบบ
ทั้งประเทศและทาให้ประเทศไทยมีอานาจต่อรองทางการค้ามากยิ่งขึ้น
บทที่ ๓
ผลการพิจารณาศึกษา

การขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ เป็ น แนวคิ ด ใหม่ เ พื่ อ หวั ง ว่ า
จะเป็นการสร้างความเจริญทางด้านเศรษฐกิจภาคใต้และประเทศไทย แต่ในทางกลับกันก็มีหลายภาคส่วน
ที่ ไ ม่ เ ห็ น ด้ ว ยกั บ การขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ ซึ่ ง ก็ เ ป็ น หน้ า ที่
ของคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ การขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
เพื่ อ จะศึ ก ษาและท าความเข้ า ใจระดั บ หนึ่ง เพื่ อ เสนอต่ อ สภาผู้ แ ทนราษฎรและคณะรั ฐ มนตรีเ พื่ อ สร้าง
ความชัดเจนในประเด็นดังกล่ าวต่อไป โดยคณะกรรมาธิการได้แบ่งผลการศึกษาออกเป็น ๓ ส่วน ได้แก่
การขุ ด คลองไทย การพั ฒนาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ และผลกระทบการขุ ด คลองไทย
และพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจทั้งด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง
ผลการพิจารณาศึกษาและวิเคราะห์การขุดคลองไทยและการพั ฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ของคณะกรรมาธิการวิส ามัญพิจ ารณาศึกษาการขุดคลองไทยและพัฒ นาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร เป็นการรวบรวมและวิเคราะห์จากข้อมูล จาก ๓ ส่วน ด้วยกัน ได้แก่
๑) ศึ ก ษาข้ อ มู ล ปฐมภู มิ (Primary Data) โดยเก็ บ ข้ อ มู ล หรื อ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งในทุ ก มิ ติ
จากหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชนทั้งในและต่างประเทศที่ได้เชิญมาร่วมการประชุม มีการรับฟังความคิดเห็น
รูปแบบการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ของคณะกรรมาธิการวิสามัญ และอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและพัฒนาพื้นที่ระเบี ยงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎรทั้ง ๓ คณะและนามาวิเคราะห์
ตามกรอบการศึกษาในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ
๒) ศึกษาข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยทาการรวบรวม องค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ
ที่ มี ก ารบั น ทึ ก ความคิ ด เห็ น ของผู้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ เอกสารบทความ รายงานของของหน่ ว ยงาน
หรื อองค์การที่เกี่ย วข้องกับ การทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ รวมทั้งผลการศึกษาวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในอดีตที่ผ่านมาและดาเนินการศึกษาข้อมูลตามวิธีการเชิงคุณภาพโดยใช้เทคนิควิจัยเอกสาร (Documentary
Research)
๓ ) ศึ ก ษ า จ า ก ก า ร สั ม ม น า รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น ข้ อ เ ส น อ แ น ะ แ ล ะ รั บ ฟั ง ม ติ ม ห าช น
(Public Opinion) จากภาคประชาชน ในการดาเนินการขุดคลองไทย และพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
และการศึ ก ษาดู ง าน ส ารวจพื้ น ที่ ข องคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทย
และพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ สภาผู้ แ ทนราษฎร และน ามาวิ เ คราะห์ ต ามกรอบการศึ กษา
ในรูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ
ได้จัดทารายงานผลการศึกษารวมทั้งข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ เสนอต่อคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎรและเสนอต่อ
ที่ ป ระชุ ม สภาผู้ แ ทนราษฎร ตลอดจนเสนอต่ อ คณะรั ฐ มนตรี แ ละหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ ง เพื่ อ พิ จ ารณา
ดาเนินการตามที่เห็นสมควรต่อไป ซึง่ ผลการศึกษาและการวิเคราะห์โดยสรุป มีดังนี้
๓๗

๓.1 ผลการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
จากการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ซึ่งได้พิจารณาศึกษาตามหน้าที่และอานาจที่ได้รับมอบหมาย
ให้ มี การพิ จารณาศึ กษาการขุ ดคลองไทยและการพั ฒนาพื้ นที่ ระเบี ยงเศรษฐกิ จภาคใต้ พบว่ า คลองไทย
คือ คลองที่ขุดเชื่อมต่อทะเลอัน ดามัน กับ อ่าวไทย เพื่อเป็นเส้ นทางเดินเรือใหม่ของโลก จากตะวันตกสู่
ตะวันออก โดยไม่ต้องอ้อมไปช่องแคบมะละกา(Malacca) ช่องแคบซุนด้า (Sunda) และช่องแคบลอมบอก
(Lombok) ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจแก่ประเทศไทยและของโลกอย่างมหาศาล อย่างไรก็
ตามการสร้างคลองไทยก็ยังมีรายละเอียด ปัญหาผลกระทบต่าง ๆ ที่ต้องทาการศึกษาและทาความเข้าใจให้ชัดเจน
ในเวลาเดียวกันด้วย ซึ่งรายงานของคณะอนุกรรมาธิการฯ ดังกล่าว ได้รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาขั้นต้น โดย
มีผลการศึกษา จานวน ๖ ประเด็น ได้แก่
๑) การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการด าเนิ น การขุ ด คลองไทย เพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
๒) การศึกษาวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการดาเนินการขุดคลองไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางของพาณิชย์นาวีโลก
๓) การศึกษาการดาเนินการขุดคลองไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยว
ระดับโลก
๔) การศึกษารูปแบบคลองไทย
๕) การสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการดาเนินการขุดคลองไทย ทั้งในส่วนของประชาชน
ภาครัฐและเอกชน และการศึกษาดูงานในพื้นที่
๖) ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
โดยมีรายละเอียด ดังต่อไปนี้
คลองไทย คื อ คลองที่ ขุ ด เชื่ อ มต่ อ ทะเลอั น ดามั น กั บ อ่ า วไทย เพื่ อ เป็ น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ใหม่
ของโลก จากตะวันตกสู่ตะวันออก โดยไม่ต้องอ้อมไปช่องแคบมะละกา (Malacca) ช่องแคบซุนด้า (Sunda)
และช่องแคบลอมบอก (Lombok) ซึ่งจะก่อให้เกิดประโยชน์ทางด้านเศรษฐกิจแก่ประเทศไทยและของโลก
อย่ างมหาศาล อย่ างไรก็ ตามการสร้ างคลองไทยก็ ยั งมี รายละเอี ยด ปั ญหาผลกระทบต่ าง ๆ ที่ ต้ อ งท าการศึ ก ษา
และทาความเข้าใจให้ชัดเจนในเวลาเดียวกันด้วย ซึ่งรายงานฉบับนี้ได้รวบรวมข้อมูลจากการศึกษาขั้นต้น
ไว้ดังนี้
๓.๑.๑ สรุ ปผลพิจ ารณาการศึ ก ษาความเป็น ไปได้ ใ นการด าเนิน การขุดคลองไทย เพื่อเพิ่ ม
ศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
จากความเป็นมาและแนวความคิดเกี่ยวกับการขุดคลองกระ-คลองไทย หรือคลองเชื่อมอ่าวไทย
กับทะเลอันดามันมหาสมุทรอินเดียนั้น ปรากฏว่าได้มีการกล่าวถึง และทาการศึกษามาตั้งแต่ยุคกรุงศรีอยุธยา
ของรั ช สมั ย สมเด็ จ พระนารายณ์ ม หาราช ตลอดมาจนถึ ง ยุ ค รั ต นโกสิ น ทร์ ซึ่ ง ในแต่ ล ะรั ฐ บาลที่ ผ่ า นมา
หลายรั ฐ บาลได้ มี ก ารอนุ มั ติ ใ ห้ มี ก ารส ารวจศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ใ นการขุ ด คลองกระ แต่ ก็ มี ปั ญ หา
ด้านเศรษฐกิจ และการเมืองบางประการ ทาให้โครงการไม่สามารถดาเนินการไปได้ จนกระทั่งถึงปี 2544
รัฐบาลจึงได้มีมติแต่งตั้งคณะกรรมการแห่งชาติ เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการขุดคลองกระ เพื่อแก้ปัญหา
วิกฤติเศรษฐกิจ และสั งคม ซึ่งทาให้ มีนั กวิชาการ และสถาบันการศึกษา ทาการศึกษาสื บเนื่องมาจนถึง
ปัจจุบัน ทาให้เกิดข้อมูลหลักฐานการศึกษาที่หลากหลาย อันจะนามาพิจารณาใช้เป็นแนวทางดาเนินการ
ต่อไป คือ
๓๘

1) คณะรั ฐมนตรี ได้ มี มติ เมื่ อวั นที่ 11 กั นยายน 2544 เห็ นชอบโครงการศึ กษาความเป็ นไปได้
ในการขุดคลองกระเพื่อแก้ปัญหาวิกฤติทางด้านเศรษฐกิจและสังคม โดยกาหนดให้มี คณะกรรมการแห่งชาติ
ศึกษาความเป็น ไปได้ในการขุดคลองกระ เพื่อแก้ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ และสังคม มีรองนายกรัฐ มนตรี
ที่กากับการบริหารงานกระทรวงกลาโหม เป็นประธานกรรมการประกอบด้วยคณะกรรมการจากกระทรวง
ต่าง ๆ นักวิชาการ และผู้ทรงคุณวุฒิ
2) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ ส่วนราชการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้ให้ความเห็นชอบสนับสนุนโครงการ
ขุดคลองกระ คือ กระทรวงคมนาคม กระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม (ในขณะนั้ น ) กระทรวงการคลั ง กระทรวงกลาโหม ส านั ก งบประมาณ
สภาความมั่งคงแห่งชาติ และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (อ้างถึง : หนังสือ
สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ 0205/ว (ส) 2576 ลงวันที่ 2 เมษายน 2544)
3) ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะกรรมาธิการวิส ามัญ วุฒิสภา ได้จัดทารายงานผลการศึก ษา
โดยใช้ชื่อว่า “ผลการศึกษาโครงการขุดคลองไทย” เป็นการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคลองกระ
โดยกล่าวถึงหลักการ และเหตุผลที่ใช้สนับสนุนในการพิจารณาของโครงการคลองไทย
4) รายงานของคณะกรรมาธิ การปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์การท่องเที่ยว
และบริการสภาปฏิรูปแห่งชาติ วาระพัฒนาระบบโลจิสติกส์ : แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์
ได้จัดทารายงานต่อประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ เมื่อ 15 กรกฎาคม 2558 ได้พิจารณาเห็นว่าโครงการสร้าง
คลองเชื่อมระหว่างมหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย ณ บริเวณภาคใต้ของประเทศไทย พร้อมกับ
สร้ า งมหานครพิ เ ศษ เขตเศรษฐกิ จ การค้ า แหล่ ง อุ ต สาหกรรม และท่ อ งเที่ ย วใหม่ ข องโลกบริ เ วณ
ปากทางเข้าออกตลอดสองฝั่งเส้นทางที่คลองผ่านและใกล้เคียงนี้ ในเบื้องต้นเห็นว่ามีความเหมาะ เป็นไปได้
และยอมรับได้ สามารถสนองตอบเป้าหมายในการพัฒนาโลจิสติกส์ทุกประเด็น ทั้งในด้านโครงสร้างพื้นฐาน
ในอนาคต การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์และการเป็นประตูแห่งภูมิภาคและทุกหนแห่ง
ในโลก เป็นผลให้เป้าหมายทางเศรษฐกิจที่จะเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว ประชากรมีรายได้สูงอยู่ในเกณฑ์
ชั้นนาของโลกใน 20 ปีข้างหน้าบรรลุได้ในที่สุด
๕) ข้อสั่งการนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๔ ตุลาคม ๒๕๖๑ ให้ดาเนินการศึกษาความเป็นไปได้
ในการเชื่ อ มโยงเส้ น ทางขนส่ ง ทางทะเลฝั่ ง อ่ า วไทย และอั น ดามั น ของประเทศไทย โดยให้ ส านั ก งาน
สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ร่วมดาเนินการกับสานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ
(สมช.) และภาคีการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง โครงการศึกษาความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงเส้นทางขนส่งทางทะเล
ฝั่ ง อ่ า วไทยและทะเลฝั่ ง อั น ดามั น ของประเทศไทย และนายกรั ฐ มนตรี มี ข้ อ สั่ ง การให้ ส านั ก งาน
สภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ เป็ น หน่ ว ยงานหลั ก ในการศึ ก ษาความเหมาะสมเกี่ ยวกับ
การขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ภ าคใต้ ผ ลกระทบของการด าเนิ น การในมิ ติ ภ าพรวมเชิ ง พื้ น ที่
ดั ง นั้ น ส านั ก งานสภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งด าเนิ น โครงการศึ ก ษา
ความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงเส้นทางขนส่งทางทะเลฝั่งอ่าวไทย และอันดามันของประเทศไทย แต่ปัจจุบัน
ยังไม่ได้ดาเนินแต่อย่างไร
๖) ปี พ.ศ. ๒๕๖๓ คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละการปฏิ รู ป ประเทศ
ในคณะกรรมาธิการความมั่นคงแห่งรัฐ กิจการชายแดน ยุ ทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูปประเทศได้จัดทา
รายงานการพิจ ารณาศึกษา เรื่ อง “การพัฒ นาภาคใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง” (The Golden Ax
๓๙

Special Economic Zone (GASEZ)) เสนอสภาผู้ แ ทนราษฎรชุ ด ที่ ๒๕ ปี ที่ ๑ ครั้ ง ที่ ๑๙ (สมั ย สามั ญ
ประจาปีครั้งที่ส อง) วันพฤหัสบดีที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓ ประเด็นหลักในการนาเสนอคือการกาหนดให้
เรื่อง การขุดคลองไทยและพัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้ให้เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจโลก เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์
ที่น าไปสู่ การบรรลุ ยุ ทธศาสตร์ ช าติ ให้ เ กิด ความมั่น คง มั่งคั่ง และความยั่งยืน โดยกาหนดประเด็น ๑๕
ยุทธศาสตร์ในการนาไปสู่เป้าหมายอย่างยั่งยืน
ความเป็นไปได้ในการดาเนินการขุดคลองไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจ
ของประเทศไทย จากการศึกษาเอกสารในเบื้องต้น รวมทั้งแนวคิดของนักวิชาการ และรายงานการวิจัย
ที่เกี่ยวข้องถึงความเหมาะสมของเส้นทางการขุดคลองเชื่อมสองฝั่งมหาสมุทรในภาคใต้ เห็นพ้องตรงกันว่า
จากความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทย (Land Scope) จะเป็นพลังผลักดันให้ประเทศไทยก้าวขึ้น
เป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจโลก เนื่องจากประเทศไทยตั้งอยู่ในศูนย์กลางการเดินทางของเอเชีย และยุโรป
ประเทศไทยเป็นแกนกลางเชื่อมต่อประชากรกว่าครึ่งหนึ่งของประชากรของโลกเข้าด้วยกัน รวมถึงการศึกษา
และข้อเสนอแนะในการกาหนดพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษของแนวคลองไทยที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติในการ
พัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ และสามารถหนุนเสริมเชื่อมโยงไปยังเขตเศรษฐกิจ พิเศษภาคตะวันออก
และทุกภูมิภาคของประเทศไทย รวมถึงหลายประเทศทั่วโลก จึงมีความเป็นได้อย่างมากหากมีคลองไทย
แล้วประเทศไทยจะได้รับ การพัฒนาในทุกมิติเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศ
พอจะสรุปเป็นเหตุผลหลัก ๆ ดังนี้
๑) ความสาคัญทางประวัติศาสตร์ ประเทศไทยมีบันทึกเกี่ยวกับแนวคิดที่จะขุดคลองเพื่อให้
เป็ น เส้ น ทางการเดิ น เรื อ เชื่ อ มทะเลอั น ดามั น มหาสมุ ท รอิ น เดี ย กั บ ทะเลอ่ า วไทย มหาสมุ ท รแปซิ ฟิ ก
ตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนารายมหาราช จนถึงปัจจุบันนับเวลาไม่น้อยกว่า ๓๒๕ ปี ในช่วงเวลาสมัยรัตนโกสินทร์
เรื่องการขุดคลองได้ ถูกหยิบยกขึ้นมาพิจารณาหลายครั้งแต่ยังไม่มีข้อยุติแสดงว่า เรื่องการขุดคลองเชื่อม
๒ ฝั่งทะเลยังเป็นเรื่องท้าทายการตั ดสินใจของผู้บริหารประเทศตลอดมา และประวัติศาสตร์ได้แสดงให้เห็น
หรือวิเคราะห์ได้ว่า บรรพบุรุษไทยเรารู้จัก และใช้ทะเลให้เกิดประโยชน์สนับสนุนพลังอานาจหลักของชาติ
มาช้านาน โดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจที่ไทยหรือสยามมีความเจริญรุ่งเรืองมาเป็นลาดับด้วยการค้าขายทางทะเล
กับต่างประเทศเริ่มตั้งแต่เมื่อครั้งเมืองหลวงอยู่ที่สุโขทัย จนกระทั่งสมัยกรุงศรีอยุธยาที่เจริญมั่งคั่งถึงขีด สุด
เป็นยุคทองที่นานาชาติยอมรับโดยเฉพาะก่อนยุคปลาย เป็นศูนย์กลางการพาณิชย์นาวีในภูมิภาคเรือใหญ่
เข้าจอด และเทียบท่าเป็นจานวนมาก
๒) ความสาคัญในด้านสมุททานุภาพ คลองไทยเชื่อมสองทะเลสาคัญ คือ อันดามันของ
มหาสมุทรอินเดีย และอ่าวไทยของมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งสาคัญกว่ามหาสมุทรอื่นใดในศตวรรษที่ ๒๑ นี้
จะเป็ น การใช้ ส มุ ท ทานุ ภ าพของเราให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด โดยใช้ ค าบสมุ ท รภาคใต้ ใ ห้ เ ป็ น ต้ น ทุ น
ทางเศรษฐกิจ เชื่อมสองมหาสมุทร ขยับเส้นทางหลักในการเดินเรือของโลกจากสิงคโปร์ผ่านช่องแคบมะละกา
ที่เป็นอยู่ตอนนี้ขยับมาให้สูงขึ้นให้เหนื อขึ้นมาอยู่ที่คาบสมุทรของไทยแทนการขุดคลองเชื่ อมสองมหาสมุทร
จะเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจคาบสมุ ทรมีศักยภาพไม่น้ อยกว่ า EEC และจะเชื่อมโยงหนุ นเสริมให้โครงการ EEC
มีการพัฒนาความสาเร็จสูงสุดด้วย และคลองไทยมีสาคัญกับอนาคตชาติในการเปลี่ยนประเทศไทยเป็น ๔.๐
๓) ความส าคัญจากการใช้ประโยชน์จากความได้ เปรียบในทางภูมิ ศาสตร์ ของประเทศ
คลองไทยจะเป็นเส้นทางลัดการเดินเรือจากทั่วโลก จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายในการเดินเรือทั้งหมดที่มาผ่ าน
คลองไทยแต่ล ะปี ห ลายแสนล้ านบาท ความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยที่อยู่บนทาเลทอง
๔๐

ของโลก และความได้เปรียบของประเทศไทยที่อยู่ในแนวเส้นทางเดินเรื อของโลก ทาให้เรือที่ผ่านคลองไทย


จะย่ น ระยะเวลาได้ ๒ - ๓ วั น ในแต่ ล ะเที่ ย วซึ่ง มี ค่ า มากเพราะลดค่ า ใช้ จ่า ยลง (เช่ น เรื อ ขนส่ ง สิ นค้าตู้
คอนเทนเนอร์ขนาด ๕,๐๐๐ TEU จะเสียค่าใช้จ่ายไม่ต่ากว่า ๒๐ ล้านบาทต่อวัน)
๔) ความสาคัญของคลองไทยที่จะทาให้เกิด การสร้างเมืองมหานครเศรษฐกิจพิเศษ (Mega
Special Economic City.) ในพื้นที่แนวคลองจะมีการพัฒนาให้เกิดโรงงานอุตสาหกรรม อู่ต่อเรือซ่อมเรือ
ขนาดใหญ่ ร ะดั บ โลก คลั ง และโรงกลั่ น น้ ามั น ท่ า เรื อ และบริ เ วณที่ จ อดเรื อ ทั้ ง เพื่ อ การขนส่ ง สิ น ค้ า
และน้ามัน รวมทั้งที่เก็บและกระจายสินค้าโลจิสติก ส์ต่าง ๆ แหล่งการค้าและธุรกิจสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
และอื่ น ๆ บริ เ วณริ ม คลองและปากคลอง ซึ่ ง นอกจากจะเกิ ด ประโยชน์ ท างตรงตามที่ ก ล่ า วมาแล้ ว
เมือง และคลองใหม่จะเป็นตัวขับเคลื่ อนเศรษฐกิจประเทศให้ พลิกฟื้นเป็นประเทศที่มั่งคั่งชั้นนาของโลก
เพราะคลองไทยจะเป็ น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ใหม่ ข องโลกที่ มี ค วามส าคั ญ ในล าดั บ ต้ น ๆ ในอนาคต
จะเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจเกิดการจ้างงานจานวนมากสามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศไทยจานวนมหาศาล
๕) ความส าคัญของคลองไทยในการเป็นเส้นทางการเดินเรือใหม่ของโลกที่ขนส่งสินค้า
ระหว่างมหาสมุทรอิน เดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก เรือสิ นค้าจากยุโ รปกองเรือบรรทุกน้ามัน และสิ นแร่
จากตะวันตก และตะวันออกกลางจะได้ประโยชน์ในการขนส่งสินค้า แลกเปลี่ยนกับประเทศมหาอานาจ
ทางเศรษฐกิจด้านตะวันออกไกล คลองไทยจะช่วยย่นระยะเส้นทาง และเวลาในการเดินเรือเรือขนส่งสินค้า
ขนาดใหญ่จะประหยัดเวลา และค่าใช้จ่ายในการเดินเรือขนส่งสินค้า สองฝั่งคลองไทยจะเกิดเมืองเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรม ศูนย์กลางการเงินและสถานที่ท่องเที่ยวใหม่ที่จะผลักดันให้เกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งใหม่
จะเปลี่ยนฐานเศรษฐกิจของไทยเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจอุตสาหกรรมหลากหลายประเภท แนวคลองไทยจะเป็น
ศูนย์กลางการค้าการเดินทาง และการท่องเที่ยวอย่างมั่นคง และเมื่อ Silk Road มีโอกาสลงมาบรรจบรวมกับ
Maritime Silk Road ภาคใต้ จ ะเกิ ด โอกาสการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ที่ เ ชื่ อ มโยงกั บ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ
แบบ ๑ แถบ ๑ เส้ น ทาง ดั ง กล่ า วด้ ว ย และประเทศไทยจะเป็ น ศู น ย์ก ลางการขนส่ ง และการเดิ น ทาง
ของประชากรโลกจานวนมากอย่างสมบูรณ์
จึ ง สรุ ป ว่ า ประเทศไทยมี ค วามเหมาะสมทั้ ง ทางภู มิ ศ าสตร์ ภู มิ รั ฐ ศาสตร์ แ ละการใช้
สมุททานุภาพให้เกิดประโยชน์สูงสุดทางด้านการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ หากดาเนินการพัฒนาเส้นทาง
เดิ น เรื อ ใหม่ ข องโลกในภาคใต้ ข องประเทศไทย ภาคใต้ มี ค วามเหมาะสมที่ จ ะพั ฒ นาให้ เ ป็ น เส้ น ทาง
เดินเรือใหม่ของโลกทั้งในด้านสมุททานุภาพ ภูมิรัฐศาสตร์ ที่เป็นศูนย์กลางชุมชนโลกและเส้นทางการเดินเรือ
ของโลกประกอบกับความแออัดของการเดินเรือผ่านช่องแคบมะละกา และความไม่ปลอดภัยในการเดิ นเรือ
ผ่ า นช่ อ งแคบซุ น ดาและลอมบอก จึ ง เป็ น โอกาสของประเทศไทยในการขุ ด คลองไทยให้ เ ป็ น เส้ น ทาง
การเดินเรือใหม่ของโลก และเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
๓.๑.๒ สรุปผลการพิจารณาศึกษาความคุ้มค่าในการขุดคลองไทย เพื่อเป็นศูนย์กลางของพานิชย์นาวีโลก
จากการศึกษาความคิดเห็นของนักวิชาการ และผลการศึกษาวิจัยทั้งในและต่างประเทศ
สรุปความว่า ปัจจุบันการค้าที่เกี่ยวกับการขนส่งทางเรือได้ขยายตัวอย่างมาก โดยเกี่ยวข้องกับระบบบริหาร
และการด าเนิ น งานในด้ า นต่ า ง ๆ ทั้ ง บนฝั่ ง และในทะเล ในเรื่ อ งตั ว เรื อ ระบบการซื้ อ ขายสิ น ค้ า
ระบบการขนส่ง ซึ่งรวมถึงกิจกรรมด้านโลจิสติกส์และอื่น ๆ ที่เรียกว่าพาณิชยนาวี (Maritime Industry) ตาม
พระราชบัญญัติส่งเสริมการพาณิชย์นาวี พ.ศ. ๒๕๒๑ มาตรา ๔ ได้ให้คานิยาม “พาณิชยนาวี หมายความว่า
การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล การเดินเรือ กิจการอู่เรือ กิจการท่าเรือ และหมายความถึง
๔๑

กิจการอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรง หรือเป็นส่วนประกอบกับกิจกรรมดังกล่าวตามที่กาหนดในกฎกระทรวง”
ส าหรั บการจะให้ ประเทศเป็ นที่ ยอมรั บจากนานาชาติ ว่ าเป็ นศู นย์ กลางพาณิ ชย์ นาวี (Maritime Hub Port) ได้ นั้ น
วงจรการค้าทางเรือที่กล่าวมาแล้ว นอกจากจะต้องมีความแข็งแกร่งที่จะสนับสนุนการค้าระหว่างประเทศของ
ตนเองแล้ว จะต้องมีขีดความสามารถที่จะสนับสนุนหรือบริการประเทศอื่นในลักษณะเป็นเมืองการค้า ธุรกิจ
การขนส่ งล าเลี ยง ขนถ่ ายเปลี่ ยนการส่ งก าลั งบ ารุ งส าหรั บเรื อที่ เข้ ามาได้ ครบทุ กสาขาและการโลจิ สติ กส์ ต่ าง ๆ
โดยนักวิชาการ และผลการศึกษาวิจัยทั้งในและต่างประเทศ เห็นว่า หากประเทศไทยดาเนินโครงการขุด
คลองไทยได้สาเร็จจะทาให้เกิดเส้นทางเดินเรือใหม่ของโลกที่มีโอกาสที่ดี กว่าที่จะทาให้เรือจากประเทศต่าง ๆ
ในทวีปยุโรปและจากประเทศในแถบตะวันออกกลาง รวมทั้งประเทศในทวีปเอเชียที่จะใช้เส้นทางคลองไทย
เป็นเส้นทางเดินเรือที่สาคัญโดยไม่ต้องอ้อมไปยังเส้นทางผ่านช่องแคบมะละกา (Malacca) เส้นทางผ่านช่อง
แคบซุน ด้า (Sunda)และเส้ น ทางผ่ านช่ อ งแคบลอมบอก (Lombok) ซึ่งระยะทางและระยะเวลาในการ
เดินทางจะน้อยกว่า ดังนี้
๑) เส้ น ทางคลองไทย เที ย บกั บ เส้ น ทางช่ อ งแคบมะละกา (ผ่ า นประเทศสิ ง คโปร์ )
จะย่นระยะทางได้ประมาณ ๑,๒๐๐ - ๑,๔๐๐ กิโลเมตร ลดเวลาการเดินทางได้ประมาณ ๒ - ๓ วัน
๒) เส้ น ทางคลองไทย เที ย บกั บ เส้ น ทางเดิ น เรื อ ที่ ผ่ า นช่ อ งแคบซุ นดา จะย่ น ระยะทาง
ประมาณ ๒,๕๐๐-๓,๐๐๐ กิโลเมตร จะลดระยะเวลาเดินทางได้ประมาณ ๔ - ๕ วัน
๓) เส้นทางคลองไทย เทียบกับเส้นทางเดินเรือที่ผ่านชองแคบลอมบอก จะย่นระยะทาง
ประมาณ ๓,๐๐๐ - ๓,๕๐๐ กิโลเมตร หรือลดระยะเวลาในการเดินเรือได้ประมาณ ๕ - ๗ วัน (คิดตามอัตรา
ความเร็วมาตรฐานสากลกาหนดให้เรือทะเลใช้ความเร็วที่แล่นผ่านช่องแคบหรือคลองจะใช้ความเร็วได้ไม่เกิน
๑๒ ไมล์ทะเลต่อชั่วโมง หรือประมาณ ๒๐ กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
จากการศึ ก ษาเอกสารงานวิ จั ย และบทความที่ เ กี่ ย วข้ อ งเกี่ ย วกั บ ความคุ้ ม ค่ า
ในการดาเนินการขุดคลองไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางพาณิชย์นาวีของโลก สรุปได้ดังนี้
๑) การพาณิช ย์น าวี มีความหมายรวมถึง การขนส่งทางทะเล การประกันภัยทางทะเล
การเดินเรือกิจการอู่เรือและกิจการท่าเรือ และกิจการอย่างอื่นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงหรือเป็นส่วนประกอบกับ
การดังกล่าวตามที่กาหนดในกฎกระทรวง ดังนั้น ความคุ้มค่าของการขุดคลองไทยต้องคิดคานวณรายได้หมด
ตั้งแต่รายได้ค่าผ่านคลอง และกิจการทั้งหมดที่พัฒนาเกี่ยวเนื่องกับคลองไทย
๒) วงจรการค้าที่เกี่ยวกับการขนส่งทางเรือนี้ ปัจจุบันได้ขยายตัวโดยเกี่ยวข้องกับระบบ
และกรรมวิธีต่าง ๆ ทั้งบนฝั่งและในทะเลทั้งในเรื่อง ตัวเรือ ระบบการซื้อขายสินค้า ระบบการขนส่ง ซึ่งรวม
กรรมวิธีด้านโลจิสติกส์ และอื่น ๆ อีกรวมเรียกว่า “พาณิชย์นาวี” (Maritime Industry)
๓) เมื่ อ ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ สมาคมวิ ท ยาศาสตร์ แ ห่ ง ประเทศไทย ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์
ได้รายงานเรื่อง “คลองกระกับอนาคตประเทศไทย” ได้ให้ข้อมูลจากการศึกษาถึงความคุ้มทุนไว้ว่า หากการ
สร้างคลองสาหรับเรือ ๒๕๐,๐๐๐ เดทเวทตัน สวนทางกันได้ จะใช้เงินลงทุนประมาณ ๑๖,๘๓๐ ล้านเหรียญ
สหรัฐฯ หรือประมาณ ๔๒๐,๗๕๐ ล้านบาท จากการคานวณเบื้องต้น รายได้จากคลองกระ และจากการ
ท่าเรือ สามารถจ่ายเงินลงทุนคืนได้ภายใน ๕๕-๖๐ ปี หลังจากที่เปิดดาเนินการโดยคิดอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริง
(หักอัตราเงินเฟ้อ) ๒.๕% ต่อปี อย่างไรก็ตาม ในปี พ.ศ. ๒๕๔๘ คณะอนุกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการขุดคลองไทย
วุฒิสภา ซึ่งทางานเกี่ยวข้องกับคลองกระก็ได้ประเมินค่าก่อสร้างไว้ ที่ประมาณ ๒๙๕,๔๐๐ ล้านบาท
๔๒

๔) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๒ บริษัท BETA ENGINFERING KANCHANABURI COMPANY LIMITED


ได้ป ระมาณการค่า ใช้จ่ ายพื้ น ฐานในการดาเนิ นโครงการคลองไทย ๙A โดยคานวณจากการศึ กษาวิ จั ย
โครงสร้างที่ควรจะมีคลองหลัก ๒ คลอง และคลองย่อยขนานอีก ๒ คลอง จะทาให้ต้นทุนลดลงอีกมาก
และใช้ดินที่ขุดคลองไปดาเนินการทาเกาะเทียมในอ่าวไทย ๕ เกาะ และหากเป็นการแบ่งส่วนการลงทุน
ระหว่ า งรั ฐ กั บ เอกชนโดยในส่ ว นที่ รั ฐ จะต้ อ งลงทุ น โดยประมาณราคาในปี ๒๕๖๒ วงเงิ น
๙,๐๘๗,๗๓๔,๙๙๙,๙๔๐บาท และระยะเพี ย ง ๕ ปี หลั ง จากเสร็ จ สิ้ น โครงการ จะมี ร ายได้
๑๕,๗๕๙,๓๗๙,๔๖๒,๒๔๒ บาท และภายใน ๑๐ ปี จะมีรายได้ ๔๑,๑๗๔,๙๔๕,๐๕๘,๒๙๙ บาท เมื่อหักค่า
บริหารจัดการและอื่น ๆ แต่ละปีแล้ว ถ้ารัฐลงทุนในโครงการขุดคลองไทยตามแนวทางที่รายงานการวิจัย
เสนอไว้ ผลตอบแทนหรื อ จุ ด คุ้ ม ทุ น จะอยู่ ร ะหว่ า งช่ว งปี ที่ ๕ - ๑๐ ปี หลั ง จากวั น ที่ โ ครงการแล้ ว เสร็จ
ซึ่งรายได้ที่อาจจะจั ดเก็บ ได้ล่ ว งหน้ าระหว่า งปี ที่ ๓ เป็นต้นไป สามารถจัดเก็บรายได้จากค่าเช่ า พื้ น ที่
จากเอกชนผู้ลงทุนได้ก่อนที่จะขุดคลองแล้วเสร็จ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายละเอียดของแผนการดาเนินงานโครงการ
เป็นสาคัญ
๕) ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ บริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด ได้ประมาณการว่า แผนการ
ขุดคลองไทยที่มีระยะทางยาว 131 กิโลเมตร เป็นลักษณะการขุดคลองเส้นหลัก 1 สาย และมีคลองสัญจร
ตามลั กษณะการใช้งานของแต่ล ะพื้น ที่ สามารถรองรับเรือได้ ทุกขนาดทุกประเภท โดยคลองเส้ นหลั ก
จะมีระยะความกว้างเฉลี่ยมากกว่า 1 กิโลเมตร ลึก 40 เมตร ในระยะความลึกของคลองเส้นหลัก และลึก 30 เมตร
ในระยะความลึ ก ตรงปากฝั่ ง อ่ า วไทยและอั น ดามั น ซึ่ ง เป็ น ความลึ ก ที่ เ พี ย งพอส าหรั บ การพั ฒ นาพื้ น ที่
ในระยะแรก ในขณะที่ ค ลองย่ อ ยส าหรั บ ใช้ สั ญ จรไปยั ง พื้ น ที่ ต่ า ง ๆ จะมี ค วามกว้ า งเฉลี่ ย 400 เมตร
และลึก 30 เมตร ตาม “โครงการเมืองแห่งแรกในโลกที่ออกแบบทุกมิติเพื่อให้เป็นศูนย์กลางของการใช้ชีวิต
และเศรษฐกิจ แห่งใหม่ ” โดยคาดการณ์ว่าจะสามารถดึงดูดนักลงทุน และผู้เข้าอยู่อาศัยในพื้นที่ของโครงการ
ได้มากกว่า 30 ล้านคน ใน 30 ปี และจะทาให้เกิดการจ้างงานหลายล้านตาแหน่งทางบริษัท คิงส์ แลนด์
(ประเทศไทย) จากัด จึงมีความมั่นใจกว่าภายในระยะเวลา 30 ปี โครงการดังกล่าวจะผลักดันให้ประเทศไทย
มีผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ (GDP : Gross Domestic Product) สูงเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย และที่ดิน
ที่เวนคืนทั้งหมดจะตกเป็นทรัพย์สินของรัฐภายใต้นโยบายสัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 99 ปี
๖) ความคุ้ ม ค่ า ของโครงการคลองไทยต้ อ งด าเนิ น การควบคู่ ไ ปพร้ อ มกั น ระหว่ า ง
โครงการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ
๗) โครงการการขุดคลองไทยจะสร้างการพัฒนามหานครเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ขวานทอง
แห่งสุวรรณภูมิซึ่งมีที่ตั้งบริเวณคลองไทยให้เป็นศูนย์กลางค้าระดับโลกแหล่งอุตสาหกรรมแหล่งท่องเที่ยว
และศูนย์กลางพาณิชย์นาวีมีความเหมาะสมเป็นไปได้ และยอมรับได้ในความคุ้มค่า
จากความคิดเห็ น ของผู้ แทนจากหน่ว ยงานที่เกี่ยวข้องเพื่ อประกอบการพิจารณาศึ ก ษา
ความเป็นไปได้ในการดาเนินการและวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการขุดคลองไทย ในมิติด้านความมั่นคงการเมือง
เทคโนโลยี กฎหมายระหว่างประเทศ และสิ่งแวดล้อม สรุปสาระสาคัญ ได้ดังนี้
ด้ า นความมั่ น คง ได้ ท าการศึ ก ษาพิ จ ารณาความเป็ น ไปได้ ใ นการขุ ด คลองไทยผ่ า น
๕ จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา โดยมี
ความเห็ น ว่าไม่มีผ ลกระทบด้านความมั่น คงและด้านอานาจอธิปไตย เนื่องจากมีพื้นที่ห่ างจากชายแดน
สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ ประมาณ ๕๐๐ กิโลเมตร และห่างจากสาธารณรัฐสิ งคโปร์ ประมาณ
๔๓

๑,๒๐๐ กิโลเมตร ส่วนประเด็นความกังวลเกี่ยวกับการแบ่งแยกดินแดน ได้มีการศึกษาบริเวณที่จะมีการขุด


คลองดังกล่าว ไม่น่าจะมีปัญหาการขยายอิทธิพลทางความคิดการแบ่งแยกดินแดนมาถึงบริเวณดังกล่าว
ด้านการเมือง การขุดคลองไทยสามารถประหยัดเวลาในการเดินทางป็นเส้นทางขนส่งสินค้า
ไปยังต่างประเทศสร้างการแข่งขันทางอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ดังนั้น คลองไทยจึงเป็น
จุ ดยุ ทธศาสตร์ ที่ส าคัญของภูมิภาคและของโลก ซึ่ งเป็นเส้ นทางเชิงยุทธศาสตร์ที่ส าคัญระหว่างประเทศ
ที่มหาอานาจทางการเมืองอาจเข้ามามีอิทธิพลได้ เพราะเป็นเส้นทางยุทธศาสตร์สาคัญของโลกและที่แห่งใด
ที่มีการขุดคลองเพื่อย่นระยะเวลาการเดินทาง ประเทศมหาอานาจจะเข้าไปมีอิทธิ พลภายในประเทศนั้น ๆ
ส่วนการขุดคลองไทยเป็นการย่นระยะเวลาการเดินเรือ จะทาให้ประเทศเพื่อบ้านเสียผลประโยชน์
ด้ า นเทคโนโลยี การขุ ด คลองไทยสร้ า งโอกาสในด้ า นต่ า ง ๆ เป็ น จ านวนมาก เช่ น
ด้านโลจิสติกส์การท่องเที่ยว อุตสาหกรรมการต่อเรือ แต่ย่อมมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การกัดเซาะชายฝั่ง
และวิถีชุมชนตามมา อย่างไรก็ตามด้วยเทคโนโลยีที่ก้าวไกลในโลกปัจจุบันและอนาคต เทคโนโลยีสมัยใหม่
สามารถแก้ปัญหาในอดีตที่ผ่านมาได้ จึงควรมี การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study)
ในประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
(๑) ควรวิ เ คราะห์ ต้ น ทุ น (Cost Analysis) ที่ ร วมทั้ ง ส่ ว นที่ เ ป็ น ต้ น ทุ น ในการก่ อ สร้ า ง
และต้นทุนทางสิ่งแวดล้อมและวิถีชุมชน
(๒) ควรวิ เ คราะห์ ใ นเชิ ง ปริ ม าณ (Quantitative Analysis) ว่ า ภายใต้ ต้ น ทุ น ที่ ล งไป
จะก่อให้เกิดจุดคุ้มทุนในเชิงเศรษฐกิจแก่ประเทศโดยรวมเมื่อใด จากกิจกรรมทางเศรษฐกิจอะไร
(๓) การด าเนิ น โครงการจะส่ ง ผลกระทบในทางลบต่ อ ประชาชนในพื้ น ที่ อ ย่ า งไร
และภาครัฐมีแนวทางการบริหารจัดการเพื่อแก้ปัญหานี้อย่างไร
(๔) การดาเนิ น โครงการขุ ดคลองไทยจะส่ งผลกระทบในทางบวกและทาให้ ป ระชาชน
ในพื้นที่ได้ประโยชน์ที่เป็นรูปธรรมอย่างไร
(๕) ด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยี ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้านเทคโนโลยี การก่อสร้าง
เพื่อลดผลกระทบในขณะการก่อสร้าง และการวิเคราะห์ต้นทุนการก่อสร้างเพื่อให้ได้แนวทางเลือกเหมาะสม
ที่สุดในด้านเทคโนโลยี
(๖) ผลกระทบของการขุ ด คลองต่ อ สภาพการไหลของน้ าในคลองไทย เพื่ อ วิ เ คราะห์
รายละเอียดในเรื่องกระแสความเร็วของน้า การเกิดตะกอนในคลอง การกัดเซาะของคลอง การรุกล้าน้าเค็ม
เข้าในพื้น ดิน สองฝั่ ง คลอง เส้ น ทางการระบายน้า การเปลี่ ยนแปลงสภาพทางอุท กวิ ทยามีผ ลต่ อ สภาพ
ธรณีวิทยาและระบบนิเวศ คุณภาพน้ าในคลอง การควบคุมระดับน้าในคลองเพื่อการเดินเรือ ตลอดจน
การจัดการจราจรทางน้า
ด้านกฎหมาย ในการขุดคลองไทย ควรพิจารณาปัจจัยด้านต่าง ๆ ดังนี้
(๑) หลักเกณฑ์พื้นฐานของกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับการขุดคลองไทย
(๒) สถานะทางกฎหมายระหว่างประเทศของคลองไทย
(๓) กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวกับปัญหามลพิษจากการเดินเรือในคลองไทย
(๔) กฎหมายระดับภูมิภาคที่เกี่ยวกับการขุดคลองไทย
ทั้งนี้ คลองไทยเมื่อได้รับการขุดแล้วจะมีสถานะเป็นทางน้าระหว่างประเทศที่อยู่ภ ายใต้
กฎหมายว่าด้วยน่านน้าตามหลักกฎหมายทะเล และอยู่ภายใต้หลักเสรีภาพในการเดินเรือทั้งในยามสันติ
๔๔

และสงคราม โดยประเทศไทยในฐานะรัฐเอกราชมีอานาจอธิปไตยโดยสมบูรณ์ สามารถที่จะดาเนิน การ


และบริหารจัดการใด ๆ ภายในดินแดนของตนได้แต่เพียงผู้เดียว ต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายระหว่างประเทศ
และกฎบัตรสหประชาชาติ รวมถึงต้องปฏิบัติตามพันธกรณีในทางกฎหมายระหว่างประเทศที่เข้าเป็นภาคี
การขุดคลองไทย แม้ว่าจะเป็นการดาเนินกิจกรรมในดินแดนของตนเอง แต่ควรต้องดาเนินการปรึกษาหารือ
กับประเทศสมาชิกอื่น ๆ ของอาเซียน เนื่องจากมีผลกระทบกับผลประโยชน์ร่วมกันของประเทศสมาชิก
อาเซียน
ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม ด้ า นผลกระทบด้ า นสิ่ ง แว ดล้ อ ม ( Environmental Impacts)
ต้ อ งพิ จ ารณา จากการปรั บ เปลี่ ย นระบบนิ เ วศ (Modified Ecosystems) และการบริ ก ารเชิ ง นิ เ วศ
(Ecosystem Services) ประกอบด้วย
(๑) ระบบนิเวศลุ่มน้า (Watershed Ecosystem
(๒) ระบบนิเวศทางทะเลและชายฝั่ง (Marin & Coastal Ecosystem)
(๓) ผลกระทบต่อความหลากหลายของพืช สัตว์ และจุลินทรีย์ โดยเฉพาะในระบบนิเวศ
พื้นที่ชุ่มน้า
ทั้งนี้ เสนอให้มีการพิจารณาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Impacts) เป็นไป
อย่ า งรอบคอบ ควรจั ด ท าการประเมิ น ผลกระทบเชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ ภ าคใต้ (Strategic Environmental
Assessment) เพื่อประกอบการพิจารณาต่อไป
ด้ า นการวิเ คราะห์ค วามคุ้มค่า โครงการลงทุน ขุดคลองไทย การวิเคราะห์ ความคุ้มค่า
โครงการลงทุนขุดคลองไทย ต้องพิจารณาจากปัจจัยต่าง ๆ ประกอบดังต่อไปนี้
(๑) ความจ าเป็ น ในการขุ ด คลองไทย สถานการณ์ ปั จ จุ บั น ของช่ อ งแคบมะละกา
มีการจราจรของเรือที่แอดอัด ช่องทางบางช่วงน้าตื้นไป เรื อใหญ่ต้องไปอ้อมทางช่องแคบซุนดาหรือช่องแคบ
ลอมบอค หากมีการขุดคลองไทยจะเป็นการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ทาให้ประเทศไทยเป็นศูนย์ กลาง
การขนส่ งทางเรือของโลก ศูน ย์ กลางอุตสาหกรรม ศูนย์กลางการเงิน และส่ งเสริมให้เศรษฐกิจกรุงเทพ
กับภูมิภาคต่าง ๆ เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว ทาให้ประเทศไทยหลุดพ้นจากประเทศกับดักรายได้ปานกลาง
และกลายเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
(๒) ความเป็ น ไปได้ ใ นการขุ ด คลองไทย แนวเส้ น ทางการขุ ด คลองไทย เส้ น ทาง ๙A
ที่ ผ่ า น ๕ จั ง หวั ด ประกอบด้ ว ย จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช
และจังหวัดสงขลา มีความเหมาะสมกับการพัฒนาเศรษฐกิจ เมื่อเทียบกับการเดินเรือผ่านช่องแคบมะละกา
คลองไทยสามารถช่วยย่นระยะเวลาการเดินเรือได้ ๗๐๐ – ๑,๒๐๐ กิโลเมตร ประหยัดเวลาการเดินทางได้
๑ – ๒ วั น เมื่ อ เที ย บกั บ ช่ อ งแคบซุ น ดา สามารถย่ น ระยะการเดิ น เรื อ ได้ ๘๓๐ – ๒,๒๐๐ กิ โ ลเมตร
ประหยัดเวลาการเดินทางได้ ๑.๒๕ – ๓.๓ วัน และเมื่อเทียบกับช่องแคบลอมบอก สามารถย่นระยะเวลาการ
เดิน เรื อได้ ๒,๒๐๐ – ๒,๘๐๐ กิโ ลเมตร ประหยัดเวลาการเดินทางได้ ๓ – ๕ วัน ส าหรับการประหยัด
ค่าใช้จ่ายของเรือที่ผ่านคลองไทยเมื่อเทียบกับช่องแคบมะละกา มีการประหยัดต้นทุนการเดินเรื อ เช่น เรือ
ขนส่งตู้คอนเทนเนอร์ ขนาด ๑๘,๐๐๐ TEU จากท่าเรือเซี่ยงไฮ้ – ท่าเรือรอตเตอร์ดัม สามารถประหยัด
ต้นทุนได้ ประมาณ ๑๐๘,๙๙๖ เหรียญสหรัฐ
(๓) แผนการพั ฒ นาคลองไทย โครงการขุ ด คลองไทยเสนอใช้ เงิ น ลงทุ น จากนานาชาติ
ท าโครงการให้ เ ป็ น รู ป แบบสากล เชิ ญ ชวนบริ ษั ท ที่ มี ศั ก ยภาพจากทั่ ว โลกมาลงทุ น โดยมี ก ารควบคุ ม
๔๕

จากรัฐบาลไทยตามแนวทางในการพิจารณาการร่วมทุนระหว่างภาครัฐกับเอกชน การสร้างความน่าเชื่อถือ
เครดิต (Credit Enhancement) ซึ่งเป็นการบูรณาการระหว่างการค้าประกัน (Guarantee) การตัดเครดิต
(Credit Wrap) เงิ น ค้ าประกั น จากรั ฐ บาล (Sovereign Guarantee) และผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพหุ ภ าคี
(Multilateral Product) ซึ่งมีหลายบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญ พร้อมให้การร่วมมือและสนับสนุนข้อมูลต่าง
เพื่อใช้ในการพัฒนาและสร้างความเชื่อมั่นในการสนับสนุนในโครงการดังกล่าวต่อไป
จากการศึกษา โครงการคลองไทยจะมีบทบาทสาคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจไทย สามารถ
คืนทุนและสร้างรายได้มหาศาลนับตั้งแต่เริ่มก่อสร้างโครงการ เช่น การเก็บภาษี และสร้างอาชีพให้คนไทย
อย่ างมหาศาลโครงการคลองไทยสามารถดึงดูดเงินทุน และเทคโนโลยีจากทั่ว โลกมาอยู่ที่ประเทศไทย
ทาให้กลายเป็นศูน ย์กลางการเดินเรือของโลก ศูนย์กลางโลจิสติกส์ ศูนย์กระจายสินค้า ศูนย์กลางการค้า
และศูน ย์ กลางการเงิน จะทาให้ ป ระเทศไทยกลายเป็นประเทศที่มีรายได้ สู งสร้างความมั่นคั่ง และยั่งยืน
ตลอดไป
๓.๑.๓ สรุ ป ผลการพิ จ ารณาศึ ก ษาการด าเนิ น การขุ ด คลองไทย เพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลางค้ า โลก
แหล่งอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวระดับโลก
จากความคิดเห็นของนักวิชาการและการวิจัยที่เกี่ยวข้องสรุปได้ว่า คลองขุดในโลกนี้ถึงแม้
จะมีอยู่หลายคลองที่มีลักษณะคล้ายคลึง กันคือเพื่อย่นระยะทางในการเดินเรือและเพื่อพัฒนาพื้นที่แนวคลอง
เป็นเขตเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมและการพัฒนาเมือง สร้างรายได้ให้กับประเทศในด้านพาณิชย์นาวีและธุรกิจ
ที่เกี่ยวข้อง ซึ่งทุกคลองขุดของโลกประสบความสาเร็จอย่างมากเหมือน ๆ กัน (ทั้งคลองปานามา คลองสุเอซ
และคลองคีล ) ส าหรั บ คลองไทยจะทาให้เกิดประโยชน์ต่อการขนส่งระหว่างเอเชียตะวันออก ญี่ปุ่น จีน
กั บ ตะวั น ตกของอิ น เดี ย และยุ โ รป ประเทศต่ า ง ๆ เต็ ม ใจจ่ า ยค่ า ธรรมเนี ย มที่เหมาะสม และมีความมั่นใจ
ในด้ านการการค้ าการลงทุ นที่ ประเทศต่ าง ๆ จะให้ ความร่ วมมื อและเชื่ อว่ าคลองไทยจะท าให้ เ กิ ด การลงทุ น
ร่วมทางอุตสาหกรรมร่วมในภูมิภาค รายได้ของท้องถิ่นจะเกิดขึ้นมากอย่างมีนัยสาคัญ การว่างงานจะลดลง
และจะเกิดความสงบอีกด้วย
คลองไทยจะเป็นเสมือนเครื่องจักรที่จะปฏิรูปประเทศทางด้านเศรษฐกิจให้ก้าวกระโดด
จะมีการสร้างงานสร้างเศรษฐกิจในอนาคตให้มั่นคง การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน สังคมในอนาคตการพัฒนา
ที่ ยั่ ง ยื น จะเกิ ด ขึ้ น ได้ ต้ อ งอาศั ย วิ ศ วกรรม โครงสร้ า งพื้ น ฐานมี ค วามส าคั ญ ต่ อ การเติ บ โตในอนาคต
ทางด้ า นอุ ต สาหกรรมและการส่ ง ออกของประเทศไทย คลองไทยจะสร้ า งงานให้ กั บ ประชาชนทั้ ง ใน
ด้านการก่อสร้ างและการดาเนิ น การ จะเกิดการลงทุนทางอุตสาหกรรมในภูมิภ าค รายได้ของท้อ งถิ่ น
จะเพิ่มขึ้น การปฏิรูปการค้าของโลกครั้งที่ ๑ เน้นที่ “ความปลอดภัย” ครั้งที่ ๒ เน้นที่ “ใหญ่” และครั้งที่ ๓
ต่อไปนี้จะเน้นที่ “เร็ว” คลองไทยจึงเป็นทางเลือกที่ต้องพิจารณาก่อนเพราะจะทาให้ระยะการเดินทางสั้นลง
ใช้เวลาน้อยลงในการขนส่งสิ นค้าไปสู่เป้าหมาย มีความสะดวก ปลอดภัย หากคนในชาติมีความยืดหยุ่น
ทางความคิดที่ไม่ติดยึดกับความเชื่อเดิม ๆ จนเกินไป โลกเปลี่ยนองค์ความรู้เปลี่ยนเทคโนโลยีมีความทันสมัย
มากขึ้ น เปิ ด โอกาสให้ มี ก ารศึ ก ษาในเชิ ง ลึ ก เราจะได้ ใ ช้ ป ระโยชน์ จ ากพื้ น ที่ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ของคลองไทย
ให้เป็นศูนย์กลางทางใต้ของประเทศไทยให้เป็นโอกาสของการเชื่อมโยงการพัฒนาทั่วประเทศ ประเทศไทย
ก็จะเป็นศูนย์กลางการค้าและอุตสาหกรรมของโลกเพราะเรามีทุนทางธรรมชาติที่ดีและมีความเหมาะสมกว่า
ส าหรั บ ด้ า นการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว จากวิ สั ย ทั ศ น์ ข องแผนพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
ของประเทศไทย ๒๐ ปี "ประเทศไทยเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนาของโลกที่เติบโตอย่างมีดุลยภาพ
๔๖

บนพื้นฐานความเป็นไทย เพื่อส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและกระจายรายได้สู่ประชาชนทุกภาคส่วน


อย่างยั่งยืน" ความเป็นไปได้ที่จะบรรลุวิสัยทัศน์ ได้กาหนดยุทธศาสตร์ของการพัฒ นาไว้ ๕ ประการ ซึ่งต้องมี
แผนงาน โครงการและกิจกรรมการพัฒนาต่าง ๆ เข้ามาเกี่ยวข้องและต้องอาศัยงบประมาณจานวนมากเข้าไป
ส่งเสริมผ่านส่วนราชการและหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง หากรัฐบาลดาเนินโครงการคลองไทยก็จะมีรายได้
จานวนมากและเพียงพอมาหนุนเสริมการพัฒนาตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวให้บรรลุผลสาเร็จตามวิสัยทัศน์
ภายใน ๒๐ ปีที่กาหนดได้หรืออาจจะสาเร็จได้ก่อน เพราะคลองไทยจะเป็นสิ่งมหัศจรรย์แห่งใหม่ของโลก
ประกอบกับทรัพยากรการท่องเที่ยวที่ มีอย่างสมบูรณ์ในทุกภูมิ ภาคของประเทศไทยที่จะดึงดูด นักท่องเที่ยว
ได้ทุกกลุ่มทุกระดับ เมื่อมีเงินงบประมาณเข้าไปสนับสนุนการศึกษาเพื่อเพิ่มสมรรถนะของคนไทย ให้มีความสามารถ
ด้านการจัดการท่องเที่ยวที่มีคุณภาพ “คลองไทยก็จะเป็นกลไกขับเคลื่อนที่สาคัญมากในการพัฒนาประเทศ
ไทยสู่การเป็นศูนย์กลางการค้า อุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวระดับโลก”
ในด้านการท่องเที่ยวเมื่อคลองไทยเชื่อมระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปชิฟิก
จะทาให้คลองไทยเป็ นเกตเวย์ด้านการท่องเที่ยวใหม่ของโลก นักท่องเที่ยวสามารถเดินทางจากสิงคโปร์
และมาเลเซียทางเรือฝั่งอันดามัน และสามารถข้ามผ่านคลองไทยมาเชื่อมโยงสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ ๆ ได้
เช่น เกาะสมุย เกาะพงัน พัทยา จังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง โดยไม่ประสบปัญหาเรื่องมรสุมเช่นเดิม
๓.๑.๔ สรุปผลการพิจารณาศึกษารูปแบบคลองไทย
จากการวบรวมผลการศึกษา ในด้านรูปแบบของการขุ ดคลองไทย ทั้งในการเลื อ กพื้นที่
และเส้นทางการขุดคลอง การออกแบบคลอง ข้อดี ข้อเสียต่าง ๆ ของการขุดคลอง เป็นการศึกษาข้อมูลผล
การศึกษาในอดีตที่ผ่านมาจากหลักฐานที่ปรากฏ และจากการที่ คณะอนุกรรมาธิการฯ ได้เชิญหน่วยงาน
ภาคเอกชนที่ส นใจได้ออกแบบรูป แบบคลองไทยและแนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้ ผลการศึกษา
มีดงั ต่อไปนี้
๓.๑.๔.๑ ผลการศึกษาของชมรมอาสาสมัคร เพื่อให้ความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแก่ประชาชน ในสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ศึกษาในปี
พ.ศ. ๒๕๓๒)
ชมรมอาสาสมั ค ร เพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี
แก่ประชาชน ในสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้พิจารณาเส้นทางความคุ้มค่า
ตามแนวคอคอดกระในภาคใต้จ านวนทั้งหมด 10 เส้ นทางโดยมี ข้อสรุป เลื อกเส้ นทาง ๕A คือ เส้ นทาง
ที่เหมาะสมที่สุดในการขุดคลองที่จะขุดเชื่อมระหว่างจังหวัดสงขลาฝั่งตะวันออก ถึงจังหวัดสตูล ทางชายฝั่ง
ตะวั น ตก ความยาว ๑๐๒ กิ โ ลเมตร เส้ น ทางที่ จ ะขุ ด ผ่ า นไม่ มี ภู เ ขาสู ง จ านวนดิ น ที่ จ ะขุ ด มี น้ อ ยที่ สุ ด
มี ค วามเหมาะสมที่ จ ะพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมและท่ า เรื อ มากกว่ า เส้ น ทางอื่ น ส าหรั บ เรื่ อ งรู ป แบบคลอง
ตามข้อเสนอในการศึกษาครั้งนั้น ได้มีการเสนอให้มีการขุด ๒ คลองที่มีระดับต่างกันว่าจะมีความเหมาะสม
ในเรื่ อ งการประหยั ด ค่ า ใช้ จ่ า ย ในการขุ ด ทั้ ง สองคลองมี ค วามกว้ า งลั ก ษณะเดี ย วกั นแต่ ร ะดั บ ความลึ ก
ต่างระดับกัน เพื่อให้เรือเดินทางสวนกันเที่ยวไป - กลับ เช่น เที่ยวบรรทุกน้ามันใช้คลองที่มีระดับความลึก
และเที่ ย วกลั บ ไม่ มี น้ ามั น ใช้ค ลองระดั บ ความลึ ก น้ อ ยกว่า การออกแบบคลองยื ด หยุ่ น ได้ ถ้ า ในอนาคต
เรือมีขนาดใหญ่มากขึ้น คลองสองคลองอาจจะถูกขยายให้กลายเป็นคลองเดียวกันได้
๔๗

ภาพที่ 4 จาลองออกแบบรูปแบบ ๒ คลองที่มีความกว้าง และระดับความลึกต่างระดับกัน


ที่มา : ชมรมอาสาสมัคร เพื่อให้ความช่วยเหลือทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแก่ประชาชน

๓.๑.๔.๒ ผลการศึกษาของคณะกรรมการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ
ขุดคอคอดกระ วุฒิสภา (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๔๘)
คณะกรรมการวิสามัญเพื่อการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ
วุฒิสภา ได้แต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการวิสามัญฯ รวม ๗ คณะ เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้น (Pre - Feasibility
Study) ทั้งด้านธรณีวิทยา วิศวกรรม สิ่งแวดล้อม ความมั่ นคง เศรษฐกิจ การทาประชาพิจารณ์ ทางด้าน
กฎหมายและได้ทาการศึกษาเส้นทางการขุดคลองไทย จากการศึกษาที่ได้ลงพื้นที่ศึกษาเส้นทาง พบปะผู้นา
ท้ อ งที่ ท้ อ งถิ่ น และประชาชน จึ ง มี ม ติ เ ลื อ กเส้ น ทาง ๙A เป็ น เส้ น ทางที่ จ ะศึ ก ษาในขั้ น สมบู ร ณ์
(Full Feasibility) และเป็นแนวคลองที่ดีที่สุดเพื่อการขุดต่อไป โดยพิจารณาเห็นว่า เส้นทาง ๕A เป็นเส้นทาง
ขุดคลองเชื่อมทะเลอันดามัน และอ่าวไทยที่จังหวัดสตูล และสงขลามีความยาวประมาณ ๑๐๒ กิโลเมตร
การขุ ด คลองจะต้ อ งผ่ า นทะเลสาบสงขลา ซึ่ ง ประชาชนคั ด ค้ า นไม่ ใ ห้ ท าการขุ ด คลองและเป็ น พื้ น ที่
ที่พี่น้ องมุส ลิ มอาศัย อยู่กัน อย่างหนาแน่ น อีกประการหนึ่งเป็นเส้ นทางใกล้ ดินแดนใต้ ซึ่งจะเป็นเส้ นทาง
สร้ างความเจริ ญให้ กับ ประเทศมาเลเซีย โดยตรงมากกว่าจะมีประโยชน์กับประเทศไทย จึงไม่ส มควรขุด
เส้นทางนี้ และไม่อาจจะสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษสองฝั่งคลองได้เนื่องจากเป็นพื้นที่แคบอยู่ในหุบเขา
เมื่ อ พิ จ ารณาข้ อ ดี แ ละข้ อ เสี ย พบว่ า เส้ น ทาง ๙A เป็ น เส้ น ทางที่ เ หมาะสม
และเกิดปั ญหาน้ อ ยที่สุ ด และได้เลื อ กเส้ น ทางที่ตั ดผ่ านพื้ น ที่ ท ะเลในจั งหวัด กระบี่ ขึ้นบกที่จังหวั ด ตรั ง
ผ่านจังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช ไปสุดเส้นทางที่อาเภอระโนด จังหวัดสงขลาและอาเภอหัวไทร
จังหวัดนครศรีธรรมราช ระยะทางประมาณ ๑๒๐ กิโลเมตร คลองนี้จะผ่านอาเภอสิเกา อาเภอวังวิเศษ
อาเภอห้วยยอด อาเภอรัษฎา จังหวัดตรัง อาเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง อาเภอชะอวด อาเภอหัวไทร
จังหวัดนครศรีธรรมราช อาเภอระโนดจังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นเส้นทางที่มีปัญหาน้อยที่สุด ประชาชนในพื้นที่
สนับสนุน และเรียกเส้นทางแนวคลองนี้ว่า “เส้นทาง ๙A” และเรียกว่า “คลองไทย”หรือ “THAI CANAL”
๔๘

ลักษณะของคลองไทย
(๑) รู ป แบบ เป็ น คลองคู่ ข นานไป - กลั บ คนละคลอง และเป็ น เส้ น ทางลั ด
เชื่อมทะเลอันดามันกับอ่าวไทย
(๒) ที่ ตั้ ง เริ่ ม จากต าบลบ่ อ หิ น ช่ ว งที่ เ ป็ น รอยต่ อ ระหว่ า งอ าเภอคลองท่ อ ม
จังหวัดกระบี่และอาเภอสิเกา จังหวัดตรัง ผ่านอาเภอวังวิเศษ อาเภอห้วยยอด อาเภอรัชฎา จังหวัดตรัง
อาเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง เข้าสู่อาเภอชะอวด ผ่านพรุควนเคร็ง อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
แล้วออกสู่อ่าวไทยที่อาเภอระโนดจังหวัดสงขลา ซึ่งกาหนดให้เป็นแนวคลองล่าง ส่วนแนวคลองเหนือออกสู่
อ่าวไทยที่อาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
(๓) ความยาวคลอง โดยคลองบนมี ค วามยาวประมาณ ๑๒๐ กิ โ ลเมตร
และคลองล่างมีความยาวประมาณ ๑๒๕ กิโลเมตร
(๔) ความกว้างคลอง ประมาณ ๓๕๐ เมตร ส่วนประกอบของคลองมีพื้นทีส่ าหรับ
ใช้ประโยชน์วางท่อน้ามัน รางรถไฟฯลฯ ระหว่างคลองทั้งสองกว้างประมาณ ๑ กิโลเมตร มีจุดกลับเรือ
(U -Turn) เป็ น ระยะที่ มี พื้ น ที่ สี เ ขี ย วและแนวเขตพั ฒ นาทั้ ง สองข้ า งคลอง ข้ า งละ ๑ กิ โ ลเมตร
และมีถนน ๑๐ เลนทั้งด้านเหนือคลองบนและด้านใต้ของคลองล่างตลอดความยาวคลอง
(๕) ความกว้างเขตคลอง ๒ - ๔ กิโ ลเมตร ขึ้นอยู่กับความจาเป็นที่จะใช้พื้นที่
ในการดาเนิ น โครงการ โดยเว้น ปากคลองทั้งสองฝั่ ง ทะเลด้ านอันดามั นและอ่าวไทยให้ ห่ างกัน มากกว่ า
๑๐ กิโลเมตร เพื่อลดความหนาแน่นในการจราจรทางเรือ
(๖) ความลึกของคลอง ๓๐ เมตร

ภาพที่ 5 เส้นทางการขุดคลองไทย เส้นทางแนว ๙A


ที่มา : คณะกรรมาธิการวิส ามัญฯ ปี พ.ศ. ๒๕๔๘
๔๙

๓.๑.๔.๓ ผลการศึ ก ษาของสมาคมคลองไทยเพื่ อ การศึ ก ษาและพั ฒ นา ร่ ว มกั บ


บริษัท Grand Dragon International Holdings Co., Ltd. (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๕๘)
การศึกษาของสมาคมคลองไทยเพื่ อ การศึกษาและพัฒ นา ปี 25๕8 ได้เลื อก
เส้ น ทางคลองที่ มี ผ ลการวิ จั ย ของคณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ เพื่ อ การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการ
ขุดคลองกระ วุฒิสภาได้ทาการศึกษาในระหว่างปี พ.ศ.๒๕๔๔ - ๒๕๔๗ โดยในรายงานได้เสนอเส้นทาง ๙A
โดยการเปรียบเทียบข้อมูลและการวิเคราะห์ขั้นสุดท้ายโครงการคลองเส้นทาง ๙A ถึงแม้ว่าจะมีความยาว
กว่าเส้นทางคลองกระเดิม มีทางรถไฟ และทางหลวงข้ามคลองมากกว่า แต่ปริมาณดินที่ขุดคลองน้อยกว่า
อยู่ใกล้กับเส้นทางขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ สามารถประหยัดเวลาและระยะการเดินทางในการขนส่ง
ได้มาก พื้น ที่ที่อยู่ อาศัย หนาแน่ น ของประชาชนในเส้ นทางคลองผ่ านมีค่อนข้างน้อย และบริษัท Grand
Dragon International Holdings Co., Ltd ได้เสนอให้ นาดิน ที่ขุ ดไปถมทะเลทาเกาะเที ยม ปลายคลอง
ทั้งในทะเลฝั่งตะวันออก และฝั่งทะเลตะวันตก โดยเกาะเทียมฝั่งตะวันออกในทะเลอ่าวไทยถมดินทาเป็นเกาะ
๒ เกาะ คือ
(1) เกาะเหนือ พื้นที่การถมดินประมาณ ๗๕.๙ ตารางกิโลเมตร ก่อสร้างเป็น
เขตที่อยู่ อาศัย เขตการศึก ษานานาชาติ สถานที่ท่องเที่ยวและพั กผ่ อน เขตธุรกิจการค้า และสิ่ งอานวย
ความสะดวก พื้นที่ถมดินอีกประมาณ ๗๔.๘ ตารางกิโลเมตร นอกเขตอาคารของเกาะเหนือก่อสร้างเขื่อนกั้น
คลื่นเหนือและพัฒนาพื้นที่เป็นสถานที่รองรับประชาชนจานวนมากที่จะมาชมวิวและชมเมืองใหม่ภายนอก
อาคารเกาะเทียมใต้ ก่อสร้างเขื่อนกั้นคลื่นใต้เพื่อป้องกันเขตการค้าเสรีของท่าเรือ เกาะเทียมฝั่งตะวันตก
มีพื้นที่ ๑๘๐.๘ ตารางกิโลเมตร พื้นที่ก่อสร้างบริเวณทางบก ๑๖๕ ตารางกิโลเมตร แบ่งพื้นที่เป็น ๔ ส่วน คือ
เขตอุ ต สาหกรรมการประมงทางทะเล เขตสถานี ต ารวจชายฝั่ ง เขตเกาะพลั ง งานและเคมี เขตท่ า เรือ
อเนกประสงค์ และฐานผลิตเรือฯ
(2) เกาะใต้ มีพื้นที่ ๑๖๓ ตารางกิโลเมตร ก่อสร้างเป็นท่าเรือ (ศูนย์การขนส่ง
ระหว่างประเทศ) เขตการค้าเสรี เขตอุตสาหกรรมริมท่าเรือ เขตส่ วนโลจิสติกส์ และสิ่งอานวยความสะดวก
ที่เกี่ยวข้อง
โดยจากการศึ ก ษาของสมาคมคลองไทยเพื่ อ การศึ ก ษาและพั ฒ นาได้ พิ จ ารณาเส้ น ทาง
การขุดคลองไทย สรุปว่า แนวเส้นทาง ๙A เป็นแนวที่มีความเหมาะสม ลักษณะคลองเป็น รูปแบบคลองเดียว
ผ่าน ๕ จังหวัด คือ กระบี่ ตรัง นครศรีธรรมราช พัทลุง สงขลา มีขนาดกว้าง ๔๐๐ เมตร และมีขนาดความ
ลึก ๓๐ เมตรดังภาพ
๕๐

ภาพที่ 6 เส้นทางการขุดคลองไทย แนว ๙A


ที่มา : สมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษาและพัฒนา พ.ศ. ๒๕๕๘

๓.๑.๔.๔ ผลการศึกษาของคณะอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ
ในคณะกรรมาธิ การความมั่นคงแห่ งรั ฐ กิจการชายแดนไทย ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละการปฏิรู ป ประเทศ
สภาผู้แทนราษฎร (ศึกษาใน ปี พ.ศ. ๒๕๖๒)
ตามที่ ค ณะกรรมาธิ ก ารคว ามมั่ น คงแห่ ง รั ฐ กิ จ การช ายแดนไทย
สภาผู้ แ ทนราษฎร ครั้ ง ที่ ๓ เมื่ อ วั น พุ ธ ที่ ๑๖ กุ ม ภาพั น ธ์ ๒๕๖๒ ได้ มี ม ติ แ ต่ ง ตั้ ง คณะอนุ ก รรมาธิ ก าร
ยุทธศาสตร์ชาติ และการปฏิรูป ประเทศ เพื่อติดตามการขับเคลื่ อนตามแผนยุทธศาสตร์ และการปฏิรูป
ป ร ะ เ ท ศ ร ว ม ทั้ ง พิ จ า ร ณ า จั ด ท า แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ที่ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ ผ น ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ
จากการพิจ ารณาศึ ก ษาสาระส าคัญ ของยุทธศาสตร์ช าติใ นมิ ติก ารสร้ างขีด ความสามารถในการแข่ ง ขั น
หากกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาภาคใต้ที่มี ภูมิยุทธศาสตร์ที่ดีที่สุดของโลกที่สามารถพัฒนาศักยภาพ
การบริหารจัดการการขนส่งทางทะเล ระบบโลจิสติกส์ และพัฒนาภาคใต้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษจะเพิ่ม
ศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลกและสร้างโอกาสการขยายฐานการผลิ ตและการตลาดในระดับภู มิภ าค
สู่ระดับสากล จึงได้กาหนด “ยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (The Golden Ax
Special Economic Zone : GASEZ) ขึ้น โดยการนาความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ที่ประเทศไทยมีแผ่นดิน
เชื่อม ๒ มหาสมุทร คือ มหาสมุทรแปซิฟิก และมหาสมุทรอินเดีย “คลองไทย” จึงเป็นยุทธศาสตร์ทางทะเล
และยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจที่สาคัญที่จะต้องพิจารณาและศึกษาอย่างเป็นระบบต่อไป
ค ณ ะ อ นุ ก ร ร ม า ธิ ก า ร ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ แ ล ะ ก า ร ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ
ในคณะกรรมาธิ ก ารความมั่ น คงแห่ ง รั ฐ กิ จ การชายแดนไทย ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละการปฏิ รู ป ประเทศ
สภาผู้แทนราษฎรได้พิจารณาศึกษาการพัฒนาภาคใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง โดยผลการศึกษาเห็นด้วยกับการ
ขุดคลองไทย เส้น ๙A ผ่าน ๕ จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช
๕๑

และจังหวัดสงขลา ว่ามีความเหมาะสมและมีข้อเสนอในการพัฒนา ๕ จังหวัดดังกล่าว ให้เป็นเขตเศรษฐกิจ


ใหม่ของโลก
ข้อเสนอและข้อสังเกตในการขุดคลองไทยของคณะอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติ
และการปฏิ รู ป ประเทศ ในคณะกรรมาธิ ก ารความมั่ น คงแห่ ง รั ฐ กิ จ การชายแดนไทย ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ
และการปฏิรูปประเทศ สภาผู้แทนราษฎร การขุดคลองไทยอย่างเดียวไม่ส ามารถจูงใจให้เกิดการลงทุน
ขนาดใหญ่ได้ จาเป็นจะต้องประกาศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ใน ๕ จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง
จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ซึ่งครอบคลุมไปถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การปกครอง การทหาร โดยยกระดับให้เป็นมาตรฐานโลก เพราะเป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมแก่
การพัฒนาอย่างมีศักยภาพมากกว่าการเป็นคลองที่เป็นเส้นทางการเดินเรือเพียงอย่างเดียว การเป็นศูนย์กลาง
พัฒนาของโลกในทุก ๆ ด้าน จะสร้างประโยชน์แก่ประเทศไทยได้มากกว่าหลายเท่า
โดยมองว่ า การขุ ด คลองและพั ฒ นาพื้ น ที่ เ ป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ เป็ น การ
ต่อยอดองค์ความรู้ที่ศึกษาสืบทอดกันต่อกันมาร่วม ๓๓๐ ปี ทาให้คนไทยจากรุ่นสู่รุ่น มีการพัฒนาปรับปรุง
ขบวนการขุดคลองเรื่อยมาจนปัจจุบันปี พ.ศ. ๒๕๖๓ จังหวะ และโอกาสที่เหมาะสมต่อ การขุดคลองไทย
ก็มาถึงใต้ร่มโพธิสมภารของพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑๐ มีรูปแบบและการพัฒนา ตลอดจนแนวทางที่นาไปสู่
ความสาเร็จที่ชัดเจนขึ้น แนวคิดใหม่ที่ผ่านมาของการขุดคลองเชื่อมมหาสมุทรต่าง ๆ สามารถนามาเป็น
แบบอย่างในการขุดคลองไทยได้เรียนรู้ในหลายมิติ การขุดคลองไทยสามารถนามาพัฒนาการบริหารจัดการที่
ดีได้ และน่าจะมีความคุ้มค่ากว่าเพราะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับโลกไม่เฉพาะเพื่อการเดินเรือเท่านั้น โดย
มีการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ได้ ดังนี้
๑) คลองควรมี ๒ เส้นยาวจากฝั่งทะเลอันดามันไปทะลุทะเลอ่าวไทยความยาว
ประมาณ ๑๓๕ กิโ ลเมตร ความกว้าง เส้ นละ ๑ กิโ ลเมตร ทั้งสองคลองห่ างกันประมาณ ๑๐ กิโ ลเมตร
ความลึก ๔๐ เมตร ขุดในแนว ๙A ชื่อคลอง K๙ และ K๑๐ มีเส้นทางเชื่อมระหว่าง ๒ คลอง จานวน ๒ จุด
ความกว้างเส้นละ ๑ กิโลเมตร แนวคลองที่ขุดจะมีการสร้างอ่าวเทียม ทั้ง ๒ ข้างคลอง ความกว้าง ๑ - ๒
กิโลเมตร โดยประมาณ เพื่อเป็นท่าเทียบเรือพาณิชย์และเรือสาราญที่จะมาจากทั่วโลก การที่มีคลอง ๒ เส้น
เพื่อให้การเดิน เรื อสะดวกรวดเร็ว ขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจและป้องกันปัญหาการเกิดอุบั ติเ หตุ
ที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ในคลอง และจึ ง มี จุ ด เชื่ อ มระหว่ า ง ๒ คลองจานวน ๒ จุ ด เมื่ อ มี อุ บั ติ เ หตุ จ ะได้ แ ก้ ปั ญ หา
ได้ รวดเร็ว เรียกว่า คลอง P และคลอง B เป็นคลองขนาดเล็กเพื่อการขนส่งและการท่องเที่ยว และคลองเล็ก
ความยาว ๑๓๕ กิโลเมตร คู่ขนานด้านนอก โดยกาหนดความห่างจาก K๙ และ K๑๐ ประมาณ ๒ กิโลเมตร
คลอง P และ B กว้าง ๑๕๐ เมตร ลึก ๔๐ เมตร จานวน ๒ คลอง มีจุดเชื่อมกับคลองใหญ่ เส้นละ ๑๐ จุด
ปริ ม าณดิ น ที่ ไ ด้ จ าก K๙ และ K๑๐ จุ ด เชื่ อ มระหว่ า ง ๒ คลอง คลอง P และ B และจุ ด เชื่ อ ม ๒๐ จุ ด
รวมเป็นปริมาณดิน ประมาณ ๑๓,๕๒๐ ล้านคิวบิกเมตร โดยนาปริมาณดินที่จากการขุดคลองไปใช้ประโยชน์
ดังนี้
๑.๑) นาไปถมชายหาดอ่าวไทยที่ถูกน้าทะเลกัดเซาะหายไปหลายกิโลเมตร
ตั้งแต่จังหวัดสมุทรปราการจนถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จนถึงจังหวัดสงขลา
๑.๒) นาดินไปทาเกาะเทียม ปากคลองด้านอ่าวไทย เพื่อเพิ่มมูล ค่า เช่น
เกาะสถานบันเทิงครบวงจร เกาะนกนางแอ่นเพื่อการท่องเที่ยว เกาะอุตสาหกรรมต่อเรือ โรงกลั่นน้ามัน
ปิโตรเคมี โกดังสต็อกสินค้า ท่าเทียบเรือขนถ่ายสินค้า
๕๒

๑.๓) ทาเกาะเพื่อเชิดชูสถาบัน ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์


เป็นเกาะใหญ่ อยู่กลางอ่าวไทยขนาด ๒๐ ตารางกิโลเมตร ประกาศศักดิ์ศรีความเป็นไทย สวยงามสมกับ
ประเทศไทยเป็นเมืองศิวิไลซ์ที่ยิ่งใหญ่
๑.๔) เกาะทางด้านการทหารและความมั่นคง อุตสาหกรรมส่ งดาวเทียม
สู่อวกาศ
2) พื้นที่แนวคลอง เพื่อการพัฒนาแบ่งออกเป็น 3 ระดับความสาคัญ คือ
๒.๑) พื้นที่ AAA คือพื้นที่ระหว่างคลอง K9 และ K10 กว้าง 10 กิโลเมตร
ยาว 135 กิโลเมตร คิดเป็น พื้นที่ 1,350 ตารางกิโลเมตร
๒.๒) พื้นที่ AA คือพื้นที่นอกคลอง K9 และ K10 ความกว้าง 25 กิโลเมตร
ความยาว 135 กิโ ลเมตร 2 ด้าน (รวม 50 กิโ ลเมตร x 135 กิโ ลเมตร) คิดเป็นพื้นที่ 6,750 ตาราง
กิโลเมตร
๒.๓) พื้น ที่ A คือ พื้นที่ของ 5 จังหวัด คือ กระบี่ ตรัง นครศรีธ รรมราช
สงขลา พัทลุง ที่เหลือคือ 22,284 ตารางกิโลเมตร (30,384 - 8,100 ตารางกิโลเมตร)
3) พื้ น ที่ 5 จั ง หวั ด คื อ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด
นครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา จะมีแนวคลองพาดผ่านยาว 135 กิโลเมตร กว้าง 60 กิโลเมตรถือว่าเป็น
ศูนย์กลางระเบียงเศรษฐกิจขวานทอง (GASEZ) เป็นเนื้อที่ 8,100 ตารางกิโลเมตร (AAA+ AA) ส่วนพื้นที่ A
ใน 5 จังหวัดที่เหลือ 22,284 ตารางกิโลเมตร อยู่จะมีความพิเศษน้อยกว่า AAA และ AA
4) การออกกฎหมายเพื่อบริหารจัดการ (GASEZ) 5 จังหวัด จะต่อยอดจาก
พระราชบั ญญั ติ เขตพัฒ นาพิ เ ศษภาคตะวัน ออก พ.ศ. 2561 แต่จะพิเ ศษกว่ า เพราะเป็น Smart City
ระดับโลกแห่งใหม่ล่าสุดของโลกและต้องออกกฎหมายใหม่เฉพาะ GASEZ
5) ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากเขตเศรษฐกิจขวานทอง (GASEZ) และคลองไทย
(Thai Canal) จะถูกจัดสรรเพื่อพัฒนาในภาคส่วนต่าง ๆ ดังนี้
๕.๑) พัฒนาพื้นที่ AAA, AA, A ใน 5 จังหวัด
๕.2) บารุงพัฒนาจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้อีก 9 จังหวัด
๕.3) จัดสรรงบประมาณไปช่วยพัฒนา 63 จังหวัด
๕.4) จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ ความมั่ นคงของชาติ ศาสนา และสถาบั น
พระมหากษัตริย์
๕.5) จัดสรรเงินกองทุนเพื่อสิ่งแวดล้อม
๕.6) กองทุนวิจัยและพัฒนา
6) โครงสร้ า งพื้ น ฐานประกอบด้ ว ย ไฟฟ้ า พลั ง งานสะอาด รถไฟรางคู่
และความเร็ ว สู ง เชื่ อ มเมื อ งและแหล่ ง อุ ต สาหกรรม โครงข่ า ยใยแมงมุ ม ถนนเชื่ อ มโยงในเขต
เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ GASEZ
โดยคณะอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ ได้จาลองภาพ
แผนผังแนวการขุดคลองไทยและการพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ ดังภาพ
๕๓

ภาพที่ 7 ภาพจาลองแนวการขุดคลองไทยและพื้นที่พัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ที่มา : อนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ

ภาพที่ 8 แผนผังของคลองไทยตามแนวคิดของอนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ
ที่มา : อนุกรรมาธิการยุทธศาสตร์ชาติและการปฏิรูปประเทศ
๕๔

๓.๑.๔.๕ ผ ล ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร ขุ ด ค ล อ ง ไ ท ย ข อ ง บ ริ ษั ท BATA ENGINEERING


KANCHANABURI COMPANY LIMITED (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
บริ ษั ท BATA ENGINEERING KANCHANABURI COMPANY LIMITED ได้ ท าการ
ศึกษาเบื้องต้น (Pre – Feasibility Study) โดยสรุปว่า เห็นควรให้มีการขุดคลองไทยเพราะมีความเหมาะสม
ค ว า ม คุ้ ม ค่ า แ ล ะ มี ค ว า ม เ ป็ น ไ ป ไ ด้ แ ต่ จ ะ ต้ อ ง มี ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ส ม บู ร ณ์ ( Full Feasibility Study)
อย่างละเอียดเพื่อให้ลดผลกระทบด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่งแวดล้อมและความมั่นคงของประเทศ
โดยได้ให้แนวคิดและข้อเสนอโครงการไว้ว่า
แนวคิดของการออกแบบโครงการคลองไทย มีดังนี้
๑) การออกแบบต้องสะท้ อนภาพที่เป็นรูปแบบเชิงสัญลักษณ์ และต้องมีความ
เป็นอัตลักษณ์ของประเทศไทยและสะท้อนจิตสานึกในความเป็นชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์เป็นสาคัญ
๒) การออกแบบจะเน้นพื้นที่ใช้สอยที่เป็นประโยชน์ในการที่จะรองรับการขนส่งโลจิสติกส์
กิจกรรมพาณิชย์นาวี รวมทั้งอุตสาหกรรมต่อเนื่องทุกด้าน
๓) การออกแบบต้องลดผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ
และวิถีชุมชนให้มากที่สุด
๔) การออกแบบ สารวจ ก่อสร้าง กรรมวิธีทางด้านวิศวกรรมต้องลดผลกระทบด้านต่าง ๆ
อีกทั้งต้องใช้เวลาดาเนินการที่รวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่าย
๕) การออกแบบและก่อสร้างต้องเน้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และรับฟังความคิดเห็น
ของประชาชนในพื้นที่เป็นสาคัญ
ข้อเสนอโครงการในการขุดคลองไทย
๑) สมควรขุดคลองไทยภาคใต้ของประเทศไทยเพื่อเชื่อมระหว่างทะเลอันดามัน
มหาสมุทรอินเดียและอ่าวไทยในมหาสมุทรแปซิฟิก( สอดคล้องกับผลการศึกษาของทุกองค์กร) ในเส้นสารวจ
แนว ๙A ที่เหมาะสมที่สุดในปัจจุบัน คือ ผ่านจังหวัดตรัง พัทลุง นครศรีธรรมราช สงขลา ความยาวประมาณ
๑๓๐ กิโลเมตรและเรียกเส้นทางคลองนี้ว่า “คลองไทย” แทนคาว่าคลองคอคอดกระเดิม (ซึ่งสอดคล้อง
กับการเสนอของคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการคอคอดกระ วุฒิสภา)
๒) ลั ก ษณะคลองหลั ก แบบสองคลองคู่ ข นาน เป็ น คลองบน (K๙)
และคลองล่าง (K๑๐) เพื่อการสัญจรของเรือขนาดใหญ่ (สอดคล้องกับการศึกษาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการคอคอดกระ วุฒิสภา และข้อเสนอของ Grand Dragon International
Holding Co.,Ltd) และมีลาคลองคู่ขนานเป็นคลองหลัก โดยคลองคู่ขนานบน (B) และคลองคู่ขนานล่าง (P)
(ซึ่งเป็นข้อเสนอที่แตกต่างออกไป) และยังมีรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับคลอง ดังนี้
๒.๑) ขนาดของคลองคู่ขนานหลัก คลองบน (K๙) และคลองล่าง (K๑๐)
มีความกว้าง ลาคลองละ ๑,๐๐๐ เมตร ตลอดความยาว ๑๓๐ กิโลเมตร มีความลึก ๔๐ เมตร และมีลาคลอง
สาขาเชื่อมถึงกันจานวน ๒ แนวคลองตัด มีความกว้างลาคลองละ ๑,๐๐๐ เมตร และความลึก ๔๐ เมตร
เช่นกันเพื่อให้เชื่อมคลองและเป็นจุดกลับเรือ
๒.๒) คลองคู่ ข นานคลองบน (B) และคลองคู่ ข นานคลองล่ า ง (P)
มีความกว้างลาคลองละ ๑๕๐ เมตร ตลอดความยาว ๑๓๐ กิโลเมตร มีความลึก ๑๕ เมตร
๕๕

๒ . ๓ ) คลองเชื่อม B กับคลองหลั ก K๙ และคลองเชื่อม C กับคลองหลั ก K๑๐


มีความกว้างลาคลองละ ๑๕๐ เมตร มีจานวน ๑๐ จุด ตัดคลอง มีความลึก ๑๕ เมตร
๒.๔) ระดั บ น้ าสองฝั่ ง ทะเลต่ า งกั น ประมาณไม่ เ กิ น ๒๕ เซนติ เ มตร
จึงเป็นคลองในระดับ น้าทะเลไม่ต้องสร้ างประตูน้าเพื่อยกระดับให้ เรือผ่าน ความแรงของน้าและทิ ศทาง
การไหลของน้ามีความรุนแรงไม่มากเมื่อคานวณกับระยะทางและความกว้างของคลองแต้ละสาย
๒.๕) ลักษณะการออกแบบคลองตัด คลองขนานให้มีแนวเอียงไปในทิศทาง
เดี ย วกั น เพื่ อ ลดแรงต้ า นการไหลของกระแสน้ าและช่ ว ยกระจายความแรงของน้ าที่ เกิ ด จากใบพั ด เรือ
และเพื่อลดกระแสน้าวนที่อาจจะเกิดขึ้น
๓) ดินที่ขุดนาไปสร้างเกาะบริเวณอ่าวไทย จานวน ๕ เกาะ และนาดินถมคืน
พื้นที่กัดเซาะชายฝั่ง
๓.๑) เกาะที่ ๑ ขนาด ๘๓ ตารางกิ โ ลเมตร ใช้ ส าหรั บ สร้ า งสถานที่
เชิงสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของประเทศ
๓.๒) เกาะที่ ๒ ขนาด ๘๔ ตารางกิ โ ลเมตร ใช้ เ ป็ น เกาะท่ อ งเที่ ย ว
เกาะธรรมชาติและสวนสาธารณะ
๓.๓) เกาะที่ ๓ ขนาด ๑๐๙ ตารางกิโลเมตร ใช้เป็นจุดพักจอดและขนถ่าย
สินค้ากลางทะเล
๓.๔) เกาะที่ ๔ ขนาด ๑๐๙ ตารางกิโลเมตร ใช้เป็นเขตอุสาหกรรมทางน้า
และขนถ่ายปิโตรเคมี
๓.๕) เกาะที่ ๕ ขนาด ๘๕ ตารางกิ โ ลเมตร ใช้ เ ป็ น ฐานทั พ เรื อ ไทย
จุดศูนย์รวมเทคโนโลยีอากาศยานทหาร สถานีเรดาร์ ท่าเทียบเรือรบ และอากาศยานรบ
๓.๖) นาดินที่เหลือถมบริเวณพื้นที่กัดเซาะประมาณ ๒,๕๘๐ ตารางกิโลเมตร
ตามแนวชายฝั่ง (โฉนดทะเล)
๕๖

ภาพที่ ๖ แนวคิดและลักษณะคลองไทย ของบริษัท BATA ENGINEERING KANCHANABURI


COMPANY LIMITED พ.ศ. ๒๕๖๓

ภาพที่ 9 – 10 แนวคิด และลักษณะคลองไทย


ของบริษัท BATA ENGINEERING KANCHANABURI COMPANY LIMITED พ.ศ. ๒๕๖๓
๕๗

๓.๑.๔.๖ ผลการศึกษากลุ่มบริษัทในเครือ เบสท์ กรุ๊ป ในนามบริษัท สุวรรณภูมิซิตี้ จากัด


(ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)
กลุ่ มบริ ษัทในเครื อ เบสท์ กรุ๊ป ในนามบริษัท สุ ว รรณภูมิ ซิตี้ จากัด ได้แสดง
ความเห็นของคนไทยจากการจินตนาการภาพการเกิดคลองไทยที่ต่างกันแบ่งออกเป็น ๒ กลุ่ม ดังนี้
กลุ่ ม ที่ ๑ คื อ มี ค ลองเพื่ อ ให้ เ รื อ ผ่ า นอย่ า งเดี ย ว (เก็ บ ค่ า ผ่ า น) เพี ย งน้ อ ยนิ ด
รัฐต้องหาเงินมาลงทุน รัฐต้องกู้เงิน รัฐไม่พร้อมบริหาร ทาให้เกิดความไม่มั่นคงของประเทศ เกิดการแบ่งแยก
ดินแดน สร้างความเดือดร้อนให้ชาวบ้าน รายได้ไม่คุ้มค่าการลงทุน ชาวไทยได้ประโยชน์เพียงน้อยนิดประเทศ
อื่นได้ประโยชน์ และมีส่วนแบ่งเพียงน้อยนิดและสิ่งร้ายต่าง ๆ ที่จินตนาการว่าจะเกิด ฯลฯ
กลุ่มที่ ๒ คือ มีคลอง ท่าเรือ โรงงานที่ดี มีการป้องกันสิ่งแวดล้อมที่ดีขึ้นกว่าเดิม
มี อุ ต สาหกรรมต่ อ เรื อ ซ่ อ มเรื อ มี ธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วกั บ เรื อ มี ค ลั ง น้ ามั น คนไทยได้ ท างานดี ๆ เป็ น กั ป ตั น
เป็นวิศวกรออกแบบ มีการร่วมทุนเมกะโปรเจกต์ เช่น รถไฟความเร็วสูง การสร้างสะพาน เขื่อน ท่าเรือ
ตึกระฟ้า สิ่งแวดล้อมที่ดีกว่าเดิม เช่นเดียวกับธุรกิจของเมืองท่าเรือของโลก แต่ประเทศไทยจะสร้างให้ดีกว่า
คนไทยทั่วประเทศจะมีรายได้ที่ดีก ว่า ๑ – ๒ เท่า หากทางานในคลองไทยจะมีความมั่นคงในชีวิตที่ดีกว่ามา
ทางานที่มีมากมายอัน จะเกิดขึ้นในคลองไทย ฯลฯ ซึ่งเป็นเมืองไทยในอนาคตที่เป็นไปได้ในจินตนาการ
เพราะมีตาแหน่งงาน
ขนาด ลักษณะและส่วนประกอบคลองไทย กว้าง 1,000 เมตร ไปมาสวนทางกันได้
และบางช่วงมีเกาะกลางขนาดความกว้างคลองจะเหลือ 500 เมตร เรือเดินทางเดียว ความลึก 32 เมตร
มีเกาะกลางเป็น ช่วง ๆ ห่างกันช่วงละ 500 – 5,000 เมตร ความกว้างเกาะ 1,000 – 2,500 เมตร
ยาว 5,000 – 10,000 เมตร ดินที่ได้จากการขุดจะนาไปถมพื้นที่จากชายฝั่งจนถึงจุดในทะเลที่มีความลึก
30 – 35 เมตร และท าเกาะเที ย ม ฯลฯ มี อุ โ มงค์ ให้ ร ถไฟฟ้ า ถนนเชื่ อ มโยงจากเกาะทุ ก เกาะ
และสองฝั่งคลอง เมืองใต้คลอง ที่ดินเกาะกลาง และริมสองฝั่งคลองจะเป็นเมืองเศรษฐกิจแห่งใหม่ที่ดีที่สุด
ของโลก จุ ด ขุ ด คลองที่ เ หมาะสมอยู่ แ นว 9A ที่ ไ ม่ ตั ด ผ่ า นภู เ ขาสู ง ความโค้ ง ไม่ เ กิ น 20 องศา ทิ ว ทั ศ น์
และสิ่งแวดล้อมดี และสวยงาม
เพิ่มนักท่องเที่ยวโดยเฉพาะทางเรือจากทั่วโลก บริเวณทางเข้าเรือจากฝั่งอันดามัน
เนื่ อ งจากมี เ กาะแก่ ง มากมายเช่ น เกาะยาว เกาะภู เ ก็ ต เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วอั น ส าคั ญ การออกแบบ
จึงต้องรักษาสิ่งแวดล้อมให้คงอยู่ต่อไป พร้อมสร้างแผ่นดินขึ้นเป็นช่องทางเดินเรือ เรื อใหญ่สามารถสวนทาง
กันได้หลายลา นอกจากจะให้เรือสินค้าแล่นผ่านแล้ว เรือสาราญและเรือท่องเที่ยวขนาดใหญ่จอดและวิ่งผ่าน
ไปมา นอกจากนี้ ยังก่อสร้างอ่าวเทียม เพื่อใช้จอดเรือท่องเที่ ยวขนาดใหญ่ และที่จอดเรือยอร์ช จากทั่วโลก
เมื่อเรือมีที่จอดปลอดภัย จึงมีเวลาหลายวันไปท่องเที่ ยวทุก ๆ เกาะทั้งในทะเล และบนบกจะสร้างรายได้
ให้คนท้องถิ่นและคนไทยอีกทางอย่างมากมาย บริเวณนี้จะไม่มีอุตสาหกรรมใด ๆ ที่มีผลกระทบสิ่งแวดล้อม
เกิดขึ้นเลย เพื่อยืนยันว่า การมีคลองไทยที่มีเรือผ่านสะดวกและรวดเร็วจะยิ่งเพิ่มนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก
เพิ่มรายได้สินค้าเกษตร, อุตสาหกรรม และเพิ่มอุตสาหกรรมใหม่ ๆ ไม่เพียงแต่
เพิ่มรายได้ภาคเกษตรและอุตสาหกรรมเดิม แต่จะมีเพิ่มเติม เช่น อู่ต่อเรือ ซ่อมเรือ บริการเรือ เครื่องจักร
อุ ป กรณ์ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง อุ ต สาหกรรมแปรรู ป จากน้ ามั น คลั ง เก็ บ และขนย้ า ยสิ น ค้ า ที่ ส ะดวกทั น สมั ย
การแปรรูปสินค้าเกษตร ยาง ข้าว มันสาปะหลัง ฯลฯ ผู้ประกอบการจะได้ประโยชน์ที่มีภาระค่าขนส่งสินค้า
ลดลงและใช้เวลาขนส่ งสั้ น ลง มูล ค่าหลายแสนล้ านบาท ซึ่งทาให้ ประเทศไทยได้ เปรียบประเทศอื่ น ๆ
๕๘

โชคดี ที่ ค ลองไทยไม่ ต้ อ งท าประตู กั้ น น้ า ท าให้ ไ ม่ เ สี ย เวลาเรื อ ในการรอคิ ว ผ่ า นคลอง การถมทะเล
และการออกแบบนี้ เพื่อประโยชน์มากมายในการให้บริการแก่ลูกค้าผู้ใช้บริการทางเรือ ปัญหาการลอกคลอง
ขุดร่องน้าเอาเศษดินทราย ตะกอน จะมีน้อยมาก ๆ เพราะมีการสร้างกาแพงกั้นไว้แล้ว ลดค่าใช้จ่ายการขุดลอก
จากปีละครั้งเป็น 10 - 20 ปี ต่อครั้ง ลดค่าใช้จ่ายต่อปี 50,000 - 60,000 ล้านบาท เมื่อเทียบกับการ
ไม่สร้างกาแพงป้องกันทั้งในพื้นที่คลอง และส่วนที่ต่อขยายเขตคลองออกไปในทะเล ข้อสาคัญ เราได้พื้นที่
ที่เป็นประโยชน์ทางเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีกกว่า 300,000 ไร่ ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจในการก่อสร้างตึ กระฟ้า
เมืองที่ทันสมัยและสวยงามที่จะออกแบบต่อไป
เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม สร้างงานที่ดีและรายได้เข้าประเทศมากมาย การออกแบบ
คลองให้มีเกาะกลาง เพื่อการต่อยอดให้เกาะกลางคลองเป็นแหล่งท่องเที่ยว ศูนย์พักผ่อน สวนสาธารณะ
เศรษฐกิจการเงิน การธนาคาร สานักงานตัวแทนบริษัทข้ามชาติจากทั่วโลก เป็นเมืองแห่งอนาคตตลอดเกาะ
มีทางรถไฟใต้ดิน และถนนใต้ดิน วิ่งเชื่อมเดินทางระหว่างเกาะ และเชื่อมต่อระหว่างสองฝั่งคลอง ทาให้คลองไทย
เป็นคลองเมืองท่องเที่ยวที่ครบครันสิ่งอานวยความสะดวกทันสมัย สวยงามที่สุดในโลก เป็นเมืองหลากหลาย
สัญชาติของนักธุรกิจระดับโลก เป็นดินแดนเมืองสวรรค์ของโลกที่ทุกคนอยากมาพานักและทาธุรกิจ ใช้ชีวิตใน
เมืองคลองไทย ส่วนเรือที่จะผ่านสัญจรไปมาก็เป็นที่น่าสนใจ และสวยงามดูเพลิดเพลินกับเรือนานาชนิดจาก
เรื อ นานาชาติ เพี ย งเท่ า นี้ ก็ คุ้ ม กั บ การมาเที่ ย วคลองไทยของชาวโลก จะสร้ า งงานหลากหลายอาชี พ
ที่ดีให้คนไทย
การขุดคลองไทยกับสิ่ งแวดล้อม การก่อสร้างเขื่อน การถมทะเลของประเทศ
มหาอานาจ ไม่มีโครงการใดไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม มหาอานาจชอบอ้างสิ่งแวดล้อม แต่ตัวเองกลับทาลาย
สิ่งแวดล้อมมากที่สุดและกลับมาห้ามประเทศผู้ด้อยโอกาส แม้การขุดคลองไทยจะกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
เพียงน้อยนิด แต่สามารถช่วยโลกลดการเผาไหม้น้ามัน ปีละล้านล้านลิตร ข้อสาคัญช่วยชาวโลกให้ซื้อสินค้า
ราคาถู ก ลง ช่ ว ยเพิ่ ม ความสุ ข ด้ า นการกิ น การท่ อ งเที่ ย ว วั น นี้ ป ระเทศเพื่ อ นบ้ า นเรารวยมากกว่ า
เราหลายเท่า แต่คนไทยส่วนใหญ่ยังยากจนมากและมีหนี้สินครัวเรือน เขารวยแล้วยังทาลายสิ่งแวดล้อมต่อไป
ส่วนคนไทยสามารถใช้โอกาสนี้ช่วยลดภาวะโลกร้อนได้ ถ้า NGO หรือนักอนุรักษ์เห็นปลาพะยูนกาลังจะตาย
ขณะเดีย วกัน คนจ านวนมากก็ก าลั งจะอดตาย จะช่ว ยอะไรก่อน NGO อาจเป็นเครื่องมือ ของประเทศ
มหาอานาจ หรือผู้ไม่ประสงค์ดี
คลองไทย คนไทยควรเป็นเจ้าของ โดยให้คนไทยเป็นคนลงทุน
1) รัฐบาลไม่ต้องมีภาระหนี้ เงินกู้ยืม ผู้ต่อต้านโครงการจึงน้อยกว่า
2) รั ฐ บาลมี ร ายได้ เ ป็ น กอบเป็ น ก าที่ แ น่ น อนจากสั ม ปทาน ภาษี เ งิ น ได้
และภาษีมูลค่าเพิ่ม
3) การลงทุนโดยเอกชนไทยและมีประชาชนจากทั่วโลกมีส่วนร่วม ก็จะไม่เกิดการ
ครอบงาจากรัฐบาลต่างชาติผู้มีอิทธิพล
4) กาไรที่เกิดขึ้นจะตกเป็นรายได้ของประเทศและคนไทยเป็นส่วนใหญ่
5) ความเชื่อมั่นของนักลงทุนที่มีต่อโครงการขนาดใหญ่ ที่ดาเนินการโดยเอกชนไทย
จะมีความเชื่อมั่นมากกว่าโครงการที่ดาเนินการโดยหน่วยงานของรัฐบาล เนื่องจาก มีการเปลี่ยนแปลงผู้นา
และกลุ่มทางการเมืองที่ไม่แน่นอน
๕๙

6) โครงการจะไม่ ยื ด เยื้ อ และเสร็ จ ตามก าหนด หากไม่ มี ก ารเปลี่ ย นแปลง


จากภาครัฐ
7) รายได้ปีละกว่าล้านล้านบาทจะเสียไป เพราะความล่าช้าของโครงการที่จะต้อง
ตั้งคณะกรรมการต่าง ๆ เพื่อศึกษามากมาย
8) การดาเนิ น การโครงการโดยคนไทย จะคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศ
และคนไทยมากกว่าการออกแบบ และดาเนินการโดยตนต่างชาติ
ข้อแนะนารัฐบาล ในการกาหนดใน TOR “แบบย่อ” เพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
1) ผู้ลงทุนที่สามารถจ่ายค่าตอบแทนสูงสุดแก่ประเทศและประชาชน รวมทั้งให้
สิทธิพิเศษแก่ผู้ถูกเวนคืนที่ดิน
2) ข้อเสนอที่สร้างเสริมความมั่นคงที่ดีกว่าต่อกองทัพไทย
3) สร้างเสริมสิ่งแวดล้อมที่ดีกว่าโดยรวมในระดับโลก แลกกับสิ่งที่ต้องเสียไป
4) สามารถเพิ่มรายได้ กิจกรรมด้านการท่องเที่ยว ความบันเทิงและการพักผ่อน
ต่าง ๆ ให้มากขึ้นจากทั่วโลก
5) การออกแบบโครงการ ต้องส่งเสริม และสร้างศักยภาพในการแข่งขันของไทย
รวมถึ ง การให้ บ ริ ก ารในทุ ก มิ ติ เช่ น บริ ก ารที่ มี น วั ต กรรมที่ ใ ช้ ร ะบบ AI เป้ า หมายให้ พื้ น ที่ ค ลองไทย
เป็นเมืองอัจฉริยะในทุก ๆ ด้าน ที่ทันสมัยที่สุดของโลก
6) เพื่อลดข้อขัดแย้ง ผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอานาจโครงการจะต้องให้
บริษัทที่คนไทยถือหุ้นไม่ต่ากว่า 70 ร้อยละ เป็นผู้บริหาร และดาเนินการโครงการตลอดอายุสัญญา 90 ปี
แล้วมอบสิทธิ์การบริหารคืนแก่รัฐ โดยที่รัฐไม่ต้องลงทุนใด ๆ
เทคนิ คการขุดคลองเพื่อไม่ให้กระทบต่อสิ่งแวดล้อม และการขนย้าย ดิน หิ น
ไปถมทะเล
การถมทะเล จะสร้างเขื่อนกาแพงกันดินรอบที่ดินที่จะถม เหมือนโอ่งหรือชาม
แล้วขนทราย หิน และดินไปถมใส่ ทาให้ไม่มีการพังทะลาย
การขนย้าย จะใช้ระบบรางสมัยใหม่ นาใส่ ภาชนะลาเลียงส่งไปยังที่ที่เตรียมไว้
ตามจุดหมายด้วยความเร็ว แบบลอยฟ้า ไม่ได้ใช้รถบรรทุก
การขุด จะขุดเป็นช่วง ๆ จะไม่กระทบกับการขนส่ง การเดินทางใด ๆ จนกว่า
จะถึงขั้นตอนสุดท้าย เมื่อถนน ทางรถไฟ สายน้า มีการก่อสร้างทดแทนขึ้นแล้ว จึงปล่อยน้าเชื่อมคลองเข้าหากัน
การขุดแนวภูเขาหิน อาจไม่ต้องใช้ระเบิด เพราะว่ามีเครื่องจักรที่ทันสมัยสามารถทดแทนได้
บทสรุปความเห็นของผู้นาเสนอ และพร้อมที่จะเป็นผู้ลงทุน
1) การเกิดขึ้นของโครงการ Klong Thai Mega City จะเป็นประโยชน์มหาศาล
แก่ประเทศไทย รองลงมา คือ อาเซียนและประชาคมโลก ช่วยให้ต้นทุนสินค้าทั่วโลกถูกลงและลดภาวะโลกร้อน
2) จากการศึ ก ษาและออกแบบเบื้ อ งต้ น น่ า จะเป็ น แบ บที่ ดี แ ละคุ้ ม ค่ า
แก่การลงทุนแล้วซึ่งจะต้องเสริมแต่งให้สมบูรณ์แบบมากขึ้น เมื่อมีการอนุมัติให้ดาเนินการ
3) บริ ษั ท ในเครื อ ของผู้ น าเสนอได้ ท าการศึ ก ษาถึ ง ความคุ้ ม ค่ า ของโครงการ
พร้อมจะเป็นผู้ลงทุนและดาเนินการให้การออกแบบในเชิงลึก พร้อมแผนการ การบริหารจัดการ เป้าหมาย
สูงสุด คือ ให้รัฐบาล ประชาชนในพื้นที่และคนไทยทั้งประเทศเกิดความมั่นใจและจะต้องพึงพอใจ
๖๐

4) บริ ษั ท ของผู้ น าเสนอ มี ค วามสามารถในการระดมทุ น เพื่ อ ออกแบบ


และก่อสร้าง จัดการบริหารโครงการให้แล้วเสร็จภายใน 5 ปี ภายหลังการอนุมัติโดยรัฐบาล โดยตอบแทน
รัฐบาลไม่ต่ากว่า 10 ล้านล้านบาท โดยไม่รวมภาษีที่รัฐพึงได้ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่มอัตราร้อยละ 10

ภาพที่ 11 ผังรูปแบบคลอง และการพัฒนาพื้นที่ในเขตการขุดคลองไทย ของ บริษัท สุวรรณภูมซิ ิตี้ จากัด

๓.๑.๔.๗ ผลการศึกษาของบริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)


บริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด ได้ให้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย สาหรับ
โครงการพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคใต้ (คลองไทย) มี ก ารออกแบบแนวคิ ด การจั ด ตั้ ง ระเบี ย ง
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ผ่ า นกลยุ ท ธ์ แ บรนด์ ที่ มี ค วามเหมาะสมกั บ ยุ ค สมั ย สร้ า งชุ ด ข้ อ มู ล เพื่ อ การสื่ อ สาร
(BRAND KEY MESSAGE) เพื่ อ ให้ เ กิ ด การรั บ รู้ ถึ ง แนวคิ ด ตลอดจนภาพความทรงจ าของประชาชน
และผู้เกี่ยวข้องผ่านการสร้างอัตลักษณ์ของโครงการภายใต้ชื่อเรียกใหม่ที่ไม่ได้ยกเรื่องของการขุดคลองไทย
ขึ้น มาเป็ น ประเด็น หลัก แต่น าแนวคิดการจัดตั้ งระเบียงเขตเศรษฐกิจพิเศษภายใต้ ชื่อ “THE WORLD’S
CAPITAL” ดังต่อไปนี้
๑) การเป็นศูนย์กลางการคมนาคมแห่งใหม่ของโลก “คลองไทย” จะกลายเป็น
เพี ย งส่ ว นหนึ่ ง ของการคมนาคมขนส่ ง ภายใต้ โ ครงสร้ า งของการเป็ น ศู น ย์ก ลางของการคมนาคมขนส่ ง
ในทุกมิติทั้งทางบก ทางน้า และทางอากาศแห่งใหม่ของภูมิภาคที่จะมาพร้อมกับนวัตกรรมการเชื่ อมต่ อ
การขนส่งที่ทันสมัยที่สุดในโลก อันจะทาให้พื้นที่ดังกล่าวของประเทศไทยกลายเป็นยุทธศาสตร์ที่สาคัญที่สุด
ของโลกในยุคศตวรรษที่ 21
๖๑

๒) การเป็นเมืองหลวงของโลกใหม่ “THE WORLD’S CAPITAL” ประชากรโลก


เกือบร้อยละ 60 อยู่ในทวีปเอเชียนั้น หมายความว่าการเป็นยุทธศาสตร์ในด้านการคมนาคมขนส่งที่สาคัญ
ที่สุ ดของโลกนั้ น ได้พาดผ่ านพื้น ที่อัน เป็ นใจกลางของประชากรส่ ว นใหญ่ของโลกอี กด้ว ย ซึ่งในปัจจุบัน
มีเรือขนสินค้าผ่านทางตอนใต้ของไทยปีละกว่า 100,000 ลา ผ่านไปยัง 3 ช่องแคบ ซึ่งเป็นทางเดินเรือหลัก
ของโลกผ่านประเทศสิงคโปร์ ซึ่งเส้นทางดังกล่าวประเทศไทยไม่ได้รับประโยชน์ ใด ๆ เลย อีกทั้งหน่วยงาน
ขององค์การสหประชาชาติ ยั งประเมิน ว่า ในปี 2050 ประมาณเรือที่ผ่ านช่องแคบมะละกาจะเพิ่ ม อี ก
ได้ถึง 4 เท่าตัว จากระดับ ในปี 2010 ซึ่งหากสร้างคลองไทยแนว 9A เรือที่วิ่งไปยังช่องแคบมะละกา
จะสามารถร่นระยะทางได้ 1,000 - 1,400 กิโลเมตร หรือประมาณ 2 - 3 วัน
๓) การสร้างอัตลักษณ์ภายใต้แบรนด์ “THE WORLD’S CAPITAL” ที่จะนามา
ซึ่งความภาคภูมิใจของชุมชนประชาชนไทยที่จะเห็นคุณค่าของการพัฒนาพื้นที่สู่การเป็นศูนย์กลางแห่งใหม่
อันเป็น ยุทธศาสตร์สาคัญของโลก ตลอดจนสร้างแรงดึงดูดให้ นักลงทุนจากทั่ว ทุกมุมโลกให้ ความสนใจ
ในจุ ด ยื น ที่ แ ข็ ง แกร่ ง ของแนวคิ ด ตลอดจนการออกแบบผั ง เมื อ ง (MASTER PLAN) ให้ มี ค วามสวยงาม
มี ร สนิ ย มตลอดจนมี ค วามยั่ ง ยื น โดยน าแนวคิ ด ด้ า น “นวั ต กรรมเพื่ อ สั ง คม” มาออกแบบ ประกอบกั บ
การสร้างอัตลักษณ์ ให้แก่ชุมชน เป็น “โครงการเมืองแห่งแรกในโลกที่ออกแบบทุกมิติเพื่อให้เป็นศูนย์กลาง
ของการใช้ ชีวิต และเศรษฐกิจ แห่ งใหม่ ” โดยคาดการณ์ว่าจะสามารถดึงดูดนักลงทุนและผู้ เข้าอยู่อาศัย
ในพื้นที่ของโครงการได้มากกว่า 30 ล้านคน ใน 30 ปี และจะทาให้เกิดการจ้างงานหลายล้านตาแหน่ง
ดังนั้น ทางบริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด จึงมีความมั่นใจกว่าภายใน
ระยะเวลา 30 ปี โครงการดั ง กล่ า วจะผลั ก ดั น ให้ ป ระเทศไทยมี ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ ม วลรวมของประเทศ
(Gross Domestic Product : GDP) สูงเป็นอันดับ 1 ของเอเชีย โดยมีแนวคิดด้านการพัฒนาและจัดการ
โครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ เพื่อให้นาไปสู่เป้าหมาย ดังนี้
๑) แนวคิดด้านกายภาพโครงการพัฒ นาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (คลองไทย)
เส้ น 9A เป็ น โครงการที่จ ะเชื่อมสองฝั่ งอ่าวไทย และอันดามัน รวมทั้งเชื่อมสองมหาสมุทร คือ แปซิฟิก
และอินเดียเข้าด้วยกัน ซึ่งจากข้อมูลวิจัย และบทวิเคราะห์ในแง่ของผลกระทบต่อการท่องเที่ยวไทยเส้นทาง
ที่คลองตัดผ่านนี้ถือเป็นบริเวณที่ 1 มีความเหมาะสม ในการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และทรัพยากรมนุษย์
แผนการขุ ด คลองไทยจะมี ร ะยะทางยาว 131 กิ โ ลเมตร เป็ น ลั ก ษณะการขุ ด คลองเส้ น หลั ก 1 สาย
และมีคลองสัญจรตามลักษณะการใช้งานของแต่ละพื้นที่สามารถรองรับเรือได้ทุกขนาดทุกประเภท โดยคลอง
เส้นหลักจะมีระยะ ความกว้างเฉลี่ยมากกว่า 1 กิโลเมตร ลึก 40 เมตร ในระยะความลึกของคลองเส้นหลัก
และลึ ก 30 เมตร ในระยะความลึ กตรงปากฝั่งอ่าวไทยและอันดามัน ซึ่งเป็นความลึ กที่ เพียงพอสาหรับ
การพัฒนาพื้นที่ในระยะแรก ในขณะที่คลองย่อยสาหรับใช้สัญจรไปยังพื้นที่ต่าง ๆ จะมีความกว้างเฉลี่ ย
400 เมตร และลึก 30 เมตร โดยแผนการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ (คลองไทย) จะเกิดการพัฒนา
พื้นที่ริมคลอง แบ่งเป็น 4 ช่วง คือ
ช่ ว งที่ 1A (Phase 1A) เป็ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ ที่ ร วมพื้ น ที่ ค ลอง ในระยะ
20 กิโ ลเมตร ยาวไปตามแนวคลอง 121 กิโ ลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 1,805,462 ไร่ โดยมีที่ดิน
ที่ต้องเวนคืน คิดเป็น พื้นที่ประมาณ 948,943 ไร่
๖๒

ช่ ว งที่ 1B (Phase 1B) เป็ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ ไ ม่ ร วมพื้ น ที่ ค ลอง ในระยะ
20 กิ โ ลเมตร ยาวไปตามแนวชายฝั่ ง อ่ า วไทย และฝั่ ง อั น ดามั น โดยการพั ฒ นาพื้ น ที่ เ ลี ย บชายฝั่ ง จะลึ ก
จากริมชายฝั่งข้างละ 5 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 343,757 ไร่
ช่วงที่ 2 (Phase 2) เป็นการพัฒนาพื้นที่ถัดจากเขตพัฒนาที่ดินในช่วงที่ 1A
ฝั่งละ 10 กิโลเมตร ยาวไปตามแนวคลอง 121 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 1,561,293 ไร่ โดยมีที่ดิน
ที่ต้องเวนคืน คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 708,081 ไร่
ช่วงที่ 3 (Phase 3) เป็นการพัฒนาพื้นที่ ถัดจากเขตพัฒนาที่ดินในช่วงที่ 2
ฝั่งละ 10 กิโลเมตร ยาวไปตามแนวคลอง 121 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 1,662,550 ไร่ โดยมีที่ดิน
ต้องเวนคืน คิดเป็นพื้นที่ประมาณ 900,269 ไร่ ตามแผนหลังจากทาการขุดคลองจะมีดินที่ถูกขุดออกมา
ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้ประมาณ 10,460,000,000 ลูกบาศก์เมตร โดยดินจานวนนี้สามารถสร้าง
เกาะขนาด 167,257 ไร่ มีความลึกที่ 20 - 30 เมตรคิดความลึกตามข้อมูลภูมิศาสตร์ทะเลฝั่งอ่าวไทย
และตั้งอยู่ห่างจากชายฝั่งและปากคลองประมาณ 10 กิโลเมตร (ซึ่งเกาะที่ถูกสร้างใหม่นี้สามารถพัฒ นา
ให้เกิดเป็นเกาะเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทยได้ในอนาคต)
๒) แนวคิ ด ด้ า นการพั ฒ นาและจั ด การพื้ น ที่ ส าหรั บ แนวคิ ด ด้ า นการพั ฒ นา
และจัดการโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ “THE WORLD’S CAPITAL” ที่ดินที่เวนคืนทั้งหมดจะตก
เป็นทรัพย์สินของรัฐ ภายใต้นโยบายสัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 99 ปี โดยแบ่งรูปแบบของสัมปทานสิทธิ
ตามประเภทของกิจการของผู้รับสัมปทานอย่างคร่าว ๆ ดังนี้
๒.๑) กลุ่มอาคารสานักงาน และ/หรือกิจการอื่นที่คล้ายคลึงกัน อายุสัมปทาน
สิทธิเหนือพื้นดิน 40 ปี ภาษีโรงเรือน 2 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน
๒.๒) กลุ่ มโรงงานอุต สาหกรรม และ/หรือกิจการอื่น ที่ คล้ า ยคลึ ง กัน อายุ
สัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 50 ปี ภาษีโรงเรือน 1.5 บาท ต่อตารางเมตรต่อเดือน
๒.๓) กลุ่ ม โครงการที่ อ ยู่ อ าศั ย และ/หรื อ กิ จ การอื่ น ที่ ค ล้ า ยคลึ ง กั น อายุ
สัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 70 ปี ภาษีโรงเรือน 1 บาท ต่อตารางเมตรต่อเดือน
๒.๔) กลุ่ ม โครงการเพื่ อ การศึ ก ษา และสั ง คมและ/หรื อ กิ จ การอื่ น ที่
คล้ายคลึงกัน อายุสัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 90 ปี ภาษีโรงเรือน 1 บาทต่อตารางเมตรต่อเดือน ต่างชาติ
และคนไทยมีสิทธิถือครองที่ดินเท่าเทียมกัน ต่างกันเฉพาะการเสียภาษีทั้งขณะซื้อและขายมากกว่าคนไทย
ร้อยละ 15 การสิ้นสุดการให้สัมปทานสิทธิเหนือที่ดินของผู้ลงทุนสามารถต่ ออายุสัญญาได้แบบอัตโนมัติโดย
การเสียภาษีที่ดินร้อยละ 5 ของราคาประเมิน ณ วันสิ้นสุดสัมปทานสิทธิ
๓) แนวคิดด้านการเวนคืนที่ดินสาหรับโครงการระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้
“THE WORLD’S CAPITAL” สามารถแบ่งได้ตามช่วง (Phase) ดังนี้
๓.๑) ช่วงที่ให้ราคา 10 เท่า จากราคาประเมิน แต่ไม่เกินไร่ละ 1 ล้านบาท
- ช่ ว งที่ 1A (Phase 1A) มี ที่ ดิ น ที่ ต้ อ งเวนคื น คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ป ระมาณ
948,943 ไร่
- ช่ ว งที่ 1B (Phase 1B) ส่ ว นต่ อ เนื่ อ งจาก 150 เมตร จากชายหาด
คิดเป็น 4,850 เมตร เป็นพื้นที่ประมาณ 333,437 ไร่
๖๓

- ช่ ว งที่ 2 (Phase 2) มี ที่ ดิ น ที่ ต้ อ งเวนคื น คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ป ระมาณ


708,081 ไร่
- ช่ ว งที่ 3 (Phase 3) มี ที่ ดิ น ที่ ต้ อ งเวนคื น คิ ด เป็ น พื้ น ที่ ป ระมาณ
900,269 ไร่
๓.๒) ช่วงที่ให้ราคา 10 เท่าจากราคาประเมิน แต่ไม่เกินไร่ละ 5 ล้านบาท
- ช่ ว งที่ 1B (Phase 1B) ระยะ 150 เมตร จากชายหาด ในระยะ
20 กิโลเมตร ยาวไปตามแนวชายฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามันคิดเป็นพื้นที่ประมาณ 10,320 ไร่
- ช่วงที่ 1A และ 1B รูปแบบการเวนคืนจะเป็นการเวนคืนแบบจ่ายขาด
ร้อยละ 90 ของที่ดินที่ต้องเวนคืน ส่วนที่เหลืออีกร้อย 10 จะถูกเก็บไว้เป็นที่ดินส่วนบุคคล โดยสาหรับที่ดิน
ที่ได้รั บ การเวนคืน แบบจ่ ายขาดร้ อยละ 90 นั้น จะมีการหั กที่ดินอีกร้อยละ 10 เพื่อใช้เป็นกองทุน เพื่อ
การพัฒนาชุมชนเพื่อลูกหลานต่อไป
ส่ ว นประชาชนที่ ถู ก เวนคื น ตามข้ อ ๓.๑) และ ๓.๒) จะได้ รั บ
การจั ด สรรที่ อ ยู่ อ าศั ย ทดแทนต่ อ ครั ว เรื อ นดั ง ต่ อ ไปนี้ 1-3 คน จั ด สรรที่ อ ยู่ อ าศั ย แบบคอนโดมิ เ นี ย ม
ขนาด 40 - 80 ตารางเมตรต่ อครั วเรื อน 4 คน จั ดสรรที่ อยู่ อาศั ยขนาด 120 ตารางเมตรต่ อครั วเรื อน 6 คน
จัดสรรที่อยูอ่ าศัยขนาด 180 ตารางเมตรต่อครัวเรือน และกรณีมากกว่า 6 คน จัดสรรที่อยู่อาศัยขนาด 240 ตาราง
เมตรต่อครัวเรือน
๔) แนวคิดด้านการจัดเก็บค่าผ่านคลองตลอดอายุสัมปทานสิทธิเหนือพื้นดิน 99 ปี
มีข้อเสนอแนะ ดังนี้
๔.๑) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 1 - 10 ของอายุสัมปทาน โดยจัดเก็บ
ค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนกองทุนเพื่อสังคม คิดเป็นร้อยละ 10 และจัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับ ผู้ลงทุน
คิดเป็นร้อยละ 90
๔.๒) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 11 - 20 ของอายุสัมปทาน โดยจัดเก็บ
ค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนสาหรับกองทุนเพื่อสังคม คิดเป็นร้อยละ 10 และจัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน
สาหรับผู้ลงทุนคิดเป็นร้อยละ 70 ตลอดจนจัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนสาหรับภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 20
๔.๓) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 20 - 30 ของอายุสัมปทาน โดย
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับกองทุนเพื่อสังคม คิดเป็น
ร้อยละ 1
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับผู้ลงทุน คิดเป็นร้อยละ 65
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 25
๔.๔) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 30 - 40 ของอายุสัมปทาน
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนสาหรับกองทุนเพื่อสังคม คิดเป็น
ร้อยละ 10
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับผู้ลงทุน คิดเป็นร้อยละ 60
- จัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทน สาหรับภาครัฐ คิดเป็นร้อยละ 30
๔.๕) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 40 - 50 ของอายุสัมปทาน โดยจัดเก็บ
ค่ า ผ่ า นคลองเพื่ อ ตอบแทนส าหรั บ กองทุ น เพื่ อ สั ง คม คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 10 และจั ด เก็ บ ค่ า ผ่ า นคลอง
๖๔

เพื่อตอบแทนสาหรับผู้ลงทุนคิดเป็นร้อยละ 50 หลังจากนั้นจัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนสาหรับภาครัฐ
คิดเป็นร้อยละ 40
๔.๖) การจัดเก็บค่าผ่านคลองในปีที่ 51 - 99 ของอายุสัมปทาน โดยจัดเก็บ
ค่ า ผ่ า นคลองเพื่ อ ตอบแทนส าหรั บ กองทุ น เพื่ อ สั ง คม คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 10 และจั ด เก็ บ ค่ า ผ่ า นคลอง
เพื่อตอบแทนสาหรับผู้ลงทุน คิดเป็นร้อยละ 20 หลังจากนั้นจัดเก็บค่าผ่านคลองเพื่อตอบแทนสาหรับภาครัฐ
คิดเป็นร้อยละ 70
4.๗) ลั ก ษณะการวางผั ง เมื อ งโครงการพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
(คลองไทย) ในช่วงที่ 1A และ 1B มีทั้งหมด 14 พื้นที่ ดังนี้
(1) พื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมการ ท่ องเ ที่ ย ว แล ะ ที่ อ ยู่ อ าศั ย (Hotel
Development & Residential)
(2) ศูนย์กลางการขนส่งสินค้า (Logistic Center)
(3) ศูนย์กลางการผลิตและอุตสาหกรรม (The Capital’s Industrial District)
(4) ย่านศูนย์กลางธุรกิจ (The capital’s business district)
(5) อุทยานประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม (Thailand Art & Cultural Park)
(6) ศูนย์ราชการและหน่วยงานรัฐบาล (The government complex)
(7) สานักงานและอาคารสูง (Center business district)
(8) ศูนย์รวมความบันเทิงและศูนย์จัดแสดงสินค้านานาชาติ (Media &
International convention Center)
(9) สนามบิ น นานาชาติ แ ละศู น ย์ ก ลางการเดิ น ทาง (International
airport & Transportation Center)
(10) พื้นที่พักอาศัย (High - End Residential)
(11) อุ ท ยาน และแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ (National park &
Southern forest complex)
(12) ศูนย์ให้บริการด้านสุขภาพครบวงจร (Wellness & Medical Hub)
(13) เมื อ งแห่ ง ปั ญ ญา และเมื อ งมหาวิ ท ยาลั ย (International
Education Park)
(14) เ ก า ะ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พิ เ ศ ษ (Special Economic Zone &
Entertainment Island)
๖๕

ภาพที่ 12 แผนในการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและคลองไทย
ภายใต้แนวคิดของโครงการ “THE WORLD’S CAPITAL” ของบริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย)

ภาพที่ 13 การจัดโซนนิ่งในการพัฒนาพื้นที่ในเขตการขุดคลองไทย
ที่มา : บริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด
๖๖

๓.๑.๔.๘ ผลการศึกษาของสภาวิศวกร (ศึกษาในปี พ.ศ. ๒๕๖๓)


สภาวิศวกรได้นาเสนอข้อมูลต่อที่ประชุม คณะอนุกรรมาธิการฯ พิจารณาศึกษา
ผลกระทบฯ จานวน ๒ ครั้ง สรุปสาระสาคัญได้ดังนี้
การบริ ห ารโครงการ คื อ กระบวนการน าโครงการไปสู่ เ ป้ า หมาย ซึ่ ง วิ ศ วกร
มี เ ป้ า หมายคื อ คุ ณ ภาพ (Quality) ต้ น ทุ น (Cost) และเวลา (Time) วิ ศ วกรต้ อ งท างานภายในกรอบ
ของความปลอดภัยกับจรรยาบรรณ ในมุมมองไม่ได้เพียงแต่ขุดคลองเท่านั้ น แต่เป็นโครงการพัฒนาเมืองใหม่
ไม่ควรพิจารณาแต่ค่าก่อสร้างเพียงอย่างเดียวเท่านั้น ต้องพิจารณา ค่าบารุงรักษาและค่าการใช้งานต่าง ๆ ด้วย
ส าหรั บ การขนส่ ง ทางน้ า คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ ๗๑ ของการขนส่ ง สิ น ค้ า ทั้ ง หมด
ต้ อ งพิ จ ารณาจาก ๓ องค์ ป ระกอบหลั ก คื อ ๑) ความเร็ ว ๒) ความสะดวกสบาย ๓) ความปลอดภั ย
โดยสามารถกาหนดรูปแบบคลองไทย จากแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ แบบจาลองคอมพิวเตอร์และการ
ทดสอบแบบจาลองทางกายภาพซึ่งมีความสาคัญเป็นอย่างมาก ส่วนกุศโลบายการถ่ายทอดเทคโนโลยี
จะต้องให้บริษัทคนไทยเป็นบริษัทหลัก (Lead Firm) ในการดาเนินการก่อสร้าง วิศวกรไทยต้องได้เข้าร่วม
ในตาแหน่งที่สาคัญที่มีโอกาสนาเสนอผลงาน และต้องกาหนดแต้มต่อในเชิงกลยุทธ์ในการกาหนดขอบเขต
ของงาน (Term of Reference) ของโครงการขุดคลอง
ปั จ จุ บั น เส้ น ทางการขุ ด คลองไทยแนว ๙A ถื อ เป็ น เส้ น ทางที่ เ หมาะสม
และมีผลกระทบน้อยที่สุด ส่วนการดาเนินการขุดคลองไทยอย่างไร วิศวกรไทยสามารถดาเนินการได้ เช่น
การน าดิน ที่ได้จ ากการขุด ไปจั ดทาเกาะเทีย ม ระดับความลึ กของคลองไทย ผนังกันดิน การเจาะภูเ ขา
การก่อสร้ างสะพาน อุโ มงค์ ถนน ทางรถไฟ และการออกแบบป้ องกัน แผ่ นดิน ไหว ปัจจุบันเทคโนโลยี
มีความก้าวหน้ามาก หากต้องการให้สร้างเสร็จภายใน ๓ ปี สามารถแบ่งสัญญาจ้างงานก่อสร้างออกเป็น
หลาย ๆ บริษัท จึงจะสามารถดาเนินการก่อสร้างได้อย่างรวดเร็ว
ส าหรั บ รู ป แบบและลั ก ษณะของคลองที่ ไ ด้ ส อบถามคว ามคิ ด เห็ น จาก
หลาย ๆ ฝ่ายแล้วนั้น เห็นว่าควรเป็น รูปแบบคลองเดียว ที่มีขนาดความกว้า งไม่น้อยกว่า ๔๐๐ เมตร
และมีความลึก ๓๐ เมตร ทั้งนี้ การขุดคลองขนาดความกว้างหรือความลึกมากขึ้น ย่อมจะต้องมีค่าใช้จ่ายใน
การขุดร่ องน้ าและค่าใช้จ่ายบารุงรั กษามากขึ้น และต้องให้ความสาคัญด้านผลกระทบต่อพื้นที่ทางการเกษตร
และแหล่งน้าจืด เช่น ที่ร าบลุ่ มแม่น้ าตรั ง แหล่ งเพาะปลู ก ริมทะเลน้อย อาเภอระโนด และพื้นที่ ป่ า พรุ
ควนเคร็ง ส่วนความกังวลเรื่องการเกิดคลื่นสึนามิอาจมีผลกระทบบริเวณปากทางเข้าคลองในจังหวัดกระบี่
จากการศึกษารูปแบบของคลองไทยนั้น ไม่น่าจะมีผลกระทบอะไรมากนัก เนื่องจากมีเกาะลันตาป้องกันคลื่น
จากการเกิดสึนามิได้เป็นอย่างดี ส่วนการรุกล้าของน้าทะเลเข้ามายังบริเวณปากคลองไทย สามารถทาประตู
กั้นน้าทะเลป้องกันได้
นอกจากนี้สภาวิศวกร ได้ทาการสารวจพื้นที่จริงตามแนวเส้นทาง ๙A ที่คาดว่า
จะเป็นเส้นทางขุดคลองและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ โดยใช้อากาศยานไร้คนขับ (Drone) บินสารวจ
ตลอดเส้นทาง จานวน ๒ ครั้ง ครั้งที่ ๑ ระหว่างวันที่ ๑ - ๔ ตุลาคม ๒๕๖๓ และครั้งที่ ๒ ระหว่างวันที่
๑๔ - ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ และได้ทาการสารวจเส้นทางตลอดแนวคลอง โดยจุดเริ่มต้นจากฝั่งทะเลอันดามัน
ปากทางเข้ า คลองกะลาเสน้ อ ยถึ ง ท่ า หั ว หิ น หมู่ ที่ ๕ ต าบลทรายขาว อ าเภอคลองท่ อ ม จั ง หวั ด กระบี่
และจุดสุดท้ายฝั่งอ่าวไทย พิกัดวัดหัวคุ้ง ตาบลท่าบอน อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา ระยะทางรวม ๑๒๙.๖๕
กิโลเมตร พร้อมสารวจจุดที่คาดว่าแนวคลองจะผ่าน ดังภาพ
๖๗

ภาพที่ ๑4 ภาพแนวคลองจากการสารวจของสภาวิศวกร พร้อมภาพแสดงจุดที่สารวจ

จากการพิจารณาศึกษาสามารถกล่าวโดยสรุปได้ว่า ๑) ควรมีการศึกษาเชิงลึก
โดยผู้เชี่ยวชาญต่อไป ๒) ต้องมีการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม
ในโครงการนี้ ๓) วิศวกรไทยและบริษัทของประเทศไทยมีความพร้อ มและเคยดาเนินงานโครงการขนาดใหญ่
เช่น ท่าเรือน้าลึก การขุดร่องน้าลึก และการขุดเหมืองขนาดใหญ่ ซึ่งสามารถดาเนินการสาเร็จเรียบร้อยด้วยดี
สาหรับการขุดคลองไทยสามารถกาหนดขอบเขตของงาน (Term of Reference)
ได้ ๓ วิธี ประกอบด้วย ๑) รัฐดาเนินการเอง ๒) รัฐดาเนินการร่วมกับเอกชน และ๓) เอกชนดาเนินการ
โดยมีรั ฐ กากับ ดูแล ส าหรั บ แบบการก่อสร้าง คิดว่าไม่น่าดาเนินการก่ อสร้า งได้ยาก แต่ควรดาเนินการ
ในรู ป แบบข้ อ ตกลงความร่ ว มมื อ ระหว่ า งภาครั ฐ และภาคเอกชน (Public Private Partnership : PPP)
และงานวิ ศวกรรมของคลองไทยที่ จะเกิ ดขึ้ น ประกอบด้ วย งานขุ ดคลอง งานท่ าเรื อ งานสะพานรถยนต์
รถไฟข้ ามคลอง งานอุ โ มงค์ ร ถยนต์ รถไฟลอดใต้ ค ลอง งานขุ ด ร่ อ งน้ า งานถมที่ ใ นทะเล (Dredging &
Reclamation) และงานอื่น ๆ
ในการพัฒนาพื้นที่ให้เป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ของโลก ซึ่งเป็นงานก่อสร้างที่วิศวกร
ชาวไทยสามารถดาเนิ นการได้เพราะมีความเชี่ยวชาญ จึงเสนอแนวคิดและเทคโนโลยีการขุดคลองไทย
ตามแนวเส้นทาง ๙A ด้วยการนาเครื่องจักรขนาดใหญ่ในการขุดดินตามแนวเส้นทางคลองไทย ๙A จะต้อง
ออกแบบให้เหมาะสมเพื่อให้ มีต้นทุนที่ถูกที่สุด มีระยะเวลาจัดหาอุปกรณ์ (Equipment) ประมาณ ๒ ปี
หากเริ่ มดาเนิ น การขุดคลองไทยในปี พ.ศ. ๒๕๖๗ สามารถให้ แล้ วเสร็จและเปิดใช้ได้ในปี พ.ศ. ๒๕๗๕
ส่ ว นงบประมาณ ๒ – ๒.๒ ล้ านล้ านบาท หากสามารถเร่ งรัด ให้ ดาเนิน การให้ เสร็จ ก่ อน ๓ – ๖ เดือ น
จะมีร ายได้เข้าประเทศไทยได้อย่ างมหาศาล สาหรับงานประเภทอื่น ๆ เช่น การก่อสร้างทางรถไฟ การเจาะอุโมงค์
ทางถนน สะพาน หรื อเกาะเทียมวิ ศ วกรไทยสามารถด าเนิ น การได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ ส่ ว นความกั ง วล
ในการก่อสร้าง คือ การเวนคืนที่ดินที่ล่าช้า การรื้อย้ายสาธารณูปโภคและสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ ที่กีดขวางงาน
ก่อสร้าง พื้นที่ก่อสร้างติดพื้นที่อนุรักษ์หรือพื้นที่สงวน และการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ
ที่ อ าจเกิ ด ความล่ า ช้ า และมี ผ ลกระทบต่ อ การก่ อ สร้ า งโครงการได้ ซึ่ ง จะต้ อ งด าเนิ น การด้ ว ยกฎหมาย
พิเศษเฉพาะ
๖๘

๓.๑.๔.๙ ผลการศึกษาของกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย (ศึกษาในปี


พ.ศ. ๒๕๖๓)
สื บ เนื่ อ งจากมติ ที่ ป ระชุ ม คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารฯ ครั้ ง ที่ ๑๖ ในวั น อั ง คารที่
๑๗ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๓ รูปแบบของการขุดคลองไทยในแนว ๙A นั้นควรเป็นคลองเดียวที่มีความลึก
ไม่น้อยกว่า 40 เมตร และให้เชิญผู้แทนกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย มาให้ข้อมูลต่อที่ประชุม
ในวัน อังคารที่ 24 พฤศจิ กายน ๒๔๖๓ เพื่อพิจารณาข้ อมูล ด้านแผนที่ และข้ อ มูล ทางกายภาพในพื้ น ที่
ที่จะทาการขุดคลองไทยอย่างรอบด้าน โดยกรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทยได้นาเสนอข้อมูล
จากการคานวณผ่านโปรแกรมและฐานข้อมูลสามารถแสดงผลได้ พบว่า การขุดคลองไทยตามแนวเส้นทาง
๙A มีระยะทางโดยประมาณ ๑๔๘.๔๒ กิโลเมตร มีความกว้างของคลอง ๑ กิโลเมตร และมีความลึก ๔๐
เมตร แนวคลองจะตัดผ่านสถานที่สาคัญ ได้แก่ คลองชะอวด ๒๖ กิโลเมตร ป่าพรุ ๒ แห่งประมาณ ๑๕
กิโลเมตร ชุมชนประมาณ ๒๑ แห่ง ทางหลวงสายหลัก ๖ แห่ง ทางหลวงสายรอง ๑๓ แห่ง สายส่งศักย์สูง ๔
แห่ ง เส้ น ทางรถไฟ ๒ แห่ ง นอกจากนั้ น โปรแกรมยั ง สามารถแสดงผลการวิ เ คราะห์ ดิ น ตั ด – ดิ น ถม
และประเด็นสาคัญสาคัญอื่น ๆ อีกด้วย

ภาพที่ 15 แสดงข้อมูลพื้นฐานการขุดคลองตามแนว ๙A และพื้นที่ความกว้างคลองและจุดสูงสุด


จากโปรแกรมและฐานข้อมูลแสดงผล ของกรมแผนที่ทหาร
๖๙

ภาพที่ ๑6 แสดงข้อมูลพื้นฐานการขุดคลองตามแนว ๙A และพื้นที่ความกว้างคลองและจุดสูงสุด


จากโปรแกรมและฐานข้อมูลแสดงผล ของกรมแผนที่ทหาร

จากรูปแบบคลองตามข้อ ๓.๑.๔.๑ – ๓.๑.๔.๙ โดยสรุปผลการศึกษาลักษณะรูปแบบการขุดคลองไทย


คณะอนุกรรมาธิการเพื่อพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย มีความเห็นดังนี้
๑) เห็นด้วยกับการขุดคลองไทยทางภาคใต้ของประเทศไทย อันเป็นการเชื่อมระหว่างทะเลอันดามัน
มหาสมุทรอินเดียและอ่าวไทยในมหาสมุทรแปซิ ฟิก และแนวคลองที่เหมาะสมที่สุด คือ แนวทางเส้น ๙A
ผ่าน ๕ จังหวัด จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา
๒) พิจารณาเห็นว่า การขุดคลองไทยอย่างเดียว ไม่สามารถจูงใจให้เกิดการลงทุนขนาดใหญ่ได้จาเป็น
จะต้ อ งพั ฒ นาพื้ น ที่ ป ระกาศเป็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษใน ๕ จั ง หวั ด คื อ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง
จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา ซึ่งครอบคลุมไปถึงการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม
การเมือง การปกครอง การทหาร โดยยกระดับให้เป็นมาตรฐานโลก เพราะเป็นพื้นที่ภูมิศาสตร์ที่เหมาะสม
แก่ ก ารพั ฒ นาอย่ า งมี ศั ก ยภาพมากกว่ า การเป็ น คลองที่ เ ป็ น เส้ นทางการเดิ น เรื อ เพี ย งอย่ า งเดี ย ว
การเป็นศูนย์กลางพัฒนาของโลกในทุก ๆ ด้าน จะสร้างประโยชน์แก่ประเทศไทยได้มากกว่าหลายเท่า
๓) สาหรับรูปแบบลักษณะของคลองที่จะขุด จากการพิจารณาศึกษาจากเอกสารและผู้มานาเสนอ
ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐ มีการเสนอหลายหลายรูปแบบ เช่น
๓.๑) การขุดคลองเดียวกว้างและลึก เพื่อให้เรือทุกขนาดสวนทางกันได้ และเกิดความปลอดภัย
๓.๒) การขุดคลองเดียวกว้างและลึก ที่มีเกาะกลางบางช่วง เพื่อเป็นแหล่งพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
๓.๓) การขุดเป็นคลองหลักขนานกัน จานวน ๒ คลอง ที่ระดับความลึกต่างกัน โดยแบ่งตามระดับ
ความลึ ก ของเรื อ ระหว่ า งเที่ ย วไปกั บ เที่ ย วกลั บ ที่ บ รรทุ ก สิ น ค้ า ไม่ เ หมื อ นกั น (โดยเฉพาะน้ ามั น )
ข้อดี คือ ดินที่ขุดปริมาณน้อยกว่า และลงทุนน้อยกว่าแนวทางแรก แต่อาจจะกระทบกับสิ่งแวดล้อม และวิถีชีวิต
ของประชาชนในถิ่นที่อยู่แนวคลองมากกว่า ในโอกาสต่อไปอาจพัฒนาให้คลองกว้างขึ้นโดยเชื่อมสองคลอง
๔) การขุ ด คลองหลั ก จ านวน ๒ คลอง เส้ น ยาวจากฝั่ ง ทะเลอั น ดามั น ไปทะลุ ท ะเล
อ่ า วไทยห่ า งกั น ๑๐ กิ โ ลเมตร ขุ ด ตามแนว ๙A มี เ ส้ น ทางเชื่ อ มระหว่ า ง ๒ คลอง จ านวน ๒ จุ ด
แนวคลองที่ขุดจะมีก ารสร้ างอ่ าวเทีย ม ทั้ง ๒ ข้างคลอง เพื่อเป็นท่าเที ยบเรือ พาณิช ย์ และเรือส าราญ
๗๐

ที่จะมาจากทั่วโลก การที่มีคลอง ๒ เส้น เพื่อให้การเดินเรือสะดวกรวดเร็วขึ้นเพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจ


และป้ องกัน ปั ญหาการเกิดอุบั ติเหตุ ที่อาจเกิดขึ้นในคลอง จึงมีจุดเชื่อมระหว่าง ๒ คลอง จานวน ๒ จุด
เมื่ อ มี อุ บั ติ เ หตุ จ ะได้ แ ก้ ปั ญ หาได้ ร วดเร็ ว เป็ น คลองขนาดเล็ ก เพื่ อ การขนส่ ง และการท่ อ งเที่ ย ว
เป็นคลองคู่ขนานอยู่ด้านนอก
๕) สาหรับดินที่ได้จากการขุดคลองนาไปทาเกาะเทียมเพิ่มมูลค่าด้านต่าง ๆ เช่น ทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม ด้านการทหาร ความมั่นคง เป็นต้น และสามารถนาดินไปถมพื้นที่น้ากัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทย และ
ฝั่งอันดามัน
โดยรูปแบบของคลองตามมติของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ได้พิจารณา
แล้ ว เห็ น ว่ า ควรเป็ น คลองเดี ย วที่ มี ค วามกว้ า ง ๑ กิ โ ลเมตร ความลึ ก ไม่ น้ อ ยกว่ า ๔๐ เมตร เพื่ อ เสนอ
คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร พิจารณาและนาเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรต่อไป
๓.๑.๕ ผลการสัมมนารั บ ฟั งความคิ ดเห็น และข้ อเสนอแนะต่ อ การดาเนิน การขุ ดคลองไทย
ทั้งในส่วนของประชาชน ภาครัฐและเอกชน สรุปดังนี้
ประชาชนในพื้นที่ส่วนใหญ่เห็นด้วยกับการขุดคลองไทย เพราะเป็นความหวังของประชาชน
ในพื้ น ที่ ภ าคใต้ ใ นการพั ฒ นาคุ ณ ภาพชีวิ ต ความเป็ น อยู่ ใ ห้ ดี ขึ้ นได้ แต่ ยั ง มี ข้ อ ห่ ว งวิ ตกกั ง วลในประเด็น
การชดเชยหากมีการดาเนินโครงการขุดคลองไทยขอให้ชดเชยเยียวยาแก่ผู้ได้รับผลกระทบ เช่นการชดเชย
เวนคื น ที่ เ หมาะสมเป็ น ธรรม การให้ หุ้ น หรื อ ผลก าไรจากการบริ ห ารพื้ น ที่ แ นวคลอง ปั ญ หาผลกระทบ
ด้ า น สิ่ ง แ ว ด ล้ อ ม และหากเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงรั ฐบาลเกรงว่ านโยบายเกี่ ยวกั บโครงการขุ ด คลองไทย
จะเปลี่ ยนแปลงไป เป็ นต้ นส าหรั บ ข้ อ เสนอแนะน า ให้ น้ อ มน าหลั ก การทรงงานของพระบาทสมเด็ จ
พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙ ) มาปรับใช้ คือ
๑) เข้าใจ คือ ศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้านก่อนมิได้ฝืนดาเนินโครงการก่อนศึกษา
๒) เข้าถึง คือ ลงพื้นที่ทาความเข้าใจ และรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ก่อน
๓) พัฒนา คือ หากเห็นประโยชน์ของประเทศชาติอย่างสูงสุดจึงพิจารณาดาเนินโครงการ
๔) การขาดทุน คือ กาไร กล่ าวคือ บางครั้งการทางานใดย่อมเกิดผลกระทบ หากเกิด
การขุดคลองไทยย่ อมต้องเกิดผลกระทบด้านสิ่ งแวดล้ อมบ้างแต่จะเกิดการพัฒ นา และเกิดผลประโยชน์
แก่ประเทศมหาศาลอย่างแน่นอน จึงขอให้ศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้านทั้งผลดีและผลเสีย และนาผลการศึกษา
ที่ได้มาชี้แจงให้ประชาชนในพื้นที่ได้เข้าใจทั้งผลดี และผลเสียเพื่อประกอบการตัดใจอีกครั้งหนึ่ง
๓.๑.๖ ข้อเสนอแนะและข้อสังเกต
จากการพิจารณาศึกษาการเกี่ยวกับการขุดคลองไทย เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน ทาง
เศรษฐกิ จ ของประเทศ เพื่ อ ให้ ป ระเทศไทยกลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางการพาณิ ช ย์ น าวี ศู น ย์ ก ลางค้ า แหล่ ง
อุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวระดับโลก รวมทั้งศึกษารูปแบบของคลอง และรับฟังความคิดเห็นรับฟังความ
คิ ด เห็ น และข้ อ เสนอแนะต่ อ การด าเนิ น การขุ ด คลองไทยของทั้ ง ในส่ ว นของประช าชน ภาครั ฐ
และเอกชน และการศึกษาดูงานในพื้นที่แล้ว สรุปว่า เห็นควรให้มีการขุดคลองไทยเพราะมีความเหมาะสม
และคุ้มค่า และมีความเป็นไปได้ แต่จะต้องมีการศึกษาขั้นสมบูรณ์ (Full Feasibility Study) อย่างละเอียด
เพื่อให้ลดผลกระทบในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่งแวดล้ อมและด้านความมั่นคงของประเทศ
โครงการขุดคลองไทยจะเป็นโครงการที่สาคัญและยิ่งใหญ่ระดับนานาชาติ เป็นเส้นทางเดินเรือสากลใหม่
๗๑

ของโลก ซึ่งจะช่วยพัฒนาประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของภาคใต้


โดยตรงจะท าให้ ป ระชาชนในภาคใต้ แ ละจากการหลั่ ง ไหลมาจากภาคอื่ น ๆ จะมี ก ารจ้ า งงานเพิ่ ม ขึ้ น
จานวนมาก ทาให้ลดปัญหาคนตกงานและแก้ไขปัญหาความยากจน เมื่อฐานะทางเศรษฐกิจและสังคมดีขึ้น
ก็จะส่งผลให้ความมั่นคงของประเทศเพิ่มสูงมากขึ้นตามไปด้วย ดังนั้น การขุดคลองไทยน่าจะเป็นการลด
ปั ญ หาอย่ า งยั่ ง ยื น และยั ง ประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศในทุ ก ๆ ด้ า น ที่ เ ห็ น ได้ ชั ด ได้ แ ก่ การคมนาคม การค้ า
การเกษตร การอุตสาหกรรม การท่าเรือ การท่องเที่ยว ฯลฯ อันเป็นการพัฒนาบ้านเมืองอย่างเบ็ดเสร็จ
ในระยะยาว และตลอดไป
ข้อเสนอแนะ จากทีไ่ ด้พิจารณาเส้นทาง 9A ในการขุดคลองไทยผ่านจังหวัดกระบี่ – จังหวัด
ตรัง – จังหวัดพัทลุง – จังหวัดนครศรีธรรมราช – จังหวัดสงขลา และได้ทาการสารวจภูมิประเทศบริเวณแนว
ที่จะขุดคลองไทย รวมถึงการชี้แจงรายละเอียดให้ประชาชนในจังหวัดที่จะขุ ดคลองไทยและจังหวัดใกล้เคียง
ถึงความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม การเงิน ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ชนิด ขนาดและจานวนของเรือที่แล่น
ผ่านคลองไทยและข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและมีขอเสนอแนะ ดังนี้
1) สมควรขุดคลองไทยทางภาคใต้ของประเทศไทย คลองเชื่อมระหว่างทะเลอัน ดามัน
มหาสมุทรอินเดีย และอ่าวไทยในมหาสมุทรแปซิฟิก ในเส้นทางแนว 9A มีความเหมาะสมที่สุดในปัจจุบัน
คือ ผ่านจังหวัดกระบี่ – จังหวัดตรัง – จังหวัดพัทลุง – จังหวัดนครศรีธรรมราช – จังหวัดสงขลา
2) ลักษณะรูปแบบคลองเดียว ความกว้างไม่น้อยกว่า ๑ กิโลเมตร ความลึกไม่น้อยกว่า
๔๐ เมตร ในเส้ น ทางแนว ๙A ส่ ว นความยาวของคลองให้ เ ป็ น ไปตามหลั ก การที่ ว่ า ต้ อ งลดระยะทาง
ระยะเวลาในการเดินทางและประหยัดค่าใช้จ่าย การศึกษาที่ผ่านมาส่วนใหญ่จะเป็นเส้นโค้งทาให้แนวคลองมี
ความยาวมากเกิ นไป เนื่ องจากต้ องการไม่ ให้ ผ่ านพื้ นที่ โครงการพระราชด าริ แหล่ งโบราณสถาน หรื อแหล่ งชุ มชน
ที่สาคัญหากต้องการจะให้เส้นทางของคลองไทยเป็นเส้นทางที่ตรงกว่าที่เคยศึกษาไว้ จาเป็นต้องศึกษาเชิงลึก
อย่างละเอียดรอบคอบต่อไป
3) ระดั บ น้ าของสองฝั่ ง ทะเลต่ า งกั น ประมาณ 22 - ๒๕ เซนติ เ มตร จึ ง เป็ น คลอง
ในระดับน้าทะเลไม่ต้องสร้างประตูน้าเพื่อยกระดับให้เรือผ่าน
4) การขุดคลองสามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่อความรวดเร็วในการขุด แต่ไม่สมควร
ขุดคลองโดยใช้ปรมาณู
5) ควรก าหนดกรอบข้ อ ก าหนด TOR (Terms of Reference) ในการพั ฒ นาโครงการ
สาหรับผู้ลงทุนที่เป็นธรรมกับผู้รับสัมปทานและประเทศไทยในฐานะเจ้าของคลองไทย
6) การออกกฎหมายใหม่เกี่ยวกับ กฎหมายทะเล การเดินเรือทะเลและกฎหมายใด ๆ
ที่ เ กี่ ย วกั บ การเดิ น เรื อ สากล ต้ อ งเร่ ง ด าเนิ น การส่ ง เสริ ม ให้ ก ารเดิ น เรื อ ไทยเจริ ญ ขึ้ น ทั น อารยประเทศ
และเสริมสร้างให้มีคลองเรือที่มั่นคง
8) การจัดทาประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องให้ประชาชนทราบ และให้ความร่วมมือสนับสนุน
ในการขุ ด คลองไทย และให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ เ ป็ น ผู้ มี ส่ ว นร่ ว มก าหนดพื้ น ที่ แ นวคลองของตนเอง
และปรั บ สภาพแวดล้ อ มสั งคมของตนเองตลอดจนสิ ทธิ ใ นการได้ รับ ค่ าเวนคืน ที่ เป็ นธรรม และมี อ าชี พ
ที่มั่นคงจากการมีคลองไทย
9) ค่ า ใช้ จ่ า ยในการขุ ด คลองไทยพิ จ ารณาจากเงิ น ออมภายในประเทศ ร่ ว มกั บ เงิ น
จากผู้รับสัมปทานจากต่างประเทศร่วมกันหรือมีบริษัทที่ขอรับสัมปทานโดยตรง เพื่อให้คนไทยมีส่วนร่วม
๗๒

เป็นเจ้าของในอัตราที่เหมาะสมที่สุด และมีความเป็นธรรมกับทั้ง 2 ฝ่าย คือ รัฐบาลไทยที่เป็นเจ้าของคลอง


และฝ่ายผู้ได้สัมปทานที่เป็นผู้ลงทุนโครงการอาจเชิญชวนให้ ประชาชนร่วมลงทุนในรูปแบบซื้อพันธบัตร
ในระยะเวลา 10 - 20 ปี หรื อ รั ฐ บาลให้ สั ม ปทานแก่ ภ าคเอกชนทั้ ง ภายในประเทศและต่ า งประเทศ
มีส่วนร่วมในการลงทุน และขายหุ้นมหาชนในตลาดหุ้น เป็นต้น ซึ่งรัฐบาลจะต้องพิจารณา
10) ก าหนดโครงการขุ ด คลองไทยเป็ นแผนยุท ธศาสตร์ช าติ โดยก าหนดเป็ นนโยบาย
ที่สาคัญของรัฐที่ส่วนราชการทุกฝ่าย และประชาชนทุกหมู่เหล่าต้องร่วมมือกัน
11) ระบบสั ม ปทานที่ เ หมาะควรเป็ น ระบบ BOOT (Build Operate Own Transfer)
คือ ให้ผู้รับสัมปทานก่อสร้าง เป็นเจ้าของในระยะหนึ่งตามสัญญาและดาเนินการเรื่องคลอง เมื่อครบสัญญา
แล้วจะต้องโอนคืนเป็นสมบัติของประเทศไทยต่อไป สัมปทานควรอยู่ระหว่าง 30 – 50 ปี หรือตามความ
เหมาะสม
12) การเตรียมความพร้อมบุคลากรบริหารจัดการเรื่องคลอง การเดินเรือ ซ่อมเรือ ต่อเรือ
การท่ าเรื อ การจั ดการในทะเลและการควบคุ มคลอง ฯลฯ จะต้ องเตรียมฝึ กคนไทยไว้ ล่ วงหน้า 10 ปี เป็ นอย่ างน้อย
ก่ อ นเปิ ด การเดิ น เรื อ ในคลอง ฉะนั้ น จะต้ อ งจั ด ตั้ ง “มหาวิ ท ยาลั ย คลองไทย” ขึ้ น ก่ อ นเพื่ อ รั บ นั ก ศึ ก ษา
คณะวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมช่างฝีมือ ฯลฯ ในระดับต่ากว่าปริญญาตรี และสูงกว่าปริญญาตรี ทั้งนี้ตั้งแต่บัดนี้
เป็ น ต้น ไปโดยฝากเรี ย นไว้กับ สถาบั น การศึกษาในพื้นที่ ที่คลองผ่ าน ได้แก่ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
สถาบันราชภัฏ วิทยาลัยการต่อเรือปากพนัง วิทยาลัยการอาชีพต่าง ๆ โดยผู้ให้ทุนการศึกษาโครงการจะต้อง
จ่ ายงบประมาณ เพื่อการนี้ แ ก่ ส ถาบั น ต่า ง ๆ ไปก่อนจนกว่ าจะสามารถตั้ง เป็ น มหาวิ ทยาลั ย คลองไทย
ในอนาคตต่อไป โดยรายได้จากโครงการคลองไทย ให้ถือว่าการศึกษาเป็นหัวใจสาคัญของโครงการคลองไทย
13) แหล่ ง ศึ ก ษาสาขาวิ ช าการทางการเดิ น เรื อ บริ ห ารจั ด การเรื อ ท่ า เรื อ วิ ศ วกรรม
การเดินเรือ ฯลฯ การศึกษาจากสถาบัน MPA (Maritime and Port Authority) ของสิงคโปร์เป็นต้นแบบ
และมาปรับใช้กับมหาวิทยาลัยคลองไทยต่อไป
14) การสร้ า งเมื อ งใหม่ และเขตอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ ง จะต้ อ งค านึ ง ถึ ง อุ ต สาหกรรม
ที่ ส ะอาด ทั น สมั ย เท่ า นั้ น เป็ น อุ ต สาหกรรม Hight Technology เพื่ อ เตรี ย มสิ น ค้ า ส่ ง ออกลงเรื อ ไป
ต่ า งประเทศ รวมทั้ ง อุ ต สาหกรรมบริ ก ารอื่ น ๆ เช่ น ซ่ อ มเรื อ โรงแรม ท่ อ งเที่ ย ว การบิ น การขนส่ ง
ทางบก ฯลฯ
15) ควรมีเขตปลอดภาษีในเขตเมืองใหม่และเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 เขต มูลค่าเมืองใหม่
แห่งละประมาณ 10,000 ล้านเหรียญสหรัฐ และควรได้รับการออกแบบที่ทันสมัย
16) รายได้ จ ากการเดิ น เรื อ และเขตเมื อ งใหม่ จะต้ อ งแบ่ ง เป็ น รายได้ ใ ห้ แ ก่ จั ง หวั ด
ที่คลองผ่านในอัตราตามที่รัฐกาหนด (ประมาณร้อยละ 50) ที่เหลือจึงเป็นของจังหวัดใกล้เคียงและจังหวัดอื่น ๆ
โดยนาเข้าเป็นรายได้ของรัฐต่อไป
17) แหล่งน้าจืดสาหรับขายหรือบริการให้เรือที่ผ่าน จะต้องมีการเตรียมอ่างเก็บกักน้าขนาดใหญ่
๑๘) การจ่ายค่าชดเชย เวนคืน ขนย้าย รื้อย้าย จะต้องให้ความเป็นธรรมกับประชาชน
ในอัตราที่จ่ายสู งกว่าราคาค่าเวนคืนตามที่รัฐ กาหนด ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการขุดคลองผู้ รับ
สัมปทานจะต้องจัดที่อยู่ใหม่ที่เหมาะสมให้แก่ผู้นั้นด้วยความเป็นธรรม
๗๓

๑๙) โครงการคลองไทย (Thai Canals Project) จะต้องมีห น่ว ยงานภาคราชการขึ้นมา


กากับ ควบคุม บรรษัทที่ดาเนิ น การคลองไทย และต้องเตรียมพร้อมรับการถ่ายโอนบริห ารการจั ด การ
คลองไทย เมื่อบรรษัทคลองหมดอายุสัมปทานหรือโอนเป็นของรัฐตามแต่กรณี
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย ในการนาเสนอคณะกรรมาธิการ
วิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ สภาผู้ แ ทนราษฎร
เพื่อพิจารณาและเสนอแนะให้รัฐบาลสั่งการหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาดาเนินการ ดังนี้
๑) การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ จะต้องดาเนินการด้วย
กฎหมายพิเศษลั กษณะ แนวทางเดีย วกับพระราชบัญญัติเขตพัฒ นาพิเ ศษภาคตะวัน ออก พ.ศ. ๒๕๖๑
(Eastern Economic Corridor Act : EEC Act)
๒) ต้องมีการศึกษาขั้น สมบูรณ์ (Full Feasibility Study) อย่างละเอียดถี่ถ้วนเพื่อให้ลด
ผลกระทบในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่งแวดล้อมและด้านความมั่นคงของประเทศ การศึกษาข้อมูล
ทั้งด้านธรณีวิทยา ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านสังคม ฯ
เปรียบเทียบความเหมาะสมในทุกด้าน ทุกมิติ จะสามารถลดความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้นได้
๓) รัฐบาลต้องประกาศให้ การขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้
เป็น“วาระแห่งชาติ” เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติที่จะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในกาหนดระยะเวลา
๔) มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบาย และการขับเคลื่อนการขุดคลองไทย และการพัฒนา
พื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็นประธาน และรองนายกรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมาย
เป็นรองประธานรัฐมนตรีทุกกระทรวงเป็นกรรมการ มีสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
เป็นกรรมการ และเลขานุการ
๕) รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณหรือหาแหล่งทุนเพื่อการศึกษาเชิงลึกในการดาเนินงาน
ในทุ ก มิ ติ ทั้ ง ภาพรวมและเชิ ง พื้ น ที่ ควบคู่ ไ ปกั บ การขั บ เคลื่ อ นในมิ ติ ท างด้ า นสั ง คมและด้ า นอื่ น ๆ
อีกด้วย
อย่ า งไรก็ ต าม การที่ จ ะพิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น
เขตเศรษฐกิจ พิ เศษ หลั กการพิจ ารณา คือ การคานึงถึง “ผลประโยชน์ของชาติ ” (National Interest)
เป็นเป้าหมายสูงสุด การศึกษาข้อมูล เบื้ องต้น (Pre-Feasibility Study) ทั้งด้านธรณีวิทยาด้านวิศวกรรม
ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มด้ า นความมั่ น คง ด้ า นเศรษฐกิ จ ด้ า นกฎหมายฯ และท าการศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บ
ความเหมาะสมในทุกด้านทุกมิติ จะสามารถลดความเสี่ย ง และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ตาม
ที่สาคัญที่สุด คือ “มติมหาชน” ที่จะต้องสร้างการรับรู้อย่างรอบด้านสร้างการมีส่วนร่วมในการตัดสิ นใจ
และประชาพิจารณ์

3.2 ผลการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ได้พิจารณากาหนด
กรอบการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาให้เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้
(เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทอง : The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) เพื่ อ บรรลุ ต าม
เป้าประสงค์ที่ได้กาหนดไว้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
๗๔

๓.๒.๑ ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ประเทศไทยประสบกับ ปัญหาวิ กฤติเ ศรษฐกิจ ถดถอยหลั งจากวิ ก ฤตเศรษฐกิจ การเงิ น
ในปี ๑๙๙๗ และไม่ ส ามารถก้ า วข้ า มการเป็ น ประเทศพั ฒ นาที่ อ ยู่ ใ นกั บ ดั ก ประเทศรายได้ ป านกลาง
(Middle Income Trap) ปัจจุบันอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่ค่อนข้างต่าเมื่อเทียบกับประเทศเกิดใหม่
(Emerging Economy) อื่น ๆ ยิ่งกว่านั้นพบว่าหนี้ครัวเรือนมีอัตราสูงกว่า ร้อยละ ๘๐ ของผลิตภัณฑ์มวล
รวมประชาชาติ และหนี้สาธารณะที่มีแนวโน้มสูงขึ้น ปัญหาความยากจนในชนบท ปัญหาเสถียรภาพทาง
การเมือง ความขัดแย้งทางการเมืองและการเพิ่มขึ้นของค่าจ้างแรงงานเป็นปัจจัยทาให้นักลงทุนต่างชาติทั่ว
โลกมีแนวโน้มย้ายฐานการผลิตไปยังประเทศเพื่อนบ้าน (CLMV) การสร้างอนาคตของประเทศไทยจาเป็น
ต้ อ งพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น และมี ก ารลงทุ น ขนาดใหญ่ เ พื่ อ พลิ ก ประเทศไทยให้ ฟื้ น คื น
ในระยะยาว โครงการศึกษาเพื่อพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (GASEZ) หรือเรียกว่าคลองไทยภาคใต้
เป็นทางเลือกหนึ่งที่ควรได้รับการพิจารณาจากสาธารณชน
ข้อเสนอให้มีการศึกษาความเป็นไปได้อย่างละเอียดว่าด้วยโครงสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษขวาน
ทองภาคใต้ (GASEZ) เป็ น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ใหม่ ข องโลก ผ่ า นคลองไทย ๔ เส้ น เชื่ อ มทะเลอั น ดามั น
และทะเลอ่าวไทย แบ่งเป็นคลองระยะทาง ๑๓๐ กิโลเมตร กว้าง ๑ กิโลเมตรจานวน ๒ คลอง โดยแต่ละคลอง
ห่ า งกั น ๑๐ กิ โ ลเมตร ลึ ก ๔๐ เมตร และ คลองกว้ า ง ๒๐๐ เมตร ลึ ก ๑๕ เมตร จ านวน ๒ คลอง
ซึ่งขนานไปกับ ๒ คลองใหญ่ โดยห่างออกไป คลองละ ๕ กิโลเมตร เพื่อเป็นเส้ นทางเดินเรือใหม่ที่ส าคัญ
ของโลกมีท่าเรือน้าลึก ทันสมัย และมีความสมบูรณ์มากที่สุดในโลก
การพัฒ นาคลองไทย มีข้อเสนอกาหนดพื้นที่พัฒ นาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบริหาร
จัดการน้าอุปโภค - บริโภค (GASEZ Water) อุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบริหารจัดการไฟฟ้าพลังงานสะอาด
และอุตสาหกรรมเทคโนโลยีการบริหารระบบนิเวศนวัตกรรม นอกจากนี้การศึกษาวิเคราะห์โครงการยังมีผล
ขยายเพื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพเศรษฐกิ จ ที่ ต่ อ เนื่ อ งจากการขนส่ ง สิ น ค้ า ระหว่ า งประเทศ เช่ น อุ ต สาหกรรม
พาณิ ช ย์ น าวี ต่ อ เรื อ ซ่ อ มบ ารุ ง การท่ อ งเที่ ย ว การบริ ก าร กลุ่ ม อุ ต สาหกรรมที่ มี ก ารเจริ ญ เติ บ โตเร็ ว
(S - Curve) อุตสาหกรรมค้าส่ง อุตสาหกรรมค้าปลีก และพัฒนา สาธารณูปโภคพื้นฐาน ทางเรือ ทางอากาศ
และทางบก โครงสร้ า งพื้ น ฐานโลจิ ส ติ ก ส์ ด้ า นการขนส่ ง เพื่ อ เพิ่ ม ช่ อ งทางการส่ ง ออกสิ น ค้ า น าไปสู่
การขยายตัวของผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ในระยะยาวให้กับประเทศไทย
การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้เริ่มจากการผลั กดันให้มี การวิจัยและการ
พั ฒ นาคุ ณภาพชี วิ ต และระบบการศึ ก ษาเพื่ อยกระดั บสวั ส ดิ ก ารขั้ น พื้ น ฐาน ยกระดั บชี วิ ตความเป็ น อยู่
ของประชาชนให้ ดี ขึ้ น ให้ ค นมี ศั ก ยภาพการท างาน มี อ งค์ ค วามรู้ ใ หม่ เพื่ อ ให้ มี ร ายได้ สู ง ขึ้ น ทั ด เที ย ม
นานาประเทศที่พัฒนาแล้ว อีกทั้งประเทศไทยมีความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ในการเป็นศูนย์กลางของภูมิภาค
ที่ มี ศั ก ยภาพ ในการรองรั บ การค้ า การลงทุ น ระหว่ า งประเทศ ที่ มี แ นวโน้ ม เริ่ ม เปลี่ ย นฐานการผลิ ต
และการลงทุนมาสู่ภูมิภาคเอเชีย ควบคู่ไปกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและส่งเสริมนวัตกรรมพลังงานสะอาด
ทั้ ง นี้ ในการศึ ก ษานี้ ได้ ท าการศึ ก ษาโดยอิ ง แนวทางของสภาเศรษฐกิ จ โลก ( WEF)
ซึ่งประกอบด้วยคุณลักษณะดังต่อไปนี้
๑) มี ความยื ด หยุ่ น (Be Resilient) การออกแบบกลไกทางเศรษฐกิ จ ที่ ส ามารถป้ อ งกั น
วิกฤตการณ์การเงิน เศรษฐกิจตกต่า และ “ช็อค” จากภายนอกได้
๗๕

๒) มีความปราดเปรี ยว (Be Agile) การเปิดรับความเปลี่ ยนแปลงมากกว่าฝื นตัวต่ อต้ าน


ภาครัฐ ภาคเอกชน และแรงงานปรับตัวและเก็บเกี่ยวดอกผลจากโอกาสใหม่ในวิธีการใหม่ได้เร็ว
๓) มี ก ารสร้ า งระบบนิ เ วศนวั ต กรรม (Build An Innovation Ecosystem) ระบบนิ เ วศ
นวั ตกรรมที่ ดี จ ะต้ องสร้ างแรงจู งใจให้ ค นในระบบมี ส่ ว นท าให้ ความคิ ด ใหม่ เกิ ดขึ้ น และแปลงความคิ ด
เน้นให้เป็นนวัตกรรมที่เป็นรูปธรรมได้
๔) ใช้ ก ารพั ฒ นาที่ มี ม นุ ษ ย์ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลาง (Adopt a Human - Centric Approach To
Economic Development) โดยตระหนั กว่ า ทุ น มนุ ษ ย์ จ าเป็ นต่ อ การสร้ างความมั่ ง คั่ ง และความรุ่ ง เรื อ ง
ของเศรษฐกิจ และมองเห็ นว่านโยบายใดที่บั่นทอน “มนุษย์ ” ย่อมส่ งผลเสี ยต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจ
ในระยะยาว ผู้กาหนดนโยบายต้องมั่นใจว่า นโยบายและการปรับใช้เทคโนโลยีมีเป้าหมายเพื่อยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของผู้คน
๓.๒.๒ วัตถุประสงค์ของการศึกษา
๑) เพื่อศึกษายุ ทธศาสตร์ช าติในมิติการสร้างขีดความสามารถในการแข่ง ขันระดับ โลก
โดยมี เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ มุ่ ง เน้ น การยกระดั บ ศั ก ยภาพของประเทศในหลายมิ ติ บนพื้ น ฐานแนวคิด
๓ ประการ ได้แก่ ๑) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์ วัฒนธรรมประเพณี
วิถีชีวิตและจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้งความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศ
ในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจ
และสังคมโลกสมัยใหม่ ๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคตผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
ในมิติต่างๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่ง โครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และดิจิทัล
และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและบริการในอนาคตและ ๓) “สร้างคุณค่าใหม่
ในอนาคต” ด้ ว ยการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู้ ป ระกอบการ พั ฒ นาคนรุ่ น ใหม่ ร วมถึ ง ปรั บ รู ป แบบธุ ร กิ จ
เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการต่อยอด
อดี ต และปรั บ ปั จ จุ บั น พร้ อ มทั้ ง การสนั บ สนุ น จากภาครั ฐ ให้ ป ระเทศไทยสามารถสร้ า งฐานรายได้
และจ้ า งงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้ า และการลงทุ น ในเวที โ ลก ควบคู่ ไ ปกั บ การยกระดั บ รายได้
และการกิ น ดี อ ยู่ ดี ร วมถึ ง การเพิ่ ม ขึ้ น ของชนชั้ น กลางและลดความเหลื่ อ มล้ าของคนในประเทศได้
ในคราวเดียวกัน
๒) เพื่ อ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ใ หม่ ใ นการพั ฒ นาภาคใต้ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทอง
(The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) ซึ่งตั้งอยู่ในพื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่ จังหวัด กระบี่
จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และจังหวัดนครศรีธรรมราช สาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง
คลองไทยนี้กาหนดให้มีเส้นทางเดินเรือใหม่ของโลก ที่เชื่อมระหว่างมหาสมุทรอินเดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก
โดยใช้ แนว ๙A (รายงานวุฒิสมาชิก พ.ศ. ๒๕๔๘) เพื่อรองรับการขนส่ง และธุรกิจทางทะเลระดับนานาชาติ
เร่งพัฒนากลุ่ มอุตสาหกรรม S - Curve ผสมผสาน การบริหารจัดการทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมโดยใช้
อุ ต สาหกรรมธุ ร กิ จ พลั ง งานสะอาด ระบบนิ เ วศนวั ต กรรม ด้ า นน้ า อุ ป โภค บริ โ ภค ให้ พ อเพี ย ง
ต่อความต้องการ
๗๖

๓.๒.๓ ทฤษฎี แนวคิด และเอกสารที่เกี่ยวข้อง


๓.๒.๓.๑ ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) เป็นยุทธศาสตร์ชาติฉบับแรกของ
ประเทศไทย ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย เป้าหมายการพัฒนาประเทศ คือ “ประเทศชาติ มั่นคง
ประชาชนมีความสุ ข เศรษฐกิจ พัฒ นาอย่ างต่ อเนื่ อง สั งคมเป็นธรรม ฐาน ทรัพยากรธรรมชาติยั่ ง ยื น ”
โดยยกระดับ ศั ก ยภาพของประเทศในหลากหลายมิ ติ พัฒ นาคนในทุ ก มิ ติแ ละในทุ กช่ว งวัย ให้ เ ป็น คนดี
เก่ง และมีคุณภาพ สร้ างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม สร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตร
กับสิ่งแวดล้อม และมีภาครัฐของประชาชนเพื่อประชาชน และประโยชน์ส่วนรวม โดยการประเมินผลการ
พั ฒนาตามยุ ทธศาสตร์ ชาติ ประกอบด้ วย ๑) ความอยู่ ดี มี สุ ขของคนไทย และสั งคมไทย ๒) ขี ดความสามารถ
ในการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ และการกระจายรายได้ ๓) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ
๔) ความเท่าเทียม และความเสมอภาคของสังคม ๕) ความหลากหลายทางชีวภาพ คุณภาพสิ่งแวดล้อม
และความยั่ ง ยื น ของทรั พ ยากรธรรมชาติ และ ๖) ประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การและการเข้ า ถึ ง
การให้บริการของภาครัฐ
การสร้างสมดุลระหว่าง การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อมประกอบด้วย
๖ ยุทธศาสตร์ ได้แก่
๑) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๓) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนา และเสริมสร้างศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย์
๔) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม
๕) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๖) ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุล และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
สาหรับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการ
พัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด ๓ ประการ ได้แก่
๑) “ต่ อ ยอดอดี ต ” โดยมองกลั บ ไปที่ ร ากเหง้ า ทางเศรษฐกิ จ อั ต ลั ก ษณ์ วั ฒ นธรรม ประเพณี วิ ถี ชี วิ ต
และจุ ดเด่น ทางทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ห ลากหลาย รวมทั้งความได้ เปรียบเชิง เปรี ยบเที ยบของประเทศ
ในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรั บกับบริบทของเศรษฐกิจ
และสังคมโลกสมัยใหม่ ๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ
ในมิติต่าง ๆ ทั้งโครงข่ายระบบคมนาคมและขนส่งโครงสร้างพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและดิจิทัลและ
การปรั บ สภาพแวดล้ อมให้ เอื้อต่อการพัฒ นาอุตสาหกรรมและบริการอนาคตและ ๓) “สร้างคุณค่าใหม่
ในอนาคต” ด้ ว ยการเพิ่ ม ศั ก ยภาพของผู้ ป ระกอบการพั ฒ นาคนรุ่ น ใหม่ รวมถึ ง ปรั บ รู ป แบบธุ ร กิ จ
เพื่ อ ตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของตลาด ผสมผสานกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ร องรั บ อนาคต บนพื้ น ฐาน
ของการต่อยอดอดีตและปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐ ให้ประเทศไทยสามารถสร้าง
ฐานรายได้และการจ้า งงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการยกระดั บ
รายได้ แ ละการกิ น ดี อ ยู่ ดี รวมถึ ง การเพิ่ ม ขึ้ น ของคนชั้ น กลางและลดความเหลื่ อ มล้ าของคน
ในประเทศได้ในคราวเดียวกัน ตัวชี้วัด ประกอบด้วย ๑) รายได้ประชาชาติ การขยายตัวของผลิตภัณฑ์ มวล
รวมภายในประเทศ และการกระจายรายได้ ๒) ผลิ ต ภาพการผลิ ต ของประเทศทั้ ง ในปั จ จั ย การผลิ ต
๗๗

และแรงงาน ๓) การลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา ๔) ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยประเด็น


ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ประกอบด้วย ๕ ประเด็น ได้แก่
๑) การเกษตรสร้ า งมู ล ค่ า ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การเพิ่ ม ผลิ ต ภาพการผลิ ต
ทั้งเชิงปริมาณและมูลค่า และความหลากหลายของสินค้าเกษตร ประกอบด้วย ๑) เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
๒) เกษตรปลอดภัย ๓) เกษตรชีวภาพ ๔) เกษตรแปรรูป และ ๕) เกษตรอัจฉริยะ
๒) อุต สาหกรรมและบริ การแห่งอนาคต โดยสร้ างอุตสาหกรรมและบริ การ
แห่งอนาคต ที่ขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ประเทศที่พัฒนาแล้วด้วยนวัตกรรม และเทคโนโลยีแห่งอนาคต
ประกอบด้วย ๑) อุตสาหกรรมชีวภาพ ๒) อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร ๓) อุตสาหกรรมและ
บริ ก ารดิ จิ ทั ล ข้ อ มู ล และปั ญ ญาประดิ ษ ฐ์ ๔) อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารขนส่ ง และโลจิ ส ติ ก สและ
๕) อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๓) สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว โดยการรักษาการเป็นจุดหมาย
ปลายทางที่สาคัญของการท่องเที่ยวระดับโลกที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวทุกระดับและเพิ่มสัดส่วนของนักท่องเที่ยว
ที่มีคุณภาพสูง ประกอบด้วย ๑) ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ๒) ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ๓) ท่องเที่ยว
เชิงสุขภาพความงามและแพทย์แผนไทย ๔) ท่องเที่ยวสาราญทางน้าและ ๕) ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔) โครงสร้ า งพื้น ฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก ครอบคลุ มถึงโครงสร้างพื้นฐาน
ทางกายภาพในด้ า นโครงข่ า ยคมนาคมพื้ น ที่ แ ละเมื อ ง รวมถึ ง เทคโนโลยี ตลอดจนโครงสร้ า งพื้ น ฐาน
ทางเศรษฐกิจ ประกอบด้วย ๑) เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ ๒) สร้าง และพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๓) เพิ่ ม พื้ น ที่ แ ละเมื อ งเศรษฐกิ จ ๔) พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานเทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ แ ละ ๕) รั ก ษา
และเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
๕) พั ฒ นาเศรษฐกิ จ บนพื้ น ฐานผู้ ป ระกอบการยุ ค ใหม่ สร้ า งและพั ฒ นา
ผู้ประกอบการยุคใหม่ ที่มีทักษะและจิตวิญญาณของการเป็นผู้ประกอบการ ที่มีความสามารถในการแข่งขัน
และมี อั ต ลั ก ษณ์ ชั ด เจน ประกอบด้ ว ย ๑) สร้ า งผู้ ป ระกอบการอั จ ฉริ ย ะ ๒) สร้ า งโอกาสเข้ า ถึ ง บริ ก าร
ทางการเงิน ๓) สร้ างโอกาสเข้าถึงตลาด ๔) สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล และ๕) ปรับบทบาทและโอกาส
การเข้าถึงบริการภาครัฐ (สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ม.ป.ป)
๓.๒.๓.๒ แผนแม่บทตามยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
กาหนดให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค จึงควรผลักดัน
และส่ ง เสริ ม ให้ เ กิ ด การลงทุ น ในประเทศ ส่ ง เสริ ม การส่ ง ออกและให้ มี ก ารใช้ เ ทคโนโลยี ส มั ย ใหม่
ในการผลิ ต สิ น ค้ า และเป็ น ศู น ย์ ก ลางในการกระจายสิ น ค้ า ในภู มิ ภ าค ซึ่ ง จะเป็ น การสร้ า งความมั่ น คง
ทางเศรษฐกิ จ และส่ ง เสริ ม ความสามารถทางการแข่ ง ขั น ของประเทศ การจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ
จึงเป็นการพัฒนาเขตเศรษฐกิจของประเทศไทยเพื่อประโยชน์ต่อการส่ งเสริม สนับสนุนและอานวยความ
สะดวก รวมทั้ ง ให้ สิ ท ธิ พิ เ ศษบางประการในการด าเนิ น กิ จ การต่ า ง ๆ เช่ น การประกอบอุ ต สาหกรรม
การพาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อดึงดูดการลงทุน
โดยตรงจากต่างชาติ และยกระดั บ รายได้ ข องประชากรในประเทศ โดยพัฒ นาระบบโครงสร้ างพื้ น ฐาน
และเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ เ ศรษฐกิ จ และการค้ า ในพื้ น ที่ มี ค วามสะดวกรวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น
อีกทั้งยังส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคและสร้างรายได้ให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่
๗๘

๓.๒.๓.๓ ความเป็นมาทางภูมิยุทธศาสตร์ในการแข่งขันของคลองไทยในระดับโลก
ประเทศไทยประสบกั บ ความผั น ผวนวิ ก ฤตเศรษฐกิ จ หลายครั้ ง สงคราม
ทางการค้าระหว่าง ประเทศจีนและสหรัฐอเมริกาน่าจะมีความรุนแรงขึ้น จนอาจส่งผลกระทบต่อการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศไทยและอนุภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ตลอดจนเอเชียตะวันออก เพื่อที่จะรักษา
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ให้สามารถบริหารจัดการได้ในระยะยาว ประเทศต่างๆ เหล่านี้ต้องการ
การลงทุนขนาดใหญ่ที่จะขับเคลื่อ นระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศใหม่ คลองไทยจึงเป็นคาตอบที่จะช่วย
แก้ปัญหาเหล่านี้ ได้อีกช่องทางหนึ่ ง โดยนาความได้เปรียบทางภูมิศาสตร์ที่ประเทศไทยมีแผ่ นดินที่เชื่ อม
๒ มหาสมุทร นั่นคือ มหาสมุทรแปซิฟิก กับมหาสมุทรอินเดีย ซึ่งมีประเทศจานวนมากมายตั้งอยู่รายรอบ
ซึ่งหากนับจานวนประชากรแล้วนั้นรวมกันไม่น้อยกว่า ๔,๐๐๐ ล้านคน ซึ่งหากคลองไทยสามารถเชื่อมต่อ
ประเทศต่าง ๆ เหล่านี้ในการทาการค้า โดยที่มีประเทศไทยเป็นศูนย์กลางทฤษฎีสมุทานุภาพ (The Sea Power)
ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ทางทะเลและยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจที่สาคัญ การมีพาณิชย์นาวีที่เข้มแข็ง และการมี
ช่องทางเดินเรือไปสู่ตลาดโลกด้วยคลองไทย จะทาให้ประเทศไทยและภูมิภาคนี้มีความรุ่งเรือง มั่งคั่ง มั่นคง
ทางด้ า นเศรษฐกิ จ และความมั่ น คงทางเศรษฐกิ จ อี ก ทั้ ง จะก่ อ ให้ เ กิ ด ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ
ทั้งในทางสังคม การเมือง การปกครอง และการต่างประเทศ
ด้ ว ยเหตุ ผ ลนี้ ทุ ก ฝ่ า ยทั้ ง ภาครั ฐ เอกชนและประชาชน จึ ง ควรสนั บ สนุ น
ให้มีการศึกษาเพื่อขุดคลองเชื่อมระหว่างมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก ซึ่งจะก่อให้เกิดเส้นทาง
เดินเรือของโลกสายใหม่ ที่มีประเทศไทยอยู่ในเส้นทางเดินเรือพาณิชย์โลก ซึ่ งเส้นทางการเดินเรือสายใหม่นี้
จะเป็ น เส้ น ทางเดิ น เรื อ ที่ สั้ น กว่ า เส้ น ทางเดิ น เรื อ ที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น และลดเวลาการเดิ น เรื อ ที่ ไ ม่ ต้ อ ง
ผ่านช่องแคบมะละกา ได้ ๑ – ๒ วัน (๑,๒๐๐ กิโลเมตร) และช่องแคบซุนดา ช่องแคบลอมบอกไม่น้อยกว่า
๔ – ๕ วั น นอกจากนี้ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อ แห่ ง ใหม่ นี้ จะพั ฒ นาให้ ส องฝั่ ง คลองเป็ น เมื อ งอุ ต สาหกรรม
การท่าเรือ การขนส่ง การท่องเที่ยว ศูนย์กลางคมนาคมทั้งทางบก ทางอากาศและทางน้า รวมทั้งกาหนดให้เป็น
เขตเศรษฐกิ จ ที่ จ ะก่ อให้ เ กิ ด การลงทุ น ทั้ งภาคอุ ตสาหกรรม เกษตรกรรม ที่ จะก่ อให้ เ กิ ดการจ้ า งงาน
และก่อให้เกิดรายได้ทั้งภาครัฐ - เอกชนและประชาชนอย่างมหาศาล เป็นการเสริมสร้างรากฐานทางเศรษฐกิจ
ของประเทศชาติ และประชาชนให้เข้มแข็งมั่งคง พร้อมที่จะเป็นศูนย์กลางการค้า การเงินของภูมิภาคเอเชียต่อไป
๓.๒.๓.๔ ลักษณะทางกายภาพของคลองไทย
คลองไทย (Thai Canal) หมายถึง คลองที่ขุดขึ้นเชื่อมต่อทะเลอันดามันมหาสมุทร
อินเดียกับอ่าวไทย มหาสมุทรแปซิฟิกในภาคใต้ของไทย เป็นเส้นทางเดินเรือแห่งใหม่ของโลก คลองไทย
ดั ง กล่ า วนี้ อยู่ ใ นขั้ น การวางแผน และท าการศึ ก ษาโดยก าหนดแนวคลองขึ้ น มา เป็ น สั ญ ลั ก ษณ์
เพื่อการศึกษา ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิสภา
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ – ๒๕๔๘ แนวคลอง ๙A โดยสมาคมคลองไทย แนวคลอง ๙A แต่ได้มีการปรับ ปรุง
ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และสังคมตามที่ประชาชนในพื้นที่ให้ข้อคิดเห็นเป็นหลักการไว้ตามที่ได้กล่าวแล้ว คือ
๑) แนวคลองต้องไม่ผ่านชุมชนขนาดใหญ่ แหล่งอนุรักษ์วัฒนธรรมที่สาคัญ ๆ ในพื้นที่
๒) แนวคลองต้องไม่ทาลายแหล่งท่องเที่ยวสาคัญ ๆ
๓) แนวคลองต้องไม่ผ่านโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
๔) แนวคลองต้องไม่ทาให้แหล่งน้าจืดขนาดใหญ่เสียหาย
๕) แนวคลองต้องไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมสาคัญ ๆ ที่ต้องอนุรักษ์
๗๙

สมาคมคลองไทยร่วมกับภาคีองค์กรร่วมภาคประชาชน ได้แก่ สมาคมชาวปักษ์ใต้


ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมกานันผู้ใหญ่บ้านแห่งประเทศไทย มูลนิธิร่วมพัฒนาภาคใต้ และผู้นาชุมชน
ในพื้ น ที่ ท าการศึ ก ษาแนวคลองไทย ๙A โดยให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ มี ส่ ว นร่ ว มตั้ ง แต่ ต้ น ท าให้ ไ ด้ แ นว
คลองไทยใหม่ คือ ปากทางเข้าทางด้านทะเลอันดามันอยู่บริเวณ ตาบลเขาไม้แก้ว อาเภอสิเกา จังหวัดตรัง
ผ่านไปยังพื้นที่ อาเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อาเภอวังวิเศษ อาเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เข้าสู่พื้นทีจ่ ังหวัด
นครศรีธรรมราช ในพื้นที่อาเภอรัษฎา อาเภอทุ่งสง อาเภอชะอวด และพื้นที่จังหวัดพัทลุง อาเภอป่าพะยอม
อาเภอควนขนุน ออกสู่อ่าวไทยที่ตาบลท่าบอน อาเภอระโนด จังหวัดสงขลา รวมระยะทาง ๑๓๕ กิโลเมตร
กว้าง ๔๐๐ เมตร และลึก ๓๐ เมตร การขุดคลองไทยนี้ถือเป็น World Mega Project ซึ่งมีการประเมิน
ว่าจะใช้เงินลงทุนสาหรับการขุดคลอง ๒๘,๐๐๐ ล้านดอลล่าสหรัฐ สาหรับการพัฒนาท่าเรือเขตเศรษฐกิจ
พิ เ ศษ เขตอุ ต สาหกรรมตามแนวคลอง ๒๒,๐๐๐ ล้ า นดอลล่ า สหรั ฐ รวมเป็ น ๕๐,๐๐๐ ล้ า น USD
และใช้เวลาขุดประมาณ ๕ ปี
คลองไทยเป็ น คลองขุ ด ที่ มี ก ารศึ ก ษาและวิ จั ย อย่ า งรอบด้ า น โดยมี ก ารน า
เทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการขุดคลอง และการบริหารจัดการที่ดี สามารถวางแผนและดาเนินการให้เป็น
คลองนานาชาติ ที่ ทั น สมั ย และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู งสุ ด ได้ ในยุ ค ปัจ จุ บัน ดั ง นั้ น คลองไทยจึ ง มี ศั ก ยภาพสู ง
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑) มีศักยภาพในการแก้ไขปัญหาทางโลจิสติกส์ (Logistics) ของการขนส่งทางเรือ
ระหว่างประเทศ เป็นการเปิดเส้นทางเดินเรือที่สั้นที่สุด ในการเชื่อมมหาสมุทรอินเดียกับมหาสมุทรแปซิฟิก
๒) ตั้งอยู่บนจุดยุทธศาสตร์ที่ เป็นศูนย์กลางของประเทศอาเซี ย นและประเทศ
ในภาคพื้นเอเชีย - แปซิฟิก เป็นจุดสาคัญในการบูรณาการการขนส่งทางบกและทางทะเล (Integration of
Sea and Land Transport)
๓) เป็ น โครงสร้ า งพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ ที่ เ ชื่ อ มกั บ อุ ต สาหกรรมขนาดใหญ่
(Mass Industries) หรื อ ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคตะวั น ออกของไทย (EEC ) SEC และ SEZ ในภาคใต้
และทั่วทุกภาคของประเทศได้เป็นอย่างดี สามารถทารายได้ให้แก่ประเทศชาติและประชาชนได้อย่างไม่มี
ที่สิ้นสุด
๔) เป็นคลองระดับโลก สามารถสร้างความมั่นคงปลอดภัย ในการเดินเรือของโลก
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในขณะที่การปล้นจี้เรือสินค้าในช่องแคบมะละกา ซุนดา ลอมบอก มีปริมาณสูงขึ้น
ประกอบกั บ ช่ อ งแคบมะละกาเต็ ม ไปด้ ว ยเกาะแก่ ง มากมาย สะดวกแก่ ก ารซุ่ ม โจมตี โ ดยผู้ ก่ อ การร้ า ย
อาจทาให้การเดินเรือของโลกต้องหยุดชะงักลง ซึ่งจะมีผลต่อเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลกได้
๕) เป็นตัวเชื่อม (Linkage) สาคัญที่จะนาไปสู่ การพัฒ นาเศรษฐกิจแบบดิ จิทัล
(Digital Economy) ในยุค E - Commerce และด้วยระบบ Logistics ที่ทันสมัย สามารถเชื่อมมหานครเซี่ยงไฮ้
ศูนย์กลางเศรษฐกิจของมหาสมุทรแปซิฟิก และมหานครบุมไบ ศูนย์กลางเศรษฐกิจของมหาสมุทรอินเดีย
เข้าด้วยกันโดยใช้เวลาเพียง ๔๘ ชั่วโมง
๖) คลองไทยจะส่งเสริมให้ประเทศไทยเป็น ศูนย์กลางทางการเงินในอนุภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ที่สามารถระดมทุนสาหรับการสร้างคลองและการเชื่อมโยงกับ โครงการพัฒนา
เส้นทางสายใหม่ (Belt Road Initiative) ของประเทศจีนทางทะเลและทางบกต่อไป
๘๐

๓.๒.๔ การศึกษาและทบทวนเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ประเทศในเอเชียที่ประสบความสาเร็จในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษที่มีความน่าสนใจ
และอาจน ามาเป็ น แบบอย่ า งในการพั ฒ นาส าหรั บ ประเทศไทยยกตั ว อย่ า งเช่ น การบริ ห ารจั ด การ
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษเมื อ งเซิ น เจิ้ น ประเทศจี น และการบริ ห ารจั ด การเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอี ส กั น ดาร์
ประเทศมาเลเซีย
๓.๒.๔.๑ เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเซินเจิ้น สาธารณรัฐประชาชนจีน
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษเมื อ งเซิ น เจิ้ น (Shenzhen Special Economic Zone :
SSEZ) เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษแห่งแรกและมีขนาดใหญ่ที่สุดของสาธารณรัฐประชาชนจีน มีบทบาทสาคัญ
อย่างมากในการปฏิรู ปเศรษฐกิจ ของสาธารณรัฐประชาชนจีน จากเมืองหมู่บ้านชาวประมงที่มีประชากร
เพียง ๓๐,๐๐๐ คนและมีพื้น ที่ประมาณ ๒,๐๐๐ ตารางกิโลเมตร สามารถพัฒนามาเป็นเมืองที่ทันสมัย
ก้าวหน้าอยู่ในระดับต้น ๆ ของเอเชีย และสร้างรายได้ให้แก่รัฐบาลกลางกว่า ๒๐๐,๐๐๐ ล้านหยวนต่อปี
เขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้นมีการจัดการอุตสาหกรรมครบวงจรมีการแข่งขัน กันในสินค้าประเภทต่าง ๆ เช่น
สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ เหล็ก อาหาร เป็นต้น (สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา, ๒๕๔๖) การพัฒนาเขต
เศรษฐกิจพิเศษนี้ นอกจากจะเป็นการชักจูงแรงงานที่มีฝีมือจากต่างประเทศให้มาทางานในประเทศ แล้วยัง
ดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ (Foreign Direct Investment : FDI) เพื่อนาการพัฒนาหมู่บ้านชายทะเลสู่
ศูนย์กลางทางการเงินและการลงทุน อีกทั้งยังช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตและลดความยากจนของประชาชนลงได้
โดยเฉพาะการเป็นเมืองตัวอย่างสาหรับการอยู่ร่วมกันระหว่างเขตอุตสาหกรรมและเขตชนบทที่สามารถ
สนับสนุนช่วยเหลือซึ่งกัน และกันจนนาไปสู่การพัฒนาประเทศได้อย่างยั่งยืน (เฉลิมพงศ์ ตั้งบริบูรณ์รัตน์
และเจตนา เหล่ ารั กวงศ์ , มปป.) เซิน เจิ้ นได้รับ การพั ฒ นาจากเมื องเศรษฐกิจ แบบธรรมดาสู่ ศูนย์ ก ลาง
ทางเศรษฐกิจทางภาคใต้ของประเทศจี น ที่มีความโดดเด่นทางด้านอุตสาหกรรมไฮเทคโนโลยีและเทคโนโลยี
สมัยใหม่ โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๐ อุตสาหกรรมโทรคมนาคม คอมพิวเตอร์และอิเล็กทรอนิกส์ คิดเป็นสัดส่วน
ประมาณร้อยละ ๕๐ ของอุตสาหกรรมทั้งหมดในเมืองเซินเจิ้น โดยบริษัทและผู้ประกอบการในเซินเจิ้น
มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่เป็นของตัวเอง โดยเมื่อสิ้นปี ๒๕๔๘ มี อย่างน้อย ๕ แบรนด์ (Brand) ของเซินเจิ้น
ที่มียอดขายรวมกันแล้วถึง ๑๐,๐๐๐ ล้านหยวนหรือประมาณ (๑.๒๕ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ) ตัวอย่างบริษัท
ที่ เ ป็ น ที่ รู้ จั ก เช่ น Huawei และ Zhongxing ในธุ ร กิ จ อุ ป กรณ์ สื่ อ สาร China International Marine
Containers (Group) Ltd ที่ ถื อ ครองส่ ว นแบ่ ง ตลาดโลกมากกว่ า ร้ อ ยละ ๓๐ รวมถึ ง หลายบริ ษั ท
ในอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ ซอฟแวร์ เครื่องวีดีโอโทรทัศน์ระบบดิจิตอล ยารักษาโรคและเครื่องแต่งกาย
เป็ น ต้น นอกจากนั้ น เซิน เจิ้ น ยั งเป็ น แหล่ งลงทุน ที่น่าสนใจส าหรับนักลงทุนจากต่างประเทศ โดยในปี
พ.ศ. ๒๕๒๒ เซินเจิ้นได้รับเงินลงทุนจากต่างประเทศกว่า ๑๕๓.๗ ล้านดอลลาร์สหรัฐ และปี ๒๕๔๙ เซินเจิ้น
ได้รับเงินลงทุนจากนักลงทุนจากต่างประเทศกว่า ๓.๒๗ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ทั้งจาก Ricoh, Toshiba,
Epson, Copier และ Xerox รว มถึ ง การล งทุ นจ า ก Wal-Mart, ๑๖๑ Compaq, Sony, Intel, IBM
และ Siemens ในเซิ น เจิ้ น (เฉลิ ม พงศ์ ตั้ ง บริ บู ร ณ์ รั ต น์ และเจตนา เหล่ า รั ก วงศ์ , มปป.) ส าหรั บ ปัจจัย
สู่ความสาเร็จของเขตเศรษฐกิจพิเศษเซินเจิ้นนั้น ปัจจัยแรก และเป็นปัจจัยที่สาคัญที่สุด คือ รัฐบาลกลางจีน
ได้ให้สิทธิในการออกนโยบายพิเศษ สาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเซินเจิ้น ที่ช่วยให้สามารถริเริ่มการสร้าง
สภาพแวดล้อมที่เพิ่มศักยภาพ ในการแข่งขันของเมือง โดยเฉพาะการดึงดูดเงินลงทุนสาหรับการค้าการลงทุน
จากต่างประเทศ ส่งผลให้ตั้งแต่ปี ๒๕๒๓ - ๒๕๕๐ เซินเจิ้น ได้รับการเงินลงทุนที่เพิ่มขึ้นปีละมากกว่าร้อยละ ๑๐
๘๑

ทุกปี และมีมูลค่าการส่งออกในปี ๒๕๕๐ กว่า ๑๖๘.๔๙ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ และยอดนาเข้ากว่า ๑๑๙.๐๔


พั น ล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ ปั จ จั ย ที่ ๒ เซิ น เจิ้ น เปรี ย บเสมื อ นบ้ า นส า หรั บ ชาวจี น จากมณฑลอื่ น
เป็นเมืองที่มีผู้อพยพจากต่างประเทศรวมถึงชาวจีนโพ้นทะเลทั่วโลกพักอาศัยอยู่ ซึ่งประชากรจากต่างถิ่นนี้
คิดเป็นร้อยละ ๘๐ ของจานวนประชากรทั้งหมดในเมืองเซินเจิ้น เพื่อเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจและดึงดูด
บุ ค ลากรที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถจากทั่ ว โลกด้ ว ยการให้ สั ญ ชาติ จี น ปั จ จั ย ที่ ๓ เซิ น เจิ้ น สามารถสร้ า ง
สภาพแวดล้อมทางการเงินเพื่อสร้างความมั่นใจสาหรับสถาบัน การเงินจากต่างประเทศ รวมถึงการลดความ
เสี่ยงในการประกอบธุรกิจของสถาบันการเงิน อีกทั้งยังเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน ปัจจัยที่ ๔ โครงสร้าง
พื้นฐานในเมืองเซินเจิ้นพร้อมรองรับการพัฒนา โดยท่าเรื อเมืองเซินเจิ้นจัดเป็นท่าเรืออันดับ ๔ ในการเป็น
เมืองท่าที่สาคัญของโลก สนามบินเซินเจิ้นที่จัดอยู่ในอันดับ ๔ ของสนามบินภายในสาธารณะรัฐประชาชนจีน
รวมถึงความพร้อมของถนน ระบบโทรคมนาคมและระบบสาธารณูปโภคไฟฟ้า ประปา ที่สร้างสภาพแวดล้อม
ที่เหมาะสมสาหรับการขนส่งในระบบต่าง ๆ ปัจจัยที่ ๕ เซินเจิ้นมีทาเลที่มีศักยภาพ เช่น มีสถานที่ตั้งติดทะเล
บริเวณจีนตอนใต้และอยู่ตรงข้าม เกาะฮ่องกง ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการพัฒนาของเกาะฮ่องกงอีกด้วย
ซึ่งการลงทุนจากต่างประเทศ ในช่วงแรกจะมาจากเกาะฮ่องกงเป็นส่วนใหญ่ ปัจจัยที่ ๖ การบริหารงานโดย
รัฐบาลของเซินเจิ้นที่เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนา และปฏิรูปการดาเนินงานอยู่เสมอ ปัจจัยที่ ๗
ความยืดหยุ่นของกฎหมายแรงงาน ปัจจัยที่ ๘ มีการเชื่อมโยงอย่างแนบแน่นระหว่างเขตเศรษฐกิจพิเศษ
กั บ เศรษฐกิ จ ในประเทศและปั จ จั ย ที่ ๙ มี ก ารจู ง ใจทางนโยบายทางการคลั ง ในเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ
โดยเฉพาะที่ ส ามารถตอบสนองต่ อ ความต้ อ งการของธุ ร กิ จ อุ ต สาหกรรมและเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษได้
(เฉลิมพงศ์ ตั้งบริบูรณ์รัตน์และ เจตนา เหล่ารักวงศ์, มปป.)
๓.๒.๔.๒ การบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย
เขตเศรษฐกิจ พิเศษอีส กันดาร์ เป็นเขตเศรษฐกิจส าคัญและมีแนวโน้มเติบโต
อย่างรวดเร็ว ตั้งอยู่ในรัฐยะโฮร์ ทางตอนใต้ฝั่งมาเลเซีย มีพื้นที่กว่า ๒,๒๑๗ ตารางกิโลเมตร รัฐบาลมาเลเซีย
ตั้ ง เป้ า หมายให้ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษแห่ ง นี้เ ป็ น สะพานเศรษฐกิ จเชื่ อ มโยงกั บ สิ ง คโปร์ ซึ่ ง เป็ น ศู น ย์ ก ลาง
ทางการค้าการลงทุนในภูมิภาคอาเซียน โดยใช้โอกาสจากที่ตั้งที่อยู่ติดกับสิงคโปร์ อีกทั้งเล็งเห็นข้อจากัด
ด้ า นกายภาพของสิ ง คโปร์ ที่ ไ ม่ ส ามารถขยายพื้ น ที่ อุ ต สาหกรรมในประเทศได้ ม ากนั ก ประกอบกั บ
ผู้ประกอบการของสิงคโปร์ที่ต้องเผชิญกับปัญหาค่าจ้างแรงงานสูงขึ้น ต่างวางแผนย้ายฐานการผลิตไปยัง
อีสกันดาร์ซึ่งมีค่าจ้างแรงงานต่ากว่าสิงคโปร์กว่าเท่าตัว ปัจจุบันมีโครงการลงทุนของสิงคโปร์ในอีสกันดาร์
กว่า ๓๐๐ โครงการ มูลค่าลงทุนไม่ต่ากว่า ๒,๐๐๐ ล้านดอลลาร์สิงคโปร์ แนวทางการพัฒนาอีสกันดาร์เป็นไป
อย่างครบวงจร ทั้งการเชื่อมโยงระบบขนส่งและโลจิสติกส์ ในหลายรูปแบบ และกลายเป็นเครื่องมือสาคัญใน
การดึงดูดการลงทุนใหม่ ๆ จากต่ างประเทศ รวมถึงรองรับโอกาสการลงทุนของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
โ ด ย มี ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ห ลั ก ๕ ป ร ะ ก า ร ไ ด้ แ ก่ ๑ ) ก า ร เ ป็ น พื้ น ที่ ช า ย แ ด น ร ะ ดั บ น า น า ช า ติ
๒) การขับเคลื่อนทางเศรษฐกิจและโครงการกระตุ้นเศรษฐกิจ ๓) การสร้างความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจ
และสังคม ๔) โครงสร้างกลไกการขับเคลื่อนและ ๕) การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐานประเภทกิจกรรมเศรษฐกิจ
เน้นด้านการบริการที่ต้องใช้แรงงานวิชาชีพ และอุตสาหกรรมที่อาศัยแรงงานมีทักษะ ได้แก่ อุตสาหกรรมปิ
โตรเคมี และไบโอดีเ ซล อุตสาหกรรมอิเล็ กทรอนิกส์ และอุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร/วัตถุดิบทาง
การเกษตร เพื่อให้สอดคล้ องกับ การพัฒนาประเทศให้ เป็น ประเทศรายได้สู ง ปัจจัยความสาเร็จของเขต
เศรษฐกิจพิเศษอีส กันดาร์ ประการแรก คือ ทาเลที่ตั้งอยู่ในจุดยุทธศาสตร์ที่ดี โดยมีพื้นที่ติดกับประเทศ
๘๒

สิงคโปร์ซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก จึงได้รับโอกาสในการพัฒนาอันเนื่องมาจาก
ข้อจากัดทางด้านพื้นที่ และค่าครองชีพที่สูงของ สาธารณะรัฐสิงคโปร์ ส่งผลให้อีสกันดาร์ได้รับประโยชน์
โดยตรงจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจจากสิงคโปร์สู่มาเลเซีย ประการที่ ๒) การมีระบบโครงสร้างพื้นฐานที่
ค่อนข้างสมบูรณ์โดยการประสานความร่วมมือระหว่างรัฐบาลกลาง และรัฐบาลท้องถิ่นเพื่อพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานทั้งระบบ น้า ระบบไฟฟ้า ถนน และสาธารณูปโภคต่าง ๆ ให้พร้อมรองรับการพัฒนาไว้ล่วงหน้า อีกทั้ง
ยังมีแผนความร่วมมือระหว่างประเทศ เพื่อพัฒนาระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูงเพื่อเชื่อมโยงพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
พิ เ ศษอี ส กั น ดาร์ กั บ สิ ง คโปร์ ใ ห้ ส ามารถรองรั บ การขนส่ ง มวลชนได้ สู ง สุ ด ถึ ง วั น ละ ๔๐๐,๐๐๐ คน
ประการที่ ๓) ประสิทธิภาพในการบริหารจั ดการเขตเศรษฐกิจพิเศษอีสกันดาร์ ซึ่งดาเนินตามนโยบายอย่าง
เคร่งครัดในการพิจารณาอนุมัติให้สิทธิประโยชน์เฉพาะแก่ธุรกิจที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาเท่านั้น
ประการที่ ๔) ความสามารถในการบริหารจัดการ และพัฒนาพื้นที่ได้อย่างสอดคล้อง และเป็นไปในทิศทาง
เดียวกันของ นโยบายระดับสูง ระดับรัฐ และระดับพื้นที่ ซึ่งส่งผลให้การพัฒนาท้องที่เขตเศรษฐกิจพิเ ศษ
เป็นไปตามเป้าหมายในการกระตุ้นเศรษฐกิจท้องถิ่น และยกระดับการพัฒนาประเทศมาเลเซียสู่การเป็น
ประเทศรายได้สูง (High - Income Developed Nation) โดยดาเนินการตามแผนแม่บทการพัฒนาพื้นที่
อย่างเคร่งครัดประการที่ ๕) มาตรการให้สิทธิประโยชน์ในพื้นที่โซนต่าง ๆ สอดคล้องกับนโยบายการพัฒนา
เพื่อกาหนดธุ ร กิ จ และอุ ตสาหกรรมที่เ ป็ น ประโยชน์ ต่ อ การพั ฒ นาเศรษฐกิจ อุ ตสาหกรรมที่เ ป็น มิ ต รกั บ
สิ่งแวดล้อม และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในวงกว้างและประการที่ ๖) มาตรการให้สิทธิประโยชน์ของการ
ถมทะเลให้เป็นพื้นดิน (Land Reclamation)
๓.๒.๕ ขอบเขตของการศึกษา
๑) ศึกษาสาระของยุทธศาสตร์ชาติในมิติการสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
๒) ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ใ หม่ ในการพั ฒ นาภาคใต้ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทอง
(The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) ตั้งอยู่บนพื้นที่ ๕ จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง
จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลาและจังหวัดนครศรีธรรมราช
๓.๒.๖ วิธีการศึกษา
การวิเคราะห์และสังเคราะห์ยุทธศาสตร์ใ นการพัฒนาภาคใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง
คลองไทยภาคใต้ (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) ตั้งอยู่บนพื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่
จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด สงขลาและจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช เป็ น การศึ ก ษา
เชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการศึกษาจากเอกสาร (Document Research) ที่สาคัญ ได้แก่
ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) แผนแม่บทตามยุทธศาสตร์แผนปฏิรูปประเทศและการศึกษาข้อมูล
จากหน่วยงานและการรับฟังข้อคิดเห็น จากผู้เชี่ยวชาญในบริบทที่เกี่ยวข้อง
๓.๒.๗ ประเด็นสาระสาคัญจากการศึกษา
ประเด็นที่หนึ่ง การพิจารณาศึกษาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ : เขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทอง The Golden Ax Special Economic Zone (GASEZ)
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย
ในด้านต่าง ๆ เกิดการพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจในพื้นที่ ดังนี้
๑) โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้า นคมนาคมและระบบโลจิ ส ติ ก ส์ การพั ฒ นาการขนส่ งทางเรือ
ทางอากาศ ทางบก ให้เป็นโครงข่ายหลักในการขนส่งของประเทศและรองรับการเชื่อมโยงกับการขนส่ ง
๘๓

รูปแบบอื่น ๆ รวมถึงสิ่งอานวยความสะดวกและศูนย์บริการโลจิสติกส์ในรูปแบบต่าง ๆ พร้อมทั้งพัฒ นา


กระบวนการและการบริหารจัดการระบบโลจิสติกส์ของประเทศ
๒) โครงสร้างพื้นฐานด้านพลังงาน ให้สามารถรองรับความต้องการใช้พลังงานของประเทศ
และมีการกระจายชนิ ด ของเชื้ อเพลิ ง ในการผลิ ต ไฟฟ้าเพื่ อให้ สามารถพึ่งพาตนเองได้ อย่ างยั่ งยืน ส่ งเสริม
ให้ เกิดการพั ฒนาโครงสร้ างพื้นฐานและระบบพลั งงานอั จฉริ ยะ เพื่ อ น าไปสู่ ก ารผลิ ต และการใช้ พ ลั ง งาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
๓) โครงสร้ า งพื้ น ฐานด้ า นดิ จิ ทั ล ทั้ ง ในส่ ว นของโครงข่ า ยสื่ อ สารหลั ก ภายในประเทศ
และระหว่างประเทศให้สามารถบริการได้อย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ พัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล
ที่ มี ศั ก ยภาพ และเป็ น อุ ต สาหกรรมแห่ ง อนาคตส าหรั บ กิ จ การที่ ใ ช้ เ ทคโนโลยี ขั้ น สู ง เพื่ อ รองรั บ
การเติบโตของการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต
๘๔

ตารางที่ 1 GASEZ Zoning / การพิจารณาศึกษาการจัดระเบียบกาหนดโครงสร้างการพัฒนาพื้นที่ GASEZ


GASEZ Zoning การพิจารณาศึกษาการจัดระเบียบกาหนดโครงสร้างการพัฒนาพื้นที่ GASEZ
Flagship GASEZ A เป็นฐานการท่องเที่ยวทางทะเลชั้นนาระดับโลก มีเป้าหมายเป็นประตูการค้าแห่งใหม่
ระดับนานาชาติ เชื่อมระหว่างอันดามันและอ่าวไทย การพัฒนาเชื่อมโยงระบบขนส่ง
และโลจิสติกส์ในหลายรูปแบบ รองรับการกระจายสินค้าและเชื่อมโยงเส้นทางธุรกิจกับ
นานาประเทศ และ เพื่ อ พั ฒ นาอสั ง หาริ ม ทรั พ ย์ ภ ายใต้ บริ บ ท (Green Smart City)
เชื่อมโยงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน อุโมงค์รถไฟฟ้าเชื่อมโยงส่วนอื่นใน ๕ จังหวัด และ
ภู มิ ภ าคอื่ น พร้ อ มกั บ ท่ า เรื อ น้ าลึ ก ระดั บ นานาชาติ (The International Deepest
Seaport) ที่มีศักยภาพเป็นเส้นทางเดินเรือใหม่ของโลก จุดประสงค์ เพื่อประหยัดต้นทุน
สินค้าทางทะเล ประหยัดพลังงานขนส่ง เพิ่มรายได้ให้คนใน ๕ จังหวัด และ ประชากรมวล
รวมของประเทศไทย การพัฒนาพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าให้พื้นที่ อสังหาริมทรัพย์ระหว่างตลอด
แนวคลอง ธุรกิจแหล่งจอดเรือและขนส่งสินค้านานาชาติ สถานที่ตั้ง LNG Hub และตลาด
โรงกลั่นน้ามันโลก และอุตสาหกรรมอู่ต่อเรือและซ่อม บารุง ศูนย์กลางธุรกิจและการเงิน
Flagship GASEZ B มี เ ป้ า หมายเพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ร าชการ และเขตอุ ต สาหกรรมส าคั ญ ของเมื อ งโดยเฉพาะ
อุตสาหกรรมพลังงานสะอาด ประกอบด้วย อุตสาหกรรมการจัดการน้า (Sustainable
GASEZ Water) อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า พลั ง งานสะอาด (Sustainable GASEZ Green
Electric Energy) อุตสาหกรรมปิโตรเคมี อุตสาหกรรมปาล์มน้ามัน ยางพารา เกษตรแปร
รูป อาหารทะเลแปรรูป อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล กลุ่มอุตสาหกรรม New S-curve
Flagship GASEZ C เป็นศูนย์รวมเศรษฐกิจการค้า ห้างสรรพสินค้า โรงแรม การผลิตสินค้าแห่งใหม่ระดับ
นานาชาติ ศูนย์การแพทย์ แหล่งท่องเที่ยวและให้มีศักยภาพโดดเด่นในการเป็นแหล่ง
ท่องเที่ยวทางทะเล ศูนย์กลางการกีฬาระดับนานาชาติ
Flagship GASEZ D มีเป้าหมายเพื่อเป็นศูนย์กลางการบินนานาชาติ (พัทลุง) ครอบคลุมอาคารผู้โดยสารศูนย์
ซ่อมอากาศยานและแหล่งศึกษาวิจัยศูนย์การเรียนรู้ระดับสากล ด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับ
วิทยาศาสตร์ และนิเวศน์นวัตกรรม การจัดการด้วยระบบนิเวศนวัตกรรมอย่างยั่งยืน
Flagship GASEZ E เป็นพื้นที่ท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism Zone) กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันโซน
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรมท้องถิ่น ประมงพื้นบ้าน มีทรัพยากรการท่องเที่ยวทางทะเล
ที่ มี ชื่ อ เสี ย งระดั บ โลก สนใจการท่ อ งเที่ ย วในความสนใจพิ เ ศษ (Special Interest
Tourism) เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Health Tourism) การท่องเที่ยวเชิงผจญภัย
(Adventure Tourism) การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ศาสนา (Spiritual Tourism) ต่ า ง ๆ การ
ท่องเที่ยวเพื่อการประชุมและนิทรรศการ (MICE) เป็นต้นสามารถรองรับตลอดจน พัฒนา
ภาคบริการเพื่อการขยายตัวของเศรษฐกิจในอนาคตได้
Flagship GASEZ F การจัดสรรพื้นที่ใหม่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย
Flagship GASEZ G พื้นที่การขุดคลองเชื่อมมหาสมุทรระหว่างฝั่งอันดามัน มหาสมุทรอินเดีย และฝั่งอ่าวไทย
มหาสมุทรแปซิฟิก เพื่อพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและคุณภาพชีวิตคนไทย และรองรับการ
เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจแห่งใหม่ของโลก ตลอดจนแหล่งกักเก็บน้าจืด สาหรับการบริโภค
และบริโบค รวมถึงการบริหารจัดการน้าในเขตประมง เขตเกษตรกรรม เขตอุตสาหกรรม
และภาคส่วนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
๘๕

GASEZ (The Golden Ax Special Economic Zone) เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง


ซึ่งกาหนดให้ใช้ภูมิรัฐศาสตร์ที่ตั้งแนว ๙A “เส้นทางเดินเรือใหม่ของโลก” เป็นสาคัญ
กรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ประกอบด้วยกลุ่มพื้นที่ ดังนี้
๑) กลุ่มพื้นที่ในจังหวัดชุมพรและระนอง พัฒนาเป็นพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ด้านการท่องเที่ยว
เชิงนิเวศ และเชื่อมต่อไปยังประเทศเพื่อนบ้าน อาทิ การพัฒนาท่าเรือระนอง ประดูการค้าฝั่ งตะวัน ตก
(Western Gateway) เป็นจุดเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าประเทศไทย – สาธารณรัฐประชาชนจีน การพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (แหล่งน้าแร่) หรือเรียกว่า “Smart Living City”
๒) กลุ่ ม พื้ น ที่ ใ นจั ง หวั ด สุ ร าษฎร์ ธ านี แ ละจั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช พั ฒ นาเป็ น พื้ น ที่
อุ ต สาหกรรมฐานชี ว ภาพที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม อาทิ อุ ต สาหกรรมแปรรู ป ผลผลิ ต ทางการเกษตร
อุตสาหกรรมชีวภาพโดยต่อยอดผลิตภัณฑ์ขั้นพื้นฐานจากปาล์ม หรือเรียกว่า “Bio – Base Industry”
๓) กลุ่มพื้นที่ในจังหวัดสตูล จังหวัดตรังและจังหวัดพัทลุง มุ่งเน้นการพัฒนาแบบอนุรักษ์
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ ห้ ส มบู ร ณ์ เ พื่ อ สร้ า งการท่ อ งเที่ ย วในรู ป แบบเชิ ง นิ เ วศน์ และวั ฒ นธรรมเชื่ อ มโยง
การท่องเที่ยวสตูล – ตะรุเตา - ลังกาวี หรือเรียกว่า “Green and Cultural Tourism”
๔) กลุ่มพื้นที่ในจังหวัดพังงา ภูเก็ต และกระบี่ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนา
ของโลก หรือเรียกว่า “First Class World Tourism Resort”
๕) กลุ่มพื้นที่ในจังหวัดยะลา จังหวัดปัตตานี จังหวัดนราธิวาสและจังหวัดสงขลา พัฒนาตาม
แนวทางต้นแบบสามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน และเป็นศูนย์กลางอาหารฮาลาล หรือเรียกว่า “World Halal
Food Center”
โดยในระยะแรกมุ่ ง เน้ น การพั ฒ นาพื้ น ที่ เ พื่ อ สร้ า งเศรษฐกิ จ ใหม่ ใ นพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร
และจังหวัดระนองเป็นการพัฒนาประตูการค้าฝั่งตะวันตก (Western Gateway) ทั้งนี้ แผนการพัฒนาพื้นที่
ระเบียง เศรษฐกิจภาคใต้อย่างยั่งยืนมีลักษณะแบบค่อยเป็นค่อยไป
การขอรับการจัดสรรงบประมาณตามแผนปฏิบัติการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
อย่างยั่งยืน พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕ ประกอบด้วย รายจ่ายประจาปีโครงการที่ขอรับการจัดสรรงบประมาณ
จานวน ๑๑๖ โครงการ เป็นเงิน ๑๐๖,๗๙๐.๑๓ ล้านบาท ได้รับการจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๖๒ จานวน ๑๓ โครงการ เป็นเงิน ๔,๓๙๒.๑๖ ล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นโครงการพัฒนาศักยภาพ
โครงสร้ า งพื้ น ฐาน อาทิ พั ฒ นาท่ า เรื อ ปรั บ ปรุ ง ท่ า อากาศยาน ถนนเลี ย บชายฝั่ ง เป็ น ต้ น ซึ่ ง ปั จ จุ บั น
อยู่ ร ะหว่างการพิจ ารณางบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๓ อย่างไรก็ดี การพัฒ นา
เศรษฐกิจพิเศษขวานทองคลองไทยภาคใต้ (GASEZ) จะพัฒนาเชื่อมโยงกับการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาค
ตะวันออกกาหนดเป้าหมายรายจังหวัด คือ จังหวัดฉะเชิงเทรา พัฒนาเป็นเมืองน่าอยู่เพื่อรองรับการขยายตัว
ของกรุงเทพฝั่งตะวันออก จังหวัดชลบุรี พัฒนาเป็นเมืองอุตสาหกรรมผลิตสมัยใหม่ เมืองท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
และศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษาและพั ฒ นาทั ก ษะนานาชาติ เ พื่ อ เชื่ อ มโยงสู่ ก ารผลิ ต ภู มิ ภ าคลุ่ ม แม่ น้ าโขง
และอาเซียน ซึ่งปัจจุบันมีก ารดาเนินการพัฒนายกระดับนิคม อุตสาหกรรมเดิม ที่มีศักยภาพ หรือเรียกว่า
First S - Curve จ านวน ๓๒ แห่ ง ซึ่งเป็ นการยกระดับศักยภาพทั้งสองมิติ คือ มิติด้านอุปสงค์ (Demand - Side)
คื อ การพั ฒ นาทั ก ษะของบุ ค ลากรในภาคอุ ต สาหกรรม และมิ ติ ด้ า นอุ ป ทาน (Supply - Side)
คือ การพัฒ นาอุตสาหกรรมการผลิ ตสมัยใหม่ ทั้งนี้ การพัฒ นาโครงการใด ๆ มีการรับฟังความคิดเห็ น
จากภาคประชาชนในทุกขั้นตอน
๘๖

ประเด็ น ที่ ส อง การศึ ก ษาพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการเมื อ งพั ท ยา


(City Manager) พ.ศ. ๒๕๒๑
ประเด็ น สั ด ส่ ว นภาษี การจั ด เก็ บ ภาษี และการจั ด ส่ ง รายได้ ใ ห้ กั บ รั ฐ ผลประโยชน์
ของประชาชนในพื้นที่ สัดส่วนงบประมาณที่ให้แก่กองทัพ และข้อ เสนอแนะหากกาหนดกฎหมายเกี่ยวกับ
การเงินการคลังเฉพาะพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ เพื่อสอบถามกรมสรรพากร และสานักงบประมาณ
ประเด็นความแตกต่างระหว่างเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออกกับเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง
และรู ป แบบที่เหมาะสมกับ การปกครองของเขตเศรษฐกิ จพิเศษขวานทองภาคใต้ เช่น องค์กรปกครอง
ส่ ว นท้ อ งถิ่ น หรื อ City Manager ที่ เ คยใช้ กั บ เมื อ งพั ท ยาตามพระราชบั ญ ญั ติ ร ะเบี ย บบริ ห ารราชการ
เมืองพัทยา พ.ศ. ๒๕๒๑ เพื่อสอบถามสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักงาน
คณะกรรมการกฤษฎีกา
ประเด็ น ที่สาม การศึกษาเชิงนโยบายให้ประเทศไทยเป็น ศูน ย์ก ลางเศรษฐกิจ ขนส่ ง
ทางเรือแห่งใหม่ของโลก
ผลการศึกษาความเป็นไปได้ของกองทุนรวม โครงสร้างพื้นฐาน (Global Infrastructure
Fund : GIF) พบว่ า คลองไทย “เส้ น ทางเดิ น เรื อ ใหม่ ข องโลก” ท าให้ เ กิ ด การเปลี่ ย นแปลงทางการค้ า
ในแต่ละปีไม่น้อยกว่า ๒๘๐ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ประเทศไทยมีรายได้เพิ่มขึ้นจากอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
กั บ การเดิ น เรื อ เช่ น อั ต ราค่ า ธรรมเนี ย มการเดิ นเรือ ภาษี สิ น ค้ า น าเข้ า และส่ ง ออกและการปฏิ บัติงาน
ของอู่ต่อเรือ เป็นต้น ขณะที่ผลการศึกษาของคณะกรรมการเพื่อการศึกษาคลองไทย พบว่า อุตสาหกรรม
ท้องถิ่น และการค้าระหว่างประเทศ ส่งผลให้ประเทศไทยกลายเป็นศูนย์กลางทางด้านโภคภัณฑ์ การค้า
เงิน ตรา แหล่ งรายได้น อกชายฝั่ ง และก่อให้ เ กิ ด การจ้า งงานสู ง ขึ้น มากกว่ า ๓๐,๐๐๐ อัตรา เนื่องจาก
การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ ซึ่งสนับสนุนแนวพื้นที่เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic
Corridor : SEC) จะทาให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลรับผลประโยชน์อย่างมหาศาล อาทิ คลองไทยจะเป็นเส้นทาง
พาณิชย์นาวีทกี่ ่อให้เกิดมิติทางด้านเศรษฐกิจอย่างหลากหลาย
ประเด็ น ที่ สี่ การศึ ก ษาพิ จารณาด้า นความมั่ น คง และโครงการเขตเศรษฐกิ จพิเ ศษ
ขวานทองคลองไทยภาคใต้ GASEZ “เส้นทางเดินเรือใหม่ของโลก”
ส านั ก งานปลั ด กระทรวงกลาโหมด าเนิ น งานเกี่ ย วข้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นก าลั ง ทหาร
พลเรือน เพื่อรักษาผลประโยชน์ของชาติ ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคงของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
และยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นากลุ่ ม อุ ต สาหกรรม S - curve กองทั พ บกมี แ ผนพั ฒ นาหลั ก ๔ เรื่ อ งส าคั ญ
คือ ๑) โครงสร้ างและการจั ดหน่ ว ย ๒) ความพร้อมรบความต่อเนื่ องในการรบ อาทิ อาวุธ ยุทโธปกรณ์
การฝึก การวางแผน การรวบรวมสรรพกาลัง ๓) ระบบกาลังสารอง และ ๔) หลักการรบที่นาเทคโนโลยี
ที่ทันสมัยมาใช้ และถ้าหากโครงการขุดคลองไทยได้ เกิดขึ้นควรพิจารณาท่าทีของประเทศมหาอานาจ อาทิ
สหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน สหพันธรัฐ รัสเซีย พิจารณาสถานการณ์ในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ รวมถึ ง การพิ จ ารณาก าลั ง คนทั้ ง ทหารและต ารวจเพื่ อ รั ก ษาความปลอดภั ย ตลอดแนวคลอง
เพื่อป้องกันอาชญากรรม และภัยคุกคามในรูปแบบต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตด้วย ดังนั้น กรอบงาน
การรักษา และป้องกันความปลอดภัยในทะเล ได้แบ่งออกเป็น ๒ เรื่อง สาคัญ ได้แก่ การป้องกันประเทศ
และการรักษาความมั่นคง ศูนย์อานวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเล เพื่อรับผิดชอบดาเนินการ
รั กษาผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเล และมีห น่ว ยงานร่ว ม ๕ หน่ว ย ได้แก่ กองทัพเรือ กองบังคับการ
๘๗

ตารวจน้า กรมศุลกากร กรมเจ้าท่า กรมประมง และกรมทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง โดยในอ่าวไทย


กองทัพเรือมีฐานทัพเรือ ๓ แห่งหลัก ได้แก่ ๑) ฐานทัพเรือสัตหีบ ๒) ฐานทัพเรือตราด และ ๓) ฐานทัพเรือ
สงขลา กองทั พ อากาศได้ ก าหนดยุ ท ธศาสตร์ ห ลั ก แบ่ ง เป็ น ๒ เรื่ อ ง ได้ แ ก่ ๑) ศู น ย์ ป ฏิ บั ติ ก ารอวกาศ
กองทัพอากาศเพื่อเฝ้าตรวจภัยคุกคามอวกาศที่พ้นจาก Air Space และ ๒) ห้วงอวกาศ Air Space ซึ่งมีฐาน
บินอวกาศหลัก ณ อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ชาติทาง
ทะเล อีกทั้งยังมีฐานบินรบหลักในอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และฐานบินลาดตะเวนในจังหวัดปัตตานี
ดังนั้น กองทัพอากาศพร้อมป้องกันเขตเศรษฐกิจพิเศษบนน่านฟ้า สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติและ
ส านั กงานสภาพัฒ นาเศรษฐกิจ และสั งคมแห่งชาติได้ ร่ว มศึก ษาความเป็นไปได้ของการขุดคลองไทยซึ่ง
สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็น หน่วยงานหลักในการดาเนินงานจัดตั้ งคณะกรรมการ
รวมถึงการจัดจ้างที่ปรึกษาด้านต่าง ๆ ในกรณีนี้ สภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช.) เห็นว่าการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของประเทศเป็ น สิ่ ง ที่ ส าคั ญ ในขณะเดี ย วกั น การพั ฒ นาต่ า ง ๆ ก็ อ าจส่ ง ผลกระทบต่ อ ความมั่ น คงได้
ซึ่งโครงการขุดคลองไทยเป็ น ส่ ว นหนึ่ ง ของระเบียงเศรษฐกิจ ดังนั้น สมช.จะได้ศึกษาร่ว มกับส านั ก งาน
สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ โดยคานึงถึงผลการดาเนินการใด ๆ ต้องไม่กระทบต่ออธิ ป ไตย
ทั้งภายในและภายนอกประเทศ ความมั่นคงของมนุษย์ ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อม ฯลฯ และเห็น ควรว่า
ควรมีหน่วยบริการเบ็ดเสร็จที่มีอานาจหน้าที่คล้ายกับเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC)
ประเด็ น ที่ ห้ า การศึ ก ษากรณี ส าธารณรั ฐ สิ ง คโปร์ เ พื่ อ เป็ น แม่ แ บบ เมื อ งอั จ ฉริ ย ะ
ที่คานึงถึงสิ่งแวดล้อม
ในอดีตสิงคโปร์ได้กาหนดวิสัยทัศน์ (Vision) การพัฒนาเมืองโดยมุ่งประเด็นเรื่องกายภาพของเมือง
ในช่ว งแรกตั้ งแต่ปี พ.ศ.๒๕๐๖ โดยมุ่งมั่นพั ฒ นาเมื อ งสิ ง คโปร์ ใ ห้ เ ป็น Garden City คือ เมืองแห่ ง สวน
เพื่อสร้างภูมิทัศน์เมืองให้เป็นสีเขียวและสิงคโปร์ให้เป็นเมืองที่น่าอยู่อาศัย น่าท่องเที่ยวและน่าเข้าไปลงทุน
โดยแผนริ เริ่ มประเทศแห่ งความสมาร์ ท (Smart Nation Initiatives) โดยในปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้ประกาศ
“แผนริเริ่ม” (Initiatives) ประเทศแห่งความสมาร์ท สิงคโปร์ได้พยายาม ปรับตัวให้ทันต่อความก้าวหน้า
ของโลกเทคโนโลยีอย่างต่อเนื่องมากว่า ๓๐ ปีแล้ว การพัฒนาเมืองเป็นความมุ่งหมายของสิงคโปร์ที่ต้องการ
ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน เสริมสร้างสังคมที่เข้มแข็ง และสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ เพื่อให้เป็น
พื้นที่แห่งการรวมกันของผู้คน ความเป็นอยู่ สภาพกายภาพ การสัญจร การเชื่อมโยง ข่าวสาร และการดาเนิน
กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ จากการเป็ น ประเทศเล็ ก ๆ ที่ ส ร้ า งตั ว จากทรั พ ยากรที่ มี จ ากั ด มาก
ทั้ ง ด้ า นสาธารณู ป โภค และทรั พ ยากรที่ จ ะน ามาใช้ พั ฒ นาความก้ า วหน้ า – เพิ่ ม มู ล ค่ า ทางเศรษฐกิ จ
แต่ด้วยการพัฒนาที่สิงคโปร์เลือกขับเคลื่อนประเทศไปในทิศทาง “เศรษฐกิจฐานความรู้” มานานแล้ว ตั้งแต่
โลกยังอยู่ในยุค “เศรษฐกิจฐานทรัพยากร” สิงคโปร์จึงมี ความมั่งคั่ง – มั่นคงทางสังคม และเศรษฐกิจอันดับต้น ๆ
ของโลก
๘๘

ตารางที่ 2 การวิเคราะห์ปัจจัยที่ทาให้ “สิงคโปร์” น่าลงทุนทาธุรกิจมากที่สุด


หลักเกณฑ์แนวทางพัฒนา ครอบคลุมสาระส่วนสาคัญ
๑. เศรษฐกิจตลาดเงิน ตลาดทุน นักลงทุนทั่วโลกจะ สิงคโปร์มีข้อดีที่เป็นคุณสมบัติอันโดดเด่นอีกหลาย
รั บ รู้ ว่า สิ งคโปร์ มีข้อดีที่ เป็ น คุ ณสมบั ติ อันโดดเด่ น ประการ เช่น
และมีระบบการลงทุนหลายประการ เช่น สิงคโปร์ ที่ • มีความเข้มแข็งทางการคลัง
มีการลงทุนทาธุรกิจที่สะดวก เป็นอันดับ ๒ ของโลก • มีกลไกตลาดที่มีประสิทธิภาพ
มีสิ่ งแวดล้ อมที่เหมาะต่อการทาธุร กิจ ให้ ได้เปรียบ • มี ร ะบบระเบี ย บที่ ส นั บ สนุ น การเคลื่ อ นย้ า ย
ด้ า นการแข่ ง ขั น สู ง มี ก ารด าเนิ น งานภายใต้ ก าร เศรษฐกิจไปสู่ภาคส่วนที่มีการเติบโตสูง
บ ริ ห า ร บ้ า น เ มื อ ง โ ด ย รั ฐ ที่ โ ป ร่ ง ใ ส ร ว ม ทั้ ง • การจัดการข้อจากัดทางทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ
ให้ความสาคัญกับการร่วมมือกับภาคเอกชน จึงเป็น • ที่ส าคัญคือ มีระบบบริห ารการพัฒ นาทรัพยากร
สังคม ที่ผู้คนมีความเชื่อมั่นทางการเมืองสูง มนุษย์ที่ดีและต่อเนื่อง
๒. สิงคโปร์ Smart City ที่จัดว่า อัจฉริยะในทุกมิติ ระบบอั จ ฉริ ย ะหรื อ ความสมาร์ ท ของสิ ง คโปร์
เมื่ อ โลกก้ า วสู่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล สิ ง คโปร์ ก็ จั ด ปรั บ การ พัฒนาขึ้นในทุกมิติ เทคโนโลยี สิ่งแวดล้อม การศึกษา
ขั บ เคลื่ อ นประเทศสู่ ร ะบบ อั จ ฉริ ย ะทุ ก มิ ติ ” การสร้างและพัฒนาทุนมนุษย์ ทรัพยากรบุคคล การ
ไม่ว่าจะเป็นการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ คุณภาพชีวิต จัดวินัยจราจร วินัยสังคม การลงทุน -การยกระดับ
และสิ่ ง แว ดล้ อ ม ซึ่ ง สิ ง คโ ปร์ ไ ม่ ไ ด้ มุ่ ง พั ฒ นา การ พัฒนาเศรษฐกิจสิงคโปร์ สั่งสมจากการศึกษา –
แ ต่ ล ะ ถิ่ น ย่ า น เ ป็ น Smart City (ส ม า ร์ ท ซิ ตี้ ) ก า ร พั ฒ น า ทุ น ม นุ ษ ย์ อ ย่ า ง ทุ่ ม เ ท
อ ย่ า ง ที่ ห ล า ย ป ร ะ เ ท ศ ใ น โ ล ก ก า ลั ง ท า กั น สร้ างความเท่า เทียมทาง เทคโนโลยีโดยอาศัยการ
แต่ สิ ง คโปร์ ป ระกาศตั ว เป็ น Smart Nation คื อ ลงทุ น และร่ ว มทุ น กั บ ประเทศ ต่ า งๆ ในโลก
ยกระดับทั้งประเทศสู่การเป็น “ประเทศอัจฉริยะ” ที่ก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ทั้งยังดาเนิน
นโยบายในการพั ฒ นาประเทศด้ ว ย เศรษฐกิ จ
ฐานความรู้ จึ ง ท าให้ ก ารพั ฒ นาประเทศสิ ง คโปร์
มีพลังเคลื่อนไหว และปรับตัวได้อย่างต่อเนื่อง
๓. วางแผนอย่างชาญฉลาด ทั้งระบบแบบ ประเทศ การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ สั ง คม การดู แ ลสิ่ ง แวดล้ อ ม
สิงคโปร์ Smart City คุ ณ ภาพเมื อ งและถิ่ น ย่ า นต่ า ง ๆ ตลอดจนถึ ง การ
การสร้างธุรกิจยุคใหม่ของสิงคโปร์ในวันนี้ขับเคลื่อน สร้าง คุณภาพชีวิตโดยรวม เกิดขึ้นจากการศึกษาที่
ด้วย เทคโนโลยีระบบคลาวด์ โดยมุ่งประยุกต์สร้าง มุ่ง พัฒ นาคุณภาพทุนมนุษย์ วินัย และการปรับตัว
มูลค่าทางเศรษฐกิจและสนับสนุนการเปลี่ยนแปลง ที่มปี ระสิทธิภาพ ตลอดจนการดาเนินนโยบายพัฒนา
องค์ ก รเข้ า สู่ ยุ ค ดิ จิ ทั ล เพื่ อ สร้ า งความได้ เ ปรี ย บ ประเทศโดยออกแบบจัดวางเป้าหมายระบบสมาร์ท
ทางการค้ าในระบบดิจิ ทัลให้ตอบโจทย์ การด าเนิน ในหลายมิติพร้อม ๆ กันตั้งแต่
ธุรกิจยุคใหม่ใน ๔ ส่วนสาคัญ คือ ๑. การเดินทาง การคมนาคมทีอ่ ัจฉริยะ
• การสร้างประสบการณ์ให้แก่ลูกค้า ๒. การดูแลสุขอนามัยและแพทย์อัจฉริยะ
• ระบบการเงินใหม่ ๓. การปรับสร้างถิ่นย่านและเมืองอัจฉริยะ
• การพัฒนาทุนมนุษย์ ๔. การสร้ า งแพลตฟอร์ ม อั จ ฉริ ย ะของประเทศ
• ห่วงโซ่อุปทานในระบบธุรกิจและเศรษฐกิจยุคใหม่ ที่ ส่ ง เสริ ม การพั ฒ นา การเรี ย นรู้ ใ ห้ ค นทุ ก กลุ่ ม
ทุกเพศทุกวัย ตั้งแต่เด็กจนวัยชรา
๘๙

ประเด็นที่หก การศึกษาการบริหารการจัดการน้า เพื่อถอดบทเรียนความสาเร็ จ ของ


สาธารณรัฐสิงคโปร์จากประเทศที่ขาดแคลนน้าไปสู่ผ้นู าระดับโลกในการบริการจัดการน้า
การบริหารจัดการอุปสงค์น้าสิงคโปร์เป็นประเทศที่ ประสบความสาเร็จอย่างมากในการลด
การใช้น้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือน จากปี ๑๙๙๕ ถึง ๒๐๐๕ ปริมาณการใช้น้าอุปโภคบริโภคในครัวเรือน
ลงจาก ๑๗๒ ลิตรต่อวันต่อครัวเรือนเหลือ ๑๖๐ ลิตรต่อวันต่อครัวเรือน หากมองในการใช้น้าในครัวเรือน
ต่อเดือนของสิงคโปร์นั้นลดลงถึงร้อยละ ๑๐ เหตุที่สิงคโปร์ประสบความสาเร็จ ในการลดการใช้น้าอุปโภค
บริโภคในครัวเรือนลดลงนั้นเนื่องจากสิงคโปร์ใช้กลไกภาษีในการลดความต้องการใช้น้าลงด้วยด้ว ยภาษี
ที่ค่อนข้างสูงและแยกประเภทตามกลุ่มต่าง ๆ สิงคโปร์ยังมีภาษีอนุรักษ์น้า (Water Conservation Tax)
ที่เก็บจากปริมาณการใช้น้า เพื่อสร้างความตระหนักรู้ว่าน้ามีความสาคัญ ภาษีนี้ยิ่งทาให้ลดปริมาณการใช้น้า
ของครัวเรือนสิงคโปร์ลงอีกและยังมีค่าลาเลียงน้า (waterborne fee) เพื่อชดเชยต้นทุนการบาบัดน้าใช้แล้ว
และการบารุงรักษาเส้นทางลาเลียงน้า แม้ว่าจะเก็บภาษีในอัตราที่สูงแต่รัฐบาล สิงคโปร์ได้มีการชดเชยราคา
ให้ ส าหรั บ ประชากรที่มีฐานะทางเศรษฐกิจไม่ดีนัก การใช้น้าในปัจจุบันของสิ งคโปร์มาจาก ๒ ส่ ว น คือ
ภาคในประเทศร้ อ ยละ ๔๕ และภาคที่ ไ ม่ ใ ช่ ใ นประเทศร้ อ ยละ ๕๕ ความต้ อ งการใช้ น้ าที่ เ พิ่ ม ขึ้ น
และการเติบโตทางเศรษฐกิจแสดงให้เห็นว่า ต้องมีการจัดการ ด้านอุปทานน้าอย่างเข้มข้นในอนาคต สิงคโปร์
ยังวางรากฐานอุปทานในประเทศที่ยั่งยืน เพื่อรองรับสาหรับความต้องการน้าที่เพิ่มขึ้นด้วยกลยุทธ์ ๔ แหล่ง
หรือ “Four National Tap” Four National Tap หรือแหล่งน้า ทั้ง ๔ แหล่งประกอบด้วย ๑) นาเข้าจาก
มาเลเซีย ๒) แหล่งน้าในประเทศ การกักเก็บน้าฝน และอ่างเก็บน้า ๓) การแปลงน้าทะเลให้ เป็นน้ าจืด
๔) น าน้ าใช้ แ ล้ ว ทิ้ ง มาบ าบั ด ในโครงการ NEWater จากการศึ ก ษาที่ เ น้ น ไปยั ง แหล่ ง น้ าจากน้ าฝน
และการพึ่งพาแหล่งน้านาเข้าแล้ว พบว่าแหล่งน้าดื่มสาคัญของสิงคโปร์ในอนาคตจะมาจากการแปลงน้าทะเล
ให้เป็นน้าจืด และการนาน้าใช้แล้วมาบาบัด เพื่อใช้ใหม่ (NEWater)
ประเด็ น ที่ เ จ็ ด การศึ ก ษาวิ เ คราะห์ อ นาคตของอุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี และแนวคิ ด
เศรษฐกิจหมุนเวียน
อุตสาหกรรมปิโตรเคมีกาลังเปลี่ยนไปจากรูปแบบธุรกิจดั้งเดิมที่มุ่งเน้นการใช้ประโยชน์
จากทรัพยากรธรรมชาติ และการขยายตัวของความต้องการผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี ไปเป็นรูปแบบธุรกิจใหม่
ที่ เ น้ น เทคโนโลยี เ พื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ อุ ต สาหกรรม โดยวิ เ คราะห์ ป ระเมิ น ว่ า การเปลี่ ย นแปลง
ที่กาลั งเกิดขึ้น ในอุตสาหกรรมปิ โ ตรเคมีมีส าเหตุจ ากทั้งปัจจัยภายใน และปัจจัยภายนอกอุตสาหกรรม
โดยปั จ จั ย ภายในอุตสาหกรรมมาจากประสิ ทธิภ าพของรู ปแบบธุร กิจเก่า ที่ล ดลง (Inefficiency of Old
Business Model) เห็นได้จาก มาร์จิ้นของธุรกิจที่มีแนวโน้มลดลง การถดถอยของประสิทธิภาพของรูปแบบ
ธุ ร กิ จ ในแบบดั้ ง เดิ ม เกิ ด จากความได้ เ ปรี ย บด้ า นวั ต ถุ ดิ บ เริ่ มหมดไปและอุ ป สงค์ ที่ เ ริ่ ม อิ่ ม ตั ว
ทาให้นักธุรกิจในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี จาเป็นต้องหารูปแบบการทากาไรแบบใหม่ ขณะที่ปัจจัยภายนอก
อุตสาหกรรมมาจากการปรั บ เปลี่ ย นแนวคิ ด ในระบบเศรษฐกิจจากแบบเส้ นตรงไปสู่ แ นวคิดเศรษฐกิ จ
หมุนเวียนซึ่งมีประสิทธิภาพสูงกว่า ทาให้หลายอุตสาหกรรมเริ่มเปลี่ยนแปลงเข้าสู่แนวคิดนี้ สาหรับเศรษฐกิจ
หมุนเวียนเป็นแนวคิดเกี่ยวกับรูปแบบการใช้ทรัพยากร ห่วงโซ่อุปทานการผลิต และการบริโภคในแบบใหม่
ซึ่งแตกต่างจากแนวคิดดั้งเดิมในระบบเศรษฐกิจเส้นตรง (Linear Economy) มีจุดประสงค์เพื่อลดส่วนรั่วไหล
และเพิ่มประสิทธิภาพของระบบให้มากที่สุด จากตัวอย่างในอุตสาหกรรม บรรจุภัณฑ์พลาสติก ตามลักษณะ
การผลิตใช้ - ทิ้ง (Make – Use - Dispose) ในแนวคิดเศรษฐกิจเส้นตรง ที่ทาให้ เกิดส่วนรั่วไหลออกจาก
๙๐

ระบบเศรษฐกิจถึงร้อยละ ๙๕ ของมูลค่าการใช้พลาสติกทั้งหมด แนวคิดเศรษฐกิจ หมุนเวียนจึงมุ่งเน้นให้


สามารถรักษามูลค่าของสินค้าและบริการให้อยู่ใ นระบบเศรษฐกิจนานขึ้นหรือทาให้ร ะบบเศรษฐกิจมีส่วน
รั่วไหลลดลง โดยปกติมีขั้นตอนหลัก ๔ องค์ประกอบ ได้แก่ การทาให้ใช้ได้นานขึ้น (Longer use) การใช้ซ้า
(Reuse) การนากลับมาใช้ใหม่ (Recycle) และการนาพลังงานกลับมาใช้ (Energy recovery) ปัจจัยที่นาไปสู่
แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียนมี ๔ ปัจจัย ได้แก่ ความไม่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน (Mismatch in
demand and supply) ความต้ อ งการสิ น ค้ า และบริ ก ารเพิ่ ม ขึ้ น ตลอดเวลา แต่ ใ นทางกลั บ กั น วั ต ถุ ดิ บ
จากทรัพยากรธรรมชาติมีอยู่อย่างจากัด นาไปสู่ปัญหาการขาดวัตถุดิบ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
ซึ่งมีแนวโน้มจะทวีความรุนแรงมากขึ้น จึงนาไปสู่กระแสความต้องการเพิ่มประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากร
และวัตถุดิบให้มากที่สุด ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดเศรษฐกิจแบบใหม่ที่เน้นการเพิ่ มอรรถประโยชน์ (Utility
Maximization) จากการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรให้มากที่สุด
ประเด็นที่แปด การศึกษาพิจารณาโครงการแม่แบบ Zero Waste ขยะเหลือศูนย์
แนวคิด “ขยะเหลือศูนย์ (Zero Waste)" เป็นแนวทางในการลดการเกิดขยะตั้งแต่ต้นทาง
ทาให้ปริมาณขยะที่ต้องนาไปกาจัดให้ลดเหลือน้อยที่สุดจนเป็นศูนย์ ด้วยหลักการ ๓Rs ได้แก่
๑) Reduce คื อ ลดการใช้ บริ โ ภคแบบพอเพี ย ง ละเว้ น ของฟุ่ ม เฟื อ ย เลื อ กใช้ สิ น ค้ า
ทีส่ ามารถนากลับมา เช่น ลดการใช้ถุงพลาสติก พกแก้วน้าส่วนตัว หันมาใช้ถุงผ้าหรือตะกร้าแทน
๒) Reuse คือ การใช้ซ้า เป็นการลดการใช้ทรัพยากรใหม่ และยังช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย
เช่น การนาขวดแก้วมาใช้ซ้า การบริจาคเสื้อผ้าแทนการทิ้ง
๓) Recycle คือ การนากลับมาใช้ใหม่ การคัดแยกขยะที่สามารถรีไซเคิล เช่น กระดาษ แก้ว
พลาสติก และโลหะ อโลหะ ออกจากขยะประเภทอื่น ๆ เพื่อนากลับมาใช้ใหม่ นาขยะอินทรีย์กลับมาใช้
ประโยชน์ เช่น ทาน้าหมักชีวภาพ ปุ๋ยหมัก ผลิตแก๊สชีวภาพ
ประเด็นที่เก้า การศึกษาวิเคราะห์ แนวคิดเศรษฐกิจสีน้าเงิน
เศรษฐกิจสีน้าเงิน เป็ นพื้นที่ใหม่ของการพัฒนาเศรษฐกิจ หลายทศวรรษที่ผ่านมา การใช้
ประโยชน์ทรัพยากรทางทะเลเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจทวีความสาคัญมากขึ้น ทั้งในแง่ของการนามาใช้โดยตรง
อาทิ การทาประมง และการขุดก๊าซธรรมชาติ และน้ามัน และการใช้ประโยชน์โดยอ้อม เช่น การท่องเที่ยว
ท่าเรือ การขนส่งทางเรือ การดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ เป็นต้น นั บวัน ชุมชนนโยบายยิ่งให้ความสนใจ
เรื่ องการใช้ทรั พยากรทางทะเลในฐานะพื้นที่ ใหม่ข องการพัฒ นาเศรษฐกิจ (New Economic Frontier)
โดยมี รู ป ธรรมส าคั ญ คื อ แนวคิ ด “เศรษฐกิ จ สี น้ าเงิ น ” (Blue Economy) รายงานของ OECD
เรื่อง The Ocean Economy in ๒๐๓๐ ประเมินว่า ในปัจจุบันเศรษฐกิจ สี น้าเงินมีมูลค่าอย่างน้อยที่สุด
๑.๕ ล้ า นล้ า นดอลลาร์ ส หรั ฐ และครอบคลุ ม การจ้ า งงานกว่ า ๓๑ ล้ า นต าแหน่ ง ส าหรั บ ประเทศไทย
“เศรษฐกิ จ สี น้ าเงิ น ” เป็ น หนึ่ ง ในประเด็ น วิ จั ย เชิ ง ยุ ท ธศาสตร์ (Strategic Research Issues : SRI)
ที่ ส านั ก งานกองทุ น สนั บ สนุ น การวิ จั ย (สกว.) ให้ ก ารสนั บ สนุ น Knowledge Farm – ฟาร์ ม รู้ สู่ สั ง คม
“เศรษฐกิจสีน้าเงิน” คือ เศรษฐกิจฐานทรัพยากรทางทะเล และชายฝั่ง ซึ่งครอบคลุมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่
ใช้ ป ระโยชน์ จ ากทรั พ ยากรทางทะเลทั้ ง ทางตรง และทางอ้ อ ม อาทิ การเป็ น แหล่ ง อาหาร แร่
ทรัพยากรธรรมชาติ การเป็นแหล่งพลังงาน การท่องเที่ยว การขนส่ง และภาคบริการที่เกี่ยวเนื่อง ฯลฯ
ธนาคารโลกเชื่อว่า เศรษฐกิจสีน้าเงิน จะเป็ นกุญแจสาคัญในการยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คนในประเทศที่
เป็นชายฝั่ง และเกาะขนาดเล็ก ซึ่งมักเป็นประเทศรายได้ต่าหรือรายได้ปานกลาง ค่อนมาทางต่า ส่วนประเทศ
๙๑

ที่มีเศรษฐกิจบนแผ่นดิน (Land - Based Economy) เข้มแข็งอยู่แล้ว เศรษฐกิจสีน้าเงินจะเป็นฐานสาคัญ


ของการเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน และนับรวมทุกคน (Sustainable and Inclusive Growth)

ภาพที่ ๑7 กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจสีน้าเงิน
ที่มา : World Bank Group (๒๐๑๖)

การศึ ก ษาของ OECD พบว่ า อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ เศรษฐกิ จ สี น้ าเงิ น
หลายอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการเดินเรือ อุตสาหกรรมต่อเรือ อุตสาหกรรมท่าเรือและบริการ
ที่เกี่ยวเนื่อง อุตสาหกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และอุตสาหกรรมท่องเที่ยวชายฝั่งและทางทะเล มีศักยภาพที่จะ
เติบโตมากกว่า เศรษฐกิจโลกโดยเฉลี่ย เศรษฐกิจสีน้าเงินจะมีมูลค่า ๓ ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐในปี ๒๐๓๐
โดยอุตสาหกรรม ท่องเที่ยวชายฝั่ง และท่องเที่ยวทางทะเลจะมีสัดส่วนสูงที่สุด (ร้อยละ ๒๖) ตามมาด้วย
อุตสาหกรรมน้ามันและก๊าซธรรมชาติ (ร้อยละ ๒๑) และท่าเรือ (ร้อยละ ๑๖) การจัดการเศรษฐกิจสีน้าเงิน
อย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น ธรรม และยั่ ง ยื น จ าเป็ น ต้ อ งมี วิ ธี คิ ด แบบใหม่ ที่ เ ป็ น ระบบมากขึ้ น ต้ อ งอาศั ย
ความเข้าใจและความร่วมมือระดับนานาชาติ อุตสาหกรรมสีน้าเงินเกิดใหม่ คือ เทคโนโลยีผลิตน้าจืดจากน้า
ทะเล (Desalination) / การผลิตพลังงานลมนอกชายฝั่ง (Offshore Wind Energy) / เทคโนโลยีพลังงาน
จากมหาสมุทร (Ocean Energy) เช่น พลังงานจากคลื่น และน้าขึ้น - น้าลง เป็นต้น
๙๒

ภาพที่ ๑๘ เศรษฐกิจสีน้าเงิน
ที่มา : https://news.trueid.net/detail/0A4nQKmMK7Ev
ในขณะที่อุตสาหกรรมสีน้าเงินเกิดใหม่ คือ เทคโนโลยีผลิตน้าจืดจากน้าทะเล (Desalination)
การผลิ ต พลั ง งานลมนอกชายฝั่ ง (Offshore Wind Energy) เทคโนโลยีพ ลั งงานจากมหาสมุ ท ร (Ocean
Energy) เช่น พลังงานจากคลื่น และน้าขึ้น-น้าลง เป็นต้นรายงานของ OECD เรื่อง The Ocean Economy
in ๒๐๓๐ ประเมิน ว่า ในปั จ จุ บั น เศรษฐกิจสี น้าเงินมีมูล ค่าอย่างน้อยที่สุ ด ๑.๕ ล้ านล้ านดอลลาร์ส หรัฐ
และครอบคลุมการจ้างงานกว่า ๓๑ ล้านตาแหน่ง โดยภายในปี ๒๐๓๐ คาดว่ามูลค่าของเศรษฐกิจสีน้าเงินจะ
เพิ่มขึ้น ๒ เท่า คิดเป็นมูลค่ากว่า ๓ ล้านล้านดอลลาร์สหรัฐ และจ้างงานเพิ่มขึ้นอีกราว ๑๐ ล้านตาแหน่ง เมื่อ
เดือนมิถุนายนที่ผ่านมา สภาพยุโรป (EU) ได้เปิดเผย "รายงานเศรษฐกิจสีน้าเงินประจาปี ๒๐๒๐" โดยระบุว่า
เศรษฐกิจสีน้าเงินในประเทศสมาชิกอียู ๒๗ ประเทศกาลังอยู่ใน "ภาวะแข็งแกร่ง" โดยในปี ๒๐๑๘ มีเม็ดเงิน
หมุนเวียนอยู่ในเศรษฐกิจสีน้าเงินของอียูมากถึง ๗๕๐,๐๐๐ ล้านยูโร (หรือ คิดเป็นเงินไทยมากกว่า ๒๗ ล้าน
ล้ านบาท) เพิ่ มจากปี ๒๐๐๙ ถึง ร้ อยละ ๑๒ ขณะที่ ส่ ว นเกินการประกอบการรวม (Gross Operating
Surplus) หรือ "ผลกาไร" จากเศรษฐกิจสีน้าเงินอียูในปี ๒๐๑๘ อยู่ที่ ๙๕,๐๐๐ ยูโร (หรือ คิดเป็นเงินไทย
มากกว่า ๓.๕ ล้านล้านบาท) เพิ่มขึ้นจากปี ๒๐๐๙ ถึงร้อยละ ๑๘
ประเด็ น ที่ สิ บ การศึ ก ษาบทวิ เ คราะห์ ก ารศึ ก ษา ส านั ก งานพั ฒ นาวิ ท ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
การดาเนินการแก้ไขปัญหา และพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามันต้องดาเนินการควบคู่
ไปพร้อมกัน โดยการกาหนดกรอบของยุทธศาสตร์ในการดาเนินการ ดังนี้
ยุ ทธศาสตร์ ที่ ๑ ยุ ทธศาสตร์การบริห ารจัดการโครงสร้า งและบริ การพื้นฐาน ตลอดจน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยวที่สอดคล้องกับ
ศักยภาพของภาคการเกษตร วิสาหกิจชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติวัฒนธรรมและสังคม
ยุทธศาสตร์ที่ ๓ การบริหารจัดการด้านการตลาดเชิงบูรณาการ
๙๓

ประเด็ น ที่ สิ บ เอ็ ด การศึ ก ษาพิ จ ารณาเชื่ อ มโยงกลุ่ ม อุ ต สาหกรรมพลั ง งานไฟฟ้ า


และพลังงานสะอาด
ภาพรวมของการใช้พลังงานทดแทนเพื่อการผลิตไฟฟ้าของไทย มีแนวโน้มเติบโตดีโดยมี
ปัจจัยสนับสนุนที่สาคัญจากภาครัฐที่ต้องการผลักดันการใช้พลังงานทดแทนให้มากขึ้น เพื่อทดแทนการใช้
เชื้อเพลิงฟอสซิลให้ได้ร้อยละ ๒๐ ของการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย กลุ่มพลังงานที่มีแนวโน้มการผลิตเข้าใกล้
เป้ าหมายมากที่สุ ด ได้แก่ พลั งงานชีว มวล รองลงมา คือ พลั งงานแสงอาทิตย์ และขยะส าหรับพลั งงาน
ชีวมวลนั้น ถือเป็นพลังงานทดแทนในกลุ่ มแรกแรกที่ภาครัฐ ให้ การสนับสนุน เนื่องจากไทยเป็นประเทศ
เกษตรกรรม ทาให้มีวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรปริมาณมาก ซึ่งสามารถนามาใช้เป็นพลังงาน
ประเด็นที่สิบสอง อุตสาหกรรมที่เป็นอนาคตของประเทศไทย S - Curve
ความก้ า วหน้ า ทางเทคโนโลยี และการเข้ า สู่ ป ระชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ย น ส่ ง ผลให้
ภาคอุตสาหกรรมเกิดการแข่งขันที่รุนแรงขึ้น แต่ประเทศไทยซึ่งมีอุตสาหกรรมขนาดกลางและย่อม (SMEs)
เป็ น ส่ ว นใหญ่ ประเทศไทยต้องเร่ งพัฒ นาศักยภาพอุตสาหกรรม เพื่อให้ ห ลุ ดพ้นจากการติดอยู่ในกับดัก
ของประเทศที่ มี ร ายได้ ป านกลาง ตามทิ ศ ทางของแผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉ บั บ ที่ ๑๒
นอกจากนี้ รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมให้เป็นตัวขับเคลื่อนหลักเศรษฐกิจของ
ประเทศ โดยเฉพาะเรื่อง Creative Economy ซึง่ เป็นโอกาสในการพัฒนาศักยภาพอุตสาหกรรม SMEs ไทย
ให้เกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมายใหม่ ที่เรียกว่า S - Curve เป็นกลไกขับเคลื่ อน
เศรษฐกิจที่สาคัญด้านนวัตกรรมเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในอนาคต ได้แก่
๕ อุตสาหกรรมเดิม (First S - Curve) คือ อุตสาหกรรมยานยนต์ ส มัยใหม่ อุตสาหกรรมอิเล็ กทรอนิ ก ส์
อัจฉริยะ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดี และท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
อุตสาหกรรม แปรรูปอาหารและ ๕ อุตสาหกรรมอนาคต (New S - Curve) คือ หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมการบิ น และโลจิ ส ติกส์ อุตสาหกรรมเชื้อเพลิ งชีว ภาพ และเคมีชีว ภาพ อุตสาหกรรมดิจิทั ล
และอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
ประเด็นที่สิบสาม การศึกษาพิจารณาเมืองกีฬาครบวงจร (Sport City Complex)
เมืองกีฬาเป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของชาติโดยการ
พัฒนา อุตสาหกรรมการกีฬา (Sport Industry) อย่างเป็นรูปธรรม โดยการจัดกิจกรรมการเล่นการกีฬา
การออกก าลั ง กาย การจั ด การฝึ ก อบรมกี ฬ าประเภทต่ า ง ๆ และการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าควบคู่ ไ ปกั บ
การท่องเที่ย วเชิงนั น ทนาการ (Sport Tourism) รวมทั้งการให้ บริการที่พัก และการขนส่ งระหว่างที่พัก
และสนามกี ฬ าที่ มี ค วามสะดวกสบาย ให้ แ ก่ นั ก กี ฬ า นั ก ท่ อ งเที่ ย ว และผู้ ที่ ส นใจทั่ ว โลกส อดคล้ อ ง
นโยบายของรั ฐ มนตรี ว่ า การกระทรวงการท่ อ งเที่ ย วและกี ฬ าเมื อ งกี ฬ าควรมี ลั ก ษณะเป็ น พื้ น ที่
ที่มีความพร้อม และมีสิ่งอานวยความสะดวกทางการกีฬาที่มุ่งเน้นการฝึกซ้อมกีฬา การเล่นกีฬา การพัฒนา
กีฬาสู่ความเป็นเลิศ การจัดการ แข่งขันกีฬาในระดับ ต่าง ๆ โดยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของหน่วยงานภาครัฐ
ภาคเอกชน และภาคประชาชน แนวทางการจั ด ตั้ ง เมื อ งกี ฬ า (Sport City) ก าหนดแนวคิ ด เป้ า หมาย
และแนวทางการจั ด ตั้ ง เมื อ งกี ฬ า ดั ง นี้ กรอบแนวคิ ด ( Concept) ในการจั ด ตั้ ง “เมื อ งกี ฬ า”
คือ จังหวัดหรือพื้นที่ทางการปกครองที่มีความพร้อมในการพัฒนาและจัดกิจกรรม การกีฬา เพื่อประโยชน์
สุ ข ภาพ และคุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชน การสร้ า งความเป็ น เลิ ศ การพั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ท างการกี ฬ า
การฝึ ก ซ้ อ มและการจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ า รวมถึ ง การสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศ
๙๔

ด้วยการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาครัฐ และภาคประชาสังคมซึ่งมีลักษณะเป็นเมืองที่มีความโดดเด่น
ในด้านการบริ หารจัดการกีฬาในด้านต่างๆ กล่าวคือ สามารถให้บริการการกีฬา และสร้างคุณภาพชีวิต
(Sport for Life) ให้แก่ ประชาชน นักกีฬา และนักท่องเที่ยว ทั้งในและต่างประเทศ จนสามารถพัฒนาไปสู่
การปรั บ เปลี่ ย นวิ ถี ท างในการด าเนิ น ชี วิ ต ไปสู่ สั ง คมแห่ ง การออกกาลั ง กายและเล่ น กี ฬ า (Sport
Community) และการสร้ า งระเบี ย บวิ นั ย และส่ ง เสริ ม คุ ณ ธรรมจริ ย ธรรม ให้ แ ก่ ป ระชาชน ( Social
Regeneration) โดยเมืองกี ฬ านี้ จ ะมีโ ครงสร้ า งพื้นฐานประกอบด้ว ย สนามกีฬ า สถานที่ออกก าลั ง กาย
สวนสาธารณะ และสถาบันการศึกษาที่มีองค์ความรู้ในเรื่องการออกกาลังกาย และการเล่นกีฬาอย่างถูกต้อง
สามารถรองรั บ การจั ด การแข่ ง ขั น กี ฬ าระดั บ โลก (Sport Event) ได้ อ ย่ า งต่ อ เนื่ อ ง และสามารถสร้ า ง
ความประทั บ ใจให้ แ ก่ ช าติ ที่ เ ข้ า ร่ ว มการแข่ ง ขั น และผู้ ช มทั่ ว โลก สามารถสร้ า ง และพั ฒ นานั ก กี ฬ า
เพื่อความเป็นเลิศ (Sport for Excellence) สามารถสร้างชื่อเสียงให้แก่ประเทศจนเป็นที่ รู้จักในระดับโลก
โดยการสร้ า ง และพั ฒ นานั ก กี ฬ าที่ มี พ รสวรรค์ ( Talent) ตั้ ง แต่ เ ด็ ก และเยาวชนในโรงเรี ย นกี ฬ า
(Sport Academy School) และพั ฒ นาต่ อ เนื่ อ งในศู น ย์ พั ฒ นานั ก กี ฬ า (Sport Center) ซึ่ ง มี อุ ป กรณ์
และบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถตามหลักการวิทยาศาสตร์การกีฬาเพื่อพัฒนาให้เป็นนักกีฬาทีมชาติที่มี
ขีดสมรรถนะระดับโลก (Elite Athlete) ต่อไปสามารถสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของชาติด้วยการ
พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมการกี ฬ า (Sport Industry) และการจั ด กิ จ กรรมกี ฬ าเชิ ง ท่ อ งเที่ ย วนั น ทนาการ
(Sport Tourism) อย่างเป็น รูปธรรมอาทิการจัดกิจกรรมการเล่นการกีฬา การออกกกลังกาย การจัดการ
ฝึกอบรมกีฬา และการจัดการแข่งขัน กีฬาประเภทต่าง ๆ ในระดับนานาชาติและระดับโลก รวมทั้งการ
ให้บริการที่พัก และการขนส่งระหว่างที่พัก และสนามกีฬาที่มีความสะดวกสบายให้แก่นักกีฬา นักท่องเที่ย ว
และผู้ที่สนใจทั่วโลก
ประเด็นที่สิบสี่ การเป็นศูนย์กลางทางการเงินและการระดมในตลาดทุน
แนวทางการศึกษาเบื้องต้นสาหรับรูปแบบการพัฒนาการเป็นเมืองศูนย์กลางทางการเงิน
อัจฉริยะในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ตามแผนดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจ และสังคม
จุดแข็ง คลองไทยและเขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้ ที่ตั้งของเขตเศรษฐกิจภาคใต้ และคลองไทย
ทางกายภาพของพื้น ที่ มีต้น ทุน การก่อสร้างไม่สู งเกินไป หากพิจารณาระดับความเจริญของเทคโนโลยี
ทางวิศวกรรม ในปัจจุบัน
จุ ด อ่ อ น ระบบธรรมาภิ บ าล ในสายตานานาชาติ ยั ง ไม่ ส ากลเที ย บกั บ โตเกี ย ว – โซล
ฮ่องกง – โครงสร้างตลาดทุน – ตลาดเงินของประเทศไทย ยังไม่เปิดเสรีเมื่อเทียบกับฮ่องกง และโตเกียว
ประเทศไทยยังขาดทรัพยากรมนุษย์ ที่มีความสามารถด้านการเงินและยังไม่สามารถพูดภาษาอังกฤษได้อย่าง
ชานาญพอเมื่อเทียบกับ ฮ่องกง ประเทศไทยมีความมั่นคงทางการเมืองระดับปานกลาง แต่ยังมีการบังคับใช้
กฎหมาย และธรรมาภิบาล ด้อยกว่าประเทศคู่แข็งอื่นๆ
โอกาส การเกิดปัญหาทางการเมืองของฮ่องกง ทาให้การเปิดเสรีทางบัญชีทุน (ทุนไหล
เข้ า ออกเสรี ) เพื่ อ รองรั บ ขนาดของการค้ า ขนาดใหญ่ ที่ ค ลองไทยจะต้ อ งสร้ า งขึ้ น ในอี ก สิ บ ปี ข้ า งหน้ า
มีความเป็นไปได้ - ตลาดทุนที่จะสร้างขึ้น ณ คลองไทย เป็นการเชื่อมโยงกับตลาดทุน ในภูมิภาคโดยเฉพาะ
กับประเทศจีน เพื่อระดมทุนพัฒนาประเทศ ในกลุ่มอาเซียน (CLMV) และฯลฯ ร่วมกับโครงการการพัฒนา
เส้นทางสายใหม่สมัยใหม่ One Road One Belt Initiative ของกองทุนของประเทศจีน ธนาคารพัฒ นา
เอเชีย (ADB) และญี่ปุ่น (JBIC)
๙๕

แนวทางการพัฒนาระบบการเงิน
๑) ลดขนาดการใช้ทรัพยากรทางเศรษฐกิจ และสังคมโดยภาครัฐส่วนกลาง (หน่วยราชการ
พลเรื อ น และหน่ ว ยความมั่ น คง)และเพิ่ ม ขนาดของการผลิ ต สิ น ค้ า - บริ ก าร โดยภาคเอกชนภายใน
และระหว่างประเทศ (Small Government)
๒) ส่งเสริมนวัตกรรมและโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT ให้ทัดเทียมกับในระดับโลกเพื่อนา
เทคโนโลยีบล็อกเชน (Block Chain) มาใช้เต็มรูปแบบเพื่อความโปร่งใสของการทาธุรกรรมสากล
๓) ส่ งเสริ มการออมของคนไทยระยะยาวและเปิดเสรีให้ มีก ารเข้า ถึงตลาดทุนระหว่ า ง
ประเทศอย่างเสรีเพื่อการออม และการลุงทนของครัวเรือนไทย
๔) การเปิดเสรีตลาดทุนนาไปสู่การระดมทุนระยะยาวเพื่อการลงทุนในโครงการคลองไทย
ทีไ่ ม่เน้นการผูกขาดโดยประเทศมหาอานาจใด ๆ (No Hegemonic Dominance)
๕) เพิ่ ม จ านวนและคุ ณ ภาพของทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ด้ า นการบริ ห ารเศรษฐกิ จ การค้ า
และการเงินที่เป็นคนไทย
๖) เปิดเสรีบริการและการไหลเข้าออกของทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพระดับสูง โดยเฉพาะ
ผู้บริหารสินทรัพย์ทางการเงิน และตลาดทุน
๗) ยกเลิกข้อจากัดที่กีดกันการไหลเวียนอย่างเสรีของข้อมูลข่าวสาร
๘) ลดบทบาทของการกากับดูแลระบบสถาบันการเงิน โดยธนาคารกลางให้ดูแลเฉพาะ
การบริหารนโยบายการเงิน (Chinese wall) เพื่อความโปร่งใสของธนาคารกลาง
๙) น ากฎหมายการฟอกเงิ น และการลงโทษการคอรั ป ชั่ น ในประเทศและระดั บ สากล
มาปฏิบัติกันอย่างเข้มงวด
๑๐) ระบบการเงิน และตลาดทุนรองรับระบบการค้าทางทะเล และการเป็นศูนย์กลาง
ทางการค้า ในภูมิภาคนี้ของโลกแทนฮ่องกง
๑๑) ระบบตลาดทุนรองรับการพัฒ นา One Belt One Road Initiative ร่ว มกับกองทุน
พัฒนาของประเทศจีน
รูปแบบการพัฒนาระบบการเงิน
๑) ปรั บ ทิ ศ ทางของประเทศให้ มี ธ รรมาภิ บ าล (Rules of Law) ในประเทศและสากล
เพื่อลดอุปสรรคทางการค้าให้เสรีแบบสากล (Trade liberalization)
๒) ด้ า นการระดมทุ น ให้ เ ปิ ด ตลาดเงิ น ให้ ส ามารถระดมทุ น ระดั บ สากล และมากกว่ า
ในประเทศ
๓) เปิดเสรีเพื่อรองรับการไหลเข้า - ออกของทุน (Open Capital Account)
ประเด็นที่สิบห้า การพัฒนาเมืองหลักในการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการสันทนาการและกีฬา
(Integrated Entertainment and Sport Resorts)
การน าเสนอแหล่ ง รวมความบั น เทิ ง นี้ เ ป็ น การหารายได้ แ บบหนึ่ ง ที่ จ าเป็ น ต้ อ งมี
เพื่อตอบสนองต่อนานาชาติที่ทาการค้า และกิจกรรมในพื้นที่การพัฒนาส่วนเมือง การพักผ่อน และการ
ท่องเที่ยวแบบ MIC : 1) เป็นจุดหมายปลายทางพักผ่อนชั้นหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2) ดึงดูดผู้เยี่ยม
ชม ๑๗.๔ ล้านคน ในปี ๒๐๑๗ 3) ก่อตั้งเพื่อเป็นจุดหมายปลายทางชั้นนาสาหรับกิจกรรม MICE (Meetings,
Incentive Travel, Conventions, Exhibitions) รวมถึ ง เหตุ ก ารณ์ ที่ อ ยู่ ใ นระดั บ สู ง หลายอย่ า ง เช่ น
๙๖

การประชุมสุดยอด Trump - Kim 4) ลดคาสิโนแบบผิดกฎหมายและคาสิโนใต้ดิน 5) มีการแข่งขันโดยตรง


กับคาสิโนออนไลน์และคาสิโนแบบผิดกฎหมาย ๑๑๗ 6) ออกแคมเปญต่อต้านการพนัน มีมาตรการคว่า
บาตรการพนัน นอกกฎหมายที่มีผ ลกระทบทางสั งคม 7) ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างเสถียรภาพตลาด
อสั ง หาริ มทรั พย์ ในพื้น ที่ Marina Bay และ Sentosa ดึงดูดความสนใจจากนักลงทุน ทั่วโลก สร้าง GDP
ประมาณร้อยละ ๔ กระตุ้น “สเตย์เซท” ท้องถิ่น
ประเด็นที่สิบหก การพิจารณาศูนย์กลางตลาดการค้าน้ามัน สาเร็จรูปแห่งใหม่ของโลก
โดยปกติ แ ล้ ว ประเทศไทยจะส่ ง ออกน้ ามั น ส าเร็ จ รู ป ไปทางทะเลอั น ดามั น และน าเข้ า
น้ามันดิบการขุดคลองจะทาให้การขนส่งสะดวกและรวดเร็วกว่าการทาแลนด์บริดจ์ ดังนั้น ถ้าจะมีศูนย์กลาง
ตลาดการค้าน้ ามันสาเร็ จรู ปแห่งใหม่ของโลก จะต้องมีการแข่งขันที่สูงเนื่องจากว่าการขุดคลองเพียงอย่างเดียว
จะต้องมีกิจกรรมทางเศรษฐกิจอย่างอื่นที่ จะให้เกิดการค้าขายอย่างเป็นระบบมีพื้นที่ในการกักเก็บน้ามันดิบ
(คลังน้ามันดิบ) มีการสร้างโรงกลั่นน้ามันดิบ มีการพัฒ นาคนด้านความรู้ความสามารถทางภาษาอังกฤษ
และการให้บริการที่สามารถแข่งขันกับสาธารณะรัฐสิงคโปร์และรัฐบาลจะต้องพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อ
รองรับการพัฒนาให้การสนับสนุนทางภาษีสิทธิพิเศษทางการค้า และการลงทุนในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้
ประเด็นที่สิบเจ็ด การพิจารณาเปรียบเทียบระหว่างโครงการแลนด์บริดจ์กับโครงการคลองไทย
แลนด์บริดจ์ (Land Bridge) เป็นโครงการสร้างถนนเชื่อมฝั่งทะเลอันดามันกับฝั่งอ่าวไทย
หรือที่เราเรียกว่า Land Bridge หรือสะพานข้ามพื้นดิน เพื่อเชื่อมต่อการขนส่งสินค้าต่าง ๆ ที่มาทางเรือจาก
ฝั่งทะเลด้านหนึ่งไปยังอีกด้านหนึ่ง สาหรับในทางภาคปฏิบัติประโยชน์ที่จะได้รับก็คงไม่แตกต่างไปจากถนน
สายหลั กของประเทศที่มีอยู่ ในปั จ จุ บั น นอกจากจะมีการเน้น ในรูปแบบของวัตถุประสงค์ที่จะใช้ เฉพาะ
เพื่อการขนส่งสินค้าระหว่างสองฝั่งทะเล การขนส่งสามารถเป็นได้ทางรถยนต์รถไฟ โดยเฉพาะการขนส่ง
น้ามันผ่านระบบท่อ จากฝั่งทะเลหนึ่งไปยังอีกฝั่งหนึ่ง ก็ไม่ได้ประหยัดจริง เมื่อเทียบกับการขนส่งทางทะเล
โดยตรง
ประเด็นที่สิบแปด การเรียนรู้จากท่าเรือโทส (Tuas) ซึง่ เป็นท่าเรือขนาดยักษ์ของสิงค์โปร์
มีการใช้เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการดาเนินงานเป็นส่วนใหญ่ อาทิ
๑) โดรน (Drones) นอกจากสามารถใช้เพื่อการส่งมอบเรือเข้าเที ยบท่า ยังสามารถส่งไป
ตรวจสอบความเสียหายของเรือได้อีกด้วย
๒) เทคโนโลยีสะอาด (Green Technology) รถระบบอัตโนมัติจะเปลี่ยนไปใช้ระบบไฟฟ้า
รวมถึงใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
๓) ระบบเทคโนโลยี อั ต โนมั ติ (Automated Technology) โดยการใช้ ร ะบบอั ต โนมั ติ
ในส่วนต่าง ๆ อาทิ Quay Cranes, Yard Cranes และ Guided Vehicles รวมถึงการ Loading/Unloading,
Computers, Sensors and Cameras
๔) ระบบการติดตามเรือที่มาถึง (Tracking Arriving Vessels) ซึ่งกัปตันเรือสามารถแจ้ง
MPA ทางระบบดิจิ ทั ล และระบบการจั ดการท่ าเรื อ จะใช้ Cloud Computing, Data Analytics, Smart
Algorithms, Sensors
๕) Single Sharing Portal ผ่านระบบ Single Government Portal
๙๗

๖) Just – In - Time Arrival System เป็นระบบที่จ ะใช้ ในอนาคตเมื่ อ เรื อ เข้ าสู่ น่ า นน้ า
สิงคโปร์และนาเรือเข้าเทียบท่า เพื่อลดเวลาและบุคลากร
ประเด็นที่สิบเก้า การศึกษาพื้นฐานเศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรมต่อเรือ และซ่อมเรือ
อุ ต สาหกรรมต่ อ เรื อ และซ่ อ มเรื อ เป็ น อุ ต สาหกรรมพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ ที่ ส าคั ญ
และมีส่วนเชื่อมโยงกับธุรกิจการขนส่งทางน้าและกิจการพาณิชย์ นาวีตลอดจนเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม
เกี่ยวเนื่องอื่นอีกมากมาย เช่น อุตสาหกรรมเหล็กและเหล็กกล้า อุตสาหกรรมเครื่องมือสื่อสาร อุปกรณ์
เดิ น เรื อ อุ ต สาหกรรมสี และเคมี ภั ณ ฑ์ อุ ต สาหกรรมเครื่ อ งจั ก รกลเครื่ อ งยนต์ เ รื อ อุ ต สาหกรรมไฟฟ้ า
และอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ อุ ต สาหกรรมไม้ แ ละเฟอร์ นิ เ จอร์ เป็ น ต้ น อุ ต สาหกรรมต่ อ เรื อ และซ่ อ มเรื อ
เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ ช่ ว ยสนั บ สนุ น กิ จ การเดิ น เรื อ ขนส่ ง และกิ จ การค้ า ระหว่ า งประเทศให้ เ ป็ น ไปอย่ า ง
มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เป็ น อุ ต สาหกรรมที่ เ กี่ ย วเนื่ อ งกั บ การป้ อ งกั น ประเทศ (Defense Related Industry)
เพราะจะให้การสนับสนุนประเทศด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจ อุตสาหกรรมกลางน้า อุตสาหกรรมกลางน้า
มี บ ทบาทส าคั ญ ในการสนั บ สนุ น ในด้ า นเงิ น ทุ น และทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ได้ แ ก่ สถาบั น การเงิ น
และสถาบันการศึกษาอุตสาหกรรมปลายน้า เป็นอุตสาหกรรมซึ่งมีส่วนในการกาหนดทิศทางตลาด ได้แก่
การขนส่ ง ทางทะเล การประมง การท่ อ งเที่ ย วทางน้ าและการต่ อ เรื อ ของหน่ ว ยงานราชการ
การเปลี่ยนแปลงในกลุ่มอุตสาหกรรมข้างต้นย่อมมีผลกระทบกับอุตสาหกรรมต่อเรือและซ่อมเรือด้วยเช่นกัน
ประเด็นที่ยี่สิบ การศึกษาการจัดการปัญหาขยะของสิงคโปร์นามาทิ้งถมลงทะเล
สิงคโปร์ได้ขอความร่วมมือให้ประชาชน สถานประกอบการและสานักงานต่าง ๆ ช่วยกัน
จัดเก็บรวบรวมและคัดแยกขยะ โดยกาหนดให้นาไปทิ้งตามวัน - เวลา หลังจากนั้นก็จะมีรถเก็บขยะตระเวน
ไปทั่วเมือง เพื่อรวบรวมแล้วนาไปกาจัดยังเตาเผาขยะ แม้จานวนประชากรจะเพิ่มมากขึ้นทั้งประชากรที่เป็น
คนสิงคโปร์ และต่างชาติที่เข้ามาทางานหรือท่องเที่ยวในสิงคโปร์พร้อม ๆ กับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
เป็นปัจจัยที่ส่งผลให้ปริมาณขยะเพิ่มขึ้นแต่ด้วยการจัดการที่มีประสิท ธิภาพ จึงทาให้สิงคโปร์กลายเป็นเมือง
สะอาดติดอัน ดับ โลกและยั งเป็ น เมืองที่มีความเป็น มิตรกับสิ่ ง แวดล้ อม หลั งจากคัด แยกขยะที่ส ามารถ
นากลับมาใช้งานได้อย่างขยะอินทรีย์และขยะรีไซเคิลออกไปแล้ว ขยะที่เหลือจะถูกส่งไปยังเตาเผาในรูปแบบ
ของ Waste to Energy (WTE) หรือโรงไฟฟ้าขยะก็ได้ปัจจุบัน เกาะเซมาเกาที่เกิดจากการนาเถ้าจากการเผา
ขยะมาถม เกิดจากการเชื่อมเกาะ Pulau Semakau และ Palau Sakeng ที่มีอยู่ตามธรรมชาติเข้าด้วยกัน
แล้วกั้นบริเวณรอบ ๆ ด้วยเขื่อนหิน และมีถนนให้รถบรรทุกวิ่งขนเถ้าและเศษที่เหลือจากการเผาไปยังจุดถม
ส่วนด้านล่างของหลุมฝังกลบรองด้วยวัสดุสังเคราะห์เพื่อป้องกันการปนเปื้อนกับน้าทะเล พื้นที่ส่วนใดที่ถม
เต็มแล้ ว ก็จ ะถู กปิ ดทับ ด้วยดิน ธรรมชาติแล้วพัฒ นาเป็นป่าโกงกาง ปลู กหญ้าทะเล ดอกไม้ทะเล รวมถึง
ปะการัง
ประเด็นที่ยี่สิบเอ็ด ศูนย์กลางการกระจายอาหารโลก ตลาดอาหารฮาลาล
เส้นทางการเข้าสู่ตลาดอาหารฮาลาลโลกนั้น เริ่มได้ด้วยการเข้าสู่ตลาดมุสลิมที่มีศักยภาพสูง
ในอาเซียนอย่างอินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศที่ประชากรมีรายได้มากกว่าประเทศมุสลิมอื่น ๆ
ในโลก ในอินโดนีเซียรัฐบาลกลางกาลังออกกฎหมายให้อาหารทุกชนิดที่วางจาหน่ายต้องได้รับ "ฮาลาล"
จากองค์กรสภาศาสนาแห่งอินโดนีเซีย (MUI) การเดินหน้าเข้าสู่ตลาดในเวลานี้ยังรองรับโอกาสที่ตลาดอาหาร
ฮาลาลจะเติบโตขึ้นตามการเติบโตของเศรษฐกิจโลกในอนาคตอีกด้วย การผลิตอาหารฮาลาลของไทยอยู่ใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ ซึ่งเป็นแหล่งที่มีชาวมุสลิม อาศัยอยู่เป็นจานวนมาก โดยภาครัฐมีนโยบายสนับสนุน
๙๘

เพื่ อ พั ฒ นาพื้ น ที่ ดั ง กล่ า วให้ เ ป็ น ศู น ย์ ก ลางการผลิ ต และส่ ง ออกอาหารฮาลาลของไทย ซึ่ ง ขณะนี้
อยู่ระหว่างดาเนินการตั้งนิคมอุตสาหกรรมฮาลาลที่ปัตตานี ขณะเดียวกันภาครัฐกาลังผลักดันให้จังหวัด
ภาคใต้ฝั่ งทะเลอัน ดามัน เป็ น แหล่ งผลิ ตสิ นค้าอาหารฮาลาลด้ว ย เนื่องจากหลายจังหวัดที่มีความพร้ อ ม
ด้านวัตถุดิบสาหรับผลิตอาหารฮาลาล เช่น จังหวัดระนองมีวัตถุดิบ สัตว์น้าและอาหารทะเล ส่วนจังหวัด
กระบี่ มีความพร้ อ มด้า นสิ น ค้ าเกษตร เช่ น มะม่ว งหิ มพานต์ รวมถึง สิ นค้าปศุสั ตว์ไ ด้ แ ก่ แพะ แกะ โค
และกระบือ จึงถือเป็นแหล่งสนับสนุนด้านวัตถุดิบสาหรับ ผลิตสิน ค้า เกษตรแปรรูปฮาลาลเพื่อส่งออกตลาด
ตะวันออกกลางเป็นตลาดที่น่าจับตามอง
ประเด็ น ที่ยี่สิบสอง ปฏิรู ประบบและโครงสร้า งการจัดทารายงานประเมินผลกระทบ
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ (EIA และ EHIA)
การวิเคราะห์ ผ ลกระทบสิ่ งแวดล้ อมและสุ ขภาพ (EIA และ EHIA) ของประเทศไทยนั้ น
มี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ พื่ อ เป็ น เครื่ อ งมื อ และกลไกที่ ส าคั ญ ในการพิ จ ารณาเห็ น ชอบของหน่ ว ยงานภาครั ฐ
ต่อการอนุมัติโครงการพัฒนาที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อเนื่องถึงสุขภาพของประชาชน
ในการพัฒนาคลองไทยจาเป็น ต้องลงทุน ด้านกายภาพที่อาจกระทบต่อสมดุล ทางกายภาพ และคุณภาพ
สิ่ ง แวดล้ อ ม และวั ฒ นธรรมท้ อ งถิ่ น ฯลฯ เพื่ อ ลดผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและวั ฒ นธรรมน้ อ ยที่ สุ ด
จ าเป็ น ต้ อ งลงทุ น ท าการศึ ก ษาผลกระทบด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ มและวั ฒ นธรรมโดยให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว ม
ทุกขั้นตอน เพื่อให้การลงทุนการพัฒนาพื้นที่พิเศษ และคลองไทยเป็นไปได้และเป็นที่ยอมรับได้ของประชาชน
ประเด็นที่ยี่สิบสาม กรณีศึกษา Nanjing Green Towers ป่าแนวตั้งบนอาคารสูง แห่งแรกในเอเชีย
การเตรียมความพร้อมที่จะแก้ไขปัญหาสภาพอากาศเปลี่ยนแปลง รวมถึงภาวะมลพิษทางอากาศ
ขั้นรุนแรงในกรุงปักกิ่ง เมืองหลวงของประเทศ ตามเมืองใหญ่อื่น ๆ ของจีนก็มีความพยายามที่จะหาทางแก้ไข
ปั ญหามลพิษ อันเป็ นสิ่ งที่ชาวเมืองในทุกท้องที่ต้องเผชิญเช่นกัน นครหนานจิ นเลื อกการสร้าง "ป่าแนวตั้ง"
(Vertical Forest) มาเป็นทางออก ป่าแนวตั้งดังกล่าวเป็นอาคารสูงระฟ้า ใช้เป็นที่พักอาศัย ๒ หลัง ทั้งอาคาร
จะปกคลุ มไปด้ ว ยพื ช พรรณสี เขี ย วนานาชนิ ด พร้ อมดู ดซั บมลพิ ษ และผลิ ตอากาศบริ สุ ทธิ์ แก่ ช าวเมื อ ง
และนักท่องเที่ยว ทั้งยังสร้างทั ศนียภาพสวยงามสบายตาให้แก่เมืองใหญ่แห่งนี้ด้วย โดยจะมีต้นไม้ขนาดใหญ่
๖๐๐ ต้น ขนาดกลาง ๕๐๐ ต้น ไม้เลื้ อย ๒,๕๐๐ ต้น และไม้พุ่มขนาดเล็ กจานวนมากมาย Nanjing Green
Towers สามารถดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ได้ปีละ ๒๕ ตัน และเพิ่มออกซิเจนให้เมือง Nanjing ปีละ ๒๒ ตัน
(วันละประมาณ ๖๐ กิโลกรั ม) เมื่อสร้ างเสร็จ Nanjing Green Towers จะเป็นป่าแนวตั้ ง (Vertical Forest)
บนอาคารสูงแห่งแรกในเอเชีย
๙๙

ประเด็นทีย่ ี่สิบสี่ การศึกษาประมาณการรายได้ค่าผ่านคลองและรายได้จากเขตเศรษฐกิจพิเศษ

ภาพที่ ๑๙ : รูปแบบแนวคิดในการออกแบบโครงการคลองไทยเส้น ๙A
The Golden Ax Special Economic Zone (GASEZ)

* ที่มาของแหล่งประมาณการณ์รายได้คาดการณ์ดังกล่าวไม่รวม รายได้ที่เอกชนลงทุนดาเนินการ
และกิจการพิเศษ (เช่น อุตสาหกรรมเอ็นเตอร์เทนเม้นคอมเพล็กซ์)
** ที่มาของรายได้ดังกล่าวไม่รวมรายได้จากการจัดเก็บภาษีอากร
*** รายได้ประมาณการณ์ดังกล่าวยังไม่ได้หักค่าใช้จ่าย และค่าบริหารจัดการ
*** เห็นได้ว่าถ้ารัฐลงทุนในโครงการขุดคลองไทยผลตอบแทน หรือจุดคุ้มทุนจะอยู่ระหว่างช่วงปีที่ 2-3 หลังจาก
วันที่โครงการแล้วเสร็จ ซึ่งรายได้ที่อาจจะจัดเก็บได้ล่วงหน้า ระหว่างปีที่ 3 (ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขสัญญา) สามารถ
จั ดเก็บรายได้ จากค่ าเช่าพื้ นที่ จากเอกชนผู้ ลงทุ นได้ ก่ อนที่ จะขุ ดคลองแล้ วเสร็จ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรายละเอี ยด
ของแผนดาเนินการโครงการฯ เป็นสาคัญ

๓.๒.๘ ผลการพิจารณาศึกษา
คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารฯ ได้ พิ จ ารณาก าหนดกรอบการพั ฒ นาเพื่ อ เป็ น แนวทาง
ในการขับเคลื่อน การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax Special Economic
Zone : GASEZ) ได้กาหนดยุทธศาสตร์จานวน ๑๕ ด้าน มีสาระสาคัญดังนี้
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑ ยุ ท ธศาสตร์ ค วามมั่ น คงของชาติ ศาสนา และพระมหากษั ต ริ ย์
โดยมีเป้าหมายสาคัญ คือ การมุ่งเน้นความมั่นคงของชาติ หมายถึงความอยู่ดีมี สุข ของประชาชนชาวไทย
ทุกมิติ ความมั่นคงทางศาสนา หมายถึง รัฐจะมุ่งทานุบารุงส่งเสริมพุทธศาสนา ให้มั่นคง ยั่ งยืนอยู่ร่วมกับ
ทุกศาสนา ความมั่นคงของสถาบันพระมหากษัตริย์ หมายถึง ประชาชน มีความจงรักภักดี เคารพ เทิดทูน
สถาบันพระมหากษัตริย์
ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ยุทธศาสตร์การออกกฎหมายพิเศษรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
มีเป้าหมายสาคัญ คือ จัดให้มีกฎหมายรองรับการบริหารจัดการในพื้นที่ที่เป็นสากล อาทิ การเวนคืนที่ดิน
ขนาดใหญ่ (๘,๑๐๐ ตารางกิโลเมตร) โดยแก้ไขเพิ่มเติมจากพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก
พ.ศ. 2561 การจั ดสรรที่ดิน และผลประโยชน์ส าหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
การเดินเรือในน่านน้าไทยกฎหมายว่าด้วยพาณิชย์นาวีสาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๑๐๐

กฎหมายว่าด้วยสิ่งแวดล้อมสาหรับเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ (GASEZ) กฎหมายว่าด้วยการขุดดินและถมดิน ฯลฯ


ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์และดูแลสุขภาพ
ระดั บ โลก (Medical Hub of the World) มี เ ป้ า หมายส าคั ญ คื อ จั ด ให้ มี ศู น ย์ ก ลางทางการแพทย์
และสาธารณสุขระดับสากลเพื่อดูแลสุขภาพทั้งใน และต่างประเทศ รวมถึงศูนย์สุขภาพผู้สูงวัยระดับสากล
และการพัฒนาเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์แผนไทยและสมุนไพร
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นา GASEZ เป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า นการค้ า การเงิ น
และการธนาคารของโลก (World Financial Center) มี เ ป้ า หมายส าคั ญ คื อ พั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ลาง
ทางการเงินหรือ World Fintech
ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมการต่อเรือ และการเดินเรือขนาดใหญ่
พาณิชย์นาวีและโลจิสติกส์ระดับโลก (World Class Logistic) มีเป้าหมายสาคัญ คือ ศูนย์กลางการต่อเรือ
เดินเรือ และโลจิกติกส์ เพื่อเชื่อมโยงการลงทุนระดับโลก
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๖ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารให้ สิ ท ธิ พิ เ ศษและสวั ส ดิ ก ารที่ ดี ที่ สุ ด ส าหรั บ ผู้ ไ ด้ รั บ
ผลกระทบจากการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
ของชุมชนและสังคม มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน มีเป้าหมายสาคัญ คือ การกาหนดสิทธิพิเศษ และสวัสดิการที่ดี
ที่สุดสาหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
ยุทธศาสตร์ที่ ๗ ยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางการศึกษา วิ จัย และพัฒนา (Academic
Hub of the World) มีเป้าหมายสาคัญ คือ การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการศึกษาการวิจัย
และการพัฒนาของโลก
ยุทธศาสตร์ ที่ ๘ ยุ ทธศาสตร์ด้านการกาลั งทหารและพลเรือนเพื่อรัก ษาผลประโยชน์
แห่งชาติมีเป้าหมายสาคัญ คือ กองทัพไทยเข็มแข็งและทันสมัยรองรับภัยคุกคาม ทุกรูปแบบและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ที่ ๙ ยุทธศาสตร์การขุดคลองไทย (Thai Canal) สองคลอง คือ K๙ และ K๑๐
เชื่อมมหาสมุทรอิน เดีย และมหาสมุทรแปซิฟิก มีเป้าหมายส าคัญ คือ การขุดคลองจานวนสองคลอง
ความยาวคลองละ ๑๓๕ กิ โ ลเมตร ความกว้ า งคลองละ ๑ กิ โ ลเมตร ความลึ ก คลองละ ๔๐ เมตร
และมีจุดเชื่อมระหว่างสองคลอง จานวนสองจุด คลองมีระยะห่างจากกัน ๑๐ กิโลเมตร พร้อมสร้างอุโมงค์
ลอดคลอง ๑๒ อุโมงค์ รวมถึงจัดให้มีคลองท่องเที่ยว การเดินเรือท้องถิ่น และเพื่อการระบายน้าป้องกัน
การเกิดน้าท่วม จานวน ๒ คลอง คู่ขนานโดยมีความกว้าง ๑๕๐ เมตร ยาว ๑๓๕ กิโลเมตร และมีจุดเชื่อม
คลองใหญ่ จานวน ๕ จุด
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๐ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาเป็ น ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วระดั บ โลก
และ Smart City มีเป้าหมายสาคัญ คือ เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวระดับโลก และเมืองอัจฉริยะ
ยุทธศาสตร์ ที่ ๑๑ ยุ ทธศาสตร์ด้านความมั่น คง มั่งคั่งทางเศรษฐกิ จ สั งคม การเมื อ ง
และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีเป้าหมายสาคัญ คือ ประชาชนในพื้นที่แนวคลองพาดผ่านจะเป็นผู้รับ
ผลประโยชน์สูงสุดลาดับแรก ประชาชนชาวไทย ได้รับประโยชน์จากาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้
(GASEZ) อย่างทัว่ ถึง รวมถึงประชาคมอาเซียนประชาคมโลกเช่นเดียวกัน
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๒ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมใหม่ (S - Curve) เทคโนโลยี
และนวัตกรรมของโลก มีเป้ าหมายส าคัญ คือ ส่ งเสริมอุตสาหกรรมบริ การ ได้แก่ ท่องเที่ยว การเงิ น
การลงทุ น โรงแรม การศึ ก ษา โดยมุ่ ง พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มด้ ว ยเทคโนโลยี
๑๐๑

และนวัตกรรมใหม่ รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมอวกาศ
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๓ ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นการอนุ รั ก ษ์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อม
อย่างยั่งยืน มีเป้าหมายสาคัญ คือ จัดให้มีกองทุนเฉพาะพื้นที่สาหรับการอนุรักษ์ ส่งเสริมฟื้นฟู ศึกษาวิจัย
และบริหารจัดการผ่านการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ที่ ๑๔ ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับการพัฒนา
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) มีเป้าหมายสาคัญ คือ จัดให้มีกองทุนส่งเสริ มการศึกษา
สาหรับประชาชนในพื้นที่ส่งเสริมให้ประชาชนในพื้นที่มีอาชีพทุกเพศทุกวัย
ยุทธศาสตร์ที่ ๑๕ ยุทธศาสตร์เขตการค้าเสรีและสถานบันเทิงครบวงจร (Entertainment
Center Complex) มีเป้าหมายสาคัญ คือ การเป็นศูนย์การค้ าระดับโลกครบวงจร ธุรกิจ บันเทิง และศูนย์
กีฬาระดับโลก “International Sports City”
๓.๒.๙ บทสรุป ข้อเสนอแนะและข้อสังเกต
๓.๒.๙.๑ บทสรุปรายงานการศึกษา
เขตเศรษฐกิจ พิเศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax Special Economic
Zone : GASEZ) จะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับโลกในพื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง
จังหวัดสงขลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง โดยจะมีการบริหารจัดการด้วยกฎหมายพิเศษ
(แก้ไขเพิ่มเติมจาก EEC) การเวนคืนที่ดิน ๘,๑๐๐ ตารางกิโลเมตร เพื่อนามาจัดระเบียบบริห ารจัดการเพื่อ
เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่าที่สุดโดยประชาชนที่ได้รับผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน สวัสดิการและ
คุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด โดยประชาชนที่ได้รับผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน สวัสดิการ และคุณภาพชีวิตที่ดี
สุดจากผลประโยชน์ ที่จ ะเกิดขึ้นจาก GASEZ และประการสาคัญที่นี่จะกลายเป็นศูนย์กลางการค้ าและ
เศรษฐกิจใหม่ของโลก โดยมีการขุดคลองตามแนวคลอง ตัวอย่างเช่น แนว ๙A เพื่อให้เรือสินค้าจากทั่วโลก
ได้ผ่านประเทศไทย ในพื้นที่ของ GASEZ นี้คลองที่จะขุด มีสองคลอง คือ คลอง K๙ และ K๑๐ โดยแต่ละ
คลองจะมีความยาว ๑๓๕ กิโลเมตร ความลึก ๔๐ เมตร ความกว้าง ๑ กิโลเมตร ซึ่งทั้งคลอง K๙ และ K๑๐
จะมีระยะห่างกัน ๑๐ กิโลเมตร และตลอดตามแนวคลองทั้งสองคลองมีจุดเชื่อมระหว่างคลอง จานวน ๒
จุด โดยแต่ละจุดจะมีความกว้าง ๑ กิโลเมตร นอกจากนี้ยังจะมีคลองเล็กคู่ขนานด้านนอกของทั้งคลอง K๙
และ K๑๐ เป็นจานวน ๒ คลอง มีความยาว ๑๓๕ กิโลเมตร ความกว้าง ๒๐๐ เมตร และความลึก ๑๕ เมตร คลองเล็ก
นี้จะใช้ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยว การขนส่งเรือท้องถิ่น และป้องกันปัญหาน้าท่วมภาคใต้มีจุดเชื่อมโยงกับ
๒ คลองใหญ่ คลองเล็ก ๒ คลองชื่อคลอง P และ คลอง B ห่างจากคลองใหญ่เป็นระยะทาง ๒ กิโลเมตร
รวมแล้ว GASEZ จะมีคลองใหญ่ ๒ คลอง (K๙ และ K๑๐) คลองเล็ก ๒ คลอง (P และ B) มีอุโมงค์ลอด
๑๒ อุโมงค์ให้รถและรถไฟผ่าน คลองใหญ่มีสะพานแขวน ๒ จุด ชื่อสะพาน C และ V ซึ่งเป็นจุดชมเมือง
ที่สวยงามที่สุด คลองเล็กมีสะพานคลองละ ๕ สะพาน เพื่อการคมนาคมและการท่อ งเที่ยว ทั้งคลองใหญ่
และคลองเล็ ก จะมี ท่ า เที ย บเรื อ ท่ า จอดเรื อ ท่ อ งเที่ ย วตลอดแนว ๔ คลองตามความเหมาะสม
เพื่ อ เป็ น ท่ า เที ย บเรื อ พาณิ ช ย์ แ ละเรื อ ส าราญที่ เ ดิ น ทางมาจากทั่ ว โลก การมี ค ลอง K๙ และ K๑๐
ใช้เป็ น เส้ น ทางขาไปเดิน เรื อจากฝั่ งอ่าวไทยไปยังฝั่ งอันดามัน เส้ นทางเดินเรือขากลั บจากฝั่ งอันดามั น
ไปยั ง ฝั่ ง อ่ า วไทยท าให้ เ ส้ น ทางเดิ น เรื อ มี ค วามปลอดภั ย ป้ อ งกั น อุ บั ติ เ หตุ แ ละการมี จุ ด เชื่ อ มคลอง K๙
และ K๑๐ สามารถช่วยแก้ปัญหาการกลั บเรือและเพื่อประโยชน์อื่น ๆ เนื่องจากคลองมีความยาวมาก
ทั้งนี้ดินที่ได้จากการขุดคลองสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
๑๐๒

๑) นาดินไปถมชายหาดอ่าวไทยที่ถูกน้าทะเลกัดเซาะหายไปหลายกิโลเมตร
ตั้งแต่จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ จนถึง จังหวัดสงขลา
๒) น าดิ น ไปท าเกาะเที ย มปากคลองด้ า นอ่ า วไทย เพื่ อ เพิ่ ม มู ล ค่ า เช่ น
เกาะสถานบันเทิงครบวงจร เกาะนกนางแอ่นเพื่อการท่องเที่ยว เกาะอุตสาหกรรมต่อเรือ โรงกลั่นน้ามัน
ปิโตรเคมี โกดังสต็อกสินค้าและท่าเทียบเรือขนถ่ายสินค้า
๓) เกาะเพื่อเชิดชูสถาบัน ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเกาะใหญ่
อยู่กลางอ่าวไทยขนาด ๒๐ ตารางกิโลเมตร
๔) เกาะทางด้านการทหารและความมั่นคง อุตสาหกรรมส่งดาวเทียมสู่อวกาศ
แนวคลองแบ่งออกเป็น ๓ ระดับความสาคัญ คือ
๑) AAA คือ พื้นที่ ระหว่างคลอง K๙ และ K๑๐ กว้าง ๑๐ กิโลเมตร ยาว ๑๓๕
กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ ๑,๓๕๐ ตารางกิโลเมตร
๒) AA คือ พื้นที่นอกคลอง K๙ และ K๑๐ ความกว้าง ๒๕ กิโลเมตรความยาว
๑๓๕ กิโลเมตร ๒ ด้าน (รวม 50 กิโลเมตร x 135 กิโลเมตร) คิดเป็นพื้นที่ 6,750 ตารางกิโลเมตร
๓) A คื อ พื้ น ที่ ข อง ๕ จั ง หวั ด คื อ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พัทลุ ง
จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา
ทั้ ง นี้ พื้ น ที่ ๕ จั ง หวั ด จะมี แ นวคลองพาดผ่ า นยาว ๑๓๕ กิ โ ลเมตร
กว้าง ๖๐ กิโลเมตร ถือว่าเป็นศูนย์กลางของเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) เป็นเนื้อที่
๘,๑๐๐ ตารางกิโลเมตร (AAA+ AA) ส่วนพื้นที่ A ใน ๕ จังหวัดที่เหลืออยู่จะมีความพิเศษน้อยกว่า AAA
และ AA
การออกกฎหมายเพื่ อ บริ ห ารจั ด การเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้
(The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) ในพื้นที่ 5 จังหวัด จะต่อยอดจากพระราชบัญญัติ
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 แต่จะพิเศษกว่า เพราะเป็น Smart City ระดับโลกแห่งใหม่
ล่าสุดของโลกและต้องออกกฎหมายใหม่เฉพาะเขตเศรษฐกิจขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax Special
Economic Zone : GASEZ) ได้แก่ กฎหมายเวนคืนที่ดินเพื่อบริหารจัดการในพื้นที่ 8,100 ตารางกิโลเมตร
และบางจุดของ 5 จังหวัด กฎหมายพาณิชย์นาวี กฎหมายการเดินเรือ กฎหมายการเงินการคลัง กฎหมาย
สิ่งแวดล้อม และกฎหมายสิทธิพิเศษต่างๆ เกี่ยวกับสวัสดิการสังคมใน 5 จังหวัด
ผลประโยชน์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น จากเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
และคลองไทย (Thai Canal) ถูกจัดสรรเพื่อพัฒนาในภาคส่วนต่างๆ ดังนี้
๑) พัฒนาพื้นที่ AAA AA และA ใน ๕ จังหวัด
๒) บารุงพัฒนาจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้อีก ๙ จังหวัด ร้อยละ ๑๔
๓) จัดสรรงบประมาณไปช่วยพัฒนา ๖๓ จังหวัด ร้อยละ ๒๐
๔) จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ ความมั่ น คงของ ชาติ ศาสนาและสถาบั น
พระมหากษัตริย์ ร้อยละ ๑๓
๕) จั ดสรรเงิน กองทุนเพื่ อสิ่ งแวดล้ อ มเขตเศรษฐกิจ พิเ ศษขวานทองภาคใต้
(GASEZ) ร้อยละ ๒
๖) กองทุนวิจัย และพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ร้อยละ ๑
๑๐๓

โครงสร้ างพื้น ฐาน ได้แก่ ไฟฟ้าพลั งงานสะอาด รถไฟรางคู่และความเร็ว สู ง


เชื่อมเมือง และแหล่งอุตสาหกรรม 1,000 กิโลเมตร โครงข่ายใยแมงมุมและถนนเชื่อมโยงในเขตเศรษฐกิจ
พิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) 1,000 กิโลเมตร
๓.๒.๙.๒ ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
การขุ ด คลองไทยอย่ า งเดี ย วไม่ ส ามารถจู ง ใจให้ เ กิ ด การลงทุ น ขนาดใหญ่ได้
จาเป็นจะต้องประกาศเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ในพื้นที่ ๕ จังหวัด จังหวัดกระบี่
จั งหวัดตรั ง จั งหวัดนครศรี ธ รรมราช จั งหวัดพัทลุ ง และจังหวัดสงขลา ซึ่งครอบคลุ มไปถึง การพั ฒ นา
เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การทหาร โดยยกระดับให้เป็นมาตรฐานโลก เพราะเป็นพื้นที่
ภูมิศาสตร์ ที่เหมาะสมแก่ การพัฒ นาอย่ างมีศั กยภาพมากกว่ าการเป็น คลองที่เป็น เส้ นทางการเดิ น เรื อ
เพี ย งอย่ า งเดี ย ว การเป็ น ศู น ย์ ก ลางพั ฒ นาของโลกในทุ ก ๆ ด้ า น จะสร้ า งประโยชน์ แ ก่ ป ระเทศไทย
ได้มากกว่าหลายเท่า รวมทั้งการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษา เพื่อรองรับโลกอนาคตที่มีการเปลี่ยนอย่างรวดเร็ว
จากการศึกษาเขตเศรษฐกิจ พิเ ศษอีส กัน ดาร์ และการบริห ารจัด การท่ า เรื อ
สิงคโปร์ (Port of Singapore Authority ( PSA) คณะอนุกรรมาธิการจึงมีข้อเสนอแนะดังต่อไปนี้
๑) ประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) เป็นวาระแห่งชาติ
ที่ต้องรีบดาเนินการอย่างเร่งด่วน
๒) รัฐบาลต้องรีบดาเนินการตั้งงบประมาณเพื่อสารวจออกแบบและปฏิบัติการ
ในพื้นที่จริง
๓) ออกพระราชบัญญัติและกฎหมายที่เกี่ยวข้องทั้งหมดในการบริหารจัดการ
เพื่อนาไปสู่การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๔) สร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัด คือ
จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดพัทลุง และจังหวัดสงขลา และประชาชนทั้งประเทศว่า
ผลประโยชน์ที่ประชาชนและประเทศจะได้รับจากเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๕) จั ด ให้ มีการทาประชามติจากประชาชนทั้งประเทศ เพื่อเห็ นชอบในการ
ดาเนินการเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๖) ควรนาแนวทางการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษอิสกันดาร์ ประเทศ
มาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศในเอเชียที่ประสบความสาเร็จในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษมาเป็นกรอบแนวทาง
ในการศึกษาความเป็นไปได้ ( Feasibility Study) และการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษใน 5 จังหวัด ได้แก่
จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช จั ง หวั ด พั ท ลุ ง และจั ง หวั ด สงขลา ภายใต้ ชื่ อ
“เขตเศรษฐ กิ จ พิ เ ศษขว าน ท องภ าค ใต้ ( The Golden Ax Special Economic Zone: GASEZ)”
เพื่อเป็นการขับเคลื่อน และพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทยในภาคใต้ ให้มีการบริหารจัดการ
ด้วยกฎหมายพิเศษในการเวรคืนที่ดิน จานวน 8,100 ตารางกิโลเมตร เพื่อนามาพัฒนาจัดระเบียบบริหาร
จัดการอสังหาริมทรัพย์ของประเทศไทยเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่าที่สุด โดยประชาชนที่ได้รับ
ผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน สวัสดิการและคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดและควรขุดคลองตามแนว k9 และ k10
มีร ะยะห่ างกัน 10 กิโ ลเมตร และมีเส้ น คลองน้าจืดคู่ ขนานเพื่อรองรับ การอุปโภค บริโ ภค ของชุมชน
และอุตสาหกรรมในอนาคต เพื่อเป็นท่าเทียบเรือพาณิชย์และเรือสาราญที่เดินทางมาจากทั่วโลกและเป็น
ศูนย์กลางการค้าและเศรษฐกิจใหม่ของโลกต่อไป
๑๐๔

๗) ท่าเรือ PSA (Port of Singapore Authority) ได้รับการยกย่องว่าบริหารงาน


ดีที่สุดแห่งหนึ่งในโลก สายการเดินเรือที่มาใช้บริการท่าเรือ PSA โดยเฉพาะความทันสมัยในด้านเทคโนโลยี
สารสนเทศ กล่าวกันว่า PSA เป็นท่าเรือซึ่งมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศดีที่สุดในโลก โดยใช้ระบบเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการลดเวลาและค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยังใช้ระบบคอมพิวเตอร์ CITOS
หรื อ Computer Integrated Terminal Operations System ซึ่ ง ท าให้ ผู้ บ ริ ห ารท่ าเรื อสามารถวางแผน
ควบคุม และตรวจสอบตู้คอนเทนเนอร์แต่ละตู้ คนขับรถหัวลากและเครน อย่างต่อเนื่อง
แม้ ท่ า เรื อ PSA จะมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพสู ง ที่ สุ ด ในโลก แต่ ก็ พ ยายามปรั บ ปรุ ง
ประสิทธิภาพอยู่ตลอดเวลา โดยมีนวัตกรรมสาคัญ ๓ ประการ ดังนี้
ประการแรก ระบบ “Flow-Through Gate System” ได้รับรางวัลนวัตกรรม
เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๒ เนื่องจากเป็นระบบที่ทันสมัยที่สุดในโลก มีประสิทธิภาพเหนือกว่าท่าเรือในยุโรปหรือสหรัฐฯ
ทาให้ การน าเข้า -ส่ งออกตู้คอนเทนเนอร์ จะผ่ านพิธีการศุล กากรโดยใช้เวลาเพียง ๒๐ - ๒๕ วินาที /คัน
นับว่าเร็วที่สุดในโลก
ประการที่สอง เป็นท่าเรือแห่งแรกของโลกที่ใช้นวัตกรรมใหม่ คือ Remote-
controlled Overhead Bridge Crane ท าให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพการท างานเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งไม่ เ คยมี ม าก่ อ น
เดิมพนักงานบังคับเครนแต่ละคน สามารถควบคุมเครนได้เพียง ๑ ตัว แต่เมื่อใช้ระบบใหม่แล้ว พนักงานแต่
ละคนสามารถควบคุมเครนได้มากถึง ๖ ตัว โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม คล้าย ๆ กับการใช้เมาส์
ทางานกับคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นแบบอัตโนมัติแทบทั้งหมด
ประการที่ส าม มีการติดตั้งเครนขนาดใหญ่ที่เรียกว่า Post-Panamax Quay
Cranes เพื่ อ ขนถ่ า ยสิ น ค้ า ขึ้ น ลงเรื อ เดิ น สมุ ท รขนาดใหญ่ โดยแขนของเครนมี ค วามยาวถึ ง ๕๕ เมตร
สามารถให้บริการแก่เรือที่มีขนาดความกว้างของลาตัวเรือไม่เกิน ๑๘ ตู้ ปัจจุบันได้ก้าวสู่ “Super Crane”
ซึ่งเป็นเครนขนาดใหญ่มีความยาวมากถึง ๖๐ เมตร สามารถให้บริการแก่เรือที่มีความกว้างของลาตัวเรือ
มากถึง ๒๒ ตู้ นอกจากท่าเรือคอนเทนเนอร์แล้ว PSA Singapore Terminal ยังให้ความสาคัญต่อท่าเรือ
สิ น ค้ า ทั่ ว ไป (Multi-purpose terminal) โ ดยมี ท่ า เรื อ Multi - purpose Terminal (MPT) of Pasir
Panjang และ Sambawang Wharves ให้ บ ริ ก าร MPT โดยสามารถรองรั บ การขนถ่ า ยสิ น ค้ า ประเภท
รถยนต์ ไ ด้ ม ากกว่ า ๑ ล้ า นคั น นอกจากนั้ น ยั ง มี ร ะบบเชื่ อ มโยงด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์ ที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ไปยังเขตอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในเขตเศรษฐกิจอีกด้วย
ประการส าคั ญ ที่ ท าให้ PSA Singapore Terminal ประสบความส าเร็ จ ก็ คือ
“ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ” โดย PSA Singapore Terminal ให้ ค วามความส าคั ญ ในการพั ฒ นาศั ก ยภาพ
ของพนักงานอยู่ตลอดเวลาทั้งทางด้านประสิทธิภาพการทางานและด้านอื่น ๆ
๓.๒.๙.๓ ข้อสังเกตเกี่ยวกับการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๑) ควรส่งเสริมให้ประชาชนทุกภาคส่วนและสมาคมคลองไทยเพื่อการศึกษา
และพั ฒ นาตลอดจนนานาชาติ ไ ด้ ท าการศึ ก ษาและต้ อ งสร้ า งความเข้ า ใจแก่ ป ระชาชนทุ ก คนเพื่ อ ให้
การสนับสนุนในการดาเนินการในเรื่องนี้อย่างกว้างขวาง
๒) ควรเสนอรายงานเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax
Special Economic Zone : GASEZ) ต่อที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎร เพื่อให้ความเห็นชอบเสนอต่อรัฐบาล
ให้เร่งดาเนินการ
๑๐๕

๓.๓ ผลการพิจารณาศึกษาผลกระทบการขุดคลองไทยและพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจทั้งด้าน
สิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง
ตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาการขุดคลองไทยการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
เพื่ อ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ ( SEZ) ครั้ ง ที่ ๖
เมื่อวัน พฤหั ส บดีที่ ๔ มิถุน ายน ๒๕๖๓ ได้มีมติแต่งตั้งคณะอนุ กรรมาธิก ารพิจารณาศึ กษาผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง นั้น
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้มอบหมายให้คณะอนุกรรมาธิการฯ เพื่อพิจารณาศึกษาวิเคราะห์
ผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น จากการด าเนิ น การขุ ด คลองไทยและพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
ในด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม สั ง คม ความมั่ น คง และการเมื อ ง รวมถึ ง พิ จ ารณารั บ ฟั ง เพื่ อ รั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น
ของประชาชนที่อาจได้รับผลกระทบจากการดาเนินการขุดคลองไทย ทั้งนี้ คณะอนุกรรมาธิการได้ทาการ
พิ จ ารณาศึ ก ษารวบรวมข้ อ มู ล ข้ อ คิ ด เห็ น จากทุ ก ภาคส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้ อ ง ทั้ ง ส่ ว นราชการ ภาคเอกชน
ภาคประชาชน อย่ า งรอบด้ า น โดยศึ ก ษาข้ อ มู ล ปฐมภู มิ โดยการประชุ ม รั บ ฟั ง จากหน่ ว ยงานภาครั ฐ
ภาคเอกชน ภาคประชาชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการดาเนินการขุดคลองไทยและพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้ และศึกษาข้อมูลปฐมภูมิ จากการลงพื้นที่ศึกษาดูงาน จัดสัมมนาและรวบรวมผลการศึกษา
แบบสอบถามหน่ว ยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และผู้มีส่วนได้เสีย ตลอดจนภาคประชาสังคมที่อาจได้รับ
ผลกระทบจากการดาเนินการขุดคลองไทยและพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ นอกจากนี้ยังได้ศึกษา
ข้อมูลทุติยภูมิ โดยศึกษาเอกสารทางวิชาการ งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและกฎหมายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

ในการนี้ คณะอนุ กรรมาธิ การฯ ได้ มี ผลการศึ กษาแบ่ งเป็ น ๕ ด้ าน โดยมี รายละเอี ยด
โดยสังเขป ดังนี้
๓.๓.๑ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
จากการศึกษาพบว่าเส้นทาง ๙A ที่ตัดผ่านจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัด
นครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา ความยาว ๑๒๐ กิโลเมตร มีความเหมาะสมเป็นเส้นทางที่ควรศึกษา
ในขั้นสมบูรณ์ (Full Feasibility Study) และเป็นแนวคลองที่ดีที่สุด โดยทั่ว ๆ ไปด้านสิ่งแวดล้อมอาจเกิด
ปัญหา ดังต่อไปนี้
๑) ธรณีวิทยา แหล่งแร่ธาตุและการชะล้างพังทลายของดิน
๒) ทรัพยากรป่าไม้ ทรัพยากรเกษตร การเลี้ยงสัตว์ สัตว์ป่าและพืชเศรษฐกิจ
๓) ทรัพยากรการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
๔) ทรัพยากรทางทะเล การแพร่กระจายพันธุ์สัตว์ทะเล ความหลากหลายทางชีวภาพ
๕) อุทกวิทยา น้าผิวดิน น้าใต้ดินและการไหลของน้า
อย่ า งไรก็ ต าม เนื่ อ งจากแนวเส้ น ทางของคลองไทยยั ง ไม่ ไ ด้ ก าหนดชี้ ชั ด ลงไปว่ า ที่ ใ ด
ตลอดจนการออกแบบความกว้าง ความลึกและส่วนประกอบอื่น ๆ ของคลองยังไม่ชัดเจน ดังนั้น จึงเป็นการ
ยากที่ จ ะชี้ ป ระเด็ น ผลกระทบที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ในที่ นี้ จึ ง จะน าเอาปั ญ หาที่ อ าจจะมี ขึ้ น โดยทั่ ว ๆ ไป
โดยเห็นควรมีข้อสังเกตและข้อเสนอแนะด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ ดังนี้
๑) การดาเนินการโครงการขุดคลองไทยอาจมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม แหล่งท่องเที่ยว
ชายฝั่ ง การเคลื่ อนย้ ายสิ่ งมี ชี วิ ตในทะเล เช่ น ปั ญ หาน้ าทะเลปนเปื้ อ นกั บ น้ าจื ด อาจส่ ง ผลกระทบต่ อ
๑๐๖

การทาการเกษตร การปนเปื้อนสารเคมี มลพิษทางน้าและมลพิษทางอากาศจากการเดินเรือ ตลอดจนส่งผล


กระทบต่อการท่องเที่ยวจึงต้องพิจารณาอย่างรอบด้านโดยเฉพาะการลดมลพิษและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
๒) การดาเนินการโครงการขุดคลองไทย ต้องอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม ควรมีการตรวจสอบ
พื้นที่อนุรักษ์ก่อนดาเนินการ เช่น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น
๓) การดาเนินการโครงการขุดคลองไทยต้องมีการจัดทารายงานการประเมินผลกระทบ
สิ่ ง แวดล้ อ ม EIA (Environmental Impact Assessment) และจั ด ท ารายงานประเมิ น ผลกระทบ
ต่ อ สุ ข ภาพ EHIA (Environmental Health Impact Assessment) พร้ อ มทั้ ง ก าหนดแนวคลอง ๙A
ที่ชัดเจนเพื่อศึกษาความเหมาะสม (Feasibility Study) และการออกแบบรายละเอียด (Detailed Design)
๔) การด าเนิ น การโครงการขุ ด คลองไทย ควรมี ก ารประสานรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น
และให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการขุดคลองไทยเนื่องจาก
โครงการขุดคลองไทยมีข้อมูลที่เกี่ยวข้องและมีข้อมูล ที่คลาดเคลื่ อนแตกต่างกันเป็นจานวนมาก ดังนั้น
หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งต้ อ งรวบรวมข้ อ มู ล จากงานวิ จั ย สถานศึ ก ษา ข้ อ มู ล ทางวิ ช าการ และรั บ ฟั ง
ความคิ ด เห็ น จากภาคประชาชนเพื่ อ ให้ ไ ด้ ม ากที่ สุ ด เพื่ อ ให้ ก ารพิ จ ารณาเป็ น อย่ า งรอบคอบ ได้ ข้ อ มู ล
และข้อเท็จจริงที่ถูกต้องมากที่สุด
๓.๓.๒ ผลกระทบด้านสังคม
เนื่องจากดาเนินการโครงการขุดคลองไทยซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ต้องมีการเวนคืนพื้นที่
ที่เกี่ย วข้องเพื่อใช้ในกิจ การต่าง ๆ จึ งทาให้ เกิดผลกระทบต่อพื้นที่ทากิน และที่อยู่อาศัยของประชาชน
ในพื้นที่จากการศึกษาสามารถสรุปผลกระทบด้านสังคมที่สาคัญได้ ดังนี้
๑) ด้านการเวนคืนที่ทากิน ที่อยู่อาศัย สาธารณูปโภคต่าง ๆ เพื่อดาเนินโครงการ
๒) ด้านปั ญหาสั งคมจากการเปลี่ ยนแปลงวิถีชี วิต อาชีพ และรูปแบบอาชี พ ตลอดจน
รู ป แบบในการประกอบอาชี พ ที่ เ ปลี่ ย นจากภาคเกษตรกรรมดั้ ง เดิ ม ไปสู่ อุ ต สาหกรรมสมั ย ใหม่ เช่ น
อุตสาหกรรมการบินการพาณิชย์นาวี การท่องเที่ยว การบริการ การเกษตรแนวใหม่ ที่เกิดจากการเชื่อมโยง
กั บ เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษทั้ ง ประเทศส่ ง ผลให้ ก ารผลิ ต ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ไ ม่ ส มดุ ล กั บ ความต้ อ งการ
ของตลาดแรงงาน
๓) ด้านการไหลบ่าทางวัฒนธรรมต่างชาติ จึงอาจส่งผลกระทบทาให้เกิดความเหลื่อมล้า
ของคนในพื้ น ที่ เกิดปั ญหาสั งคม ปั ญหาอาชญากรรมที่เ กิ ดจากความเป็ นเมื องและอาจส่ งผลกระทบ
ต่อโบราณสถานรวมทั้งโบราณวัตถุในบางพื้นที่ ตลอดจนความวิต กกังวลเกี่ยวกับการดาเนินโครงการ
ขุดคลองไทยที่ต้องแบ่งแยกพื้นที่ทางกายภาพ
จากผลกระทบด้านสังคมที่ได้ทาการศึกษามา คณะอนุกรรมาธิการฯ เห็นควรมีข้อสังเกต
และข้อเสนอแนะผลกระทบด้านสังคมสาคัญ ดังนี้
๑) หากมีการดาเนินโครงการคลองไทยจะเกิดการย้ายถิ่นของชุมชนขนาดใหญ่และการเวนคืน
ที่ดินในแนวโครงการ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรศึกษาอัตราค่าเวนคืนและชดเชยที่เหมาะสมเป็นธรรมแก่ผู้
ได้รั บ ผลกระทบ รวมทั้งจั ดหาพื้นที่อยู่ อาศัยและทากินทดแทนในบริเวณโครงการคลองไทย ตลอดจน
ด าเนิ น การจั ด ตั้ ง กองทุ น เยี ย วยาผู้ ไ ด้ ผ ลกระทบและครอบครั ว เป็ น มร ดกตกทอดได้ ต ามกฎหมาย
ทั้งนี้ รัฐต้องดาเนินการในเรื่องการจัดการที่ดิน ดังนี้
(๑.๑) กาหนดอัตราการเวนคืนที่ดินในเขตพื้นที่คลองไทยสูงกว่าอัตราการประเมินที่ดินปกติ
๑๐๗

(๑.๒) การเวนคืนที่ดิน ควรจัดสรรที่ดินให้ แก่ผู้ ถูกเวนคืนให้ อยู่ ในเขตพื้นที่คลองไทย


โดยไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้นั้นเกินสมควร ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนด
(๒) เนื่ องจากเกิ ดการเปลี่ ยนแปลงวิถีชีวิต อาชีพ และรูปแบบการประกอบอาชีพแบบ
ดั้งเดิมเป็ น อุตสาหกรรมสมัย ใหม่ที่ อาจเกิดขึ้ นอย่ างรวดเร็ว หน่ว ยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณาศึ ก ษา
ปรั บ ปรุ งหลั กสู ตรการเรี ย นการสอนให้ ส อดคล้ องรองรับกับสภาพสั งคม และเศรษฐกิจที่เปลี่ ยนแปลง
เหมาะสมทั้งนี้รัฐต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ ดังนี้
(๒.๑) การประกอบอาชีพ เนื่องจากการขุดคลองไทยจะทาให้ผู้ที่อยู่ในแนวคลองไทย
ขาดรายได้ในระหว่างการดาเนิ น การขุดคลองไทย รัฐ ต้องจัดหางานให้ แก่ผู้ ที่ได้ผ ลกระทบและจัดสรร
งบประมาณเพื่ออุดหนุนรายได้แก่ผู้ได้รับผลกระทบ
(๒.๒) รั ฐ ต้ อ งวางแผนการศึ ก ษาด้ า นการศึ ก ษาเพื่ อ การประกอบอาชี พ ในเขต
คลองไทยในอนาคต โดยมีเงื่อนไขบุตรหลานผู้ที่อยู่ในคลองไทยต้องมีงานทาทุกคนตามความรู้ความสามารถ
และศักยภาพของแต่ละบุคคล
(๒.๓) เพื่ อ การแก้ ปั ญ หาด้ า นความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม
เป็ น ไปอย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพ จึ งควรศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงและการไหลบ่าทางวัฒนธรรมต่างชาติ
และผลกระทบต่อโบราณสถาน รวมทั้งโบราณวัตถุในบางพื้นที่ ตลอดจนความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดาเนิน
โครงการขุดคลองไทยที่ต้องแบ่งแยกพื้นที่ทางกายภาพอย่างถ่องแท้
๓.๓.๓ ผลกระทบด้านความมั่นคง
๑) หากมี ก ารด าเนิ น โครงการขุ ด คลองไทยย่ อ มต้ อ งมี ก ารขุ ด แผ่ น ดิ น แบ่ ง แยกพื้ น ที่
ทางกายภาพของจังหวัดในแนวคลอง โดยเฉพาะข้อคัดค้า นและข้อกังวลที่คาดการณ์ว่าหากมีโครงการ
ขุดคลองไทยจะทาให้เกิดการแยกประเทศเช่นเดียวกับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับประเทศโคลัมเบียจนเกิดการ
แยกดินแดนเป็นประเทศปานามา ทว่าการแบ่งแยกดินแดนและตั้งตนเป็นรัฐอิสระ ภายหลังปีพุทธศักราช
๒๕๓๔ หรื อหลั งยุ คสงครามเย็ น ผู้ ใดหรื อกลุ่ มบุคคลใดจะประกาศตั้งเป็นรัฐอิสระโดยการใช้ความรุ นแรง
และไม่ได้รับความยินยอมจากรัฐเดิมที่แยก รวมทั้งสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ไม่อยู่ในภูมิภาคที่เป็นอาณา
นิคมเดิมที่สหประชาชาติจะต้องเข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนให้ตั้งรัฐใหม่ ดังนั้นการแบ่งแยกดินแดน
ที่ จ ะลุ ก ลามจากพื้ น ที่ ส ามจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ จ นส่ ง ผลให้ เ กิ ด การแยกประเทศเป็ น สองประเทศ
โดยวิธีการใช้ความรุนแรงจากการกระตุ้นหากเกิดโครงการขุดคลองไทย เป็นไปไม่ได้ ในตรงกันข้ามจะส่งผล
ดีห ากเกิดโครงการคลองไทยจะช่ว ยให้ เกิ ดเศรษฐกิจ ที่ ดีประชาชนที่ ได้ รับผลจากการมี รายได้เ พิ่ ม ขึ้ น
จากโครงการจะช่วยป้องกันการเกิดเหตุร้ายที่จะลุกลามได้
๒) หากมีโครงการขุดคลองไทยสามารถช่วยสนับสนุนและส่งเสริมให้กาลังทางเรือสามารถ
เคลื่อนย้ายไปมาระหว่างกันได้สะดวกหากถูกปิดล้อมและหากเกิดภัยพิบัติฝั่งใดฝั่งหนึ่ง กาลังทางเรืออีกฝั่ง
สามารถเข้าช่วยเหลือซึ่งกันและกันได้รวดเร็วยิ่งขึ้น เพื่อให้การรักษาความมั่นคงที่เป็นระบบและเกิดความ
มั่นใจในการรักษาความมั่นคงในพื้นที่คลองไทย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษาผลกระทบและแนวทางการ
รั ก ษาความมั่ น คงภายใน การรั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล เส้ น ทางการคมนาคมทางทะเล
ที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการคลองไทยที่เพิ่ มมากขึ้น ความมั่น คงทางภาคพื้นดินที่เปลี่ยนแปลง ความมั่นคง
ทางทะเลในพื้นที่รับผิดชอบและความมั่นคงในห้วงอากาศ อวกาศ รวมทั้งการจัดโครงสร้างกาลังทางบก ทาง
เรื อและทางอากาศอาวุ ธยุ ทโธปกรณ์ ที่ เหมาะสมในการกรณี เกิ ดโครงการคลองไทยกั บศึ กษาการยุ ทธ์ ร่ วม
๑๐๘

และผสม รวมถึงการป้องปรามไม่ให้มีการสร้างความเสี ยหายแก่โ ครงการขุดคลอง ตลอดจนการรัก ษา


ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสาหรับเรือทุกประเภทที่มาใช้ประโยชน์ในโครงการคลองไทย
๓) ปัญหาการหลั่งไหลเข้ามาของผู้คนจากทั่วโลก เช่น ปัญหาก่อการร้ายและอาชญากรรม
ข้ า มชาติ ร วมทั้ ง ปั ญ หาแรงงานต่ า งด้ า ว และผู้ ห ลบหนี เ ข้ า เมื อ งผิ ด กฎหมายเข้ า มาก่ อ อาชญากรรม
ประทุษร้ายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สินในพื้นที่โครงการคลองไทย การปล้นสะดมเรือที่รอเข้ามาใช้บริการ
โครงการ เป็นต้น ส่งผลให้การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในพื้นที่โครงการหากมีโครงการขุดคลองไทยมี
ความยุ่ ง ยากและซั บ ซ้ อ นมากขึ้ น จ าเป็ น ต้ อ งมี ก าลั ง พลด้ า นการบั ง คั บ ใช้ ก ฎหมายที่ มี ทั ก ษะพิ เ ศษ
นอกเหนือจากกาลังพลที่ปฏิบั ติงานด้านการบังคับใช้กฎหมายปกติ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรศึ ก ษา
ผลกระทบและแนวทางในการรักษาความมั่นคง และการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่โครงการขุดคลองไทย
และแนวทางการจั ดโครงสร้ างกาลั งด้ านความมั่ นคงที่บัง คับ ใช้ กฎหมายให้ เ กิด ความปลอดภัย ในชี วิ ต
และทรัพย์สินสูงสุด
๓.๓.๔ ผลกระทบด้านการเมือง
๑) ด้านการเมืองภายในประเทศ หากมีการดาเนินโครงการคลองไทยเป็นการกระตุ้น
เศรษฐกิจ จะช่วยให้เกิดอาชีพใหม่ และการจ้างงาน รวมทั้งสร้างรายได้ให้กับคนในพื้นที่และรายได้กระจาย
ทั่ว ประเทศ ลดความเหลื่ อมล้ า ส่ งผลให้ การเมืองภายในประเทศเข้มแข็งขึ้น เมื่อประชาชนอยู่ดีกินดี
การเมืองภายในประเทศจะสงบลง
ส าหรั บ การปกครองส่ ว นภูมิภ าคและการปกครองส่ วนท้องถิ่นมีการบริห ารจัดการ
ที่มีความซับซ้อนต่างจากปัจจุบันเนื่องจากอาจมีการแบ่งเขตการปกครองพื้นที่ใหม่ จึงควรศึกษาการใช้
รูปแบบการปกครองทั้งส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ หรือมีการ
ปกครองแบบพิเศษซึ่งต่างจากการปกครองท้องถิ่นในปัจจุบัน
๒) ด้านการเมืองระหว่างประเทศ หากมีโครงการขุดคลองไทย ประเทศไทยต้องแสดง
จุ ดยื น หรื อท่าทีร ะหว่างประเทศว่าประเทศไทยปรารถนาให้ เป็นคลองแห่งความร่ว มมือของนานาชาติ
เพื่อให้เกิดการร่วมมือทางการเมืองระหว่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ รวมทั้งต้องมีความเป็น
กลางทางการเมืองระหว่างประเทศ
ทั้งนี้ คณะอนุ กรรมาธิการฯ เห็ นควรมีข้อสั งเกตและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับผลกระทบ
ทางการเมือง ที่สาคัญ ดังนี้
๑) การดาเนินโครงการขุดคลองไทยอาจเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้ อมสภาพเศรษฐกิจ
และสังคมทาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องรับภาระและแก้ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ดังนั้น จึงสมควร
มี ก ฎหมายให้ มี การปกครองท้ องถิ่ นรู ปแบบพิ เศษเพื่ อให้ ท้ องถิ่ นสามารถจั ดเก็ บภาษี และบริ หารรายได้
และสามารถจัดการกับผลกระทบด้านต่าง ๆ ข้างต้น ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒) ด้านการเมืองภายในประเทศ หากมีการดาเนินโครงการคลองไทยเป็นการกระตุ้น
เศรษฐกิจ จะช่วยให้เกิดอาชีพใหม่และการจ้างงาน รวมทั้ง สร้างรายได้ให้กับคนในพื้นที่และรายได้กระจาย
ทั่ ว ประเทศ ลดความเหลื่ อ มล้ า ส่ ง ผลให้ ก ารเมื อ งภายในประเทศเข้ ม แข็ ง ขึ้ น แต่ ก ารปกครอง
ส่วนภูมิภาคและการปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการที่ความซับซ้อนต่างจากของเดิม ควรศึกษา
การใช้รูปแบบการปกครองทั้งส่วนภูมิภาคพและส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ในแบบพิเศษซึ่งต่างจากการปกครองเดิม
๑๐๙

๓) กระทรวงการต่างประเทศหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรศึกษาหาแนวทางการบริหาร
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศมหาอานาจที่ส มดุล เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างสาธารณรัฐ ประชาชนจีน
และสหรั ฐ อเมริ ก า หรื อ กรณี ค วามขั ด แย้ ง ระหว่ า งสาธารณรั ฐ อิ น เดี ย กั บ สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น
และควรทาความเข้ าใจสื่ อสารให้ ป ระเทศเพื่ อนบ้านทราบถึ งแนวทางในการดาเนินโครงการดัง กล่ า ว
และรับทราบว่าประเทศไทยกาลังพิจารณาศึกษาโครงการดังกล่าวอย่างจริงจัง
๓.๓.๕ กฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาขุดคลองไทย และพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
เนื่ อ งจากโครงการคลองไทยมี ค วามเป็ น มายาวนานกว่ า ๓๐๐ ปี แนวคิ ด โครงการ
ขุดคลองไทยเริ่มปรากฏมาตั้งแต่สมัยอยุธยาและมีผู้สนใจศึกษาเกี่ยวกับแนวทางการดาเนินโครงการดังกล่าว
มาโดยตลอด ทว่าในการศึกษาแต่ละครั้งแม้จะมีการจัดทารายการพิจารณาศึกษาออกมาเรียบร้อยแต่ก็มัก
มีเหตุผลขัดข้องบางประการทาให้ไม่อาจนาผลการศึกษามาปฏิบัติให้เกิดผลลัพธ์ได้ ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจาก
โครงการขุ ด คลองไทยหากมี ก ารด าเนิ น การจะเป็ น โครงการที่ ยิ่ ง ใหญ่ ที่ สุ ด ในประวั ติ ศ าสตร์ ช าติ ไ ทย
และมีผู้ได้รับผลกระทบจานวนมากการบริหารความขัดแย้งให้เกิดความพอใจแก่ทุกฝ่ายจึง อาจประสบ
ผลสาเร็จได้ยาก
อย่างไรก็ตาม หากรัฐบาลพิจารณาอย่างละเอียด รอบคอบ แล้วเห็นว่า การขุดคลองไทย
เกิ ด ผลดี ม ากกว่ า ผลเสี ย และสามารถสร้ า งประโยชน์ ใ ห้ แ ก่ ป ระเทศชาติ แ ละประชาชนได้ อ ย่ า งสู ง สุ ด
คณะอนุกรรมาธิการ เห็นควรให้มีการตรากฎหมายเพื่อให้มีการจัดตั้งองค์กรควบคุมบริหารจัดการโครงการ
คลองไทยอย่างรัดกุมทั้งในด้านการลงทุน การก่อสร้าง แผนการบริหารจัดการ บารุงรักษา ภายหลังการ
ก่อสร้างแล้วเสร็จ ตลอดจนการชดเชยเยียวยาประชาชนในพื้นที่อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมต่อไป

๓.๔ ผลการสัมมนารับฟังความคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อการดาเนินการขุดคลองไทย
และพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ทั้งในส่วนของประชาชน ภาครัฐ และเอกชน
จากการที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจ ภาคใต้ สภาผู้ แทนราษฎร ได้ล งพื้นที่ส ารวจพื้นที่จริงและรับฟัง ความคิ ดเห็ นจากประชาชน
ตามที่คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร ได้จัดให้มีการสัมมนารับฟังความคิดเห็น เรื่อง “การขุดคลองไทยเพื่อเป็นศูน ย์กลาง
การค้าโลก แหล่ งอุตสาหกรรมและการท่องเที่ยวระดับโลก” และศึกษาดูงาน เรื่อง “การพัฒ นาพื้นที่
ระเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ เ พื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย” ระหว่ า ง
วัน อาทิตย์ ที่ ๑๙ ถึงวัน อังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓ ณ จังหวัด กระบี่ และจังหวัดนครศรีธรรมราช
การดาเนินการสัมมนามีดังนี้
คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ฯ ได้ ชี้ แ จงความเป็ น มาและวั ต ถุ ป ระสงค์ ใ นการสั ม มนาว่ า
ตามที่ส มาชิกสภาผู้แทนราษฎรทั้งฝ่ ายรั ฐบาลและฝ่ ายค้านร่วมกันเสนอให้ สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาการขุดคลองไทยการพัฒนาพื้นที่ ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ขึ้น เพื่อศึกษาความเป็นไปได้อย่างจริงจัง ในการสัมมนาในครั้งนี้ เพื่อรับฟังความคิดเห็น และข้อเสนอแนะ
ต่อการขุดคลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ร ะเบีย งเศรษฐกิจภาคใต้ เพื่ อนาข้อมูลไปกาหนดแนวทางการ
ดาเนินการตามที่ประชาชนต้องการ ซึ่งโครงการขุดคลองไทยไม่อาจประสบผลสาเร็จได้เลยหากปราศจาก
ความร่ ว มมื อ จากพี่ น้ อ งประชาชนและเสนอรายงานการพิ จ ารณาศึ ก ษาต่ อ สภาผู้ แ ทนราษฎร
๑๑๐

จากการสัมมนา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน สรุปความ ดังนี้


๑) ปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค แห่ ง การพั ฒ นาแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ หากมี โ ครงการคลองไทยเกิ ด ขึ้ น จริ ง
ควรพิ จ ารณาหาแนวทางว่ า ควรด าเนิ น การอย่ า งไรให้ โ ครงการคลองไทยเป็ น ของประเทศไทย
และเกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติมากที่สุด มีกฎหมายควบคุมเฉพาะที่เหมาะสม มีกลยุทธ์ในการเจรจา
ต่อรองในระดับนานาชาติที่ไม่เสียเปรียบ เป็นโครงการที่พร้อมที่จะร่วมมือกับทุกประเทศ เป็นคลองแห่ง
มิตรภาพและสัน ติภ าพ หากประเทศไทยไม่เปลี่ ยนแปลงก็ไม่อาจพัฒนาศักยภาพการแข่งขันได้เท่ า กับ
ประเทศอาเซียน เช่น ประเทศเวียดนาม ประเทศมาเลเซีย เป็นต้น หากมีโครงการขุดคลองไทยซึ่งเป็น
โครงการขนาดใหญ่ย่อมเกิดความพัฒนาเปลี่ยนแปลงแก่ภาคใต้ และประเทศไทย
๒) เสนอให้ มี การศึ กษาเรื่ องโครงการขุ ดคลองไทยอย่ างจริ งจั งรอบด้านเพื่ อประกอบการพิ จารณา
ต้องเป็นการแสดงท่าทีอย่างชัดเจนว่าจะศึกษาอย่างจริงจังรอบด้านถึงข้อดี ข้อเสีย ตลอดจนนามาประชาสั มพันธ์
ให้ประชาชนทราบ อย่างไรก็ตามรัฐบาลควรดาเนินโครงการขุดคลองไทยได้แล้ว เนื่องจากที่ผ่านมามีการศึกษาข้อมูล
มาโดยตลอด คลองไทยเป็ นความหวั งของคนใต้ อยากให้ ภาคใต้ พั ฒนาเจริ ญเหมื อนภาคตะวั นออกเฉี ยงเหนื อ
และภาคเหนื อ หากมี การขุ ดคลองไทยประชาชนในพื้ นที่ แนวคลองย่ อมได้ ประโยชน์ จากการท่ องเที่ ยว
ผลผลิตทางการเกษตรราคาสูงขึ้นและหวังว่าโครงการคลองไทยจะเกิดขึ้นจริง
๓) หากเกิดโครงการขุดคลองไทยจะช่ว ยสร้างงาน สร้างรายได้ เกิดระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
หรือเขตเศรษฐกิจพิเศษ ลดความเหลื่อมล้า เป็นทางเลือกนอกจากพืชเศรษฐกิจของภาคใต้ เช่น ยางพารา
ปาล์ มน้ ามัน หรื อการท่องเที่ย ว ในอดีตโครงการขนาดใหญ่ ข องประเทศไทยมัก ถู ก คัด ค้านเสมอ เช่น
ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ ถู ก คั ด ค้ า นมาโดยตลอด ทว่ า ปั จ จุ บั น ท่ า อากาศยานสุ ว รรณภู มิ มี ผู้ โ ดยสาร
และนั กท่องเที่ย วเดิน ทางมาใช้บ ริ การประมาณ ๗๐ ล้ านคนต่อปี สามารถกระจายนักท่องเที่ยวไปยั ง
จังหวัดต่าง ๆ ของประเทศไทยสามารถสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่ประเทศเป็นจานวนมาก เช่นเดียวกันหาก
เกิดโครงการคลองไทยขึ้นจะเกิดจุ ดเชื่อมต่อการเดินทางขนส่งสินค้า เกิดอุตสาหกรรมต่อ เนื่อง เช่น การ
ท่องเที่ยว การบริการ การต่อเรือ อาชีพที่เกี่ยวข้อง อาทิ พนักงานนาร่อง ช่างเชื่อมต่อเรือ ประชาชน
ชาวไทยถูกกาหนดชีวิตโดยชาติมหาอานาจ เช่น การล่าอาณานิคม สงครามโลก ครั้งนี้ขอให้ชาวไทยกาหนด
ชีวิตของตนเองโดยการขุดคลองไทยเพื่อความเจริญและเศรษฐกิจของประเทศชาติ
๔) สาหรับงบประมาณในการลงทุนโครงการคลองไทยนั้น มีประเทศต่าง ๆ สนใจเข้าร่วมลงทุน
เนื่องจากคลองไทยอาจเป็นจุดยุทธศาสตร์ใหม่ของโลก แต่ท่าทีของประเทศไทยก็ควรเป็นคลองนานาชาติ
เพื่อใช้ในการพาณิช ย์ นอกจากนี้ ใ นการสั ม มนาบางส่ ว นเสนอว่า งบประมาณในการดาเนิ นโครงการ
ไม่จาเป็นต้องหาแหล่งเงินทุนจากต่างประเทศ เสนอให้ใช้การขายหุ้นแก่ประชาชนภายในประเทศก็น่าจะ
ได้รับความสนใจและมีงบประมาณเพียงพอในการดาเนินโครงการ
๕) คลองสาคัญของโลกที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น คลองปานามา คลองสุเอซ คลองคีล มิได้เกิดสงคราม
แต่อย่างใด ปัจจุบันคลองเหล่านี้ล้วนสร้างผลประโยชน์และเกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจแก่ประเทศนั้น ๆ
อย่างมหาศาล หากมีการขุดคลองไทยสามารถร่นระยะเวลาการเดินเรือจากช่องแคบมะละกาลงประมาณ
๑,๐๐๐ – ๑,๕๐๐ กิโลเมตร ย่อมสามารถประหยัดต้นทุน ลดการปล่อยมลพิษจากการเผาไหม้เชื้อเพลิง
สามารถใช้อ้างอิงต่อต่างชาติได้ว่าคลองไทยสามารถช่วยลดมลพิษ ลดโลกร้อนได้และอาจได้รับเงินสนับสนุน
จากกองทุ น ภู มิ อ ากาศสี เ ขี ย ว (Green Climate Fund : GCF) การร่ น ระยะเวลาในการเดิ น เรื อ
จึงทาให้ต้นทุนในการขนส่งถูกลง ส่งผลให้ราคาสินค้าถูกลงด้วย
๑๑๑

๖) ข้อกังวลถึงผลกระทบจากการขุด คลองและพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้และข้อเสนอแนะแนว
ทางการแก้ปัญหาจากเวทีสัมมนา
๖.๑) เกี่ ย วกั บ ประเด็ น การแบ่ ง แยกดิ น แดนเห็ น ว่ า คลองไทยเป็ น เพี ย งแค่ ก ารแบ่ ง แยก
ทางกายภาพมิใช่การแบ่งแยกอานาจอธิปไตยแต่อย่างใด สาหรับปัญหาด้านความมั่นคง ต้องมีการวางระบบ
พัฒนาเศรษฐกิจเปิดโอกาสให้นานาชาติร่วมลงทุน เป็นคลองแห่งความร่วมมือเพื่อลดความขัดแย้งเนื่องจาก
ทุกประเทศมีผลโยชน์ร่วมกันในคลองไทย มีการเชิญประเทศตะวันตกและตะวันออกที่สนใจมาร่วมลงทุน
เพื่อให้ทุกประเทศเกิดความร่วมมือและมีผลประโยชน์ร่วมกันในคลองไทย ส่งผลให้ลดความขัดแย้ง
๖.๒) ปัญหาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม พื้นที่ภาคใต้มีความอุดมสมบูรณ์ทางทะเลสามารถผลิต
อาหารเลี้ยงคนทั่วโลก หากเกิดโครงการขุดคลองไทยอาจเกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เช่นเดียวกับคลอง
ขนาดใหญ่ในอดีต เช่น คลองสุเอซ คลองปานามา ซึ่งก็มีระบบการจั ดการเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่ งแวดล้ อม
อย่ างไรก็ตามปั จ จุ บั น เทคโนโลยี ก้าวหน้ าขึ้นวิธีการบริห ารจั ดการสิ่ งแวดล้ อ ม ย่อมมีประสิ ทธิภ าพขึ้ น
ข้อกังวลในด้านการเกิดตะกอนจากการขุดคลองจะทาให้เกิดผลกระทบต่อน้าทะเล เสนอให้มีการศึกษาเชิงลึก
ร่วมกับสมาคมวิศวกรแห่งประเทศไทยเพื่อวิเคราะห์ถึงผลกระทบและแนวทางแก้ปัญหาอย่างรอบคอบที่สุด
๖.๓) ปั ญหาค่าตอบแทนหรื อผลประโยชน์ที่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากการขุด คลอง
และพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ภาคใต้ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งส าคั ญ ที่ ไ ด้ มี ก ารแลกเปลี่ ย นและร่ ว มแสดงความคิ ด เห็ น กั น
อย่างกว้างขวาง ในเรื่องแนวทางการชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจากคลองไทย เช่น การเวนคืนที่ดินทากิน
หรื อที่อยู่ อาศัย จะต้อ งมีการชดเชยอย่ างเหมาะสมเป็นธรรมและต้องทาให้ ประชาชนมั่นใจ การให้ หุ้ น
หรือผลกาไรจากการบริการพื้นที่แนวคลองแก่ผู้ได้รับผลกระทบ โดยอาจใช้กองทุนคลองไทยที่จัดตั้งขึ้น
๖.๔) ผลตอบแทนจากโครงการขุดคลองไทยมิได้มาจากค่าผ่านคลองแต่รายได้และผลประโยชน์
ตอบแทนส่ ว นใหญ่ ม าจากจากการบริ ห ารพื้ น ที่ กิ จ การ การบริ ก ารต่ า ง ๆ จากพื้ น ที่ แ นวคลอง ดั ง นั้ น
จึงมีข้อเสนอ คือ
(๑) รั ฐ บาลต้ อ งก าหนดให้ ผู้ ม าท างานในโครงการขุ ด คลองไทย เช่ น วิ ศ วกรแรงงาน
ต้องเป็นคนไทยเท่านั้น
(๒) ต้องออกกฎหมายแบ่งปันหุ้นในการทาธุรกิจหรือกิจการต่าง ๆ ให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบ
จากโครงการคลองไทยอย่างเหมาะสมเป็นธรรมและตกทอดเป็นมรดกแก่ทายาท
(๓) ต้ อ งไม่ เ ก็ บ ภาษี บ างประเภทที่ ส่ ง เสริ ม การค้ า การผลิ ต เช่ น ภาษี พิ กั ด ศุ ล กากร
ไม่ เ ก็ บ ภาษี บุ ค คลธรรมดา ส่ ง เสริ ม ให้ เกิ ด ระบบเสรีท างการเงิ น ส่ ง ผลให้ เ กิ ดการพั ฒ นาระบบการค้า
การธนาคาร
(๔) ประชาชนที่ มี ชื่ อ อยู่ ท ะเบี ย นบ้ า นอย่ า งน้ อ ย ๕ ปี ในพื้ น ที่ โ ครงการต้ อ งได้ รั บ
ผลประโยชน์ที่เหมาะสมเป็นธรรม เช่น หุ้นในกิจการต่าง ๆ เอ็ นเตอร์เทนเมนต์คอมเพล็กซ์ในพื้นที่โครงการ
คลองไทย สร้างการพัฒนาเศรษฐกิจส่งเสริมระบบการเงินเสรี
(๕) รัฐต้องมีนโยบายการจ้างงานในระดับปริญญาตรีลงมาต้องเป็นผู้มีสัญชาติไทยทั้งหมด
นอกจากนี้ยังเกิดการพัฒนาอาชีพตัวแทนออกของหรือชิปปิ้ง (Shipping คือ ผู้ทาหน้าที่ด้านพิธีการเอกสาร
ผ่านธนาคาร พิธีการศุลกากร) จะเกิดการพัฒนามาตรฐานได้รับค่าจ้างในเทียบเท่าสากล อุตสาหกรรม
ต่ อ เนื่ อ งที่ เ กี่ ย วกั บ การต่ อ เรื อ และต้ อ งการแรงงานด้ า นดั ง กล่ า วจ านวนมาก คาดว่ า จ านวนนั ก ศึ ก ษา
ในสาขาโลจิ ส ติ ก ส์ และพาณิ ช ย์ ห รื อ สาขาที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ มี อ ยู่ ใ นปั จ จุ บั น ไม่ เ พี ย งพออย่ า งแน่ น อน
๑๑๒

กรมอาชีวศึกษา กระทรวง ศึกษาธิการต้องพิจารณาแผนเตรียมความพร้อมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องรองรับ


(๖) ให้ผู้แทนประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วม ในการร่วมคิด ร่วมทา ร่วมตรวจสอบประเมินผล
รวมทั้ ง เผยแพร่ ข้ อ มู ล ที่ถู ก ต้ อ งให้ ป ระชาชนในพื้ น ที่ รับ ฟั ง อย่ างรอบด้ า น โดยในปั จจุ บัน มี ก ารรวมตัว
ของภาคประชาชนในพื้นที่ ในการศึกษาข้อดี ข้อเสีย มีการรณรงค์ และผลักดันให้เกิดการขุดคลองไทย
รวมทั้งประชาชนบางคนพร้อมจะบริจาคที่ดินให้ทาประโยชน์หากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๗) ข้ อ กั ง วลที่ ส าคั ญ ที่ ป ระชาชนกลั ว จะเกิ ด ขึ้ น ซ้ ารอยที่ ผ่ า นมา คื อ หากเกิ ด การ
เปลี่ ย นแปลงรั ฐ บาลเกรงว่ า นโยบายเกี่ ย วกั บ โครงการขุ ด คลองไทยจะเปลี่ ย นแปลงเหมื อ นที่ ผ่ า นมา
เท่ากับทาลายความหวังของประชาชน
๗) ประชาชนที่เข้าร่วมสัมมนาส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับการขุดคลองไทยเนื่ องจากจะเกิดการพัฒนา
เศรษฐกิจในพื้นที่ โดยได้เสนอให้น้อมนาหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดช
มหาราช บรมนาถบพิตร (รัชกาลที่ ๙) มาปรับใช้ในการดาเนินการขุดคลอง กล่าวคือ
๗.๑) เข้าใจ คือ ศึกษาข้อมูลอย่างรอบด้านก่อนมิได้ฝืนดาเนินโครงการก่อนศึกษา
๗.๒) เข้าถึง คือ ลงพื้นที่ทาความเข้าใจและรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ก่อน
๗.๓) พัฒนา คือ หากเห็นประโยชน์ของประเทศชาติอย่างสูงสุดจึงพิจารณาดาเนินโครงการ
๗.๔) การขาดทุ น คื อ ก าไร กล่ าวคื อ บางครั้ งการท างานใดย่ อ มเกิ ดผลกระทบบ้ า ง เช่ น
กรณี การสร้ างเขื่ อนรั ช ประภา อาจเกิ ดผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ มบ้ าง ซึ่ งปั จจุ บั นได้ พั ฒ นาเป็ นแหล่ ง เก็ บ
และผลิ ตพลั งงานไฟฟ้าที่ส าคัญของภาคใต้ และกลายเป็นแหล่ งท่องเที่ยวส าคัญสร้างงานสร้างรายได้
ของคนในพื้นที่ เช่นเดียวกันหากเกิดขุดคลองไทยย่อมต้องเกิดผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมบ้างแต่จะเกิด
การพัฒนาและเกิดผลประโยชน์แก่ประเทศมหาศาลอย่างแน่นอน
สรุปสุดท้าย เวทีสัมมนาหวังว่าโครงการขุดคลองไทยและการเกิดพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
จะเป็นอีกหนึ่งโครงการที่ส ามารถกระตุ้นและแก้ปัญหาเศรษฐกิจตลอดจนสามารถนาพาชาติพ้นวิก ฤติ
ทางเศรษฐกิจได้ รูปแบบการบริหารจัดการคลองไทยหรือระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ต้องมีกฎหมายที่เป็นสากล
พิจารณาอย่างครอบคลุมทุกด้านที่ประชาชนมีความกังวล เช่น ด้านสิ่ งแวดล้อม ด้านสังคม โดยเชิญสถาบัน
ระดับอุดมศึกษาที่น่าเชื่อถือมาร่วมพิจารณาศึกษา นอกจากนี้เห็นว่าประชาชนในพื้นที่โครงการคลองไทย
ควรได้รับผลประโยชน์และสิทธิอื่น ๆ เป็นพิเศษ
บทที่ ๔
ผลการวิเคราะห์และอภิปรายผลการศึกษา

การขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เป็นแนวคิดใหม่เพื่อสร้าง


ความเจริญทางด้านเศรษฐกิจภาคใต้ และได้มีการศึกษามาหลายยุคหลายสมัย มีทั้งส่วนที่เห็นด้วย
และไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะผู้ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงย่อมไม่เห็นด้วยกับการดาเนินการอย่างแน่นอน
เพราะต้องย้ ายที่อยู่ อาศัย เป็ น เวลานานมาหลายชั่วอายุคน ซึ่งจาเป็ นอย่างยิ่งที่คณะกรรมาธิการ
วิสามั ญพิ จารณาศึ กษาการขุ ดคลองไทยและการพั ฒนาพื้ นที่ ระเบี ยงเศรษฐกิ จภาคใต้ สภาผู้ แทนราษฎร
ในสมั ย ปั จ จุ บั น ที่ จ ะต้ อ งหาค าตอบและส่ ง ต่ อ ความเห็ น ต่ อ คณะรั ฐ มนตรี เพื่ อ ด าเนิ น การศึ ก ษา
อย่ างจริ งจั งเพื่ อให้ ได้ ค าตอบว่าสมควรที่ จ ะด าเนิ น การขุด คลองไทยต่ อไปหรือไม่ ตามความเชื่ อ
ของบางส่วนที่เกี่ยวข้องการขุดคลองไทยจะทาให้เกิดประโยชน์ต่อการพั ฒ นาเศรษฐกิจของภาคใต้
และประเทศ จะท าให้ เ กิ ด การสร้ า งงาน สร้ า งรายได้ ใ ห้ กั บ ประเทศชาติ แ ละเกิ ด เส้ น ทาง
การเดินเรือใหม่ของภูมิภาคและโลก ซึ่งจะทาให้เกิดการประหยัดพลังงานและเวลาในการเดินทางเป็น
อย่างมาก อย่างไรก็ตามการขุดคลองไทยก็จะมีผลกระทบต่อประชาชนที่อยู่อาศัยบริเวณนั้นประมาณ
๖๕,๐๐๐ ครอบครัว และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ตลอดจนการท่องเที่ยวในพื้นที่แนว ๙A ที่จะมีการ
เสนอขุดคลองไทยเช่นกัน
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้จะเป็นความหวั งในการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศไทยและเป็ นการสร้างงานสร้างอาชีพ ไม่เฉพาะประชาชนในภาคใต้เท่านั้ น
แต่จะเป็นความหวังในการฟื้นเศรษฐกิจและสร้ างอาชีพให้กับประชาชนชาวเช่นกัน นอกจากนี้แล้ว
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ที่มีการขุดคลองเป็นส่วนหนึ่งด้วยนั้น จะเป็นการสร้างอานาจ
การต่อรองทางทะเลให้กับประเทศไทยที่จะสร้างเส้นทางการคมนาคมขนส่งทางน้าแห่งใหม่ ประเทศ
ไทยจะมี อ านาจในการต่ อ รองกั บ ประเทศมหาอ านาจต่ า ง ๆ ได้ เป็ น อย่ า งดี ในขณะเดี ย วกั น
ก็จะเป็นการสร้างพันธมิตรทางการค้าที่จะเป็นเกราะกาบังความมั่นคงให้กับประเทศไทยเพราะมีการ
เชื่อ มโยงการค้ าขายและผลประโยชน์ จ ากนานาประเทศ ซึ่ งเป็ น ความท้ าทายของคณะผู้ บ ริห าร
ของประเทศไทยที่จะจัดสรรผลประโยชน์ทางการค้าและการลงทุนอย่างไรให้ประเทศเกิดประโยชน์
สู ง สุ ด และเป็ น เกาะป้ อ งกั น ความปลอดภั ย ให้ กั บ ประเทศไทยด้ ว ย ซึ่ ง จะสอดคล้ อ งทฤษฎี
สมุททานุภาพที่กล่าวโดยสรุปไว้ว่าประเทศมหาอานาจที่มีอานาจต่อรองทางการค้าขายและมีระบบ
เศรษฐกิจอยู่ในระดับที่ดีจะมีการค้าขายทางทะเลเป็นหลักโดยมีลักษณะทางกายภาพติดชายทะเล
(สมุททานุภาพ ด้านความมั่นคงของชาติทางทะเล ผลประโยชน์ทางทะเล กองเรือพาณิชย์ องค์กร
และบริ ษั ท ที่ ท าธุร กิ จ เกี่ ย วกับ การพาณิ ช ย์น าวี ธุ รกิ จน้ ามั น การประมง การท่ อ งเที่ ยวทางทะเล
ตลอดจนท่ า เรื อ อู่ เ รื อ และอู่ ซ่ อ มเรื อ เป็ น ต้ น ซึ่ ง ปั จ จั ย เหล่ า นี้ เ องที่ ท าให้ เ กิ ด ประโยชน์
ต่อประเทศชาติ ซึ่งประเทศใดมีสมุททานุภาพมากจะทาได้ประโยชน์ทางทะเลมากและอานาจต่อรอง
มากเช่ น กั น ) ซึ่ ง บริ บ ทของประเทศไทยมี ช ายฝั่ ง ติ ด ทะเลสองด้ า น ด้ า นฝั่ ง ตะวั น ตกติ ด ทะเล
อั น ดามั น มี ค วามยาวประมาณ 1,000 กิ โ ลเมตร อี ก ด้ า นหนึ่ ง ติ ด อ่ า วไทย มี ค วามยา ว
ประมาณ 1,900 กิ โ ลเมตร โดยประเทศไทยตั้ ง อยู่ บ นเส้ น ทางคมนาคมที่ ส าคั ญ ของโลก
เป็ น จุ ด เชื่ อมต่ อ ระหว่างมหาสมุ ท รอิ น เดี ย และมหาสมุ ท รแปซิ ฟิ ก จะท าให้ ป ระเทศไทยมี รายได้
๑๑๔

จากการค้าระหว่างประเทศเพิ่มมากขึ้นถ้ามาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้ ดังนั้น จึงเป็นความท้ายทายของประเทศไทย และรัฐบาลผู้มีอานาจบริหาร ว่าจะตัดสินใจอย่างไร
ในการดาเนินการศึกษาและดาเนินการอย่างจริงจัง ถ้าศึกษาแล้วเห็นว่าเกิดประโยชน์กับประเทศไทย
อย่างแท้จริง รัฐบาลไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรดาเนินการอย่างเร่งด่วนเพื่อสร้างทางเลือก
ทางออกด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศชาติอย่างเร่งด่วน
อย่างไรก็ตาม ถ้ามองในเชิงระบบตามแนวคิดทฤษฎีเชิงระบบที่กล่าวถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ปั จ จั ย น าเข้ า และผลลั พ ธ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ถ้ า มี ก ารลงทุ น ในการขุ ด คลองไทยและพั ฒ นาเป็ น พื้ น ที่
เศรษฐกิ จพิ เศษ ก็ จะท าให้ เกิ ดการลงทุ นทางด้ านต่ าง ๆ ตามมา ทั้ งการท่ องเที่ ยวเชิ งนิ เวศ โรงแรมที่ พั ก
อาศัย ธุรกิจการล่องเรือท่องเที่ยว การค้าขายสินค้าทางการเกษตรและอื่น ๆ ร้านอาหารเพื่อบริโภค
ธุรกิจการจัดการน้าเพื่ออุปโภคบริโภค การค้าขายน้ามันดิบ การลงทุนโรงงานกลั่นน้ามั น เป็นต้น
ซึ่งการลงทุนเหล่านี้จะเกิดการจ้างงานในพื้นที่ภาคใต้และคนทั่วประเทศก็จะได้อานิสงส์ในการจ้างงาน
เหล่านี้ด้วย ในขณะเดียวกันก็เป็นการสร้างรายได้ให้กับประชาชนในพื้นที่ภาคใต้และทั่วประเทศไทย
จะท าให้ เกิ ด การกระตุ้ น ระบบเศรษฐกิ จ ภายในประเทศให้ มี ก ารหมุ น เวี ย นที่ ค ล่ อ งตั ว มากขึ้ น
ซึ่งก็จะเป็ น ปั จ จั ย ส าคัญ ที่ เอื้อและหนุน การดาเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจ ของเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวั น ออก และระบบเหล่ า นี้ เองที่ จ ะท าให้ ร ะบบเศรษฐกิ จ ของประเทศไทยมี ก ารพั ฒ นา
อย่างก้าวกระโดดและทาให้ GDP ของประเทศเติบโตอย่างก้าวกระโดดเช่นกัน
นอกจากนี้ การขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ยังเป็นการพัฒ นา
เส้นทางการเดินเรือใหม่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยจะเป็นการส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่สอดคล้อง
กับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580) ซึ่งถือได้ว่าเป็นการกาหนดทิศทางการพัฒนาประเทศ
ในระยะ 20 ปี ไว้ โดยเฉพาะยุ ท ธศาสตร์ช าติที่ 4.2 ยุท ธศาสตร์ช าติ ด้านการสร้างความสามารถ
ในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่มุ่งหมายการพัฒนาที่มุ่งเน้นการยกระดับศักยภาพของประเทศ
ในหลากหลายมิติ บนพื้นฐานแนวคิด 3 ประการ ได้แก่ 1) “ต่อยอดอดีต” โดยมองกลับไปที่รากเหง้า
ทางเศรษฐกิ จ อั ต ลั ก ษณ์ วั ฒ นธรรม ประเพณี วิ ถี ชี วิ ต และจุ ด เด่ น ทางทรั พ ยากรธรรมชาติ
ที่ ห ลากหลาย รวมทั้ งความได้ เปรี ย บเชิ งเปรีย บเที ย บของประเทศในด้ านอื่ น ๆ น ามาประยุ ก ต์
ผสมผสานกับเทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่
2) “ปรับ ปัจจุบัน ” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒ นาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศในมิติต่าง ๆ
ทั้งโครงสร้ างข่ายระบบคมนาคมและขนส่ ง โครงสร้างพื้ นฐานวิท ยาศาสตร์เทคโนโลยี และดิจิทั ล
และการปรั บสภาพแวดล้ อมให้ เอื้ อต่ อการพั ฒนาอุ ตสาหกรรมและบริ การอนาคต และ 3) “สร้ างคุ ณค่ าใหม่
ในอนาคต” ด้วยการเพิ่มศักยภาพของผู้ประกอบการ พัฒนาคนรุ่นใหม่ รวมถึงปรับรูปแบบธุรกิจ เพื่อ
ตอบสนองต่อความต้องการของตลาด ผสมผสานกับยุทธศาสตร์ที่รองรับอนาคต บนพื้นฐานของการ
ต่อยอดอดีตและปรับปัจจุบัน พร้อมทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐให้ประเทศสามารถสร้าง
ฐานรายได้และการจ้างงานใหม่ ขยายโอกาสทางการค้าและการลงทุนในเวทีโลก ควบคู่ไปกับการ
ยกระดับรายได้และการกินดีอยู่ดี รวมถึงการเพิ่มขึ้นของคนชั้นกลางและลดความเหลื่อมล้าของคนใน
ประเทศได้ในคราวเดียวกัน
โดยสรุปแล้ว การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
จะเน้นที่การพัฒ นาการคมนาคมเพื่ อเชื่อมโยงและสนับสนุนการพัฒ นาด้านเศรษฐกิจของประเทศ
๑๑๕

และตอบสนองความต้องการของประชาชนในการเดินทางในระยะยาว และเป็ น การสร้างระบบ


เศรษฐกิจใหม่ทางทะเลที่จะสร้างอานาจต่อรองทั้งทางด้านเศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศ
ด้วยเช่นกัน นอกจากนี้การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้น ที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้จะเป็นการสร้าง
ระบบการค้าการลงทุนอย่างเป็นระบบและส่งผลต่อการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนชาวไทย
ในภาพรวมและจะเอื้ อ ต่ อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ รวมในประเทศ (GDP) ให้ เติ บ โตอย่ า งก้ า วกระโดดตามมา
อย่างเป็นระบบด้วยเช่นกัน

๔.๑ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผลการศึกษาการขุดคลองไทย


จากการพิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยตามแนวเส้ น ทาง 9A ซึ่ ง ผ่ า น ๕ จั ง หวั ด
ในภาคใต้ คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา
และได้ทาการสารวจภูมิประเทศบริเวณตามแนวเส้นทาง ๙A ดังกล่าว รวมถึงการชี้แจงรายละเอียด
ให้ประชาชนในจังหวัดดังกล่าวและจังหวัดใกล้เคียงได้เข้าใจ เพื่อให้การสนับสนุนในการขุดคลองไทย รับฟัง
ความคิดเห็นโดยรวมจากประชาชน ตลอดจนได้ศึกษาถึงความเหมาะสมทางด้านวิศวกรรม การเงิน
ผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อม ชนิ ด ขนาด และจานวนของเรือที่แล่ นผ่ านคลองไทยและข้อ มูล ต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องเป็น 2 ประเด็น ดังนี้
๔.1.๑ คลองไทยตามแนวของคณะอนุกรรมาธิการการขุดคลองไทย
1.1 สมควรขุดคลองไทยทางภาคใต้ของประเทศไทย คลองเชื่อมระหว่างทะเล
อัน ดามัน มหาสมุท รอิน เดีย และทะเลอ่าวไทยในมหาสมุท รแปซิ ฟิก ในเส้ นทางแนว 9A มีความ
เหมาะสมที่สุดในปัจจุบัน คือ ผ่านจังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช
และจังหวัดสงขลา
1.2 ลักษณะรูปแบบคลองเดียว ความกว้างไม่น้อยกว่า ๑ กิโลเมตร ความลึก
ไม่น้อยกว่า ๔๐ เมตร ในเส้นทางแนว ๙A ส่วนความยาวของคลองให้เป็นไปตามหลักการที่ว่าต้องลด
ระยะทาง ลดระยะเวลาในการเดิ นทางและประหยั ดค่ าใช้ จ่ ายในการเดิ นทาง การศึ กษาที่ ผ่ านมาส่ วนใหญ่
จะเป็ น เส้ น โค้ งท าให้ แนวคลองมีค วามยาวมากเกิน ไป เนื่ องจากต้ องการไม่ให้ ผ่ านพื้ น ที่ โครงการ
พระราชดาริ แหล่งโบราณสถาน หรือแหล่งชุมชนที่สาคัญ หากต้องการจะให้เส้นทางของคลองไทย
เป็นเส้นทางที่ตรงกว่าที่เคยศึกษาไว้ จาเป็นต้องศึกษาเชิงลึกอย่างละเอียดรอบคอบต่อไป
1.3 ระดับ น้ าของสองฝั่งทะเลต่างกั นประมาณ 22 - ๒๕ เซนติเมตร จึงเป็น
คลองในระดับน้าทะเล ไม่ต้องสร้างประตูน้าเพื่อยกระดับให้เรือผ่าน
1.4 การขุดคลองสามารถใช้เทคโนโลยีส มัยใหม่ เพื่ อความรวดเร็วในการขุด
แต่ไม่สมควรขุดโดยใช้ปรมาณู
1.5 ควรกาหนดกรอบข้อกาหนด TOR (Terms of Reference) ในการพัฒ นา
โครงการสาหรับผู้ลงทุนที่เป็นธรรมกับผู้รับสัมปทานและประเทศไทยในฐานะเจ้าของคลองไทย
1.6 การออกกฎหมายใหม่ เกี่ ย วกั บ กฎหมายทะเล การเดิ น เรื อ ทะเลและ
กฎหมายใด ๆ ที่เกี่ยวกับการเดินเรือสากล ต้องเร่งดาเนินการส่งเสริมให้การเดินเรือไทยเจริญขึ้น
ทันอารยประเทศ และเสริมสร้างให้มีกองเรือที่มั่นคง
๑๑๖

1.7 การจั ดท าประชาสั ม พั น ธ์อ ย่างต่ อ เนื่ อ งให้ ป ระชาชนทราบและให้ ค วาม


ร่วมมือสนับสนุนในการขุดคลองไทยและให้ประชาชนในพื้นที่เป็นผู้มีส่วนร่วมกาหนดพื้นที่แนวคลอง
ของตนเองและปรับสภาพแวดล้อมสังคมของตนเองตลอดจนสิทธิในการได้รับค่าเวนคืนที่เป็นธรรม
และมีอาชีพที่มั่นคงจากการมีคลองไทย
1.8 ค่าใช้จ่ายในการขุดคลองไทยพิจารณาจากเงินออมภายในประเทศ ร่วมกับ
เงินจากผู้รับสัมปทานจากต่ างประเทศร่วมกันหรื อมีบริษัทที่ขอรับสัมปทานโดยตรง เพื่อให้คนไทย
มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของในอัตราที่เหมาะสมที่สุด และมีความเป็นธรรมกับทั้ง 2 ฝ่าย คือ รัฐบาลไทย
ที่เป็นเจ้าของคลองและฝ่ายผู้ได้สัมปทานที่เป็นผู้ลงทุนโครงการอาจเชิญชวนให้ประชาชนร่วมลงทุน
ในรู ป แบบซื้ อ พั น ธบั ต รในระยะเวลา 10 - 20 ปี หรื อ รั ฐ บาลให้ สั ม ปทานแก่ ภ าคเอกชน
ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ มีส่วนร่วมในการลงทุน และขายหุ้นมหาชนในตลาดหุ้น เป็นต้น
ซึ่งรัฐบาลจะต้องพิจารณา
1.9 กาหนดโครงการขุดคลองไทยเป็นแผนยุทธศาสตร์ชาติ โดยกาหนดเป็น
นโยบายที่สาคัญของรัฐที่ส่วนราชการทุกฝ่ายและประชาชนทุกหมู่เหล่าต้องร่วมมือกัน
1.10 ระบบสั ม ปทานที่ เหมาะควรเป็ น ระบบ BOOT (Build Operate Own
Transfer) คือ ให้ผู้รับ สัมปทานก่อสร้าง เป็นเจ้าของในระยะหนึ่งตามสัญญาดาเนินการเรื่องคลอง
เมื่ อ ครบสั ญ ญาแล้ ว จะต้ อ งโอนคื น เป็ น สมบั ติ ข องประเทศไทยต่ อ ไป สั ม ปทานควรอยู่ ร ะหว่ า ง
30 – 50 ปี หรือตามความเหมาะสม
1.11 การเตรียมความพร้อมบุคลากรบริหารจัดการเรื่องคลอง การเดินเรื อ ซ่อมเรือ
ต่อเรือ การท่าเรือ การจัดการในทะเล การควบคุมคลอง ฯลฯ จะต้องเตรียมฝึกคนไทยไว้ล่วงหน้า
10 ปี เป็นอย่างน้อย ก่อนเปิ ดการเดินเรือในคลอง ฉะนั้น จะต้องจัดตั้ง “มหาวิทยาลัยคลองไทย”
ขึ้น ก่ อ นเพื่ อ รั บ นั ก ศึ กษาคณะวิท ยาศาสตร์ วิ ศวกรรมช่ างฝี มื อ ฯลฯ ในระดั บ ต่ ากว่าปริญ ญาตรี
และสู งกว่าปริญ ญาตรี ทั้ งนี้ ตั้ งแต่ บั ด นี้ เป็ น ต้ น ไปโดยฝากเรียนไว้กั บ สถาบั น การศึ กษาในพื้ น ที่
ที่คลองผ่านได้แก่สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล สถาบั นราชภัฏวิทยาลัยการต่อเรือปากพนัง วิทยาลัย
การอาชีพต่าง ๆ โดยผู้ให้ทุนการศึกษาโครงการจะต้องจ่ายงบประมาณ เพื่อการนี้แก่สถาบันต่าง ๆ
ไปก่อนจนกว่าจะสามารถตั้งเป็ น มหาวิทยาลั ยคลองไทยในอนาคตต่อไป โดยรายได้จากโครงการ
คลองไทย ให้ถือว่าการศึกษาเป็นหัวใจสาคัญของโครงการคลองไทย
1.12 แหล่ งศึ ก ษาสาขาวิ ช าการทางการเดิ น เรือ บริห ารจั ด การเรื อ ท่ าเรื อ
วิ ศ วกรรมการเดิ น เรื อ ฯลฯ การศึ ก ษาจากสถาบั น MPA (Maritime and Port Authority)
ของสาธารณรัฐสิงคโปร์เป็นต้นแบบและมาปรับใช้กับมหาวิทยาลัยคลองไทยต่อไป
1.13 การสร้ า งเมื อ งใหม่ แ ละเขตอุ ต สาหกรรมต่ อ เนื่ อ ง จะต้ อ งค านึ ง ถึ ง
อุตสาหกรรมที่สะอาด ทันสมัยเท่านั้น เป็นอุตสาหกรรม High Technology เพื่อเตรียมสินค้าส่งออก
ลงเรือไปต่างประเทศ รวมทั้งอุตสาหกรรมบริการอื่น ๆ เช่น ซ่อมเรือ โรงแรม ท่องเที่ยว การบิน
การขนส่งทางบก ฯลฯ
1.14 ควรมีเขตปลอดภาษีในเขตเมืองใหม่และเขตเศรษฐกิจพิเศษทั้ง 3 เขต
มูลค่าเมืองใหม่แห่งละประมาณ 10,000 ล้านเหรียญสหรัฐและควรได้รับการออกแบบที่ทันสมัย
๑๑๗

1.15 รายได้ จากการเดิ น เรือและเขตเมื องใหม่ จะต้อ งแบ่ งเป็ น รายได้ให้ แ ก่


จังหวัดที่คลองผ่านในอัตราตามที่รัฐกาหนด (ประมาณร้อยละ 50) ที่เหลือจึงเป็นของจังหวัดใกล้เคียง
และจังหวัดอื่น ๆ โดยนาเข้าเป็นรายได้ของรัฐต่อไป
1.16 แหล่ งน้ าจื ด ส าหรั บ ขายหรือ บริ ก ารให้ เรื อ ที่ ผ่ าน จะต้ อ งมี ก ารเตรีย ม
อ่างเก็บกักน้าขนาดใหญ่
1.17 การจ่ายค่าชดเชย เวนคืน ขนย้าย รื้อย้าย จะต้องให้ความเป็นธรรมกับ
ประชาชนในอัตราที่จ่ายสูงกว่าราคาค่าเวนคืนตามที่รัฐกาหนด ประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบจากการ
ขุดคลองที่ไม่มีสิทธิ์ได้ค่าเวนคืน ผู้รับสัมปทานจะต้องจัดที่อยู่ใหม่ที่เหมาะสมให้แก่ผู้นั้นด้วยความเป็นธรรม
๑ .1 8 โค รงการคล องไท ย (Thai Canal Project) จะต้ องมี ห น่ วยงาน
ภาคราชการขึ้นมากากับ ควบคุม บรรษัทที่ดาเนินการคลองไทยและต้องเตรียมพร้อมรับการถ่ายโอน
บริหารการจัดการคลองไทย เมื่อบรรษัทคลองหมดอายุสัมปทานหรือโอนเป็นของรัฐตามแต่กรณี
๔.๑.2 คลองไทยตามแนวของคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษาการพัฒ นา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
จากการพิ จ ารณาศึ ก ษาสาระส าคั ญ ของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ใ นมิ ติ ก ารสร้ า ง
ขีดความสามารถในการแข่งขัน หากกาหนดยุทธศาสตร์ในการพัฒนาภาคใต้ที่มีภูมิยุทธศาสตร์ที่ดีที่สุด
ของโลกที่สามารถพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการการขนส่งทางทะเล ระบบโลจิสติกส์ และพัฒนา
ภาคใต้เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ จะเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันในเวทีโลกและสร้างโอกาสการขยายฐาน
การผลิตและการตลาดในระดับภูมิภาคสู่ระดับสากล จึงได้กาหนด “ยุทธศาสตร์การพัฒ นาภาคใต้
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) โดยมองว่า
การขุดคลองในเขตการพัฒนาพื้นที่เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษเป็นการต่อยอดองค์ความรู้ที่มีการศึกษา
และพั ฒ นาแนวทางที่ น าไปสู่ ค วามส าเร็ จ ที่ ชั ด เจนขึ้ น กว่ าในอดี ต กล่ า วคื อ การขุ ด คลองเชื่ อ ม
มหาสมุทรแบบต่าง ๆ ในโลก สามารถนามาเป็นข้อมูลแบบอย่างในการศึกษาพัฒนาให้เกิดการเรียนรู้
ในหลายมิติ และสามารถเป็ น ทิศทางในการพั ฒ นาการบริห ารจัดการที่ดีกว่าได้ โดยมีการบริห าร
จัดการด้านต่าง ๆ ได้ ดังนี้
๒.๑ คลองไทยควรมี ๒ เส้ น ยาวจากฝั่ งทะเลอัน ดามัน ไปทะลุ ท ะเลอ่ าวไทย
ความยาวประมาณ ๑๓๕ กิโลเมตร ความกว้าง เส้นละ ๑ กิโลเมตร ทั้งสองคลองห่างกันประมาณ
๑๐ กิโลเมตร ความลึก ๔๐ เมตร มีเส้นทางเชื่อมระหว่าง ๒ คลอง จานวน ๒ จุด ความกว้างเส้นละ
๑ กิโลเมตร แนวคลองที่ขุดจะมีการสร้างอ่าวเทียม ทั้ง ๒ ข้างคลอง ความกว้าง ๑ - ๒ กิโลเมตร
โดยประมาณ เพื่อเป็นท่าเทียบเรือพาณิชย์และเรือสาราญที่จะมาจากทั่วโลก การที่มีคลอง ๒ เส้น
เพื่ อให้ การเดิน เรือสะดวกรวดเร็ วขึ้น เพื่อเพิ่มศักยภาพทางเศรษฐกิจและป้ องกันปัญ หาการเกิด
อุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นในคลอง
๒.2 คลองไทยควรมีแหล่งกักเก็บน้า (ตามความเหมาะสมของสภาพภูมิศาสตร์)
คู่ขนานด้านนอก โดยกาหนดความห่างจากแนวคลอง ๙A ประมาณ 5 – 6.5 กิโลเมตร เพื่อเป็น
แหล่ งน้ าจื ด ส าหรับ บริ โภคและอุป โภค ในพื้ น ที่ เขตเศรษฐกิจ ขวานทองภาคใต้ รวมถึงการใช้น้ า
เพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรม อีกทั้งสามารถใช้เป็นแนวป้องกันน้าท่วมได้ นอกจากนี้ แหล่งกักเก็บน้า
บางแห่งยังสามารถใช้ประโยชน์เพื่อการท่องเที่ยวได้อีกด้วย
๑๑๘

๒.3 ปริ ม าณดิ น ที่ ได้ จ ากการขุ ด คลองและการพั ฒ นาที่ ดิ น ในแนวคลอง ๙A


โดยนาปริมาณดินทีไ่ ด้จากการขุดคลองไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
(๑) นาไปถมพื้นที่บริเวณอ่าวไทยที่ถูกน้าทะเลกัดเซาะหายไป ตั้งแต่จังหวัด
สมุทรปราการไปจังหวัดประจวบคีรีขันธ์จนถึงจังหวัดสงขลา
(๒) น าดิ นไปท าเกาะเที ยม ปากคลองด้ านอ่ าวไทย เพื่ อเพิ่ มมู ลค่ าทางการ
ท่ องเที่ ยวและการบริ ก าร เช่ น เกาะสถานบั น เทิ งครบวงจร เกาะนกนางแอ่ น เพื่ อ การท่ อ งเที่ ย ว
เกาะอุตสาหกรรม ซ่อมเรือต่อเรือ โรงกลั่นน้ามันปิโตรเคมี โกดังเก็บสินค้า ท่าเทียบเรือขนถ่ายสินค้า
(๓) เกาะเพื่ อเผยแพร่ เชิ ดชู เกี ยรติ คุ ณ ของสถาบั น ชาติ ศาสนาและสถาบั น
พระมหากษัตริ ย์เป็ น เกาะขนาดใหญ่ อยู่กลางอ่าวไทยขนาด ๒๐ ตารางกิโลเมตร ประกาศศักดิ์ศรี
ความเป็นไทย สวยงามสมกับประเทศไทย เป็นเมืองศิวิไลซ์ที่ยิ่งใหญ่
(๔) เกาะทางด้านการทหารและความมั่ น คง อุ ต สาหกรรมส่ งดาวเที ย ม
สู่อวกาศ
๒.4 การพั ฒ นาพื้ น ที่ แ นวคลอง เพื่ อ การพั ฒ นาแบ่ ง ออกเป็ น 3 ระดั บ
ความสาคัญ คือ
พื้ นที่ 3 เอ AAA คื อ พื้ นที่ ระหว่ างคลอง K9 และ K10 กว้ าง 10 กิ โลเมตร
ยาว 135 กิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ 1,350 ตารางกิโลเมตร
พื้ นที่ ๒ เอ AA คื อ พื้ นที่ นอกคลอง K9 และ K10 ความกว้ าง 25 กิ โลเมตร
ความยาว 135 กิโลเมตร 2 ด้าน (รวม 50 กิโลเมตร x 135 กิโลเมตร) คิดเป็นพื้นที่ 6,750 ตาราง
กิโลเมตร
พื้นที่ ๑ เอ A คือ พื้นที่ของ 5 จังหวัด คือ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัด
พัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา ที่เหลือ คือ 22,284 (30,384 - 8,100) ตาราง
กิโลเมตร ซึ่งพื้ น ที่ 5 จั งหวัด (จั งหวั ด กระบี่ จั งหวัด ตรัง จังหวัด พั ท ลุ ง จังหวัด นครศรีธ รรมราช
และจั งหวัด สงขลา) จะมี ก ารก าหนดแนวการพั ฒ นาเศรษฐกิจ พิ เศษ แนวพาดผ่ านยาวประมาณ
120 - 135 กิ โลเมตร กว้ าง 60 กิ โลเมตร ถื อว่ าเป็ นศู นย์ กลางเพื่ อการพื้ นที่ ระเบี ยงเศรษฐกิ จ
ขวานทอง (GASEZ) เป็ นเนื้ อที่ ประมาณ 8,100 ตารางกิ โลเมตร (AAA+ AA) ส่ วนพื้ นที่ A ใน 5 จั งหวัดที่ เหลื อ
22,284 ตารางกิโลเมตร อยู่จะมีความพิเศษน้อยกว่า AAA และ AA
๒.5 การออกกฎหมายเพื่อบริห ารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้
(GASEZ) 5 จั งหวัด จะต่อยอดจากพระราชบัญ ญั ติเขตพั ฒ นาพิ เศษภาคตะวัน ออก พ.ศ. 2561
แต่ จ ะพิ เศษ เพราะเป็ น Smart City ระดับโลกแห่ งใหม่ล่ าสุ ดของโลกและต้องออกกฎหมายใหม่
เฉพาะ GASEZ
๒.6 ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากเขตเศรษฐกิจขวานทองภาคใต้ (GASEZ) และ
คลองไทย (Thai Canal) จะถูกจัดสรรเพื่อพัฒนาในภาคส่วนต่าง ๆ ดังนี้
(1) พัฒนาพื้นที่ AAA, AA, A ใน 5 จังหวัด
(2) บารุงพัฒนาจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้อีก 9 จังหวัด
(๓) จัดสรรงบประมาณไปช่วยพัฒนา 63 จังหวัด
๑๑๙

(๔) จั ด สรรงบประมาณเพื่ อ ความมั่ น คงของ ชาติ ศาสนาและสถาบั น


พระมหากษัตริย์
(5) จัดสรรเงินกองทุนเพื่อสิ่งแวดล้อม
(6) กองทุนวิจัยและพัฒนา
๒.7 โครงสร้างพื้นฐาน ประกอบด้วย ไฟฟ้า พลั งงานสะอาด รถไฟรางคู่และ
ความเร็วสูงเชื่อมเมืองและแหล่งอุตสาหกรรม โครงข่ายใยแมงมุม ถนนเชื่อมโยงในเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทอง

๔.๒ ผลการวิเคราะห์ และอภิปรายผลการศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้


การกาหนดกรอบการพั ฒ นาเพื่ อเป็นแนวทางในเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ :
การพั ฒนาภาคใต้ เขตเศรษฐกิ จพิ เศษขวานทอง (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ)
เพื่อบรรลุตามเป้าประสงค์ที่กาหนดไว้ จึงได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่สอดรับกับ
แผนยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 - 2580 จากการศึกษาประเด็นการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้จานวน ๑๕ ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้

ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์


เป้าหมายสาคัญ คือ
1) การมุ่งเน้ น ความมั่นคงของชาติ หมายถึง ความอยู่ดี มีสุ ขของประชาชนชาวไทย
ทุกมิติ
2) ความมั่น คงทางศาสนา หมายถึง รัฐจะมุ่งทานุบารุงส่งเสริมพุทธศาสนาให้ มั่นคง
ยั่งยืน อยู่ร่วมกับทุกศาสนา
3) ความมั่น คงของสถาบั นพระมหากษั ตริย์ หมายถึง ประชาชน มี ความจงรัก ภัก ดี
เคารพ เทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ให้มีชื่อเสียง
มีสาระสาคัญดังนี้
ส านั ก งานสภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ แสดงความเห็ น ว่ า ยุ ท ธศาสตร์ ดั ง กล่ า วนอกจาก
สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ล้ ว ยั ง คงสอดคล้ อ งกั บ นโยบายและแผนความมั่ น คงแห่ ง ชาติ
อั น มี เป้ า ประสงค์ ที่ ส าคั ญ คื อ การบรรลุ ผ ลประโยชน์ ข องชาติ ดั ง กล่ า ว ประเด็ น ความมั่ น คง
จึงเป็นเงื่อนไขสาคัญของการกาหนดยุทธศาสตร์ โดยตั้งข้อสังเกต จานวน ๓ ประเด็น ดังนี้
ประเด็ น ที่ ๑ ประเด็ น ความมั่ น คง ซึ่ ง พื้ น ที่ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาภาคใต้ สู่
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองครอบคลุมพื้นที่จังหวัดสงขลา ซึ่งมีการประกาศความมั่นคงใน ๕ พื้นที่
ได้ แก่ อ าเภอจะนะ อ าเภอนาทวี อ าเภอเทพา และอ าเภอสะบ้ าย้ อย ซึ่ งเป็ นพื้ นที่ อ่ อนไหวด้ านความมั่ นคง
เชื่อมโยงกับความรุนแรงในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนใต้
ประเด็น ที่ ๒ ประเด็นภัยธรรมชาติ ซึ่งสานักงานสภาความมั่นคงแห่ งชาติจัดเตรียม
แผนยุ ท ธศาสตร์ ก ารเตรี ย มพร้ อ มแห่ ง ชาติ (พ.ศ. ๒ ๕ ๖๐ – ๒ ๕ ๖ ๔ ) เตรี ย มการรั บ มื อ
เมื่ อ เกิ ด วิ ก ฤตการณ์ ภั ย ธรรมชาติ ข นาดใหญ่ โดยด าเนิ น การในรู ป แบบคณะกรรมการเตรี ย ม
ความพร้อมแห่งชาติ
๑๒๐

ประเด็ น ที่ ๓ ประเด็ น ด้ า นการเมื อ ง เนื่ อ งจากยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาภาคใต้


สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองมีการดาเนิ นการอันมีผลกระทบต่อสังคม ชุมชนและประชาชน อาทิ
การขุดคลองเชื่อมระหว่างทะเลอันดามันกับทะเละอ่าวไทย ย่อมส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ซึง่ อาจมี
การคัดค้านจากกลุ่มผู้เสียประโยชน์ หรือการคัดค้านจากกลุ่มองค์การไม่แสวงหาผลกาไร (NGO)
สรุปได้ว่าการดาเนินการตามยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคใต้สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง
ต้องมีความสอดคล้องกับการเมืองการปกครองและสภาพสิ่งแวดล้อมไม่ให้กระทบต่อความเป็นอยู่
ของประชาชนในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ความมั่นคงของชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์
ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และแผนแม่บทยุทธศาสตร์ ประเด็นความมั่นคง (พ.ศ. 2561 – 2580)
และประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
ประเด็นความมั่นคง (พ.ศ. 2561 – 2580)
ประเด็น ความมั่นคง (พ.ศ. 2561 – 2580) ให้ความสาคัญกับการ “ปรับสภาพแวดล้อม
พร้ อ มแก้ ไ ขปั ญ หา” ให้ ล ดระดั บ ลงอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ โดยด าเนิ น การให้ “ปั ญ หาเก่ า หมดไป
ปัญหาใหม่ไม่เกิด” เอื้อต่อการบริหารประเทศมากยิ่งขึ้น จนกระทั่งสามารถบรรลุเป้าหมายสุดท้าย
ในห้วงปี พ.ศ.๒๕๗๖ – ๒๕๘๐ ที่ว่า “ประเทศชาติ มั่นคง ประชาชนมีความสุข” ในที่สุด
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดีและมีความสุข
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
๒.๓ กองทัพ หน่วยงานด้านความมั่นคง ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
มีความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
๒.๔ ประเทศไทยมีบทบาทด้านความมั่นคงเป็นที่ชื่นชมและได้รับการยอมรับ
โดยประชาคมระหว่างประเทศ
๒.๕ การบริหารจัดการความมั่นคงมีผลสาเร็จที่เป็นรูปธรรมอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๑ การรักษาความสงบภายในประเทศ
๔.๑.๑ การพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งคนในทุ ก ภาคส่ ว นให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง
มีความพร้อมตระหนักในเรื่องความมั่นคง และมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
๔.๑.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ
๔.๑.๓ การพั ฒ นาและเสริม สร้างการเมื อ งในระบอบประชาธิ ป ไตยอั น มี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่มีเสถียรภาพและมีธรรมาภิบาล เห็นแก่ประโยชน์ของประเทศชาติ
มากกว่าประโยชน์ส่วนตน
๔.๑.๔ การพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งกลไกที่ ส ามารถป้ อ งกั น และขจั ด สาเหตุ
ของประเด็นปัญหาความมั่นคงที่สาคัญ
๔.๒ การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
๑๒๑

๔.๒.๑ การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน
๔.๒.๒ การติดตาม เฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหาที่อาจอุบัติขึ้นใหม่
๔.๒.๓ การสร้างความปลอดภั ยและความสั นติ สุ ขอย่ างถาวรในพื้ นที่ จั งหวั ด
ชายแดนภาคใต้
๔.๒.๔ การรั ก ษาความมั่ น คงและผลประโยชน์ ท างทรั พ ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมทั้งทางบกและทางทะเล
๔.๓ การพั ฒ นาศั กยภาพของประเทศให้ พ ร้ อมเผชิ ญ ภั ยคุ กคามที่ กระทบต่ อ
ความมั่นคงของชาติ
๔.๓.๑ การพัฒนาระบบข่าวกรองแห่งชาติแบบบูรณาการอย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๓.๒ การพั ฒ นาและผนึ ก พลั ง อ านาจแห่ ง ชาติ กองทั พ และหน่ ว ยงาน
ความมั่ น คง รวมทั้ งภาครั ฐ และภาคประชาชนให้ พ ร้ อ มป้ อ งกั น และรั ก ษาอธิ ป ไตยของประเทศ
และเผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกมิติ ทุกรูปแบบและทุกระดับ
๔.๓.๓ การพั ฒ นาระบบเตรี ย มพร้ อ มแห่ ง ชาติ แ ละการบริ ห ารจั ด การ
ภัยคุกคามให้มปี ระสิทธิภาพ
๔.๔ การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติ
๔.๔.๑ การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ
๔.๔.๒ การเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
๔.๔.๓ การร่วมมือทางการพัฒนากับประเทศเพื่อนบ้าน ภูมิภาค โลก รวมถึง
องค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
๔.๕.๑ การพั ฒ นากลไกให้ พ ร้ อ มส าหรับ การติ ด ตาม เฝ้ าระวั ง แจ้ ง เตื อ น
ป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม
๔.๕.๒ การบริหารจัดการความมั่นคงให้เอื้ออานวยต่อการพัฒนาประเทศ
ในมิติอื่น ๆ
๔.๕.๓ การพัฒนากลไกและองค์กรขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
ประเด็นการปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนแม่ บ ทด้ านการปรั บ เปลี่ ย นค่ านิ ย มและวั ฒ นธรรม เพื่ อ ปลู ก ฝั งค่ านิ ยมวั ฒ นธรรม
ที่พึงประสงค์ของประชาชนไทย โดยเฉพาะการมีวินัย ความซื่อสัตย์สุจริต การมีจิตอาสา จิตสาธารณะ
และการส่งเสริมให้ ประชาชนยึดมั่นสถาบันหลักที่เป็นศูนย์รวมจิตใจให้เกิดความรัก ความสามัคคี
ความภาคภูมิใจในความเป็นไทยที่มีอัตลักษณ์และความโดดเด่ นจนเป็นที่ประจักษ์แก่สายตาชาวโลก
เริ่มตั้งแต่การพัฒ นาคนให้มีสุขภาพกายและใจที่ดี ควบคู่กับการพัฒ นาคนให้เป็นคนดี มีคุณธรรม
จริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตสานึกที่ดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้และความสามารถปรับตัว
เท่ า ทั น กั บ การเปลี่ ย นแปลงรอบตั ว ที่ ร วดเร็ ว บนพื้ น ฐานของการมี ส่ ว นร่ ว มของสถาบั น สั งคม
และวัฒนธรรมที่เข้มแข็ง
๑๒๒

เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดีและมีความสุข
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๓ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๑ การรักษาความสงบภายในประเทศ
๔.๑.๑ การพั ฒ นาและเสริ ม สร้ า งคนในทุ ก ภาคส่ ว นให้ มี ค วามเข้ ม แข็ ง
มีความพร้อม ตระหนักในเรื่องความมั่นคงและมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา
๔.๑.๒ การพัฒนาและเสริมสร้างความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ
๔.๑.๓ การพั ฒ น าแ ล ะเส ริ ม ส ร้ า งก ารเมื อ งใน ระบ อ บ ป ระช าธิ ป ไต ย
อั น มี พ ระมหากษั ต ริ ย์ ท รงเป็ น ประมุ ข ที่ มี เ สถี ย รภาพและมี ธ รรมาภิ บ าล เห็ น แก่ ป ระโยชน์
ของประเทศชาติมากกว่าประโยชน์ส่วนตน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๑ การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
๔.๑.๑ การปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมผ่านการเลี้ยงดูในครอบครัว
๔.๑.๒ การบูรณาการเรื่องความซื่อสัตย์ วินัย คุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการ
เรียนการสอนในสถานศึกษา
๔.๑.๓ การสร้างความเข้มแข็งในสถาบันทางศาสนา
๔.๑.๔ การปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน
๔.๑.๕ การสร้างค่านิยมและวัฒนธรรมที่พึงประสงค์จากภาคธุรกิจ
๔.๑.๖ การใช้สื่อและสื่อสารมวลชนในการปลูกฝังค่านิยมและวัฒนธรรมของคน
ในสังคม
๔.๑.๗ การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๓ การเสริมสร้างพลังทางสังคม
๑๒๓

๔.๓.๖ สนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อสร้างสรรค์ เพื่อรองรับ


สังคมยุคดิจิทัล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๖ ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ
๔.๖.๑ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
และคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๖ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
๔.๖.๑ ประชาชนและภาคีต่าง ๆ ในสั งคมร่ว มมือกันในการป้องกัน การทุจริต
และประพฤติมิชอบ

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๒ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารออกกฎหมายพิ เศษรองรั บ การพั ฒ นาเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ


ขวานทองภาคใต้
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) จัดให้มีกฎหมายรองรับการบริหารจัดการในพื้นที่ ที่เป็นสากล อาทิ การเวนคืนที่ดิน
ขนาดใหญ่ (๘,๑๐๐ ตารางกิ โ ลเมตร) เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax
Special Economic Zone : GASEZ) โดยแก้ ไ ขเพิ่ ม เติ ม จากพระราชบั ญ ญั ติ เขตพั ฒ นาพิ เศษ
ภาคตะวันออก พ.ศ. 2561
2) การเดินเรือในน่านน้าไทย กฎหมายว่าด้วยพาณิชย์นาวีสาหรับเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
3) กฎหมายว่าด้ว ยสิ่ งแวดล้ อมส าหรับเขตพื้น ที่เศรษฐกิจพิ เศษ (GASEZ) กฎหมาย
ว่าด้วยการขุดดินและถมดิน ฯลฯ
มีสาระสาคัญดังนี้
การจั ด ท ากฎหมายฉบั บ ใดก็ ต ามจ าเป็ น ต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ พระราชบั ญ ญั ติ ก ารจั ด ท า
ยุ ทธศาสตร์ ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ อย่ างไรก็ ดี หากต้ องการแก้ ไขกฎหมายสามารถด าเนิ นการตามมาตรา ๑๐
“เมื่อมีพระบรมราชโองการประกาศใช้ยุทธศาสตร์ชาติแล้ว ให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติ
แต่ ล ะด้ า นจั ด ท าแผนแม่ บ ทเพื่ อ บรรลุ เป้ า หมายตามที่ ก าหนดไว้ ใ นยุ ท ธศาสตร์ ช าติ เสนอต่ อ
สภาผู้แทนราษฎรให้ความเห็นชอบก่อนเสนอคณะรัฐมนตรี แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติและ
แผนการปฏิรูปประเทศตามกฎหมายว่าด้วยแผนและขั้นตอนการดาเนินการปฏิรูปประเทศต้องมีความ
สอดคล้ องกัน แผนแม่บ ทที่คณะรั ฐมนตรีให้ ความเห็ นชอบและประกาศในราชกิจ จานุเบกษาแล้ ว
ให้ มี ผ ลผู ก พั น หน่ ว ยงานของรั ฐ ที่ เกี่ ย วข้ อ งที่ จ ะต้ อ งปฏิ บั ติ ให้ เป็ น ไปตามนั้ น รวมทั้ ง การจั ด ท า
งบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณต้องสอดคล้องกับแผนแม่บทด้วย ในกรณีที่คณะกรรมการ
จั ด ท ายุ ท ธศาสตร์ ช าติ เห็ น ว่ า มี ค วามจ าเป็ น ต้ อ งแก้ ไขเพิ่ ม เติ ม แผนแม่ บ ทให้ ส อดคล้ อ งกั บ ความ
เปลี่ยนแปลงหรือความจาเป็นของประเทศ ให้คณะกรรมการจัดทายุทธศาสตร์ชาติขอความเห็นชอบ
จากคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรีก่อน และเมื่อคณะกรรมการและคณะรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบ
แล้ว จึงดาเนินการแก้ไขเพิ่มเติมต่อไปดังกล่าว การจัดทากฎหมายเพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
๑๒๔

พิเศษ จาเป็นต้องดาเนินการ ผ่านระบบรัฐสภาเพื่อนาเสนอต่อคณะรัฐมนตรีและคณะกรรมการจัดทา


ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ต่ อ ไป” หากต้ อ งการร่ างกฎหมายสามารถน าพระราชบั ญ ญั ติ เขตพั ฒ นาพิ เศษ
ภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ มาเป็นต้นร่าง จะมีความครอบคลุม ครบถ้วน สมบูรณ์ตามแนวทางของ
คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้
ทั้งนี้ การเสนอร่างกฎหมายฉบับใดก็ตามจาเป็นต้องดาเนินการตามมาตรา ๗๗ วรรคสอง
“ก่ อ นการตรากฎหมายทุ ก ฉบั บ รั ฐ พึ งจั ด ให้ มี ก ารรั บ ฟั งความคิ ด เห็ น ของผู้ เกี่ ย วข้ อ งวิ เคราะห์
ผลกระทบ ที่อาจเกิดขึ้น จากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็น ระบบ รวมทั้งเปิ ดเผยผลการรับ ฟั ง
ความคิดเห็ น และการวิเคราะห์ นั้ น ต่อประชาชนและนามาประกอบการพิจารณาในกระบวนการ
ตรากฎหมายทุ ก ขั้ น ตอน เมื่ อ กฎหมายมี ผ ลใช้ บั ง คั บ แล้ ว รัฐ พึ ง จั ด ให้ มี ก ารประเมิ น ผลสั ม ฤทธิ์
ของกฎหมายทุ ก รอบระยะเวลาที่ ก าหนดโดยรับ ฟั ง ความคิ ด เห็ น ของผู้ เกี่ ย วข้ อ งประกอบด้ ว ย
เพื่อพัฒนากฎหมายทุกฉบับให้สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป”
ยุทธศาสตร์การออกกฎหมายพิเศษรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้
สอดคล้ องกั บแผนแม่ บทยุ ทธศาสตร์ ประเด็ นกฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธรรม (พ.ศ. 2561 – 2580)
ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของประชาชนเป็นกลไกในการขับ เคลื่อนและการพัฒ นากฎหมาย
เพื่อให้ประชาชนทุกภาคส่วนในสังคมได้รับประโยชน์จากการพัฒ นาประเทศอย่างเท่าเทียม เป็นธรรม
และทั่วถึง ดังนี้
การพัฒนากฎหมาย โดยเน้นการดาเนินการปรับปรุง แก้ไข ยกเลิกกฎหมายให้มีเท่าที่
จาเป็นและสอดคล้องบริบทและไม่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศ จากการนาเทคโนโลยีดิจิทัล
นวั ต กรรมทางกฎหมายมาประยุ ก ต์ ใ ช้ และส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มอย่ า งจริ ง จั ง
และเป็นรูปธรรม รวมทั้งบูรณาการเชื่อมโยงกฎหมายทุกลาดับชั้ นให้เชื่อมโยงกันอย่างเป็นเอกภาพ
ไม่ ขั ด กั น มี ก ารน ากฎหมายไปใช้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ มี ค วามโปร่ ง ใสซึ่ ง เป็ น กลไกส าคั ญ
ที่จะนากระบวนการยุติธรรมปราศจากความเหลื่อมล้าและความไม่เท่าเทียม
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครัฐมีวัฒ นธรรมการทางานที่มุ่งผลสัมฤทธิ์และผลประโยชน์ส่ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส
๒.๒ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
๒.๓ กระบวนการยุติธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๑๒๕

๔.๑.๘ สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๔ ปรั บ โครงสร้างและแก้ ไขกฎหมายระเบี ย บบริห ารราชการแผ่ น ดิ น
เพื่อวางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๗ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๑ ภาครัฐจัดให้ มีกฎหมายที่สอดคล้ องและเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ
ที่เหมาะสม
๔.๗.๒ มีกฎหมายเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๓ การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ

ยุท ธศาสตร์ ที่ ๓ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาสู่ ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลางทางการแพทย์ แ ละดู แ ลสุ ข ภาพ
ระดับโลก (Medical Hub of the World)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) จัดให้มีศูนย์กลางทางการแพทย์และสาธารณสุขระดับสากลเพื่อดูแลสุขภาพทั้งใน
และต่างประเทศ
2) จัดให้มีศูนย์สุขภาพผู้สูงวัยระดับสากลและการพัฒนาเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์
แผนไทยและสมุนไพร
สาระสาคัญดังนี้
กระทรวงสาธารณสุ ข แสดงความเห็ น ว่ า ยุ ท ธศาสตร์ ดั ง กล่ า วนอกจากสอดคล้ อ งกั บ
ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ การสอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ก ารวิ จั ย รายประเด็ น ด้ า นการเป็ น ศู น ย์ ก ลางทาง
การแพทย์ (Medical Hub) ของกระทรวงสาธารณสุข โดยแบ่งออกเป็น ๔ ยุทธศาสตร์ คือ ศูนย์กลาง
บริการเพื่อส่ งเสริม สุ ขภาพ (Wellness Hub) ศูนย์กลางบริการสุ ขภาพ (Medical Service Hub)
ศู น ย์ ก ลางบริ ก ารวิ ช าการและงานวิ จั ย (Academic Hub) ศู น ย์ ก ลางยาและผลิ ต ภั ณ ฑ์ สุ ข ภาพ
(Product Hub) ซึ่ งยุ ท ธศาสตร์ นี้ ตั้ งเป้ าหมายภายในระยะเวลา ๑๐ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๙ – ๒๕๖๘)
เมื่อพิจารณาโครงการที่ดาเนินการในพื้นที่จังหวัดภาคใต้ พบว่า โครงการระบบการบริการสาธารสุข
ด้วยแพทย์แผนไทย กรมบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุขมีประสิทธิภาพและกาลังขยายตัว ได้รับ
การยอมรั บ จากทั้ ง ในและต่ า งประเทศ อาทิ ศู น ย์ ค วามเป็ น เลิ ศ ด้ า นการสร้ า งเสริ ม สุ ข ภาพ
ภู มิ ปั ญ ญา ท้ อ งถิ่ น อ าเภอห้ ว ยยอด จั ง หวั ด ตรั ง คณะการแพทย์ แ ผนไทยและสถาบั น ฮาลาล
มหาวิท ยาลั ยสงขลานคริ น ทร์ พัฒ นาแหล่ งปลู กพืช ผั กสมุนไพร ปลอดสารพิษ ในจังหวัดสงขลา
พัฒนาสู่การเป็นผลิตภัณฑ์สปา เครื่องสาอาง และยารักษาโรค เพื่อพัฒนาให้ได้มาตรฐานระดับสากล
พร้ อ มสู่ ต ลาดอาเซี ย นและตะวั น ออกกลาง นโยบายของกระทรวงสาธารณสุ ข ได้ ด าเนิ น การ
เพื่ อเป็ น ศู น ย์ กลางทางการแพทย์ น านาชาติ ซึ่งกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุ ขด าเนิ นงาน
และประสานความร่วมมือภาคเอกชนเป็นศูนย์กลางและ ทาการรักษาให้กับคนไทยและคนต่างชาติ
มีการพัฒนาระบบวิชาการทางการแพทย์และบุคลากรควบคู่กัน
๑๒๖

ยุทธศาสตร์การพัฒนาสู่การเป็นศูน ย์กลางทางการแพทย์และดูแลสุขภาพ ระดับโลก


(Medical Hub of the World) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการ
แข่ งขัน แผนแม่ บ ทประเด็ น อุต สาหกรรมและการบริก ารแห่ งอนาคต (พ.ศ. 2561 – 2580)
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน คือ
4.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุ ต สาหกรรมชี ว ภาพ สร้ า งประโยชน์ จ ากความหลากหลายทางชี ว ภาพ
เพื่อต่อยอดจากภาคเกษตรไทยและมุ่งสู่อุตสาหกรรมบนฐานชีวภาพที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึง
พลังงานชีวมวล ได้แก่ อาหารเสริม เวชสาอาง วัคซีน ชีวเภสัชภัณฑ์และสารสกัดจากสมุนไพร เป็นต้น
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร อาศัยความเชี่ยวชาญด้านบริการ
การแพทย์ของไทยเพื่อสร้างอุ ตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในประเทศเพื่อรองรับความต้องการใช้บริการ
การแพทย์ที่จะเพิ่มมากขึ้น จากสังคมผู้สูงอายุและความต้องการการแพทย์ที่เพิ่มขึ้นจากทั้งในประเทศ
และต่ า งประเทศ เพื่ อ น าไปสู่ ศู น ย์ ก ลางอุ ต สาหกรรมและบริ ก ารการแพทย์ โดยการพั ฒ นา
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ ครอบคลุ มการผลิตเครื่องมือและอุปกรณ์ การแพทย์ การผลิ ต
อวัยวะเทียม การผลิตเวชภัณฑ์และครุภัณฑ์การแพทย์ การผลิตเภสัชภัณฑ์ซึ่งรวมถึงชีวเภสัชภัณฑ์
และการให้ บ ริ ก ารการแพทย์ ที่ เกี่ย วข้อ งอย่ างต่ อเนื่ อง รวมถึ งการส่ งเสริม การพั ฒ นาและการใช้
เทคโนโลยีการแพทย์ใหม่ ๆ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิตให้กับคนไทย การนาเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในบริการ
การแพทย์ เพื่อลดต้นทุนการรักษาพยาบาล ยกระดับการให้บริการการแพทย์อย่างมีคุณภาพในระดับ
สากล และสร้างความมั่น คงให้ กับ ระบบสาธารณสุ ขของไทย พร้อมทั้งการเชื่อมโยงอุตสาหกรรม
ทางการแพทย์ และบริการท่ องเที่ยวเพื่ อสุ ข ภาพ เพื่ อเป็ น ศูนย์ กลางการส่ งเสริมและดูแลสุ ขภาพ
และรักษาผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
แนวทางการพัฒนา
1) สนั บ สนุ น การสร้ างมู ล ค่ า เพิ่ ม จากวั ต ถุ ดิ บ ชี ว ภาพที่ เป็ น มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ ม
และเศรษฐกิจฐานชีวภาพ
2) พัฒ นาอุตสาหกรรมชีวภาพอย่างบู รณาการตลอดทั้ งห่วงโซ่มูลค่าและเชื่อมโยง
กับอุตสาหกรรมแปรรูปชีวมวล เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสุขภาพ รวมถึงอุตสาหกรรม
และบริการที่เกี่ยวเนื่อง ตลอดจนพัฒนาคลัสเตอร์อุตสาหกรรมชีวภาพในพื้นที่เหมาะสม
3) สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการด้านเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจชีวภาพ
4) สร้างโอกาส และขยายช่องทางการตลาดทั้งในและต่างประเทศ
5) มี ก ารประเมิ น มู ล ค่ า ทางเศรษฐศาสตร์ ข องระบบนิ เ วศที่ เ ป็ น มาตรฐาน
โดยมีเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์และเครื่องมือทางการคลังมาใช้ให้เหมาะสม
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว โดยรักษาการเป็นจุ ดหมายปลายทาง
ที่สาคัญของการท่องเที่ยวระดับโลกที่ดึงดูดนักท่องเที่ยวทุกระดับและเพิ่มสัดส่วนของนักท่องเที่ยว
ที่มีคุณ ภาพสูง รวมทั้งเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการส่งเสริมการตลาด การดูแลความปลอดภัย
และอานวยความสะดวกแก่นั กท่ องเที่ ยวทุ กกลุ่ ม รวมถึงคนพิก ารและผู้ สู งอายุ การใช้ประโยชน์
จากการท่องเที่ยวให้เอื้อต่อผลิตภัณฑ์ชุมชนและเศรษฐกิจต่อเนื่อง
๑๒๗

การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ ความงาม และแพทย์ แ ผนไทย ผสาน “ศาสตร์ ”


และความช านาญของการดู แ ลรั ก ษาด้ ว ยภู มิ ปั ญ ญาไทย กั บ “ศิ ล ป์ ” และความละเอี ย ดอ่ อ น
ในการให้บริการแบบไทย เพื่อดึงดูดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ โดยยกระดับมาตรฐาน
ธุรกิจบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการเสริมความงามสู่ตลาดระดับสูง โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรม เพื่อให้เกิดเป็นเอกลักษณ์การให้บริการตามแบบความเป็นไทยที่โดดเด่นในระดับสากล
พร้ อ มทั้ ง การสร้ า งความหลากหลายของกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพที่ ได้ ม าตรฐานเป็ น ที่ ย อมรั บ
และเชื่ อ มโยงกั บ กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วอื่ น ๆ รวมถึ ง การยกระดั บ มาตรฐานธุ ร กิ จ บริ ก าร
ด้านการแพทย์ทางเลือก โดยผสานองค์ความรู้จากเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เข้ากับองค์ความรู้
และภูมิปัญญาดั้งเดิมของไทย ผลิตบุคลากรด้านแพทย์แผนไทยและบริ การเชิงสุขภาพอื่นที่มีทักษะ
ภาษาและได้ รั บ การรับ รองมาตรฐานวิช าชี พ ให้ เพี ย งพอต่ อทิ ศ ทางของการท่ องเที่ ยวเชิงสุ ข ภาพ
และการส่งเสริมการจัดกิจกรรมทางการตลาดของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ของไทย
ให้ เป็ น ที่รับ รู้ ในระดับ โลก รวมทั้งการส่ งเสริมการจัดการนาเที่ยวเชิงสุขภาพครบวงจรที่เชื่อมโยง
กับการแพทย์แผนปัจจุบัน
แนวทางการพัฒนา
1) พั ฒ นาอุ ต สาหกรรมและบริ ก ารทางการแพทย์ แ บบบู ร ณ าการควบคู่ ไ ป
กับอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องอื่น ๆ ในห่วงโซ่มูลค่า
2) ส่ งเสริ ม การพั ฒ นาและการใช้ เทคโนโลยี แ ละนวัต กรรมทางการแพทย์ เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิ ท ธิ ภ าพในการให้ บ ริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพ เช่ น การแพทย์ ท างไกลและการแพทย์ แ ม่ น ย า
ปัญญาประดิษฐ์ เทคโนโลยีชีวภาพด้านสุขภาพ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ ยา และชีววัตถุ เป็นต้น
3) ส่งเสริมการพัฒ นาอุตสาหกรรมการแพทย์ที่ทันสมัย มีคุณ ค่า และมีมูลค่าเพิ่มสู ง
โดยส่ งเสริ ม การน าผลิ ต ภั ณ ฑ์ ข องอุ ต สาหกรรมการแพทย์ ที่ ทั น สมั ย มาใช้ ในประเทศ เพื่ อ สร้ า ง
อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารการแพทย์ ที่ ส ามารถรองรับ ความต้ อ งการในประเทศและต่ างประเทศ
และพร้อมมุ่งสู่การเป็นศูนย์กลางอุตสาหกรรมและบริการการแพทย์
4) ผลิ ต และพั ฒ นาบุ ค ลากรทางด้ า นสุ ข ภาพในทุ ก ระดั บ ทั้ ง ในภาคอุ ต สาหกรรม
และบริการทางการแพทย์ ทั้งแผนปัจจุบันและแผนไทยให้มีศักยภาพด้านเทคโนโลยี มีทักษะความ
ชานาญ และมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล
5) ยกระดับ มาตรฐานของผลิ ตภัณฑ์ทางการแพทย์และการให้ บริการทางการแพทย์
ให้ เที ย บเท่ ากั บ ระดั บ สากล ยกระดั บ การแพทย์ แ ละบริ ก ารสุ ข ภาพแผนไทย สร้ างศู น ย์ ท ดสอบ
มาตรฐานของผลิ ตภัณ ฑ์ท างการแพทย์ ส่ งเสริม การอานวยความสะดวกในการตรวจและรับรอง
มาตรฐานผลิ ต ภั ณ ฑ์ ท างการแพทย์ ข องไทยให้ กั บ ผู้ ป ระกอบการอย่ างถู ก ต้ อ ง รวดเร็ ว ในราคา
ที่เป็นธรรมเพื่อให้ผู้ประกอบการไทยสามารถแข่งขันได้มากขึ้น
6) ขยายช่ อ งทางการตลาดทั้ งในและต่ างประเทศ และเชื่ อ มโยงกั บ การท่ อ งเที่ ย ว
เชิ งสุ ขภาพและกิ จกรรมอื่ น ๆ เพื่ อสร้ างมู ลค่ าเพิ่ มในประเทศ เช่ น การตรวจสุ ขภาพ ทั นตกรรม
เป็นต้น ส่งเสริมให้ไทยเป็นศูนย์กลางด้านสุขภาพทั้งด้านร่างกายและจิตใจที่ผสมผสานความเชี่ยวชาญ
ทั้งในการแพทย์ แผนปั จ จุบั นและการแพทย์แผนไทย ควบคู่ไปกับการสร้างระบบเฝ้าระวังป้องกัน
ควบคุมโรคด้านเวชศาสตร์การเดินทางและท่องเที่ยว
๑๒๘

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๔ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ น า GASEZ เป็ น ศู น ย์ ก ลางด้ า น การค้ า การเงิ น


และการธนาคารของโลก (World Financial Center)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) พัฒนาเป็นศูนย์กลางทางการเงิน หรือ World Fintech มีสาระสาคัญดังนี้
ธนาคารแห่งประเทศไทย แสดงความเห็นว่า ปัจจุบันธนาคารแห่งประเทศไทยอยู่ระหว่าง
การดาเนินการตามแผนพัฒนาระบบสถาบันการเงิน ระยะที่ ๓ (๒๕๕๙ – ๒๕๖๓) ซึ่งมีความมุ่งหมาย
ส าคั ญ บนหลั ก การของการส่ งเสริ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ ความสามารถในการแข่ ง ขั น และการรั ก ษา
เสถียรภาพของระบบ สถาบั นการเงินไทย มุ่งหวังให้ ระบบสถาบันการเงินไทยแข่งขันได้ สามารถ
ตอบสนองความต้ อ งการที่ ห ลากหลายขึ้ น ด้ ว ยราคาที่ เป็ น ธรรมและไม่ บิ ด เบื อ น และสนั บ สนุ น
การเชื่อมโยงการค้าการลงทุนในภูมิภาค ภายใต้การกากับดูแลเพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
และการเงิ น หรื อ ภายใต้ แ นวคิ ด “แข่ ง ได้ เข้ า ถึ ง เชื่ อ มโยง ยั่ ง ยื น ” ซึ่ งเป็ น ไปตามเจตนารมณ์
ของคณะอนุกรรมาธิการ ฯ ทั้งนี้ ตามที่คณะอนุกรรมาธิการฯ ตั้งเป้าหมายให้ยุทธศาสตร์การพัฒนา
ภาคใต้สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง มีลักษณะของการเป็น ศูนย์กลางทางการเงิน (Finance Hub)
ตามตั ว แบบ “เซิ น เจิ้ น ” (Shen zhen) สาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ธนาคารแห่ ง ประเทศไทย
ให้ความเห็นสรุปได้ว่า
“การดาเนินงานและให้บริการทางการเงินกับประชาชนอย่างทั่วถึง หากเขตเศรษฐกิจพิเศษ
นี้ ได้ ด าเนิ น การจนเป็ น รู ป ธรรมแล้ ว ระบบสถาบั น การเงิ น จะสามารถเข้ าไปรองรับ การให้ บ ริก าร
ทางการเงิน ได้ ทั น ที โดยมี รู ป แบบการให้ บ ริ ก ารอย่ า งเท่ า เที ย ม ในมาตรฐานสากล (Financial
Center) โดยสรุปแล้วระบบเขตเศรษฐกิ จพิเศษจะต้องเกิดขึ้นก่อนซึ่งจะทาให้ สถานบันทางการเงิน
ดาเนินงานตามภายหลังได้ ส่วนกรณีความร่วมมือระหว่างสถาบั นการเงินของไทยและต่างชาตินั้น
ในภูมิ ภ าคเอเชีย ตะวัน ออกเฉีย งใต้ได้มี การร่ว มมื อและด าเนิ น การอย่างต่อเนื่อง ทั้ งนี้ หากมี การ
ประกอบธุรกิจและมีผลประโยชน์เกิดขึ้นจะต้องมีการรวมตัวเพื่อเกิดการแข่งขันและผลกาไรด้วย”
ควรจั ด ท าแผนการปฏิ บั ติ ง านและแผนการใช้ จ่ า ยงบประมาณเพิ่ ม เติ ม รวมทั้ ง แผนการจั ด ท า
การรวมกองทุน ในพื้น ที่ ให้ มีความชัดเจน เนื่องจากข้อมูล ทางด้านเศรษฐศาสตร์มีความละเอียด
ค่อนข้างมาก และต้องมีการจั ดเตรียมงบประมาณในการลงทุ นสู ง เนื่องจากเป็น พื้ นที่ ขนาดใหญ่
ระเบี ย บว่ า ด้ ว ยการบริ ห ารงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๒ เป็ น ระเบี ย บที่ ท าให้ เกิ ด ความคล่ อ งตั ว
ในการบริห ารงบประมาณ เนื่ องจากสามารถโอนงบประมาณข้ามหน่วยงานได้ ซึ่งเดิมไม่สามารถ
ดาเนินการได้ ดังนั้น เมื่อยุทธศาสตร์การพัฒนาภาคใต้สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษบรรจุในแผนการใช้จ่าย
งบประมาณ ก็สามารถใช้บังคับตามระเบียบนี้ได้
ยุทธศาสตร์การพัฒนา GASEZ เป็นศูนย์กลางด้านการค้า การเงิน และการธนาคารของโลก
(World Financial Center) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580) ยุทธศาสตร์ชาติ
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน เพื่อเสริมสร้างความสามารถทางเศรษฐกิจของประเทศ
อย่างต่อเนื่อง อาทิ ปัจจัยด้านความผันผวนของเศรษฐกิจโลก กฎ ระเบียบระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้อง
กับ การแข่งขัน ทางการค้า รู ป แบบการค้าที่ เปลี่ ยนแปลงไป รวมทั้ งการเปลี่ ยนแปลงเชิงนโยบาย
การพั ฒ นาของประเทศต่าง ๆ ในภูมิ ภ าคที่ ทาให้ เกิดการลงทุ นจากนั กลงทุน ต่างประเทศมากขึ้น
โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ซึ่งจากสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงในอนาคต
๑๒๙

อาทิ เศรษฐกิจโลก โครงสร้างประชากร เทคโนโลยี จะทาให้ประเทศไทยเผชิญความท้าทายมากขึ้น


ในการเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศในระยะต่อไป
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์
๒.๑ ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ

ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมการต่อเรือและการเดิน เรือ ขนาดใหญ่


พาณิชย์นาวีและโลจิสติกส์ระดับโลก (World Class Logistic)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) ศูนย์กลางการต่อเรือ เดินเรือและโลจิกติกส์ เพื่อเชื่อมโยงการลงทุนระดับโลก
มีสาระสาคัญดังนี้
กระทรวงอุตสาหกรรม แสดงความเห็ นว่า “ปัจจุบันกระทรวงอุตสาหกรรมดาเนินการ
สนั บ สนุ น อุตสาหกรรม ๑๐ อุตสาหกรรมเป้าหมาย” สอดคล้ องกับยุทธศาสตร์การพัฒ นาภาคใต้
สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง ได้แก่
อุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ 5 อุตสาหกรรม ได้แก่
1) อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next-Generation Automotive)
2) อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronics)
3) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Affluent,
Medical and Wellness Tourism)
4 ) อุ ต ส าห ก รรม ก ารเก ษ ต รแ ล ะ เท ค โน โล ยี ชี ว ภ าพ (Agriculture and
Biotechnology)
5) อุตสาหกรรมการแปรรูปอาหาร (Food for the Future)
๑๓๐

อุตสาหกรรมอนาคต 5 อุตสาหกรรม ได้แก่


1) หุ่นยนต์เพื่ออุตสาหกรรม (Robotics)
2) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Aviation and Logistics)
3) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemicals)
4) อุตสาหกรรมดิจิทัล (Digital)
5) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub)
ขณะที่ ก ารด าเนิ น การจั ด ท าเขตเศรษฐกิ จ พิ เศษนี้ มี ค วามเกี่ ย วข้ อ งกั บ พาณิ ช ย์ น าวี
ซึ่งมีการเชื่อมโยงหลากหลายด้าน เช่น การขนถ่ายแร่ การขนถ่ายพลั งงาน ซึ่งเป็ นอานาจหน้าที่
ของกรมเจ้าท่า กระทรวงคมนาคม ปัจจุบันอยู่ระหว่างการแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติ ส่งเสริม
การพาณิชย์นาวี พ.ศ. .... โดยร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้มีสาระสาคัญของการจัดการพาณิชย์นาวีให้ตั้ง
ส านั ก งานพาณิ ช ย์ น าวี ซึ่ งมี ภ ารกิ จ ในการควบคุ ม ดู แ ลพาณิ ช ย์ น าวีร ะหว่ างประเทศ เนื่ อ งจาก
องค์ ป ระกอบของพาณิ ช ย์ น าวี นั้ น ต้ อ งเป็ น สิ น ค้ า ที่ ลงเรื อ สั ญ ชาติ ไทย จึ ง ต้ อ งมี ก ารปรั บ ปรุ ง
พระราชบั ญ ญัติเพื่อให้ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมพาณิ ชย์นาวีและอุตสาหกรรมอากาศยาน
ให้ มี ค วามชั ด เจนเพื่ อ รองรั บ ธุ ร กิ จ พาณิ ช ย์ น าวี ในอนาคต และประการสุ ด ท้ า ย คื อ กระทรวง
อุ ต สาหกรรมเสนอความเห็ น ต่ อ ที่ ป ระชุ ม คณะอนุ ก รรมาธิ ก าร ฯ หากมี ยุ ท ธศาสตร์ก ารพั ฒ นา
อุตสาหกรรมเกี่ยวกับ ด้านโลจิสติกส์นั้น จาเป็นต้องพัฒ นาให้ครอบคลุมระบบการขนส่งโลจิสติกส์
ทางเรือ ทางอากาศ และทางรางด้วยเช่นกัน
การพัฒนาอุตสาหกรรมการต่อเรือและการเดินเรือขนาดใหญ่ พาณิชย์นาวีและโลจิสติกส์
ระดับ โลก (World Class Logistic) เพื่ อ การแข่งขัน ประเทศไทยมี ค วามจ าเป็ น ต้ องศึก ษาเรียนรู้
การบริ ห ารจั ด การดั ง กล่ า ว จาก Port of Singapore Authority : PSA ได้ รั บ การยกย่ อ งว่ า
บริหารงานดีที่สุดแห่งหนึ่งในโลก สายการเดินเรือที่มาใช้บริการท่าเรือ PSA โดยเฉพาะความทันสมัย
ในด้านเทคโนโลยี สารสนเทศ กล่าวกันว่า PSA เป็นท่าเรือซึ่งมีระบบเทคโนโลยีส ารสนเทศดีที่สุ ด
ในโลก โดยใช้ ร ะบบเอกสารอิ เล็ ก ทรอนิ ก ส์ เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพในการลดเวลาและค่ า ใช้ จ่ า ย
นอกจากนี้ ยังใช้ระบบคอมพิวเตอร์ CITOS หรือ Computer Integrated Terminal Operations
System ซึ่งทาให้ ผู้ บ ริห ารท่ าเรือสามารถวางแผน ควบคุมและตรวจสอบตู้ คอนเทนเนอร์แต่ล ะตู้
คนขับรถหัวลาก และเครนอย่างต่อเนื่องแม้ท่าเรือ PSA จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในโลกแต่ก็พยายาม
ปรับปรุงประสิทธิภาพอยู่ตลอดเวลา โดยมีนวัตกรรมสาคัญ ๓ ประการ ดังนี้
ประการแรก ระบบ “Flow -Through Gate System” ได้ รั บ รางวั ล นวั ต กรรม
เมื่อปี ๒๕๔๒ เนื่ องจากเป็ น ระบบที่ทั นสมัยที่ สุ ดในโลก มีป ระสิ ท ธิภ าพเหนือกว่าท่ าเรือ ในยุโรป
หรือสหรัฐอเมริกา ทาให้การนาเข้า - ส่งออกตู้คอนเทนเนอร์จะผ่านพิธีการศุลกากรโดยใช้เวลาเพียง
๒๐ - ๒๕ วินาที/คัน นับว่าเร็วที่สุดในโลก
ประการที่ ส อง เป็ น ท่ า เรื อ แห่ ง แรกของโลกที่ ใ ช้ น วั ต กรรมใหม่ คื อ Remote -
controlled Overhead Bridge Crane ทาให้ประสิทธิภาพการทางานเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน
เดิม พนั ก งานบั งคั บ เครนแต่ ล ะคน สามารถควบคุม เครนได้เพี ยง ๑ ตั ว แต่เมื่อ ใช้ระบบใหม่ แล้ ว
พนักงานแต่ละคนสามารถควบคุมเครนได้มากถึง ๖ ตัว โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุม คล้าย ๆ
กับเราใช้เมาส์ทางานกับคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นแบบอัตโนมัติแทบทั้งหมด
๑๓๑

ประการที่สาม มีการติดตั้งเครนขนาดใหญ่ที่เรียกว่า Post - Panamax Quay Cranes


เพื่อขนถ่ายสินค้าขึ้นลงเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ โดยแขนของเครนมีความยาวถึง ๕๕ เมตร สามารถ
ให้บริการแก่เรือที่มีขนาดความกว้างของลาตัวเรือไม่เกิน ๑๘ ตู้ ปัจจุบันได้ก้าวสู่ “Super Crane”
ซึ่งเป็นเครนขนาดใหญ่มีความยาวมากถึง ๖๐ เมตร สามารถให้บริการแก่เรือที่มีความกว้างของลาตัว
เรือมากถึง ๒๒ ตู้ นอกจากท่าเรือคอนเทนเนอร์แล้ว PSA Singapore Terminal ยังให้ความสาคัญ
ต่อท่าเรือสินค้าทั่วไป (Multi-Purpose Terminal) โดยมีท่าเรือ Multi-Purpose Terminal (MPT)
of Pasir Panjang และ Sambawang Wharves ให้ บ ริก าร MPT โดยสามารถรองรับ การขนถ่า ย
สิ น ค้ า ประเภทรถยนต์ ได้ ม ากกว่ า ๑ ล้ า นคั น นอกจากนั้ น ยั ง มี ร ะบบเชื่ อ มโยงด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์
ที่มีประสิทธิภาพไปยังเขตอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในเขตเศรษฐกิจอีกด้วย ประการสาคัญที่ทาให้ PSA
Singapore Terminal ประสบความสาเร็จก็คือ “ทรัพยากรมนุษย์” โดย PSA Singapore Terminal
ให้ ความความส าคัญ ในการพั ฒ นาศั กยภาพของพนักงานอยู่ต ลอดเวลาทั้ งทางด้านประสิ ท ธิภ าพ
การทางานและด้านอื่น ๆ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นอุตสาหกรรมการต่อเรือ และการเดินเรือขนาดใหญ่ พาณิชย์
นาวีและโลจิสติกส์ระดับโลก (World Class Logistic) สอดคล้องกับยุทศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 –
2580 แผนแม่บ ทภายใต้ยุ ทธศาสตร์ชาติ ประเด็น โครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิส ติกส์และดิจิตัล
(พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็น ผู้ ประกอบการและวิส าหกิจขนาดกลางและขนาดย่อ มยุค ใหม่
(พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2561 – 2580) และประเด็นเศรษฐกิจ
ฐานราก (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
ประเด็นโครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิตัล (พ.ศ. 2561 – 2580)
เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น ที่ ส าคั ญ ประการหนึ่ ง ในการสร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขั น
ของประเทศ เนื่องจากจะช่วยให้เกิดการพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ในพื้ น ที่ ซึ่ งจะกระตุ้ น ให้ เกิ ด การสร้างมู ล ค่ าเพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จในส่ ว นภู มิ ภ าค ยกระดั บ ผลิ ต ภาพ
ของภาคการผลิตและบริการ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๓ ใช้ประโยชน์ และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๑๓๒

๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก


๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๓ มุ่งเป้ าการลงทุ นที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒ นาโครงสร้าง
พื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชน
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๓ พั ฒ นาความมั่ น คงพลั งงานของประเทศและส่ งเสริ ม การใช้ พ ลั งงาน
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๔ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยลดความเข้มข้นของการใช้พลังงาน
ประเด็นผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ (พ.ศ. 2561 –
2580)
จากกระแสโลกาภิวัฒน์ประกอบกับพลวั ตทางเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างภาคการผลิตที่ลดและเลิกพึ่งพาทุนการผลิตตามแบบอุตสาหกรรมเดิม มาสู่ยุคเทคโนโลยี
ดิจิ ทั ล และนวัต กรรม อัน ส่ งผลต่อรูป แบบการด าเนิ น ธุรกิจ การขับ เคลื่ อนการพั ฒ นาที่ต้ องสร้าง
และพั ฒ นาผู้ ป ระกอบการไทยให้ เป็ น “ผู้ ป ระกอบการยุ ค ใหม่ ” ที่ ก้ า วทั น และใช้ ป ระโยชน์
จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนธุรกิจ โดยวางการปรับบทบาทภาครัฐให้เสริมสร้าง
บรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนา เพื่อผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินและฐานข้อมูล
ที่ ทั น สมั ย เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพในการขยายตลาดทั้ ง ในและต่ า งป ระเทศและพร้ อ มรั บ มื อ
กับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของธุรกิจใหม่ ๆ ในอนาคต
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
๑๓๓

ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็วและโปร่งใส
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ เกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๒ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๑ การปรับเปลี่ยนระบบการเรียนรู้ให้เอื้อต่อการพัฒนาทักษะสาหรับศตวรรษที่ ๒๑
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๒ การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุน
ที่เหมาะสมสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่านกลไกต่าง ๆ
๑๓๔

๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ


ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่
๔.๔ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาการพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเอง
๔.๔.๒ เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการ
อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้ บ ริการสาธารณะของภาครัฐ ได้ ม าตรฐานสากลและเป็ น ระดั บ
แนวหน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครั ฐ มี ความเชื่ อมโยงในการให้ บ ริ การสาธารณะต่ าง ๆ ผ่ านการน า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2561 – 2580)
จากที่ประเทศไทยจะเป็ นศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค ควรผลั กดันและส่งเสริม
ให้เกิดการลงทุนในประเทศ ส่งเสริมการส่งออกและให้มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตสินค้า
และเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้าในภูมิภาค การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษจึงเป็นการพัฒนา
เขตเศรษฐกิจ ของประเทศไทยเพื่ อประโยชน์ ต่อการส่ งเสริม สนับ สนุน และอานวยความสะดวก
รวมทั้ ง ให้ สิ ท ธิ พิ เศษบางประการในการด าเนิ น กิ จ การต่ า งๆ เช่ น การประกอบอุ ต สาหกรรม
การพาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อดึงดูด
การลงทุ น โดยตรงจากต่ างชาติ และยกระดั บ รายได้ ข องประชากรในประเทศ โดยพั ฒ นาระบบ
โครงสร้างพื้นฐานและเตรียมความพร้อมด้านต่าง ๆ เพื่อให้เศรษฐกิจและการค้าในพื้นที่มีความสะดวก
รวดเร็ ว ยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง ยั ง ส่ ง เสริ ม การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง วั ฒ นธรรมในแต่ ล ะภู มิ ภ าคและสร้ า งรายได้
ให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถทางการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๑๓๕

๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม เพิ่ ม โอกาส
ให้ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลังของพัฒนาประเทศในทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ เกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๒ เกษตรปลอดภัย
๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๒ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงาม และแพทย์แผนไทย
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๓.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๓.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๓.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๓.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๓.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๑๓๖

๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๓ ปฏิรูปการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๑ การปรั บ เปลี่ ย นระบบการเรี ย นรู้ ให้ เอื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะส าหรั บ
ศตวรรษ ที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๑ พัฒนาศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
ในภูมิภาค
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๕ ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๓ มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน ของภาครัฐและภาคเอกชน
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงานและเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๒ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพของน้ าทั้ ง ระบบ ในการใช้ น้ าอย่ า งประหยั ด รู้ คุ ณ ค่ า
และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้า ให้ทัดเทียมกับระดับสากล
ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก (พ.ศ. 2561 – 2580)
การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานรากตามแนวทางของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า งโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคมได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เน้นตอบโจทย์การสร้างความเป็นธรรม
และลดความเหลื่ อ มล้ าทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ เพื่ อ ให้ ก ารเติ บ โตของประเทศ
เป็นการเติบโตที่ยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพ
ในการแข่งขัน สามารถพึ่งพาตนเองได้ ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติด้านที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จ เติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
๑๓๗

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วน
เข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาการพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๑ เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๓ กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยี
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่

ยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตร์การให้สิทธิพิ เศษและสวัส ดิการที่ดีที่สุดสาหรับผู้ได้รับ ผลกระทบ


จากการพั ฒ นาเขตเศรษฐกิจ พิ เศษขวานทอง (GASEZ) รวมทั้ ง การเสริม สร้ า งความเข้ มแข็ ง
ของชุมชนและสังคม มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) การกาหนดสิทธิพิเศษและสวัสดิการที่ดีที่สุด สาหรับประชาชนที่ได้รับผลกระทบ
2) การจั ด สรรที่ ดิ น และผลประโยชน์ ส าหรั บ เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษขวานทองภาคใต้
(GASEZ)
มีสาระสาคัญดังนี้
กระทรวงยุ ติ ธรรม แสดงความเห็ นว่า กรณี ก ารจัดท าเขตเศรษฐกิจพิ เศษนั้น อาจจะส่ ง
ผลกระทบต่ อ ประชาชนซึ่ งอาจเข้ าข่ ายการปฏิ บั ติ ข องรัฐ ที่ ก ระทบต่อ สิ ท ธิ ม นุ ษ ย์ ช น อย่ างไรก็ ดี
กระทรวง ยุ ติ ธรรมได้จั ดท าแผนปฏิ บั ติการระดั บ ชาติว่าด้ว ยธุรกิจและสิ ท ธิมนุ ษ ยชน ระยะที่ ๑
(พ.ศ. ๒๕๖๒ – ๒๕๖๕) โดยสาระสาคัญของแผนฉบับนี้ คือ รัฐจาเป็นต้องคุ้มครองสิทธิของประชาชน
เคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชน และภาครั ฐ และธุ ร กิ จ ต้ อ งร่ ว มกั น ดู แ ลผู้ ได้ รั บ ผลกระทบ ซึ่ ง หน่ ว ยงาน
ผู้ รั บ ผิ ด ชอบโดยตรง คื อ กรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิแ ละเสรีภ าพ กระทรวงยุ ติ ธ รรม การขั บ เคลื่ อ นแผน
มีองค์ประกอบ ๔ ด้าน คือ ๑) ด้านแรงงาน ๒) ด้านชุมชน ที่ดิน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๓) ด้านการปกป้องสิทธิมนุษยชน และ ๔) และด้านการลงทุน ระหว่างประเทศและบรรษัทข้ามชาติ
๑๓๘

ขณะที่ กรณี เกิ ด ข้ อ พิ พ าทระหว่ า งรั บ กั บ ประชาชนกระทรวงยุ ติ ธ รรม มี ก ลไกภาคประชาชน


หรื อศูน ย์ ยุ ติธ รรมชุ มชน ในการสนับ สนุ น กระบวนการแก้ไขปั ญ หาและพู ดคุ ยไกล่ เกลี่ ยในชุมชน
รวมถึ งมี ก ลไกตามพระราชบั ญ ญั ติ ก ารไกล่ เกลี่ ย ข้ อ พิ พ าท พ.ศ. ๒๕๖๒ โดยกรมคุ้ ม ครองสิ ท ธิ
และเสรีภาพ เป็นหน่วยงานรักษาการตามพระราชบัญญัติ อย่างไรก็ดี ข้อคาถามของอนุกรรมาธิการ ฯ
ในกรณีการจัดทาร่างพระราชบัญญัติเวนคืน พ.ศ. .... สาหรับการพัฒนาภาคใต้สู่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทองจะขัดกับ หลั กสิท ธิม นุ ษ ยชนหรือไม่อย่างไร ต้องให้ ทางกฤษฎีกาเป็นผู้ พิ จารณาตีความ
ร่วมกับกระทรวงยุติธรรม
ยุทธศาสตร์การให้สิทธิพิเศษและสวัส ดิการที่ดีที่สุดสาหรับผู้ได้รับ ผลกระทบจากการ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ (GASEZ) รวมทั้งการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
มั่ น คง มั่ งคั่ ง ยั่ ง ยื น สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่ บ ทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (พ.ศ. 2561 2580) ประเด็น
การบริ การประชาชนและประสิ ท ธิภ าพภาครัฐ (พ.ศ. 2561 – 2580) และประเด็ น กฎหมาย
และกระบวนการยุติธรรม (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
ประเด็น ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม (พ.ศ. 2561 2580)
การสร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับประชากรทุกกลุ่ม โดยเฉพาะ
กลุ่มประชากรที่มีความเสี่ยง อาทิ กลุ่มที่มีรายได้น้อย แรงงานนอกระบบ ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ
จึงเป็ นกลไกที่สาคัญ ยิ่งในการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคมที่ ยั่งยืนในทุกมิติ ผ่านการ
กาจั ด วงจรความเหลื่ อมล้ าและความยากจนที่ จะถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่ รุ่น โดยแผนแม่ บ ทภายใต้
ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคมมีความสอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติด้านที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาค
ส่วนเข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ งตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๑ ช่วงการตั้งครรภ์/วัยรุ่น
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๒.๔ ช่วงวัยผู้สูงอายุ
๑๓๙

๔.๕ การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ดี
๔.๕.๓ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๒ ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๑.๕ สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย
ทุกเพศภาวะและทุกกลุ่ม
๔.๑.๖ ลงทุ น ทางสั ง คมแบบมุ่ ง เป้ า เพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ กลุ่ ม คนยากจนและกลุ่ ม
ผู้ด้อยโอกาสโดยตรง
๔.๑.๗ สร้ า งความเป็ น ธรรมในการเข้ า ถึ ง บริ ก ารสาธารณสุ ข และการศึ ก ษา
โดยเฉพาะสาหรับผู้มีรายได้น้อยและกลุ่มผู้ด้อยโอกาส
ประเด็น การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ (พ.ศ. 2561 – 2580)
กลไกของภาครัฐ จึงเป็ น เครื่องมือส าคัญ ที่จะสามารถช่ว ยขับเคลื่ อนการพั ฒ นาประเทศ
ตามแผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ช าติ ทุ กประเด็ น เพื่ อบู รณาการ ทั้ งในเชิงประเด็น เชิงภารกิ จ
และเชิงพื้นที่มีการเชื่อมโยงการทางานทุกระดับให้สอดรับกับเป้าหมายที่กาหนดไว้ในยุทธศาสตร์ชาติ
จะต้ อ งบู ร ณาการกั น อย่ า งมี เอกภาพและสอดประสานกั น มี การประสานงานบนความร่ วมมื อ
ของภาคส่ ว นต่ าง ๆ ตั้ งแต่ ภ าครั ฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสั งคม ภาควิ ช าการ ภาคประชาชน
และภาคส่ ว นอื่ น ในสั งคม ระบบการเงิ น การคลั งของประเทศจะต้ อ งสนั บ สนุ น การขั บ เคลื่ อ น
ยุทธศาสตร์ชาติ ระบบงบประมาณและการจัดสรรงบประมาณตอบสนองความเร่งด่วนและมีเป้าหมาย
ร่วมกันทั้งในระดับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ภารกิจ และพื้นที่ ซึ่งสามารถติดตามประเมิ น
ผลสาเร็จของการบรรลุเป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติทุกระดับ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
๑๔๐

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๒.๒ ภาครัฐมีขนาดที่เล็กลง พร้อมปรับตัวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
๔.๕.๓ การพัฒนากลไกองค์กรขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๒ ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค
๔.๑.๕ สร้างหลักประกันทางสังคมที่ครอบคลุมและเหมาะสมกับคนทุกช่วงวัย
ทุกเพศสภาวะ และทุกกลุ่ม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการ
อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนว
หน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครัฐ มีความเชื่ อมโยงในการให้ บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่ านการน า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
๔.๒ ภาครั ฐ บริ ห ารงานแบบบู ร ณาการโดยมี ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ เป็ น เป้ า หมาย
และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับ ทุกประเด็น ทุกภารกิจ และทุกพื้นที่
๔.๒.๑ ให้ยุทธศาสตร์ชาติเป็นกลไกขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศ
๔.๒.๒ ระบบการเงินการคลังประเทศสนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
๔.๒.๓ ระบบติ ดตามประเมิ นผลที่ สะท้ อนการบรรลุ เป้ าหมายยุ ทธศาสตร์ ชาติ
ในทุกระดับ
๔.๓ ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ประชาชนและทุกภาคส่วน
มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
๔.๓.๑ ภาครัฐมีขนาดที่เหมาะสม
๔.๓.๒ ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ
๑๔๑

๔.๓.๓ ส่ ง เสริ ม การกระจายอ านาจและสนั บ สนุ น บทบาทชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น


ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานที่มีสมรรถนะสูง ตั้งอยู่บนหลักธรรมาภิบาล
๔.๔ ภาครัฐมีความทันสมัย
๔.๔.๑ องค์กรภาครัฐมีความยืดหยุ่นเหมาะสมกับบริบทการพัฒนาประเทศ
๔.๔.๒ พัฒนาและปรับระบบวิธีการปฏิบัติราชการให้ทันสมัย
๔.๕ บุ ค ลากรภาครั ฐเป็ น คนดี และเก่ ง ยึ ดหลั กคุ ณ ธรรม จริ ยธรรม มี จิ ตส านึ ก
มีความสามารถสูง มุ่งมั่น และเป็นมืออาชีพ
๔.๕.๑ ภาครัฐมีการบริหารกาลังคนที่มีความคล่องตัว ยึดระบบคุณธรรม
๔.๕.๒ บุ ค ลากรภาครั ฐ ยึ ด ค่ า นิ ย มในการท างานเพื่ อ ประชาชน มี คุ ณ ธรรม
และมีการพัฒนาตามเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ
ประเด็นกฎหมายและกระบวนการยุติธรรม (พ.ศ. 2561 – 2580)
ทิศทางการขับเคลื่อนการพัฒนาประเทศภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ กฎหมายและกระบวนการ
ยุ ติ ธ รรมเป็ น กลไกส าคั ญ ในการพั ฒ นาประเทศที่ ไม่ ใช่ เป็ น เพี ย งเครื่ อ งมื อ ในการใช้ อ านาจรั ฐ
แต่เป็นเครื่องมือของประชาชนทั้งประเทศที่จะใช้สร้างสังคมที่พัฒนาอย่างเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้า
และไม่ เลื อ กปฏิ บั ติ โดยมี แ นวทางการพั ฒ นาที่ ให้ ค วามส าคั ญ กั บ การมี ส่ ว นร่ว มของประชาชน
เป็ น กลไกในการขั บ เคลื่ อ นและสร้ า งการเปลี่ ย นแปลงขนานใหญ่ มุ่ ง เน้ น การน านวั ต กรรม
และเทคโนโลยี ดิ จิ ทั ล มาสนั บ สนุ น ให้ เกิ ด ความโปร่ ง ใสแล ะพลวั ต ให้ กั บ การพั ฒ นากฎหมาย
และกระบวนการยุ ติธรรม เพื่อส่ งเสริมให้ ประชาชนทุ กภาคส่ วนในสั งคมมีโอกาสได้รับประโยชน์
จากการพัฒนาประเทศอย่างเท่าเทียม เป็นธรรมและทั่วถึง
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส
๒.๒ ภาครัฐมีความโปร่งใส ปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ
๒.๓ กระบวนการยุติธรรม เป็นไปเพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวมของประเทศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๓ การพั ฒ นาศั ก ยภาพของประเทศให้ พ ร้ อ มเผชิ ญ ภั ย คุ ก คามที่ ก ระทบ
ต่อความมั่นคงของชาติ
๔.๓.๓ การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคาม
ให้มีประสิทธิภาพ
๔.๕ การพัฒนากลไกการบริหารจัดการความมั่นคงแบบองค์รวม
๑๔๒

๔.๕.๑ การพัฒนากลไกให้พร้อมสาหรับ การติดตาม เฝ้าระวัง แจ้งเตือน ป้องกัน


และแก้ไขปัญหาความมั่นคงแบบองค์รวมอย่างเป็นรูปธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๘ สร้างความเป็นธรรมในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมอย่างทั่วถึง
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๔ ปรั บ โครงสร้ า งและแก้ ไขกฎหมายระเบี ย บบริ ห ารรราชการแผ่ น ดิ น
เพื่อวางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๗ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๑ ภาครั ฐ จั ด ให้ มี ก ฎหมายที่ ส อดคล้ อ งและเหมาะสมกั บ บริ บ ทต่ า ง ๆ
ที่เหมาะสม
๔.๗.๒ มีกฎหมายเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๓ การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
๔.๘ กระบวนการยุ ติ ธ รรมเคารพสิ ท ธิ ม นุ ษ ยชนและปฏิ บั ติ ต่ อ ประชาชน
โดยเสมอภาค
๔.๘.๑ บุคลากรและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเคารพและยึดมั่นในหลัก
ประชาธิปไตย เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่พึงได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
๔.๘.๒ ทุ ก หน่ ว ยงานในกระบวนการยุ ติ ธ รรม มี บ ทบาทเชิ ง รุ ก ร่ ว มกั น
ในทุกขั้นตอนของการค้นหาความจริง
๔.๘.๓ หน่ ว ยงานในกระบวนการยุ ติ ธ รรมทั้ ง ทางแพ่ ง อาญาและปกครอง
มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์ร่วมกัน
๔.๘.๔ ส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชนและการมีส่วนร่วม
ของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม
๔.๘.๕ พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา

ยุทธศาสตร์ที่ ๗ ยุทธศาสตร์การเป็นศูนย์กลางการศึกษา วิจัยและพัฒนา (Academic Hub of


the World)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการลงทุนด้านการศึกษา การวิจัยและการพัฒนาของโลก
มีสาระสาคัญดังนี้
ส านั ก งานการวิจั ย แห่ งชาติ แสดงความเห็ น ว่ า เพื่ อ ให้ ยุ ท ธศาสตร์ก ารเป็ น ศู น ย์ ก ลาง
การศึกษา วิจัย และพัฒนา ควรกาหนดเป้าหมายของการวิจัย และพัฒนาที่ชัดเจน อาทิ การพัฒนา
ภาคใต้ สู่ เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษขวานทองวางแผนการพั ฒ นาศั ก ยภาพด้ า นใดบ้ า ง และคาดหวั ง
ต่อผลส าเร็ จ อย่ างไร โดยปั จ จุ บั น หน่ว ยบริห ารและจัด การทุ น วิจัยและนวัตกรรม (PMU) ภายใต้
ส านั ก งานการวิ จั ย แห่ ง ชาติ ด าเนิ น งานแนะน า รายละเอี ย ดการให้ ทุ น วิ จั ย และนวั ต กรรม
๑๔๓

ปี ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ เพื่ อ ขั บ เคลื่ อ นการวิ จั ย และนวั ต กรรมของประเทศอย่ า งเป็ น ระบบ


โดยในปี ๒๕๖๓ และ ๒๕๖๔ ได้กาหนดให้มี ๔ กลยุทธ์ ได้แก่
๑) การพัฒนากาลังคนและสถาบันความรู้
๒) การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้าทายของสังคม
๓) การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อเพิ่มขีดความสมารถการแข่งขัน
๔) การวิจัยและสร้างนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่และลดความเหลื่อมล้า ตลอดจน
การปฏิรูปการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม (อววน.)
ขณะที่กระทรวงศึกษาธิการ แสดงความเห็นว่า ในการขุดคลองไทยนั้น ควรต้องมีคาตอบ
เชิ งลึ ก ในรายละเอี ย ดให้ กั บ ประชาชนและควรมี ก ารจั ด ท าประชามติ ในการขอความเห็ น ชอบ
ในการจัดทาโครงการนี้ รวมถึงต้องมีการศึกษาผลกระทบที่จะเกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่อย่างจริงจัง
มี ก ระบวนการสร้ า งความเข้ า ใจและเตรี ย มความพร้ อ มในการพั ฒ นาประเทศไปสู่ ยุ ท ธศาสตร์
การพั ฒ นาภาคใต้ สู่ เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษและกระทรวงศึ ก ษาต้ อ งก าหนดแนวทางที่ เหมาะสม
ในการให้การศึกษาแก่ประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ต่อไป
ยุท ธศาสตร์ การเป็ น ศูน ย์กลางการศึกษา วิจัยและพั ฒ นา (Academic Hub of the
World) สอดคล้องกับแผนแม่บทยุทธศาสตร์ ประเด็น การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม (พ.ศ. 2561 –
2580) ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๓ กองทัพ หน่ วยงานด้านความมั่นคงภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
มีความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๒.๑ อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวัฒ นธรรม ให้คนรุ่น
ต่อไปได้ใช้อย่างยั่งยืน มีสมดุล
๒.๒ ฟื้นฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบ
ทางลบจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๑๔๔

๔.๓ การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคง
ของชาติ
๔.๓.๒ การพั ฒ นาและผนึ ก พลั ง อ านาจแห่ ง ชาติ กองทั พ และหน่ ว ยงาน
ความมั่ น คง รวมทั้ งภาครั ฐ และภาคประชาชน ให้ พ ร้อมป้ อ งกัน และรัก ษาอธิป ไตยของประเทศ
และเผชิญกับภัยคุกคามได้ทุกมิติทุกรูปแบบและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า ส่งเสริมการวิจัย พัฒนาและประยุกต์ใช้นวัตกรรม
๔.๑.๑ เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
๔.๑.๒ เกษตรปลอดภัย
๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่ งอนาคต ส่ งเสริมการวิจัย พั ฒนาและประยุกต์ใช้
นวัตกรรม
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพืน้ ฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๒ การเปลี่ยนโฉมบทบาท ‘ครู’ ให้เป็นครูยุคใหม่
๔.๓.๓ การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทุกประเภท
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๒ การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางานและระบบสนับสนุน
ที่เหมาะสมสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่านกลไกต่าง ๆ
๔.๗ การเสริ ม สร้ างศั ก ยภาพการกี ฬ าในการสร้ า งคุ ณ ค่ า ทางสั ง คมและพั ฒ นา
ประเทศ
๔.๗.๓ การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๒ อนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกาเนิด
๔.๑.๔ รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๔.๑.๕ ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
๑๔๕

๔.๒ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
๔.๒.๒ ปรับปรุง ฟื้นฟู และสร้างใหม่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งระบบ
๔.๒.๔ พัฒนาและเพิ่มสัดส่วนกิจกรรมทางทะเลที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการ
อย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
๔.๓ ภาครัฐมีขนาดเล็กลง เหมาะสมกับภารกิจ ส่งเสริมให้ ประชาชนและทุกภาคส่ วน
มีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศ

ยุทธศาสตร์ที่ ๘ ยุทธศาสตร์ด้านการกาลังทหารและพลเรือนเพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) กองทั พ ไทยเข็ ม แข็ ง และทั น สมั ย รองรั บ ภั ย คุ ก คาม ทุ ก รู ป แบบและทุ ก ระดั บ
มีสาระสาคัญดังนี้
กระทรวงกลาโหมจะมีส่วนรับผิดชอบในยุทธศาสตร์ชาติที่ ๘ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์เกี่ยวกับ
กาลังทหาร ซึ่งมีแผนยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง ๕ แผนย่อย และหากคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
ได้เสนอให้มีการขุดคลอง กระทรวงกลาโหมก็มีแผนรองรับผลกระทบด้านความมั่ นคงและในภาคใต้
กองทั พ อากาศก็ มี อ ยู่ ห ลายกองบิ น และมี ก องกาลั ง เฉพาะซึ่ ง หากมี ก ารพั ฒ นาสนามบิ น
ให้เป็นจุดศูนย์กลางของการขนส่ง ทางอากาศ อย่างไรก็ตามการขุดคลองไทยอาจจะต้องพิจารณา
มุมมองในหลายมิติ ทั้งในเส้น ทางหรือในปัญ หาความมั่นคง พัฒ นาความสั มพันธ์ระหว่างประเทศ
และหากกองทัพเรือสามารถขนย้ ายกาลังพลผ่านคลองนี้ได้ จะส่งผลดีต่อการขนส่ งทางทะเลด้วย
ส่ว นกรณี การส่งดาวเที ยมจะมีการไปอยู่ที่ใกล้ เส้ นศูน ย์สู ตรมากที่สุด เพื่ อร่น ระยะทางในการเดิน
ทางเข้ า วงโคจรและมี ค วามแม่ น ยามากขึ้ น และภาคใต้ ข องประเทศไทยถื อ ว่ า เป็ น พื้ น ที่ ใ กล้
เส้นศูนย์สูตรและเป็นภูมิศาสตร์ที่มีความเหมาะสมอยู่แล้ว
สาหรั บ ประเด็น ที่ควรให้ ความส าคัญ เป็ นกรณี พิเศษ คือ ความสัมพั นธ์ระหว่างประเทศ
เนื่ องจากประเทศไทยมีความสั มพันธ์อันดีกับมิตรนานาประเทศด้วยดีตลอดมา อาทิ สาธารณรัฐ
สาธารณรัฐสิงคโปร์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งควรดาเนินการไปด้วยความถูกต้องและไม่ให้ส่ งผลกระทบ
ต่อความสัมพันธ์ระหว่างประเทศด้วยเป็นสาคัญ
กระทรวงมหาดไทย เห็นว่าการดาเนินโครงการขนาดใหญ่และจะส่งผลกระทบต่อประเทศ
ในบางเรื่ อ งอย่ า งถาวร ดั ง นั้ น จึ ง เป็ น เรื่ อ งของคนไทยทุ ก คน เสนอว่ า หากมี ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ
การขุดคลองไทย ที่ครบถ้วนสมบูรณ์แล้ว จะขอให้มีการจัดทาประชามติเกี่ยวกับโครงการนี้เนื่องจาก
กระทบต่อการปกครองท้องที่ การปกครองท้องถิ่น และการกาหนดเขตปกครองจึงอาจต้องกาหนดขึ้น
ใหม่ให้ มี ก ารส ารวจที่ ดิ น ที่ ห ายไปทั้ ง ๒ แนวคลองทั้ งหมด รวมทั้ งพื้ น ที่ ป่ าสงวนและอุ ท ยาน ซึ่ ง
ประเด็นนี้การใช้ประโยชน์จากพื้นที่ เมื่อมีการลงทุนจากต่างชาติการกาหนดการถือครองของพื้นที่
ว่ า ระยะเวลาเท่ า ใด หากเป็ น ระยะเวลานานจะยอมรั บ ได้ เพี ย งใดและในการขุ ด คลอง ๒ แนว
มี ก ารกระทบถึ งเรื่ อ งความมั่ น คงแน่ น อนเพราะเป็ น ปั ญ หาจั ง หวั ด ชายแดนภาคใต้ ซึ่ งยั งอยู่ ใน
สถานการณ์ที่ไม่ปกติ การขุดคลองจึงส่งผลกระทบต่อยุทธศาสตร์ทางทหารแน่นอน
๑๔๖

ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นการก าลั ง ทหารและพลเรื อ นเพื่ อ รั ก ษาผลประโยชน์ แ ห่ ง ชาติ


สอดคล้องกับ แผนแม่บ ทยุทธศาสตร์ ประเด็น การต่างประเทศ (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่มุ่งเน้น
ความร่วมมือในภูมิภ าค โดยเป็ น ผู้ร่วมผลักดันการก่อตั้งอาเซียนและกรอบความร่วมมือระดับอนุ
ภูมิภ าคและภูมิภ าคอื่น ๆ รวมทั้งมีบทบาทความรับผิดชอบต่อประชาคมระหว่างประเทศ มีท่าที
ที่ส ร้างสรรค์และมีห ลั กการในกรอบสหประชาชาติอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการที่ที่ตั้งทางภูมิศาสตร์
ของประเทศไทยมีลักษณะเชิงยุทธศาสตร์ที่ประเทศไทยมีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านมากที่สุด
ในภูมิภาคอาเซียนและอยู่ตรงศูนย์กลางของภูมิภาค รวมทั้งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดีย
และมหาสมุทรแปซิฟิก ดังนั้น การรักษาผลประโยชน์ของชาติผ่านการต่างประเทศจะเป็นศักยภาพ
ในการเป็นหนึ่งในศูนย์กลางการค้า การลงทุน การคมนาคมและโลจิสติกส์ในภูมิภาคเอเชีย และเป็น
จุดเชื่อมโยงที่สาคัญในภูมิภาคซึ่งรวมถึงการเป็นประตูสู่เอเชียที่สาคัญแห่งหนึ่ง
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
๒.๔ ประเทศไทยมี บ ทบาทด้ า นความมั่ น คงเป็ น ที่ ชื่ น ชมและได้ รั บ การยอมรั บ
โดยประชาคมระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากร ธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วและโปร่งใส
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๔ การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติรวมถึง
องค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
๔.๔.๑ การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ
๔.๔.๒ การเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
๑๔๗

๔.๔.๓ การร่ วมมือทางการพั ฒ นากั บประเทศเพื่ อนบ้ าน ภู มิ ภ าค โลกรวมถึ ง


องค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๕ การสร้ างความตื่ น ตัว ให้ ค นไทยตระหนั กถึ งบทบาท ความรับ ผิ ด ชอบ
และการวางตาแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก
๔.๓.๗ การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๑ การพั ฒ นาและส่ งเสริ ม พหุ ปั ญ ญาผ่ านครอบครั ว ระบบสถานศึ ก ษา
สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อ
๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เ ชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ
ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๓ การเสริมสร้างพลังทางสังคม
๔.๓.๕ สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๔ พั ฒ นาพื้ น ที่ เมื อ ง ชนบท เกษตรกรรมและอุ ต สาหกรรมเชิ งนิ เวศ มุ่ งเน้ น
ความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
๔.๔.๓ จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อม และสารเคมีในภาคเกษตร
ทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการ
อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้ บ ริก ารสาธารณะของภาครัฐ ได้ มาตรฐานสากลและเป็ น ระดั บ
แนวหน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครั ฐมีความเชื่อมโยงในการให้ บ ริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่ านการน า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
๑๔๘

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๙ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขุ ด คลองไทย (Thai Canal) เชื่ อ มมหาสมุ ท รอิ น เดี ย
และมหาสมุทรแปซิฟิก
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) ยุทธศาสตร์การขุดคลองไทย (Thai Canal) เชื่อมมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุ ทร
แปซิฟิก ภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ในรูปแบบการพัฒนาพื้นที่
เขตเศรษฐกิจ พิ เศษ โดยอาศั ย เทคโนโลยี และนวัต กรรมในการพั ฒ นาพื้ น ที่ ให้ เป็ น เมือ งอั จฉริย ะ
(Smart City) เพื่ อ ให้ เกิด การด าเนิ น การในมิ ติ ใหม่ ๆ และกระตุ้ น การเจริญ เติ บ โตของเศรษฐกิ จ
ในพื้นที่
2) ยุทธศาสตร์สนั บสนุนการพัฒ นาเชิงพื้นที่ โดยการพัฒ นาพื้นที่เศรษฐกิจในบริบท
ต่าง ๆ เช่น การพัฒนาให้เป็นเมืองท่องเที่ยวระดับโลก เป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์ ยางพาราและปาล์ม
น้ามันของประเทศและเป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจเชื่อมโยงการค้าการลงทุนกับภูมิภาคอื่นของโลก
ศูน ย์ กลางเขตอุ ตสาหกรรมเฉพาะอุตสาหกรรมพลั งงานสะอาด ประกอบด้ว ย อุต สาหกรรมการ
จัดการน้า (Sustainable GASEZ water), อุตสาหกรรมไฟฟ้าพลังงานสะอาด (Sustainable GASEZ
Green Electric Energy), อุ ต สาหกรรมปิ โ ตรเคมี แ ละนิ ค มอุ ต สาหกรรมแปรรู ป อาหารทะเล
อุตสาหกรรมอาหารฮาลาล และกลุ่มอุตสาหกรรม New S - curve อุตสาหกรรมการต่อเรือและการ
เดิน เรื อขนาดใหญ่ พาณิ ช ย์ น าวีแ ละโลจิส ติ กส์ ระดับ โลก (World Class Logistic) เป็น ศู นย์ก ลาง
การบินนานาชาติ ศูนย์กลางทางการแพทย์และดูแลสุขภาพระดับโลก ศูนย์กลางด้านการค้า การเงิน
และการธนาคารของโลก (World Financial Center) ศู น ย์ ก ลางการศึ ก ษา วิ จั ย และพั ฒ นา
(Academic Hub of the World) แ ล ะ เข ต ก ารค้ าเส รี ต ล อ ด จ น ส ถ าน บั น เทิ งค รบ ว งจ ร
(Entertainment Center Complex)
มีสาระสาคัญดังนี้
ยุ ท ธศาสตร์ ก ารขุ ด คลองไทย (Thai Canal) เชื่ อ มมหาสมุ ท รอิ น เดี ย และมหาสมุ ท ร
แปซิฟิกนั้น จะทาในรูปแบบเขตเศรษฐกิจพิเศษ โดยอาศัยเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาพื้นที่
ให้ เ ป็ น เมื อ งอั จ ฉริ ย ะ (Smart City) เที ย บเคี ย งหรื อ มี ม าตรฐานเท่ า ที ย มกั บ ท่ า เรื อ มะละกา
เป็นอย่างมากที่ผ่านมามีข้อมูลและการสนับสนุนโครงการตั้งแต่ปี ๒๕๖๒ เพื่อให้เกิดการดาเนินการ
ในมิติใหม่ ๆ และกระตุ้นการเจริญเติบโตของเศรษฐกิจในพื้นที่ ซึ่งถือได้ว่าเรื่องการเชื่อมโยงฝั่งทะเล
ทั้งสองฝั่ งเป็น ปัญหาการพัฒ นาเศรษฐกิจของภาคใต้ ดังนั้นคลองไทยจึงเป็นโครงการหนึ่งที่สาคัญ
ขนาดใหญ่กว่าเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวัน (EEC) หลายเท่า สาหรับการเชื่อมโยงการจัดทา
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ
๑) ทิศทางการพัฒนาภาคใต้ให้เป็นเมืองเศรษฐกิจเชื่อ มโยงการค้าการลงทุนกับภูมิภาคอื่น
ของโลก อาทิ
- พัฒนาการท่องเที่ยวของภาคใต้ให้เป็นแหล่งท่องเที่ยวคุณภาพชั้นนาของโลก
- พัฒนาอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยีสะอาด เช่น การแปรรูปยางพาราและปาล์มน้ามัน
ของประเทศ
- พัฒนาการผลิตสินค้าเกษตรหลักของภาคและสร้างความเข้มแข็งสถาบันการเกษตรกร
๑๔๙

- พั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐานสนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย ว การพั ฒ นาเขตอุ ต สาหกรรม


และการเชื่อมโยงการค้าโลก
- อนุรักษ์ ฟื้นฟูและบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
เพื่อเป็นฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน
- พัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๒) แผนพั ฒ นากลุ่ ม จั งหวั ดภาคใต้ ฝั่ งอั น ดามั น เป็ น การท่ อ งเที่ ยวที่ มี คุ ณ ภาพระดั บ โลก
บนฐานความเข้มแข็งของภาคเกษตรและชุมชนอย่างยั่งยืน
- พัฒนาคุณภาพด้านการท่องเที่ยวให้มีมาตรฐานอย่างยั่งยืน
- พัฒนาระบบและสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าภาคเกษตร ประมงและปศุสัตว์ที่มีศักยภาพ
ในพื้นที่ เพื่อให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็งและยั่งยืน
- การเสริ ม สร้ า งและพั ฒ นาศั ก ยภาพต้ น ทุ น มนุ ษ ย์ เพื่ อ นาไปสู่ ก ารพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น
กรมที่ดิน ในประเด็น ปั ญหาที่เกี่ยวกับอานาจหน้าที่ของกรมที่ดินต่อการขุดคลองไทย ควรจะเป็น
ในเรื่ อ งราคาที่ ดิ น ที่ เ วนคื น ในแนวฝั่ ง คลองและน าไปสู่ ค วามขั ด แย้ ง ของประชาชนในพื้ น ที่
ทาให้หลายโครงการในพื้นที่เกิดการหยุดชะงัก
อย่ า งไรก็ ต ามหากมี ก ารประชาสั ม พั น ธ์ ให้ ป ระชาชนเข้ า ใจถึ ง โครงการพั ฒ นาพื้ น ที่
เขตเศรษฐกิ จ พิ เศษ ประเด็ น การถื อ ครองที่ ดิ น ของคนไทยกั บ คนต่ างด้ าว โดยประเด็ น ที่ ค วรให้
ความส าคั ญ คื อ การถื อ ครองที่ ดิ น ของชาวต่ า งชาติ ควรด าเนิ น การตรวจสอบรายละเอี ย ด
และพื้นฐานข้อมูลของผู้ถือครองที่ดินให้มีความถูกต้องชัดเจน เพื่อเป็นการปกป้องสิทธิประโยชน์ให้แก่
ประชาชนในพื้ น ที่ ส าหรั บ ประเด็ น ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ภายหลั ง การมี เขตพื้ น ที่ เศรษฐกิ จ พิ เศษภาคใต้
และคลองไทย คือ ทรัพยากรน้า เป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญสาหรับการดารงชีพของมนุษย์ซึ่งถูกใช้
เพื่อกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน ทั้งเพื่อการบริโภคและอุปโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม รวมถึง
เพื่อปรับสมดุลของระบบนิเวศ ที่ผ่านมาภาพรวมความต้องการใช้น้าในประเทศ มีจานวน ๑๕๑,๗๕๐
ล้านลูกบาศก์เมตร ขณะที่ศักยภาพของการเข้าถึงแหล่งน้าของภาคส่วนต่างๆ มีจานวน ๑๐๒,๑๔๐
ล้านลูกบาศก์เมตร นอกจากนี้ประเทศไทยยังมีความต้องการใช้น้าเพิ่มขึ้นในอนาคตจากการขยายตัว
ของเมืองและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยขาดการคานึงถึงศักยภาพของลุ่มน้าและการใช้น้าเพื่อการ
ผลิตและอุปโภคอย่างไม่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะภาคการเกษตร ประกอบกับการบริหารจัดการน้า
ทั้ งในมิ ติ เชิ งปริ มาณและคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ งในภาวะน้ าแล้ งหรือน้ าท่ วมยั งขาดกลไกในการ
บู รณาการระหว่ างหน่ วยงานและภาคี ที่ เกี่ ยวข้ องในการแก้ ไขและบรรเทาปั ญ หาได้ อย่ างรวดเร็ ว
และมีป ระสิทธิ ภาพ ส่ งผลให้ เกิดความเสียหายจานวนมากต่อภาคการผลิ ตและประชาชน รวมถึง
ระบบนิเวศอย่างกว้างขวาง
จากสถานการณ์และเงื่อนไขการใช้น้าในประเด็นดังกล่าว ประเทศไทยจึงต้องให้ความสาคัญ
กั บ การบริ ห ารจั ด การน้ าทั้ งระบบ รวมทั้ ง การพั ฒ นาการจั ด การน้ าเชิ งลุ่ ม น้ าทั้ ง ระบบเพื่ อ เพิ่ ม
ความมั่นคงด้านน้าของประเทศและความจาเป็นที่จะต้องมีการบริหารจัดการน้าในเขตพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภาคใต้
ยุท ธศาสตร์ การขุ ด คลองไทย (Thai Canal) เชื่ อมมหาสมุ ท รอิน เดี ยและมหาสมุ ท ร
แปซิ ฟิ ก สอดคล้ อ งกั บ สอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์ช าติ พ.ศ. 2561 – 2580) ยุ ท ธศาสตร์ช าติ
๑๕๐

ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน และแผนแม่บทยุทธศาสตร์ ประเด็นการบริหารจัดการน้า


ทั้งระบบ (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
เพื่ อ เสริ ม สร้ า งความสามารถทางเศรษฐกิ จ ของประเทศอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง อาทิ ปั จ จั ย
ด้านความผันผวนของเศรษฐกิจโลก กฎ ระเบียบระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการแข่งขันทางการค้า
รูปแบบการค้าที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบายการพัฒนาของประเทศต่าง ๆ
ในภูมิภาคที่ทาให้เกิดการลงทุนจากนักลงทุนต่างประเทศมากขึ้น โดยเฉพาะประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวัน ออกเฉีย งใต้ ซึ่งจากสถานการณ์ การเปลี่ ยนแปลงในอนาคต อาทิ เศรษฐกิจโลก โครงสร้าง
ประชากร เทคโนโลยีจะทาให้ประเทศไทยเผชิญความท้าทายมากขึ้นในการเสริมสร้างความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศในระยะต่อไป
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์
๒.๑ ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ประเด็นการบริหารจัดการน้าทั้งระบบ (พ.ศ. 2561 – 2580)
แผนแม่บทยุทธศาสตร์ ประเด็นการบริหารจัดการน้าทั้งระบบ (พ.ศ. 2561 – 2580)
ที่มุ่งเน้ น การกาหนดเป้ าหมายและแนวทางพั ฒนาระบบจัดการน้าทั้ งระบบ เพื่อให้ เกิดความมั่นคง
เพิ่มผลิตผล ในเรื่องการจัดการและการใช้น้าทุกภาคส่วน ดังนี้
๑) การพัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าทั้งระบบ ด้วยการเพิ่มระดับความมั่นคงด้านน้า
อุปโภคบริโภคโดยเฉพาะในพื้นที่ชนบท โดยยกระดับระบบน้าสะอาดและการดูแลระบบน้าในชุมชน
ชนบท เพิ่มระดับความมั่นคงด้านน้าเพื่อสิ่งแวดล้ อมโดยอนุรักษ์แหล่งน้าธรรมชาติ แม่น้าคูคลอง
ปรั บ ปรุ งคุ ณ ภาพน้ าและพั ฒ นาพื้ น ที่ ริม ล าน้ าหลั ก เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพชีวิต และการท่ อ งเที่ ย ว
โดยการบริหารจัดการน้าเชิงลุ่มน้าโดยจัดกฎ ระเบียบ องค์กร จัดทาแผนการพัฒนาระบบน้าในพื้นที่
๑๕๑

ส าคั ญ พั ฒ นาและด าเนิ น การโครงการทั้ ง ด้ า นจั ด หาและความต้ อ งการ พั ฒ นาความสามารถ


ของทรัพยากรมนุษย์และองค์กรผู้ใช้น้าและการติดต่อพัฒนาโครงการระหว่างประเทศ
๒) การเพิ่มผลิตภาพของน้าทั้งระบบ ในการใช้น้าอย่างประหยัด รู้คุณค่าและสร้าง
มูลค่าเพิ่มจากการใช้น้าให้ทัดเทียมกับระดับสากล โดยเพิ่มระดับความมั่นคงด้านน้าในเขตเมืองด้วย
การใช้เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ในการออกแบบระบบน้ าเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพการบริห ารจั ด การน้ า
และพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการวางแผน ติดตามและประเมินผลเพิ่มระดับความมั่นคงด้านน้า
๓) การอนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้าลาคลองและแหล่งน้าธรรมชาติทั่วประเทศ อนุรักษ์
และฟื้นฟูแม่น้าลาคลองและแหล่งน้าธรรมชาติทั่วประเทศ โดยฟื้นฟูแม่น้าลาคลองและการป้องกัน
ตลิ่งและฝายชะลอน้า มีการวางแผนการอนุรักษ์และฟื้นฟูแหล่งน้าบนพื้นฐานของการรักษาสมดุล
นิ เวศ ส่ ง เสริ ม กลไกการมี ส่ ว นร่ ว มในการบริ ห ารการจั ด การอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นาแม่ น้ า คู คลอง
และแหล่งน้าธรรมชาติ มีโครงข่ายการสัญจรทางน้าที่สะดวก ปลอดภัย ประหยัดและมีประสิทธิภาพ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดีและมีความสุข
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๑ อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมให้คนรุ่นต่อไป
ได้ใช้อย่างยั่งยืน มีสมดุล
๒.๒ ฟื้นฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบ
ทางลบจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้
สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
๒.๔ กองทั พ หน่ วยงานด้ านความมั่ นคง ภาครั ฐ ภาคเอกชนและภาคประชาชน
มีความพร้อมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาความมั่นคง
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๒ การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
๔.๒.๔ การรั ก ษาความมั่ น คงและผลประโยชน์ ท างทรั พ ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมทั้งทางบกและทางทะเล
๔.๓ การพัฒนาศักยภาพของประเทศให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามที่กระทบต่อความมั่นคง
ของชาติ
๔.๓.๓ การพัฒนาระบบเตรียมพร้อมแห่งชาติและการบริหารจัดการภัยคุกคาม
ให้มีประสิทธิภาพ
๑๕๒

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๓ อนุรักษ์และฟื้นฟูแม่น้าลาคลองให้ครอบคลุมแม่น้าลาคลองทั่วประเทศ
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงานและเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๑ มีการพัฒนาการจัดการน้าเชิงลุ่มน้าทั้งระบบเพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านน้า
ของประเทศ
๔.๕.๒ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพของน้ าทั้ ง ระบบในการใช้ น้ าอย่ า งประหยั ด รู้ คุ ณ ค่ า
และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้าให้ทัดเทียมกับระดับสากล

ยุทธศาสตร์ที่ ๑๐ ยุทธศาสตร์การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวระดับโลกและ Smart City


เป้าหมายสาคัญ คือ
1) พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษให้เป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวระดับโลกและเมืองอัจฉริยะ
มีสาระสาคัญดังนี้
การพั ฒ นาขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทางเศรษฐกิ จ ด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว มุ่ ง เน้ น
การพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วทางทะเล มี เป้ าหมายเพื่ อ การพั ฒ นา คื อ “การพั ฒ นาแหล่ งท่ อ งเที่ ย ว
ให้ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วคุ ณ ภาพที่ มี ค วามสามารถในการแข่ ง ขั น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วมี ชื่ อ เสี ย ง
และมาตรฐานในระดับสากล สามารถเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจแก่ชุมชนและประเทศได้อย่างยั่งยืน
บนพื้นฐานอัตลักษณ์ วิถีไทยและเอกลักษณ์ที่โดดเด่นของชุมชน” มีประเด็นดังนี้
1. การพัฒนาเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวระดับโลก
1 .1 การสนั บ สนุ นการมี ส่ ว นร่ ว มและบู รณ าการของภ าครั ฐ ภ าคเอกช น
และภาคประชาชนเพื่ อผลั กดัน การพั ฒ นาการท่ องเที่ยวอย่างมีเอกภาพ บนฐานของความสมดุ ล
อย่างยั่งยืน
1) ส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน
2) สนั บ สนุ น ให้ ภ าคประชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในการพั ฒ นาและได้ รั บ ประโยชน์
จากการท่องเที่ยว
1.2 การพั ฒ นาศั ก ยภาพการแข่ ง ขั น ของตลาดการท่ อ งเที่ ย วให้ ส ามารถรองรั บ
การท่องเที่ยวคุณภาพและมีมาตรฐานระดับสากล
1) พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านการท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว
2) พัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวให้ความสาคัญ
3) พัฒนาสินค้าและบริการการท่องเที่ยว
4) ใช้มาตรการทางการตลาดในการสร้างภาพลักษณ์และความร่วมมือการท่องเที่ยว
5) ส่ ง เสริ ม การตลาดเฉพาะกลุ่ ม เพื่ อ ดึ ง ดู ด การเดิ น ทางท่ อ งเที่ ย วและกระตุ้ น
การใช้จ่ายของนักท่องเที่ยว
๑๕๓

1.3 การพั ฒ นาบุ คลากรและทั กษะของภาคีเครือข่ายด้านการท่องเที่ ยวให้ ส ามารถ


แข่งขันในตลาดได้อย่างมีคุณภาพ ภาคภูมิใจในเอกลักษณ์และตระหนักถึงการเป็นเจ้าบ้านที่ดี
1) พัฒนาศักยภาพบุคลากรและผู้ประกอบการด้านการท่องเที่ยว
2) สร้ า งและพั ฒ นาศั ก ยภาพของภาคี เครื อ ข่ า ยและเสริ ม สร้ า งความเข้ ม แข็ ง
ของชุมชนและท้องถิ่น
สอดคล้องกับ ยุ ทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน แผนแม่บท
ประเด็ น การท่ อ งเที่ ย ว (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็ น ภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการ
สร้างความสามารถในการแข่งขัน คือ
4.2 อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๒ อุต สาหกรรมและบริการการแพทย์ค รบวงจร อาศัยความเชี่ยวชาญ
ด้านบริการการแพทย์ของไทยเพื่อสร้างอุตสาหกรรมที่เกี่ยวเนื่องในประเทศเพื่อรองรับความต้องการ
ใช้บ ริการการแพทย์ และสร้างความมั่นคงให้ กับระบบสาธารณสุขของไทย พร้อมทั้งการเชื่อมโยง
อุตสาหกรรมทางการแพทย์และบริการท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ เพื่อเป็นศูนย์กลางการส่งเสริมและดูแล
สุขภาพและรักษาผู้ป่วยทั้งด้านร่างกายและจิตใจ
๔.๒.๔ อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารขนส่ ง และโลจิ ส ติ ก ส์ ใช้ ต าแหน่ ง ที่ ตั้ ง
ทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยในการส่งเสริมการคมนาคมและศูนย์กลางการท่องเที่ยวในภูมิภาค
๔.๓ สร้ า งความหลากหลายด้ า นการท่ อ งเที่ ย ว โดยรั ก ษาการเป็ น จุ ด หมาย
ปลายทางที่ ส าคั ญ ของการท่ อ งเที่ ย วระดั บ โลกที่ ดึ ง ดู ด นั ก ท่ อ งเที่ ย วทุ ก ระดั บ และเพิ่ ม สั ด ส่ ว น
ของนักท่องเทีย่ วที่มีคุณภาพสูง มุ่งพัฒนาธุรกิจด้านการท่องเที่ยวให้มีมูลค่าสูงเพิ่มมากยิ่งขึ้น
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม ส่งเสริมธุรกิจการท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์และวัฒนธรรม โดยการส่งเสริมการท่องเที่ยวผ่านการสร้างและพัฒนาสินค้าและบริการ
ด้ ว ยภู มิ ปั ญ ญาท้ อ งถิ่ น ความคิ ด สร้ า งสรรค์ และทุ น ทางวั ฒ นธรรม พร้ อ มทั้ ง การสนั บ สนุ น
การใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการพัฒนาธุ รกิจการท่องเที่ยว การทาการตลาดและการบริหาร
จัดการและส่ งเสริมให้ ก้าวสู่ เมืองที่ ได้รับการยอมรับ ในเวที ส ากล อัน นาไปสู่ การสร้างภาพลั กษณ์
และการจัดทาแผนพัฒนาเมืองและแหล่งท่องเที่ยวที่โดดเด่น พร้อมทั้งการส่งเสริมการท่องเที่ยวตาม
ฤดูกาลและตามศักยภาพของพื้นที่ ทั้งการท่องเที่ยววิถีชุมชน การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยว
เชิงอนุ รักษ์ รวมทั้ งการส่ งเสริมการท่องเที่ยววิถีพุท ธ เพื่ อให้ ประเทศไทยเป็นจุดหมายปลายทาง
การท่องเที่ยววิถีพุทธของโลก
แนวทางการพัฒนา
1) สร้ า งคุ ณ ค่ า และมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า และบริ ก ารบนฐานของทุ น
ทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น รวมถึงการพัฒนากิจกรรมและบริการ
รู ป แบบใหม่ ๆ ให้ กั บ นั ก ท่ อ งเที่ ย ว เช่ น การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง เกษตร การท่ อ งเที่ ย วโดยชุ ม ชน
การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ การท่องเที่ยววิถีพุทธ การท่องเที่ยวกลุ่มมุสลิม เป็นต้น
2) พั ฒ นาปั จ จัยแวดล้ อมให้ เอื้อต่อการส่ งเสริมความคิดสร้างสรรค์เพื่อนามา
พัฒ นาต่ อยอดสิ น ค้าและบริการด้ านการท่ องเที่ ยว ได้แก่ การส่ งเสริม การวิจั ย พั ฒ นา การสร้าง
๑๕๔

เครื อ ข่ า ยวิ ส าหกิ จ การท่ อ งเที่ ย ว การส่ ง เสริ ม การตลาดและการสร้ า งเรื่ อ งราวเพื่ อ บอกเล่ า
นักท่องเที่ยว เป็นต้น
3) เสริมสร้างศักยภาพผู้ประกอบการและบุคลากรในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
เพื่อให้ มีทักษะและองค์ความรู้ในธุรกิจตลอดห่ วงโซ่อุปทานของการท่องเที่ยว สร้างความแตกต่าง
และความโดดเด่นของสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดท่องเที่ยว
4) ส่ ง เสริ ม การจดทะเบี ย น การคุ้ ม ครอง การใช้ ท รั พ ย์ สิ น ทางปั ญ ญ า
และภูมิปั ญญา เพื่อสนั บสนุ นการพัฒ นาต่อยอดไปสู่การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และการเป็นเมือง
ศู น ย์ ก ลางการท่ อ งเที่ ย วของภู มิ ภ าค ได้ แ ก่ แหล่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ ศิ ล ปวั ฒ นธรรมไทย มรดก
ทางวัฒนธรรม กิจกรรมและสินค้าของชุมชน อาหารไทยและการแพทย์แผนไทย
5) ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวโดยการนาเสนอเอกลักษณ์ของประเทศไทย
และของแต่ล ะท้ อ งถิ่น ให้ เป็ น ที่ เข้ าใจในเวที โลก ผ่ านสื่ อสร้างสรรค์ แ ละนวัต กรรมทางสื่ อต่าง ๆ
รวมทั้งการส่งเสริมการสื่อสารเรื่องราวอันเป็นเอกลักษณ์ของแต่ละภูมิภาคและจังหวัดต่าง ๆ ผ่านการ
พั ฒ นาแบรนด์ แ ละการสื่ อ สารเรื่ อ งราวอย่ า งสร้ า งสรรค์ ผ่ า นช่ อ งทางการตลาดที่ เป็ น ที่ นิ ย ม
ในกลุ่มเป้าหมาย
๔.๓.๒ ท่ อ งเที่ ย วเชิ งธุ ร กิ จ สร้างแรงดึ งดู ด และสิ่ งจู งใจให้ ไทยเป็ น จุด หมาย
ปลายทางของการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ โดยส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางการจัดประชุมและนิทรรศการ
นานาชาติของโลก เนื่องจากไทยมีความได้เปรียบเชิงภูมิศาสตร์ที่เหมาะแก่การเดินทางเพื่อประกอบ
ธุรกิจและการท่องเที่ยว
แนวทางการพัฒนา
1) พั ฒ นาโครงสร้ างพื้ น ฐานและสิ่ งอ านวยความสะดวกของเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว
เชิงธุรกิ จ ให้ มีค วามพร้ อ มส าหรั บ การเดิ น ทางเพื่ อ ประกอบธุรกิจ การจัด ประชุม และนิท รรศการ
การจั ดงานแสดงสิ น ค้า การจั ดกิ จ กรรม การจัด การแข่ งขั นกี ฬ าระดับ นานาชาติ รวมถึ งส่ งเสริม
การกระจายของการท่องเที่ยวธุรกิจ ไปยังพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเป็นจุดหมายปลายทางของการจัด
ประชุมและนิทรรศการ การจัดงานหรือกิจกรรมพิเศษและเพิ่มช่องทางการเข้าถึงการจัดแสดงผลงาน
รูปแบบต่าง ๆ ทั้งการจัดแสดงผลงานจริงและในรูปแบบเสมือนจริง
2) สนับสนุนมาตรการเพื่อสร้างแรงจูงใจและอานวยความสะดวกในการดาเนิน
กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ รวมทั้งสร้างความพร้อมของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องตลอดห่ วงโซ่คุณ ค่า
และระบบนิ เวศของการเดิน ทางท่ องเที่ ยวเชิงธุรกิจ เช่น โรงแรม ที่ พั ก ร้านอาหาร การจั ดเลี้ ย ง
ของที่ระลึก บริการโลจิส ติกส์ สถานบันเทิง ธุรกิจนาเที่ยว ธุรกิจการจัดงาน เป็นต้น และส่งเสริม
ให้ วิส าหกิจ ขนาดกลางและขนาดย่ อม วิส าหกิ จเริ่ม ต้ น และชุ มชนท้ องถิ่น ในการน าเสนอสิ น ค้ า
และบริ ก ารเพื่ อรองรั บ การเดิ น ท างท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธุ ร กิ จ รวมถึ ง การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง
ให้กับผู้ประกอบการและบุคลากรในอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้อง
3) ส่งเสริมการตลาดและสนับสนุนการเป็นเจ้าภาพจัดงานในระดับนานาชาติ
รวมทั้ ง ประชาสั ม พั น ธ์ เมื อ ง / พื้ น ที่ ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธุ ร กิ จ และส่ ง เสริ ม กิ จ กรรมที่ ไทยมี ศั ก ยภาพ
ในการเดินทางท่องเที่ยว เพื่อจูงใจให้เกิดการเดินทางท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ ทั้งก่อนใน ระหว่างและหลัง
การประกอบธุรกิ จหรือการทากิจ กรรมต่าง ๆ ต่อยอดอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ รวมถึง
๑๕๕

อุต สาหกรรมการท่องเที่ ยว การกีฬา เพื่ อสนับสนุ นให้ เกิดการเข้าถึง การแลกเปลี่ ยนองค์ ความรู้
และเทคโนโลยี ที่ น าไปสู่ ก ารสร้ า งสรรค์ น วั ต กรรม ตลอดจนส่ ง เสริ ม ให้ เกิ ด เวที เจรจาการค้ า
และการลงทุนของธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย ผสาน “ศาสตร์”
และความช านาญของการดู แ ลรั ก ษาด้ ว ยภู มิ ปั ญ ญาไทย กั บ “ศิ ล ป์ ” และความละเอี ย ดอ่ อ น
ในการให้บริการแบบไทย เพื่อดึงดูดการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ โดยยกระดับมาตรฐาน
ธุรกิจบริการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการเสริมความงามสู่ตลาดระดับสูง โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์
และนวัตกรรม เพื่อให้เกิดเป็นเอกลักษณ์การให้บริการตามแบบความเป็นไทยที่โดดเด่นในระดับสากล
พร้ อ มทั้ ง การสร้ า งความหลากหลายของกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพที่ ได้ ม าตรฐานเป็ น ที่ ยอมรั บ
และเชื่ อ มโยงกั บ กิ จ กรรมการท่ อ งเที่ ย วอื่ น ๆ รวมถึ ง การยกระดั บ มาตรฐานธุ ร กิ จ บริ ก าร
ด้านการแพทย์ทางเลือก โดยผสานองค์ความรู้จากเทคโนโลยีและวิทยาการสมัยใหม่เข้ากับองค์ความรู้
และภูมิปัญญาดั้งเดิมของไทย ผลิตบุคลากรด้านแพทย์แผนไทยและบริการเชิงสุขภาพอื่นที่มีทั กษะ
ภาษา และได้รับ การรั บ รองมาตรฐานวิช าชีพให้ เพี ยงพอต่อทิศทางของการท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ
และการส่งเสริมการจัดกิจกรรมทางการตลาดของการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและการแพทย์ของไทย
ให้ เป็ น ที่รับ รู้ ในระดับ โลก รวมทั้งการส่ งเสริมการจัดการนาเที่ยวเชิงสุขภาพครบวงจรที่เชื่อ มโยง
กับการแพทย์แผนปัจจุบัน
แนวทางการพัฒนา
1) ยกระดับคุณภาพการให้บริการการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพให้ได้มาตรฐานระดับ
สากล ทั้งคุณภาพของสถานประกอบการและคุณภาพของผู้ให้บริการที่มีทักษะและความเชี่ยวชาญ
ให้ความสาคัญเรื่องความสะอาดและความปลอดภัยในสถานประกอบการ ซึ่งครอบคลุมการให้บริการ
ในธุ ร กิ จ สปาและบริ ก ารเสริ ม ความงาม นวดแผนไทย โยคะ การดู แ ลผู้ สู ง อายุ สถานพั ก ฟื้ น
เพื่อการฟื้นฟูสุขภาพและการผ่อนคลาย
2) สร้างสรรค์การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพรูปแบบใหม่บนพื้นฐานของทรัพยากร
ที่มีศักยภาพในการบาบัด ฟื้นฟู รักษาสุขภาพ โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และเอกลักษณ์
ความเป็ น ไทยในการให้ บ ริ ก าร พร้ อ มทั้ ง สร้ า งความหลากหลายของกิ จ กรรมส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพ
ที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากลและเชื่อมโยงกับกิจกรรมการท่องเที่ยวต่าง ๆ เช่น การใช้
พุน้าร้อน น้าแร่ สปาโคลน เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เป็นต้น
3) พัฒ นายกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์ด้านแพทย์แผนไทยให้มีมาตรฐานระดับ
สากลและสอดคล้ องกับ ความต้องการของตลาดเพื่อสร้างมูล ค่าเพิ่ มให้ แก่ผ ลิ ตภัณ ฑ์ โดยการวิจัย
พั ฒ นานวั ต กรรมต่ อ ยอดให้ เกิ ด สิ น ค้ าใหม่ แ ละการแปรรู ป ผลิ ต ภั ณ ฑ์ พร้ อ มสร้ างความเชื่ อ มั่ น
ของผู้บริโภคต่อผลิตภัณฑ์การแพทย์แผนไทย
4) ส่งเสริมตลาดการท่องเที่ยวทางการแพทย์ที่ไทยมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน
เพื่อสร้างการรับ รู้อย่างแพร่ห ลายในตลาดกลุ่มเป้าหมายหรือกลุ่มตลาดที่มีความสนใจเฉพาะด้าน
ได้แก่ ศัลยกรรมเสริมความงาม การตรวจสุขภาพประจาปี ทันตกรรม จักษุวิทยา การรักษาภาวะ
ผู้ มี บุ ต รยาก ศั ล ยกรรมกระดู ก และผ่ าตัดหั วใจ เป็ นต้น โดยค านึ งถึ งความสอดคล้ องกับการพั ฒ นา
อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจรของไทย
๑๕๖

๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า ส่ งเสริมให้ ไทยเป็ นศูนย์กลางการท่ องเที่ยว


เชิงสาราญทางทะเลและชายฝั่ง และเป็นแหล่งท่องเที่ยววัฒ นธรรม ลุ่มน้าที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่น
เนื่องจากไทยมีจุดเด่นด้านแหล่งท่องเที่ยวทางน้าที่สวยงามและกิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลาย
ที่สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวผ่านการชื่นชมธรรมชาติ การร้อยเรียงเรื่องราวประวั ติศาสตร์ วิถีชีวิต
วัฒนธรรมไทยตามเส้นทางท่องเที่ยวทางน้า
แนวทางการพัฒนา
1) พั ฒ นาแหล่ งท่ องเที่ ยวและกิจกรรมการท่ อ งเที่ ย วให้ เชื่ อมโยงกั บเส้ น ทาง
การท่องเที่ยวทางทะเล ชายฝั่ง และลุ่มน้าสายสาคัญ เพื่อรองรับการท่องเที่ยวก่อน ระหว่าง และหลัง
การโดยสารด้ ว ยเรื อ ส าราญและเรื อ ยอร์ ช โดยให้ ค วามส าคั ญ กั บ การรั ก ษาความอุ ด มสมบู ร ณ์
ของทรัพยากรแหล่งท่องเที่ยว ทั้งปะการัง ชายหาด และคุณภาพน้า
2) ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาโครงสร้ า งพื้ น ฐาน สาธารณู ป โภค และสิ่ ง อ านวย
ความสะดวกในการท่องเที่ยวทางน้า
3) พั ฒ นาและปรั บ ปรุ ง ปั จ จั ย สนั บ สนุ น การท่ อ งเที่ ย วทางน้ าในทุ ก มิ ติ เช่ น
ความปลอดภัย ในการเดิน ทาง การน าเทคโนโลยีม าใช้ในการอ านวยความสะดวกในการเดิน ทาง
ข้ามแดนของบุ คคลและตัวเรือ และความพร้อมของแหล่ งท่ องเที่ยว โดยเน้ นการพั ฒ นาบุ คลากร
ที่มีความถนัดเฉพาะทางเพื่อรองรับภาคอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวทางน้า
4) การส่งเสริมการประชาสัมพันธ์ความพร้อมของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวทางน้า
แหล่งท่องเที่ยว และกิจกรรมท่องเที่ยวต่อเนื่องในทุกรูปแบบ รวมทั้งส่งเสริมการทาการตลาดรูปแบบ
ใหม่บนพื้นฐานของเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่สอดคล้องกับพฤติกรรมความต้องการของนักท่องเที่ยว
และธุรกิจสายการเดินเรือ
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค ใช้ประโยชน์จากที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ในการ
เชื่อมโยงการท่ องเที่ย วกั บ ต่ างประเทศ เพื่ อขยายการท่ องเที่ย วของไทยและภู มิภ าคไปพร้อมกั น
ผ่านการเชื่อมโยงโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์จากเมืองหลักสู่เมืองรอง เพื่อรองรับการเชื่อมโยง
เส้นทางการท่องเที่ยวไทยกับอาเซียนและอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ทั้งทางบก ทางน้าและทางอากาศ
แนวทางการพัฒนา
1) พัฒ นาเส้น ทางการท่องเที่ยวที่เชื่อมโยงระหว่างประเทศในภูมิภาค โดยใช้
ประโยชน์ จ ากโครงข่ ายคมนาคมที่ มี ในปั จ จุ บั น และที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น ใหม่ ต ามแผนพั ฒ นาในอนาคต
ทั้งทางถนน ทางราง ทางน้ าและทางอากาศ รวมทั้ งส่งเสริมและบูรณาการความร่วมมือด้านการ
ท่องเที่ยวภายใต้กรอบความร่วมมือในระดับอนุภูมิภาคและอาเซียน
2) อ านวยความสะดวกในการเดิ น ทางระหว่ า งประเทศ โดยการพั ฒ นา
และยกระดั บ พิ ธีผ่ านแดนของการเดิ น ทางในทุ กรู ป แบบอย่างไร้รอยต่ อ การปรั บ ปรุงและแก้ไข
กฎระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการเดินทางข้ามแดนของนักท่องเที่ยวและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้ความรู้ เผยแพร่ข้อมูลและอานวยความสะดวกในการเดินทางแก่นักท่องเที่ยว
3) ส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวระหว่างประเทศร่วมกันให้สอดรับกับทิศทาง
และแนวโน้มของตลาดยุคใหม่โดยใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีให้สอดรับกับพฤติกรรมการท่องเที่ยว
รู ป แบบใหม่ โดยการประชาสั ม พั น ธ์ สร้างการรับ รู้ และสร้างแรงจูงใจแก่นั ก ท่ อ งเที่ ยว บนฐาน
๑๕๗

อั ต ลั ก ษณ์ ร่ ว มกั น ของอนุ ภู มิ ภ าคและภู มิ ภ าค เพื่ อ ให้ ป ระเทศไทยและประเทศสมาชิ ก อาเซี ย น


เป็นที่รู้จักและเป็นจุดหมายปลายทางร่วมของนักท่องเที่ยวทั่วโลก
2. การพัฒนาเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
การยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของประชาชนคนไทยให้ มี คุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ขึ้ น สอดคล้ อ ง
กับยุค Thailand 4.0 คือ เมืองอัจฉริยะ หรือ Smart City เป็นรูปแบบการประยุกต์เทคโนโลยีดิจิตัล
หรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิและคุณ ภาพของบริการชุมชน เพื่อช่วย
ในการลดต้นทุนและลดการบริโภคของประชากร โดยยังคงเพิ่มประสิทธิภาพให้ประชาชนสามารถ
อยู่อาศัยได้ในคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น Smart City เป็นโครงการที่หลายๆ เมืองทั่วโลก พยายามพัฒ นา
ให้ เข้ า กั บ ยุ ค 4.0 โดยการเอาเทคโนโลยี ม าผสานกั บ การใช้ ชี วิ ต ของประชาชนไม่ ว่ า จะทั้ งด้ า น
การขนส่ ง การใช้ พ ลั ง งาน หรื อ โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ที่ จ ะท าให้ เมื อ งที่ ส ะดวกสบายเหมื อ นในฝั น
เกิดขึ้นได้จริง ทั้งยังทาให้ป ระชาชนอยู่ดีมีสุขกันด้วย แนวคิด Smart City เกิดขึ้นพร้อมๆ กับการ
พัฒ นาอย่างก้าวกระโดดของเทคโนโลยี Internet of Things (IoT) ซึ่งเป็นรากฐานในการเชื่อมโยง
อุปกรณ์หรือสิ่งของรอบ ๆ ตัวเข้ากับโครงข่ายการสื่อสารแบบอินเทอร์เน็ต รวมไปถึงการวางผังเมือง
ที่ช าญฉลาด รองรั บ การใช้ชีวิตที่ ส ะดวกสบาย รูปแบบการบริห ารจัด การเมืองแบบ Smart City
เป็นการสร้างเมืองที่ จะมีการเติบโตอย่างยั่งยืน เน้นการจัดสมดุลของสิ่งแวดล้อม ประหยัดพลังงาน
และเลือกใช้พลังงานสะอาด จึงช่วยลดปัญหาทางด้านสิ่งแวดล้อม ปัญหามลภาวะทางอากาศ น้าเสีย
ขยะ การระบายน้ า ช่ ว ยส่ ง เสริ ม สภาพแวดล้ อ มที่ ดี คุ ณ ภาพอากาศที่ ดี เพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย ว
และลดปรากฏการณ์เกาะความร้อน (Heat Island Effect) โดยมีประเด็นในการพัฒนา ดังนี้
2.1 สิ่ ง แวดล้ อ มอั จ ฉริ ย ะ (Smart Environment) คื อ เมื อ งที่ ค านึ ง ถึ ง ผลกระทบ
ที่มีต่อสิ่งแวดล้อมและสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โดยใช้เทคโนโลยีเข้ามาช่วยบริหาร
จั ด การอย่ างเป็ น ระบบ เช่ น การจั ด การน้ า การดู แ ลสภาพอากาศ การบริ ห าร จั ด การของเสี ย
และการเฝ้ า ระวั ง ภั ยพิ บั ติ ตลอดจน เพิ่ มการมี ส่ ว น ร่ ว มของป ระช าช น ใน การอนุ รั ก ษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ
2.2 เศรษฐกิจ อัจฉริยะ (Smart Economy) คือ เมืองที่ใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสร้าง
มูล ค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจและบริห ารจัดการ ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภ าพ เช่น เมืองเกษตร
อัจฉริยะ เมืองท่องเที่ยวอัจฉริยะ
2.3 พลังงานอัจฉริยะ (Smart Energy) คือ เมืองที่สามารถบริหารจัดการด้านพลังงาน
ได้ อย่ างมีป ระสิ ทธิภ าพ สร้ างความสมดุ ล ระหว่างการผลิ ตและการใช้ พ ลั งงานในพื้ นที่ เพื่ อสร้ าง
ความมั่นคงทางพลังงานและลดการพึ่งพาพลังงานจากระบบโครงข่ายไฟฟ้าหลัก
2.4 การบริหารภาครัฐอัจฉริยะ (Smart Governance) คือ เมืองที่พัฒนาระบบบริการ
ภาครัฐ เพื่ออานวยความสะดวกแก่ประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ
โดยมุ่งเน้ น ความโปร่ งใสและการมี ส่ ว นร่ว มและมี การปรับ ปรุงอย่างต่ อเนื่ องผ่ านการประยุก ต์ใช้
นวัตกรรมบริการ
2.5 การด ารงชี วิ ต อั จ ฉริ ย ะ (Smart Living) คื อ เมื อ งที่ มี ก ารพั ฒ นาสิ่ ง อ านวย
ความสะดวกโดยคานึงถึงหลักอารยสถาปัตย์ (Universal Design) ให้ประชาชนมีสุขภาพและคุณภาพ
ชีวิตที่ดี มีความปลอดภัยและมีความสุขในการดารงชีวิต
๑๕๘

2.6 การเดินทางและขนส่งอัจฉริยะ (Smart Mobility) คือ เมืองที่มุ่งเน้นพัฒนาระบบ


จราจรและขนส่งอัจฉริยะเพื่อขับเคลื่อนประเทศ โดยเพิ่มประสิทธิภาพและความเชื่อมโยงของระบบ
ขนส่ งและการสั ญจรที่ห ลากหลาย เพิ่มความสะดวกและความปลอดภัยในการเดินทางและขนส่ ง
รวมถึงเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2.7 พลเมื อ งอั จ ฉริ ย ะ (Smart People) คื อ เมื อ งที่ มุ่ ง พั ฒ นาองค์ ค วามรู้ ทั ก ษะ
และสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ลดความเหลื่อมล้าทางสังคมและเศรษฐกิจตลอดจนเปิด
กว้างสาหรับความคิดสร้างสรรค์นวัตกรรม และการมีส่วนร่วมของประชาชน
ยุ ท ธศาสตร์ การพั ฒ นาเป็ น ศูน ย์ กลางการท่ องเที่ย วระดั บ โลกและ Smart City มี ความ
สอดคล้องกับแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ (พ.ศ. 2561 –
2580) ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรม และความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม เพิ่ ม โอกาสให้
ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๑ พั ฒ นาศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ สั ง คมและเทคโนโลยี
ในภูมิภาค
๔.๒.๒ กาหนดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแต่ละกลุ่มจังหวัดในมิติต่าง ๆ
๔.๒.๓ จัดระบบเมืองที่เอื้อต่อการสร้างชีวิตและสังคมที่มีคุณภาพและปลอดภัย
ให้สามารถตอบสนองต่อสังคมสูงวัยและแนวโน้มของการขยายตัวของเมืองในอนาคต
๔.๒.๔ ปรั บ โครงสร้ า งและแก้ ไขกฎหมายระเบี ย บบริ ห ารราชการแผ่ น ดิ น
เพื่อวางระบบและกลไกการบริหารงานในระดับภาค กลุ่มจังหวัด
๔.๒.๕ สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่บนฐานข้อมูลความรู้ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
๑๕๙

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๔ พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความ
เป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
๔.๔.๑ จั ด ท าแผนผั งภู มิ นิ เวศเพื่ อ การพั ฒ นาเมื อ ง ชนบท พื้ น ที่ เกษตรกรรม
และอุตสาหกรรมรวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป็นเอกภาพ

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๑ ยุ ท ธศาสตร์ ด้ า นความมั่ น คง มั่ ง คั่ ง ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม การเมื อ ง


และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) ประชาชนในพื้นที่แนวคลองพาดผ่านจะเป็นผู้รับผลประโยชน์สูงสุดลาดับแรก
2) ประชาชนชาวไทยได้รับประโยชน์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
อย่างทั่วถึง
3) รวมถึงประชาคมอาเซียน ประชาคมโลกจะได้รับประโยชน์จากเขตเศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
มีสาระสาคัญดังนี้
1. GASEZ จะเป็ นเส้นทางเศรษฐกิจใหม่ของโลกและจะมีส่วนสาคัญ ต่อระบบการขนส่ ง
สินค้าทางทะเลระหว่างประเทศ ทางด้านเศรษฐกิจ และด้านสิ่งแวดล้อมของโลก คลองไทยจะเป็น
สัญลั กษณ์ ของประเทศไทยไปตลอดกาล โดยเฉพาะทางด้านการท่องเที่ยวจะเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ที่สวยที่สุดแห่งหนึ่งของโลกที่มนุษย์ร่วมกันสร้าง สามารถเป็นแหล่งดึงดูดของนักท่องเที่ยวจากทั่วโลก
และจะนารายได้เข้าประเทศไทยได้มากมาย
2. GASEZ จะสามารถแก้ปัญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้อย่างละมุนละม่อมด้วยสันติ
วิธีและถาวร เพราะคลองไทยจะสร้างงาน สร้างรายได้ สร้างความเจริญไปทั่วทั้งภาคใต้ ประชาชน
คนไทยทั่วทั้งประเทศไม่น้อยกว่า 3 - 4 ล้านคน จะหลั่งไหลเข้ามาอยู่และทามาหากิน รวมถึงการ
เริ่มต้น สร้างธุรกิจของคนไทยรุ่น ใหม่ รุ่นลูกและรุ่นหลานของไทยในอนาคต ซึ่งประชาชนคนไทย
เหล่ า นี้ จ ะเป็ น กองทั พ ประชาชนที่ ท รงพลั ง เป็ น เสมื อ นยิ่ งกว่ า กองทั พ พลั ง ที่ เข้ ม แข็ งมหาศาล
นี้จะปกป้องคุ้มครองแผ่นดินไทยได้เป็นอย่างดี โดยจะไม่มีอานาจมืดหรืออิทธิพลใดๆ ที่จะมายับยั้งได้
3. GASEZ จะเป็นเสมือนสายธารขนาดใหญ่เชื่อมสองฝั่งทะเลไทย เป็นเส้นทางเศรษฐกิจ
ก่ อ ให้ เกิ ดการหมุ น เวีย นของเงิน ตราจากต่ างประเทศทั่ ว โลกไหลเข้ าสู่ ป ระเทศไทยได้ ทั้ งทางตรง
และทางอ้ อ มได้ โ ดยไม่ มี วั น หยุ ด สร้ า งงาน สร้ า งรายได้ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว แหล่ ง ธุ ร กิ จ
แหล่ ง อุ ต สาหกรรมจะมี ค ลั ง สิ น ค้ าเป็ น ศู น ย์ ก ลางกระจายการขนส่ ง และมี ค ลั งเก็ บ รัก ษาสิ น ค้ า
จากประเทศทั่วโลกพร้อมขนส่งทางทะเล เป็นศูนย์กลางธนาคารธุรกิจการค้าของการเดินเรือ ระหว่าง
ประเทศ ตลอดจนเป็ น ศู น ย์ ร วมภาคอุ ต สาหกรรมและภาคเกษตรผลิ ต อาหารส าเร็จรูป ของไทย
เพื่อการส่งออก เป็นศูนย์จาหน่ายให้บริการอาหาร น้าดื่ม น้าใช้ ให้กับเรือต่างๆ ซึ่งจะสร้างรายได้
ให้กับประเทศได้อย่างมหาศาล
4. ด้ านความมั่ น คงของประเทศคลองไทยจะเสริม สมุ ท ทานุ ภ าพ ทางด้ านการทหาร
การขนส่ ง ทางทะเลทางด้ า นอ่ า วไทยหากมี ก ารถู ก ปิ ด กั้ น ด้ ว ยเหตุ ผ ลใดๆ ก็ ต าม คลองไทย
๑๖๐

จะเป็ น เส้ น ทางขนส่ งที่ ส าคัญ ทั้ งในยามปกติ แ ละยามสงครามของประเทศ ยามปกติ ก องทั พ เรือ
สามารถน ากองก าลั ง เข้ า ออกเพื่ อ การซ้ อ มรบ ลาดตระเวนตรวจตราป้ อ งกั น การเข้ า มา
ของสิ่ งผิ ด กฎหมายตามรอยต่ อ ของเขตน่ านน้ าระหว่ างประเทศ และการเคลื่ อ นย้ า ยก าลั ง ของ
กองทัพเรือไปมาทั้งสองฝั่งทะเลไทย จะไม่สร้างความรู้สึกหวาดระแวงให้กับประเทศเพื่อนบ้านทาให้มี
ความอิสระลดระยะเวลาเดินทางและประหยัดงบประมาณ
5. ทางด้านการประมงจะขยายโอกาสทาให้เรือประมงไทย ทั้งฝั่งอันดามันและฝั่งอ่าวไทย
ซึ่งมีอยู่กว่า 45,000 ลา สามารถไปมาทั้งสองฝั่งได้สะดวกรวดเร็ว ทาให้เรือประมงจานวนดังกล่าว
สามารถเข้ามาใช้ทรัพยากรทางทะเลของทั้งสองฝั่งทะเลที่มีสัตว์น้าอุดมสมบูรณ์ได้ โดยเฉพาะฝั่งทะเล
อันดามันของไทย ซึ่งมีอาณาเขตตั้งแต่แนวเขตน่านน้าสากลของประเทศ ไปจนถึงแนวเขตน่านน้า
สากลของประเทศอินเดียได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งช่วยลดการใช้จ่ายน้ามันเชื้อเพลิงที่ต้ องใช้ไปมาระหว่าง
สองฝั่ งทะเลไทยจากเดิ มที่ ต้ องใช้ ป ริมาณมากให้ ล ดน้อ ยลง จึงเป็ นผลให้ เรือ ประมงไทยสามารถ
ประหยั ดทั้งเวลาและค่าใช้จ่ าย ซึ่งคาดการณ์ว่าในจุดนี้ จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและเพิ่มผลผลิ ต
รวมกันประมาณไม่น้อยกว่า 50,000 ล้านบาทต่อปี
6. GASEZ ลดพื้นที่ยากจน เนื่องจากแนวคลองไทยจะตัดผ่านบริเวณทุรกันดารของภาคใต้
จึงท าให้ พื้ น ที่ ห ลายจั งหวัดที่ แนวคลองไทยผ่ านจะได้ รับประโยชน์ จากความเจริญ และความอุด ม
สมบูรณ์ทางทะเลประชาชนที่อยู่ทั้งสองฝั่งคลองจะได้รั บประโยชน์อย่างทั่วถึง นอกจากนี้คลองไทย
ยังจะช่ว ยป้ องกัน น้ าท่ วมจากพายุ ฝ นที่ ตกอย่างหนักให้ ล งทะเลได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งเกิดขึ้นบ่ อย ๆ
กับ 14 จังหวัดภาคใต้ได้เป็นอย่างดี
7. GASEZ จะเพิ่มบทบาทให้ กับประเทศไทยได้รับประโยชน์ ให้ มีอานาจต่อรองถ่วงดุล
อานาจ ทางเศรษฐกิจ การเมืองและทางทหาร ระหว่างประเทศมหาอานาจของโลก เช่น ระหว่าง
สาธารณรัฐประชาชนจีน และสหรัฐอเมริกา (ข้อสั งเกตปัจจุบัน เกาะไต้ห วัน สาธารณรัฐ เกาหลีใต้
และประเทศสาธารณรั ฐ สิ ง คโปร์ ได้ รั บ ประโยชน์ ท างเศรษฐกิ จ จากประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า)
เพราะศักยภาพของคลองไทยจะเป็นคลองเดินเรือหลักที่สาคัญของโลกทันที จะมีเรือขนส่งสิ นค้า
ขนาดใหญ่ เรือท่องเที่ยวจากที่ต่าง ๆ ทั่วโลกมาใช้คลองไทยเพราะนอกจากจะเป็นการประหยัดเวลา
ประหยั ด เชื้ อ เพลิ งแล้ ว ยั งจะมี ค วามปลอดภั ย มากกว่า เส้ น ทางปั จ จุ บั น ที่ มี ปั ญ หาโจรสลั ด ปล้ น
เป็น ประจาบริเวณแถวช่องแคบมะละกา ศักยภาพของคลองไทยจะสามารถให้เรือผ่านได้มากกว่า
คลองหลัก ๆ ของโลกในปัจจุบัน โดยเฉพาะรูปแบบของคลองไทยจะเป็นแบบคลองคู่ขนาน ทาให้มี
ความปลอดภัยสูงจากอุบัติเหตุ สามารถรองรับให้เรือผ่านได้ 300 ถึง 350 ลาต่อวัน (คลองปานามา
38 ล าต่ อ วั น คลองสุ เอซ 87 ล าต่ อ วั น ) คลองไทยจะรองรั บ เรื อ ขนาดใหญ่ 300,000 ตั น
ถึง 500,000 ตัน ซึ่งเป็นที่ต้องการของบริษัทเดินเรือทั่วโลก โดยเฉพาะกรณีหากมีเรือรบหรือเรือ
ประเภทใด ๆ ก็ตามที่นาไปสู่ความขัดแย้งระหว่างประเทศผ่านคลองไทยจะต้องได้รับความเห็น ชอบ
จากประเทศไทย
8. ประเทศไทยจะผลิตน้ามันโดยมีต้นทุนถูกกว่า สาธารรณรัฐสาธารณรัฐสิงคโปร์ GASEZ
จะเพิ่มความสามารถให้ ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางโรงกลั่นผลิตน้ามันที่ต้นทุนต่ากว่า สาธารณะรัฐ
สาธารณรัฐสิงคโปร์ในย่านเอเชียได้ เพราะระยะทางการขนส่งน้ามันใกล้กว่า และขนาดของเรือน้ามัน
ที่มีขนาดใหญ่กว่าไม่ต้องอ้อมไปผ่านถึงสาธารณรัฐสาธารณรัฐสิงคโปร์อีกต่อไปทาให้ลดค่าใช้จ่ายมาก
๑๖๑

เรือที่มาผ่านคลองไทยจะเป็นลูกค้ารายใหญ่ที่สาคัญมาใช้บริการเติมน้ามันเชื้อเพลิง ทาให้มีปริมาณ
การขายน้ามันได้มากพอที่ประเทศไทยจะเป็นผู้กาหนดราคาขายน้ามันเองได้ และปัญหาน้ามันเถื่อนก็
จะหมดไป ปั จ จุ บั น สาธารณรั ฐ สาธารณรัฐ สิ งคโปร์ ข ายน้ ามั น ให้ กั บ เรือ ที่ ม าใช้ บ ริก าร 56,700
ตันต่อวัน สาธารณรัฐสาธารณรัฐสิงคโปร์ขาย 1 เดือนมากกว่าไทยขาย 1 ปี
9. GASEZ จะช่วยประหยัดค่าขนส่ งสินค้าทางเรือ โดยเฉพาะเรือขนส่ งน้ามันทางทะเล
ทั้งหมดของประเทศไทยทั้งขาเข้าและขาออก เช่น ประเทศไทยใช้น้ามันดิบกว่า 800,000 บาเรลล์
ต่ อ วั น ซึ่ ง ส่ ว นใหญ่ จ ะน าเข้ า มาจากประเทศในตะวั น ออกกลางโดยทางเรื อ มายั ง โรงกลั่ น
ในประเทศใช้เวลาเรือขนส่งน้ามันแต่ละลาจะเสียเวลาไปอ้อมที่สาธารณรัฐสาธารณรัฐสิงคโปร์ กว่าจะ
มาถึงโรงกลั่นน้ ามันที่ป ระเทศไทย 5 วัน กลับอีก 5 วัน รวมเสียเวลา 10 วัน หากมีคลองไทยจะ
เสี ย เวลาประมาณ 2 วัน เท่ านั้ น หากคานวณค่ าใช้ จ่ายตลอดทั้ งปีป ระเทศไทยต้ องเสี ย ค่าใช้ จ่าย
ในส่วนนี้มากกว่าแสนล้านบาทต่อปี เพียงเฉพาะการขนส่งน้ามันอย่างเดียว เป็นต้น หากพิจารณาถึง
การขนส่ ง สิ น ค้ า ส่ ง ออก หรื อ น าเข้ า สิ น ค้ า อื่ น ๆ ทางเรื อ ของประเทศไทย ไม่ ว่ า จะเป็ น สิ น ค้ า
ทางภาคอุตสาหกรรมหรือสินค้าทางภาคเกษตร คิดเป็นเงินประหยัดได้อีกมากกว่าแสนล้านบาทต่อปี
ระบบการขนส่ง (Logistics) ของประเทศไทย โดยรวมสูงถึงร้อยละ 25 – 30 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ในประเทศ (GDP) หรือ ประมาณ 1,500,000 ล้านบาท ถึง 1,800,000 ล้านบาทต่อปี เฉพาะ
คลองไทยจะช่วยลดค่าใช้จ่ายในส่วนนี้ได้ไม่น้อยกว่าปีละ 200,000 ล้านบาทต่อปี
10. GASEZ จะท าให้ ป ระเท ศไท ยมี บ ท บ าท ที่ ส าคั ญ ต่ อ การพั ฒ น าเศรษ ฐกิ จ
ของกลุ่ ม ประเทศต่ า ง ๆ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย อาคเนย์ ที่ อ ยู่ ส องฝั่ ง ทะเลไทย มหาสมุ ท รอิ น เดี ย
และมหาสมุทรแปซิฟิกจะได้รับผลประโยชน์ในด้านการประหยัดค่าใช้จ่ายในการขนส่งสินค้าระหว่าง
ประเทศทางทะเลได้ เป็ น อย่ างมาก เช่ น เรื อ จากประเทศอิ น เดี ย จะส่ งสิ น ค้ า ไปยั ง สาธารณะรั ฐ
ประชาชนจีนหรือประเทศญี่ปุ่นจะย่นระยะเวลาได้ 5 วัน ในแต่ละเที่ยวคิดเป็นเงินประหยัดหลายสิบ
ล้ านบาทต่อเที่ ย ว ดั งนั้ น ประเทศต่าง ๆ เช่น ประเทศศรีลั งกา ประเทศบั งกลาเทศ สาธารณรัฐ
แห่งสหภาพเมียนม่า สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคม
นิยมเวียดนาม สาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศญี่ปุ่น สาธารณรัฐ เกาหลี สาธารณะรัฐฟิลิปปินส์
หรือแม้แต่สหพันธรัฐมาเลเซียด้วยที่จะได้รับประโยชน์จากเส้นทางคลองไทย ซึ่งจะทาให้ประเทศไทย
มีบทบาทต่อการต่อรองทางการทูตกับประเทศมาเลเซียสูงขึ้น เพราะคลองไทยจะช่วยย่นระยะทาง
และเวลาในการเดิน เรือของประเทศมาเลเซียที่จะใช้เรือผ่ านคลองไทยเข้า - ออก ทางตอนเหนื อ
ของสหพั น ธรั ฐ มาเลเซีย (ประเทศมาเลเซียขออนุญ าตไทยเปิ ดชายแดนเพื่อขนสิ นค้าผ่ านทางบก
หากมีคลองไทยแล้วเราจะไม่ให้ผ่านทางบกได้)
11. GASEZ จะช่ ว ยลดปั ญ หาเรื อ นกระจก ย่ น ระยะทางการเดิ น เรื อ ประหยั ด น้ ามั น
เชื้ อ เพลิ ง และลดปั ญ หาด้ า นมลภาวะทางอากาศของโลกในแต่ ล ะปี ไ ด้ ม หาศาล ซึ่ ง เป็ น ที่ ม า
ของการเกิดภาวะเรื อนกระจกบนชั้นบรรยากาศที่เป็ นต้น เหตุของภั ยพิบั ติท างธรรมชาติ ที่ นับ วัน
แต่จะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นทุกวันซึ่งมีผลถึงประเทศไทย ปัจจุบันประเทศสหรัฐอเมริกายังไม่ยอม
ร่ ว มเซ็ น สั ญ ญาโตเกี ย วที่ ว่ า ด้ ว ยการลดปั ญ หา The Greenhouse Effect ดั งนั้ น หากคลองไทย
ได้เกิดขึ้น คลองไทยจะมีบทบาทมากในการแก้ปัญหานี้
๑๖๒

12. เศรษฐกิ จ ไทยยุ ค ไร้ พ รมแดน GASEZ จะเป็ น แหล่ ง รายได้ ห ลั ก ของประเทศ
จากศักยภาพจุดยุทธศาสตร์เศรษฐกิจแห่งใหม่ของโลกจะสามารถใช้เป็นแผนยุทธศาสตร์ทางเศรษฐกิจ
ของประเทศไทยได้ โดยที่จะไม่มีป ระเทศใด ๆ ที่จะสามารถมาแข่งขันได้เลย เพราะตาแหน่งที่ตั้ง
ทางภู มิ ศ าสตร์ ที่ พิ เศษสุ ด นี้ มี ที่ ป ระเทศไทยแห่ งเดี ย วคลองไทยจะเป็ น ขุ ม ทรั พ ย์ ท างทรั พ ยากร
ธรรมชาติ ที่ ไ ม่ มี วั น หมด จะเป็ น ช่ อ งทางสามารถสร้ า งเศรษฐกิ จ ไทยให้ เ ข้ ม แข็ ง และมั่ น คง
ได้ยาวนาน การแข่งขันทางการค้าบนเวทีการค้าเสรีโลก (WTO) จากประเทศสมาชิก 147 ประเทศ
ต่างก็ใช้กลยุทธ์ทางการค้ากันเต็มที่ อนาคตการค้าขายระหว่างประเทศไม่ ว่าจะเป็นสินค้าประเภท
อุตสาหกรรมหรือสินค้าเกษตรหรือแม้แต่ธุรกิจให้บริการแนวโน้มมีการแข่งขันกันรุนแรงยิ่งขึ้นทุกวัน
เราและท่านต่างทราบกันดีว่าการส่งออกสาหรับสินค้าภาคเกษตรของประเทศไทยทั้งหมด รายได้
ยั ง น้ อ ยกว่ า รายได้ จ ากการท่ อ งเที่ ย วเสี ย อี ก อย่ า งไรก็ ต ามการเกษตรก็ จ ะยั ง คงมี ค วามส าคั ญ
อยู่ เ พราะประเทศไทยจะต้ อ งมี อ าหารที่ ส มบู ร ณ์ พ อเพี ยง แต่ ก ารคาดหวั ง จะให้ สิ น ค้ า
จากทางภาคเกษตรเป็นธงนาทางเศรษฐกิจที่จะนาพาไปสู่ความมั่งคั่งของประเทศ แทบจะมองไม่เห็น
ความสว่างเลย ข้อมูลของธนาคารแห่งชาติ แสดงถึงรายได้ทางภาคเกษตรทั้งหมดของประเทศไทย
ประมาณ ร้ อ ยละ 9 – 10 ของมู ล ค่ า ผลิ ต ภั ณ ท์ ม วลรวมของประเทศเท่ า นั้ น หรื อ ประมาณ
500,000 ล้านบาท แต่ใช้ประชากรผลิตประมาณครึ่งประเทศ รายได้ยังน้อยกว่ารายได้จากภาค
การท่องเที่ยวซึ่งได้ถึงประมาณ 700,000 ล้านบาท หรือแม้แต่สินค้าภาคอุตสาหกรรมก็ตาม มีสินค้า
อุตสาหกรรมหลายอย่างของประเทศไทยที่ส่งออก รายได้ที่แท้จริงที่ได้ก็เป็นเพียงค่าแรงงานในฐานะ
ผู้ รั บ จ้ า งผลิ ต หรื อ ไม่ ก็ เป็ น ผู้ รั บ ประกอบชิ้ น ส่ ว นเป็ น หลั ก เสี ย ส่ ว นมาก ตั ว เลขจ านวนเงิน มู ล ค่ า
ของสินค้าภาคอุตสาหกรรมที่ส่งออกดูเหมือนจะสูงมาก แต่รายได้ที่แท้จริงที่ไทยได้รับ คือ ค่าแรงงาน
ประมาณร้อยละ 25 - 30 ของมูลค่าที่ส่งออกเท่านั้น
เมื่อประมาณ 20 กว่าปีที่ผ่านมา ประเทศเพื่อนบ้านของเราหลายประเทศ เช่น สาธารณรัฐ
ประชาชนจีน ประเทศอินเดีย ประเทศเกาหลีใต้ เคยเป็นลูกค้ารายใหญ่ของไทย แต่ตอนนี้กาลังจะ
กลายมาเป็นพ่อค้ารายใหญ่ของไทยต่อไปอาจจะเป็นสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม ราชอาณาจักร
กัมพูชา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวหรือสาธารณรัฐแห่งสภาพเมียนม่า เพราะประเทศ
ดังกล่าวยังมีต้นทุนด้านแรงงานต่าและทรัพยากรทางธรรมชาติยังมีอยู่มาก ซึ่งตอนนี้มีบางประเทศที่
ร่ารวยแต่ไม่มีทรัพยากรในประเทศมากนัก ได้ไปลงทุนผลิตสินค้าทางด้านการเกษตรใน 4 ประเทศ
ดังกล่าว ในอนาคตข้างหน้าอาจจะมาผลิตสินค้าด้านเกษตร (GMO) ขายแข่งกับประเทศไทยต่อไปก็ได้
แต่สาหรับประเทศมาเลเซียตอนนี้มีความเจริญมากกว่าประเทศไทยไปนานแล้ว
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง มั่งคั่งทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองและความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศ มีความสอดคล้องกับยุทศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์
ชาติ ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นโครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์
และดิจิทัล (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็น ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม
ยุคใหม่ (พ.ศ. 2561 – 2580) ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2561 – 2580) และประเด็น
เศรษฐกิจฐานราก (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
๑๖๓

ประเด็นการต่างประเทศ (พ.ศ. 2561 – 2580)


ประเด็ น การต่ า งประเทศ (พ.ศ. 2561 – 2580) ที่ มุ่ งเน้ น ความร่ ว มมื อ ในภู มิ ภ าค
โดยเป็นผู้ร่ วมผลักดันการก่อตั้งอาเซียนและกรอบความร่วมมือระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาคอื่น ๆ
รวมทั้งมีบ ทบาทความรับผิดชอบต่อประชาคมระหว่างประเทศ มีท่าทีที่สร้างสรรค์และมีหลักการ
ในกรอบสหประชาชาติอย่ างต่อเนื่ อง รวมถึงการที่ที่ ตั้งทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยมีลั กษณะ
เชิ งยุ ท ธศาสตร์ ที่ ป ระเทศไทยมี พ รมแดนติ ด กั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า นมากที่ สุ ด ในภู มิ ภ าคอาเซี ย น
และอยู่ตรงศูนย์กลางของภูมิภาค รวมทั้งเป็นจุดเชื่อมต่อระหว่างมหาสมุทรอินเดียและมหาสมุทร
แปซิฟิก ดังนั้น การรักษาผลประโยชน์ของชาติผ่านการต่างประเทศจะเป็นศักยภาพในการเป็นหนึ่ง
ในศูน ย์กลางการค้า การลงทุน การคมนาคมและโลจิส ติกส์ ในภูมิภ าคเอเชีย และเป็นจุดเชื่อมโยง
ที่สาคัญในภูมิภาค ซึ่งรวมถึงการเป็นประตูสู่เอเชียที่สาคัญแห่งหนึ่ง
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
๒.๔ ประเทศไทยมี บ ทบาทด้ า นความมั่ น คงเป็ น ที่ ชื่ น ชมและได้ รั บ การยอมรั บ
โดยประชาคมระหว่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากร ธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็วโปร่งใส
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๔ การบูรณาการความร่วมมือด้านความมั่นคงกับอาเซียนและนานาชาติรวมถึง
องค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
๔.๔.๑ การเสริมสร้างและรักษาดุลยภาพสภาวะแวดล้อมระหว่างประเทศ
๔.๔.๒ การเสริมสร้างและธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงของภูมิภาค
๑๖๔

๔.๔.๓ การร่ วมมือทางการพั ฒ นากั บประเทศเพื่ อนบ้ าน ภู มิภ าค โลกรวมถึ ง


องค์กรภาครัฐและที่มิใช่ภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๕ การสร้ างความตื่ น ตัว ให้ ค นไทยตระหนั กถึ งบทบาท ความรับ ผิ ด ชอบ
และการวางตาแหน่งของประเทศไทยในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์และประชาคมโลก
๔.๓.๗ การสร้างระบบการศึกษาเพื่อเป็นเลิศทางวิชาการระดับนานาชาติ
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๑ การพั ฒ นาและส่ งเสริ ม พหุ ปั ญ ญาผ่ านครอบครั ว ระบบสถานศึ ก ษา
สภาพแวดล้อม รวมทั้งสื่อ
๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เ ชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ
ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณ ภาพ
และความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๓ การเสริมสร้างพลังทางสังคม
๔.๓.๕ สนับสนุนการพัฒนาบนฐานทุนทางสังคมและวัฒนธรรม
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๔ พั ฒ นาพื้ น ที่ เมื อ ง ชนบท เกษตรกรรมและอุ ต สาหกรรมเชิ งนิ เวศ มุ่ งเน้ น
ความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
๔.๔.๓ จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อม และสารเคมีในภาคเกษตร
ทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการ และให้บริการ
อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้ บ ริก ารสาธารณะของภาครัฐ ได้ มาตรฐานสากลและเป็ น ระดั บ
แนวหน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครั ฐมีความเชื่อมโยงในการให้ บ ริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่ านการน า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
๑๖๕

ประเด็นโครงสร้างพื้นฐานระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล (พ.ศ. 2561 – 2580)


เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น ที่ ส าคั ญ ประการหนึ่ ง ในการสร้ า งความสามารถในการแข่ ง ขั น
ของประเทศ เนื่องจากจะช่วยให้เกิดการพัฒนาต่อยอดจากฐานทรัพยากรและกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ในพื้ น ที่ ซึ่ งจะกระตุ้ น ให้ เกิ ด การสร้างมู ล ค่ าเพิ่ ม ทางเศรษฐกิ จในส่ ว นภู มิ ภ าค ยกระดั บ ผลิ ต ภาพ
ของภาคการผลิตและบริการ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เ สถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๓ ใช้ประโยชน์ และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๔ โครงสร้างพืน้ ฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๓ มุ่งเป้ าการลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภู มิอากาศในการพั ฒ นาโครงสร้าง
พื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชน
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๓ พั ฒ นาความมั่ น คงพลั งงานของประเทศ และส่ งเสริ ม การใช้ พ ลั งงาน
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๔ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยลดความเข้มข้นของการใช้พลังงาน
ประเด็นผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ (พ.ศ. 2561 – 2580)
จากกระแสโลกาภิวัฒน์ประกอบกับพลวัตทางเศรษฐกิจส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง
โครงสร้างภาคการผลิตที่ลดและเลิกพึ่งพาทุนการผลิตตามแบบอุตสาหกรรมเดิม มาสู่ยุคเทคโนโลยี
ดิจิ ทั ล และนวัต กรรม อัน ส่ งผลต่อรูป แบบการด าเนิ น ธุรกิ จ การขับ เคลื่ อนการพั ฒ นาที่ต้ องสร้าง
๑๖๖

และพั ฒ นาผู้ ป ระกอบการไทยให้ เป็ น “ผู้ ป ระกอบการยุ ค ใหม่ ” ที่ ก้ า วทั น และใช้ ป ระโยชน์
จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการขับเคลื่อนธุรกิจ โดยวางการปรับบทบาทภาครัฐให้เสริมสร้าง
บรรยากาศที่เอื้อต่อการพัฒนา เพื่อผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงบริการทางการเงินและฐานข้อมูล
ที่ ทั น สมั ย เสริ ม สร้ า งศั ก ยภาพในการขยายตลาดทั้ ง ในและต่ า งประเทศและพร้ อ มรั บ มื อ
กับการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของธุรกิจใหม่ ๆ ในอนาคต
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นาการพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้สะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ เกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๒ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพืน้ ฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๑๖๗

๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๑ การปรั บ เปลี่ ย นระบบการเรี ย นรู้ ให้ เอื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะส าหรั บ
ศตวรรษที่ ๒๑
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๒ การสร้างเส้นทางอาชีพ สภาพแวดล้อมการทางาน และระบบสนับสนุน
ที่เหมาะสมสาหรับผู้มีความสามารถพิเศษผ่านกลไกต่าง ๆ
๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ
ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่
๔.๔ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเอง
๔.๔.๒ เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการ
อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้บริการสาธารณะของภาครัฐได้มาตรฐานสากลและเป็นระดับแนว
หน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครั ฐ มี ค วามเชื่ อ มโยงในการให้ บ ริ ก ารสาธารณะต่ า ง ๆ ผ่ า นการ
นาเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
ประเด็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ (พ.ศ. 2561 – 2580)
จากที่ประเทศไทยจะเป็ นศูนย์กลางทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาค ควรผลั กดันและส่งเสริม
ให้เกิดการลงทุนในประเทศ ส่งเสริมการส่งออกและให้มีการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่ในการผลิตสินค้า
๑๖๘

และเป็นศูนย์กลางในการกระจายสินค้าในภูมิภาค การจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษจึงเป็นการพัฒนา
เขตเศรษฐกิจ ของประเทศไทยเพื่ อประโยชน์ ต่อการส่ งเสริม สนับ สนุน และอานวยความสะดวก
รวมทั้ ง ให้ สิ ท ธิ พิ เศษบางประการในการด าเนิ น กิ จ การต่ า ง ๆ เช่ น การประกอบอุ ต สาหกรรม
การพาณิชยกรรม การบริการ หรือกิจการอื่นใดที่เป็นประโยชน์แก่เศรษฐกิจของประเทศ เพื่อดึงดูด
การลงทุ น โดยตรงจากต่ างชาติ และยกระดั บ รายได้ ข องประชากรในประเทศ โดยพั ฒ นาระบบ
โครงสร้ า งพื้ น ฐานและเตรี ย มความพร้ อ มด้ า นต่ า ง ๆ เพื่ อ ให้ เ ศรษฐกิ จ และการค้ า ในพื้ น ที่
มีความสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น อีกทั้งยังส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในแต่ละภูมิภาคและสร้าง
รายได้ให้กับประชาชนในแต่ละพื้นที่
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถทางการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม เพิ่ ม โอกาสให้
ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลังของพัฒนาประเทศในทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโต บนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ เกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๒ เกษตรปลอดภัย
๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูลและปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๑๖๙

๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๒ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๓.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๓.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๓.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๓.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๓.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๓ ปฏิรูปการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๑ การปรั บ เปลี่ ย นระบบการเรี ย นรู้ ให้ เอื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะส าหรั บ
ศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๑ พัฒนาศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
ในภูมิภาค
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๕ ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๑๗๐

๔.๓.๓ มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน ของภาครัฐและภาคเอกชน
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงานและเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๒ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพของน้ าทั้ ง ระบบ ในการใช้ น้ าอย่ า งประหยั ด รู้ คุ ณ ค่ า
และสร้างมูลค่าเพิ่มจากการใช้น้า ให้ทัดเทียมกับระดับสากล
ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก (พ.ศ. 2561 – 2580)
การพั ฒ นาเศรษฐกิ จ ฐานรากตามแนวทางของยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ด้ า นการสร้ า งโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคมได้กาหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เน้นตอบโจทย์การสร้างความเป็นธรรม
และลดความเหลื่ อ มล้ าทางเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศ เพื่ อ ให้ ก ารเติ บ โตของประเทศ
เป็นการเติบโตที่ยั่งยืน ผ่านการส่งเสริมเศรษฐกิจระดับชุมชนท้องถิ่นให้มีความเข้มแข็ง มีศักยภาพ
ในการแข่งขั น สามารถพึ่งพาตนเองได้ ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก มีความสอดคล้องกับเป้าหมาย
การพัฒนาและประเด็นยุทธศาสตร์ของยุทธศาสตร์ชาติด้านที่เกี่ยวข้อง ดังนี้
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จ เติ บ โตอย่ างมี เสถี ยรภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคม เพิ่มโอกาสให้ทุกภาคส่วน
เข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๑ เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๓ กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจ สังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๖ การพัฒนากาลังแรงงานในพื้นที่
๑๗๑

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๒ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมใหม่ (S - Curve) เทคโนโลยี


และนวัตกรรมของโลก
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) ส่งเสริมอุตสาหกรรมบริการ ได้แก่ ท่องเที่ยว การเงิน การลงทุน โรงแรม การศึกษา
2) มุ่งพัฒ นาอุตสาหกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่
รวมถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมอวกาศ
มีสาระสาคัญดังนี้
ยุ ทธศาสตร์การพั ฒ นาภาคใต้สู่ เขตเศรษฐกิจพิเศษ ควรมีแผนการพั ฒ นาอุตสาหกรรม
รวมถึง แผนนวัตกรรมที่เกี่ยวข้องในโครงการ รวมถึงอุตสาหกรรมการลงทุนขนาดใหญ่ ซึ่งในปัจจุบัน
กระทรวงดิจิทัล เพื่อเศรษฐกิจและสังคมมีศูนย์บริการในภาคใต้อยู่ที่จังหวัดภูเก็ต ซึ่งจะดูแลรวมไปถึง
จังหวัดภาคใต้ตอนล่าง รวมถึงการจัดทาศูนย์รวมฐานข้อมูลให้เป็นระบบเมืองอัจฉริยะ (Smart City)
ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ทันสมัยและชาญฉลาด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้
บริ ก ารและการบริ ห ารจั ด การเมื อ ง ลดค่ า ใช้ จ่ า ยและการใช้ ท รัพ ยากรของเมื อ งและประชากร
เป้ า หมาย โดยเน้ น การออกแบบที่ ดี แ ละการมี ส่ ว นร่ ว มของภาคธุ ร กิ จ และภาคประชาชน
ในการพัฒนาเมืองภายใต้แนวคิดการพัฒนาเมืองน่าอยู่ เมืองทันสมัย ให้ประชาชนในเมืองมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดีมีความสุข อย่ างยั่ งยื น ดังกล่ าวพอสรุปได้ว่า การศึกษาแนวทางการกาหนดยุทธศาสตร์การ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ)
ในพื้ น ที่ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราชและจั ง หวั ด สงขลา
ด้วยกระบวนการทบทวนข้อมูลและเอกสารทางวิชาการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งความสอดคล้อง
กั บ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แผนแม่ บ ทตามยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละความเชื่ อ มโยงของยุ ท ธศาสตร์ ในมิ ติ
การแข่ งขั น ระดั บ โลก ประกอบกั บ ข้ อ มู ล จากหน่ ว ยงานหรือ บุ ค คลต่ า ง ๆ น าเสนอต่ อ คณะอนุ
กรรมาธิการ พบว่า ยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง (The Golden Ax Special
Economic Zone : GASEZ) เป็น ยุทธศาสตร์ที่พัฒ นาพื้นที่ในภาคใต้ของประเทศไทยที่มีศักยภาพ
เชิงพื้ น ที่ เปลี่ ย นเป็ น โอกาสในการสร้างเศรษฐกิจใหม่ที่มีความส าคัญ ของโลก จากทรัพ ยากรและ
กิ จ กรรมทางเศรษฐกิ จ โดยการบริ ห ารจั ด การด้ ว ยนวั ต กรรมควบคู่ กั บ การ บริ ห ารจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างคู่ขนานโดยยึดเป้าหมาย “การพัฒ นาแบบมั่นคง มั่งคั่ง
ยั่งยื น ” ผ่ านการมีส่ ว นร่ วมของประชาชนในพื้ นที่พร้อมการมอบสวัสดิการที่ สร้างคุณค่าอย่างเป็นธรรม
เพื่ อ เป็ น ต้ น แบบของการพั ฒ นาประเทศสาหรั บ ภู มิ ภ าคต่ า ง ๆ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรมใหม่ (S - Curve) เทคโนโลยีและนวัตกรรมของโลก
มี ค วามสอดคล้ อ งกั บ ยุ ท ศาสตร์ ช าติ พ.ศ. 2561 – 2580 แผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ช าติ
ประเด็ น อุ ต สาหกรรมและการบริ ก ารแห่ ง อนาคต (พ.ศ. 2561 – 2580) และประเด็ น การ
เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (พ.ศ. 2561 – 2580) ดังนี้
ประเด็นอุตสาหกรรมและการบริการแห่งอนาคต (พ.ศ. 2561 – 2580)
การเปลี่ ยนแปลงอย่างรวดเร็วทางด้านเทคโนโลยี ข้อจากัดของโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
ของไทย การมุ่ ง สู่ อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารแห่ ง อนาคตเป็ น สิ่ ง ที่ จ าเป็ นส าหรั บ ประเทศไทย
ในการวางรากฐานของการสร้างความสามารถในการแข่งขันอย่างต่อเนื่องในระยะยาว นอกจากนี้
๑๗๒

อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารแห่ ง อนาคตจะช่ ว ยพั ฒ นาและยกระดั บ อุ ต สาหกรรมและบริ ก ารเดิ ม


ที่ มี อ ยู่ แ ล้ ว ในการสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ด้ ว ยการปรั บ ปรุ ง ผลิ ต ภาพการผลิ ต การสร้ า งเทคโนโลยี
และนวัตกรรม และการเชื่อมโยงห่วงโซ่มูลค่าของอุตสาหกรรมและบริการเข้าด้วยกัน
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๒ บ้านเมืองมีความมั่นคงในทุกมิติและทุกระดับ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๒ ฟื้นฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบ
ทางลบจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง
๔.๒ การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
๔.๒.๑ การแก้ไขปัญหาความมั่นคงในปัจจุบัน
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ
๔.๑.๔ เกษตรแปรรูป
๔.๑.๕ เกษตรอัจฉริยะ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๒.๒ อุตสาหกรรมและบริการการแพทย์ครบวงจร
๔.๒.๓ อุตสาหกรรมและบริการดิจิทัล ข้อมูล และปัญญาประดิษฐ์
๔.๒.๔ อุตสาหกรรมและบริการขนส่งและโลจิสติกส์
๔.๒.๕ อุตสาหกรรมความมั่นคงของประเทศ
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๑๗๓

๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ
ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๓ ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ที่ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษที่ ๒๑
๔.๓.๑ การปรั บ เปลี่ ย นระบบการเรี ย นรู้ ให้ เอื้ อ ต่ อ การพั ฒ นาทั ก ษะส าหรั บ
ศตวรรษที่ ๒๑
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เ ชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ
ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทย ให้เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน
๔.๒ การกระจายศูนย์กลางความเจริญทางเศรษฐกิจสังคมและเทคโนโลยี
๔.๒.๑ พั ฒ นาศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ สั ง คม และเทคโนโลยี
ในภูมิภาค
๔.๒.๖ การพัฒนาแรงงานในพื้นที่
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๑ เพิ่ ม มู ล ค่ า ของเศรษฐกิ จ ฐานชี ว ภาพให้ ส อดคล้ อ งกั บ ยุ ท ธศาสตร์
ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑.๕ ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
๔.๒ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
๔.๒.๑ เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๑ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
๑๗๔

๔.๔ พั ฒ นาพื้ น ที่ เมื อ ง ชนบท เกษตรกรรมและอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เวศ มุ่ งเน้ น
ความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
๔.๔.๑ จั ด ท าแผนผั งภู มิ นิ เวศเพื่ อ การพั ฒ นาเมื อ ง ชนบท พื้ น ที่ เกษตรกรรม
และอุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป็นเอกภาพ
๔.๔.๒ พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการ
บริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศอย่างยั่งยืน
๔.๔.๓ จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสารเคมีในภาคเกษตรกร
ทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล
๔.๕ พัฒนาความมั่นคงน้า พลังงานและเกษตรที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๓ พั ฒ นาความมั่ น คงพลั งงานของประเทศและส่ งเสริม การใช้ พ ลั ง งาน
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๔ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยลดความเข้มข้นของการใช้พลังงาน
ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๑ ภาครัฐที่ยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ตอบสนองความต้องการและให้บริการ
อย่างสะดวกรวดเร็ว โปร่งใส
๔.๑.๑ การให้ บ ริก ารสาธารณะของภาครัฐ ได้ มาตรฐานสากลและเป็ น ระดั บ
แนวหน้าของภูมิภาค
๔.๑.๒ ภาครัฐ มีความเชื่ อมโยงในการให้ บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่ านการน า
เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้
๔.๗ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๑ ภาครั ฐ จั ด ให้ มี ก ฎหมายที่ ส อดคล้ อ งและเหมาะสมกั บ บริ บ ทต่ า ง ๆ
ที่เปลี่ยนแปลง
ประเด็นการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน (พ.ศ. 2561 – 2580)
การเติบโตอย่างยั่งยืน มุ่งเน้นการให้ความสาคัญกับ พัฒนาและดาเนินโครงการที่ยกระดับ
กระบวนทั ศน์ เพื่ อก าหนดอนาคตประเทศ ด้ านทรัพ ยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้ อมและวั ฒ นธรรม
บนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๒.๑ ประชาชนอยู่ดี กินดี และมีความสุข
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๑ ประเทศไทยเป็ น ประเทศที่ พั ฒ นาแล้ ว เศรษฐกิ จเติบ โตอย่างมีเสถีย รภาพ
และยั่งยืน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
๑๗๕

ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
๒.๒ กระจายศู น ย์ ก ลางความเจริ ญ ทางเศรษฐกิ จ และสั ง คม เพิ่ ม โอกาสให้
ทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นกาลังของการพัฒนาประเทศในทุกระดับ
๒.๓ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเองเพื่อสร้างสังคมคุณภาพ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๒.๑ อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมให้คนรุ่นต่อไป
ได้ใช้อย่างยั่งยืน มีสมดุล
๒.๒ ฟื้ นฟูและสร้างใหม่ ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้ อม เพื่อลดผลกระทบ
ทางลบจากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
๒.๓ ใช้ประโยชน์และสร้างการเติบโตบนฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
๒.๔ ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคตประเทศด้านทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม บนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๒.๑ ภาครั ฐ มี วั ฒ นธรรมการท างานที่ มุ่ ง ผลสั ม ฤทธิ์ แ ละผลประโยชน์ ส่ ว นรวม
ตอบสนองความต้องการของประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว โปร่งใส
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านความมั่นคง
๔.๒ การป้องกันและแก้ไขปัญหาที่มีผลกระทบต่อความมั่นคง
๔.๒.๔ การรั ก ษาความมั่ น คงและผลประโยชน์ ท างทรั พ ยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมทั้งทางบกและทางทะเล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๑ การเกษตรสร้างมูลค่า
๔.๑.๒ เกษตรปลอดภัย
๔.๑.๓ เกษตรชีวภาพ
๔.๒ อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
๔.๒.๑ อุตสาหกรรมชีวภาพ
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๑๗๖

๔.๑ การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
๔.๑.๗ การส่งเสริมให้คนไทยมีจิตสาธารณะและมีความรับผิดชอบต่อส่วนรวม
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๖ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๖.๑ การสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัวไทย
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๑ ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจฐานราก
๔.๑.๒ ปฏิรูประบบภาษีและการคุ้มครองผู้บริโภค
๔.๑.๓ กระจายการถือครองที่ดินและการเข้าถึงทรัพยากร
๔.๔ การเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น ในการพั ฒ นา การพึ่ ง ตนเอง
และการจัดการตนเอง
๔.๔.๒ เสริมสร้างศักยภาพของชุมชนในการพึ่งตนเองและการพึ่งพากันเอง
๔.๔.๓ สร้างการมีส่วนร่วมของภาคส่วนต่าง ๆ เพื่อสร้างประชาธิปไตยชุมชน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว
๔.๑.๒ อนุรักษ์และฟื้นฟูความหลากหลายทางชีวภาพในและนอกถิ่นกาเนิด
๔.๑.๔ รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๔.๑.๕ ส่งเสริมการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน
๔.๒ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจภาคทะเล
๔.๒.๒ ปรับปรุง ฟื้นฟูและสร้างใหม่ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งระบบ
๔.๒.๓ ฟื้ น ฟู ช ายหาดที่ เป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ชายฝั่ ง ทะเลได้ รั บ การป้ อ งกั น
และแก้ไขทั้งระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการอย่างเป็นองค์รวม
๔.๒.๔ พัฒนาและเพิ่มสัดส่วนกิจกรรมทางทะเลที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๓ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๑ ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
๔.๓.๒ มี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ ลดความสู ญ เสี ย และเสี ย หายจากภั ย ธรรมชาติ
และผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๓ มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐานของภาครัฐและภาคเอกชน
๔.๔ พั ฒ นาพื้ น ที่ เมื อ ง ชนบท เกษตรกรรมและอุ ต สาหกรรมเชิ ง นิ เวศ มุ่ งเน้ น
ความเป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง
๔.๔.๓ จั ดการมลพิ ษที่มีผ ลกระทบต่อสิ่ งแวดล้ อมและสารเคมีในภาคเกษตร
ทั้งระบบให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล
๑๗๗

๔.๔.๔ สงวนรั กษา อนุ รัก ษ์ ฟื้ น ฟู แ ละพั ฒ นาทรัพ ยากรธรรมชาติ มรดกทาง
สถาปัตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ์และวิถีชีวิตพื้นถิ่นบนฐานธรรมชาติและฐานวัฒนธรรม
อย่างยั่งยืน
๔.๖ ยกระดับกระบวนทัศน์เพื่อกาหนดอนาคตประเทศ
๔.๖.๑ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
และคุณภาพชีวิตที่ดีของคนไทย
๔.๖.๒ พัฒ นาเครื่องมื อ กลไกและระบบยุติธ รรม และระบอบประชาธิป ไตย
สิ่งแวดล้อม
๔.๖.๓ จัดโครงสร้างเชิงสถาบันเพื่อจัด การประเด็นร่วม ด้านการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ
๔.๖.๔ พัฒนาและดาเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคต
ประเทศด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ มและวั ฒ นธรรมบนหลั ก ของการมี ส่ ว นร่ ว ม
และธรรมาภิบาล
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
๔.๗ กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบทต่าง ๆ และมีเท่าที่จาเป็น
๔.๗.๑ ภาครั ฐ จั ด ให้ มี ก ฎหมายที่ ส อดคล้ อ งและเหมาะสมกั บ บริ บ ทต่ า ง ๆ
ที่เปลี่ยนแปลง

ยุทธศาสตร์ที่ ๑๓ ยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) จั ด ให้ มี ก องทุ น เฉพาะพื้ น ที่ ส าหรั บ การอนุ รั ก ษ์ ส่ ง เสริ ม ฟื้ น ฟู ศึ ก ษาวิ จั ย
เพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
2) สนั บ สนุ น ภาคี เครือ ข่ ายภาคประชาชนในพื้ น ที่ มี ส่ ว นร่ว มในการบริห ารจั ด การ
เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
มีสาระสาคัญดังนี้
การใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ จ านวนมากโดยปราศจากการจั ด การดู แ ล
อย่างเหมาะสม ได้ก่อให้เกิดปัญ หาความเสื่อมโทรมและไม่ยั่งยืนอย่างรุนแรง ทรัพยากรดิน ป่าไม้
ป่ าชายเลน ประมงและชายฝั่ งถู กน ามาใช้ป ระโยชน์ ท างเศรษฐกิจ โดยไม่ มี การพื้ น ฟู อย่ างจริงจั ง
การบังคับใช้กฎหมายไม่เข้มงวดและไม่มีประสิทธิผล ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติอยู่ในภาวะเสื่อมโทรม
ส่งผลกระทบต่อสมดุล ของระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรน้าเกิดปั ญ หา
ความขาดแคลน การใช้ ส ารเคมี ท างการเกษตรมากขึ้ น ส่ ง ผลต่ อ คุ ณ ภาพน้ าและดิ น อี ก ทั้ ง
การน าทรั พ ยากรแร่ ม าใช้ โ ดยไม่ ค านึ ง ถึ ง สภาพแวดล้ อ มได้ ก่ อ ให้ เกิ ด การท าลายสิ่ ง แวดล้ อ ม
และแหล่งท่องเที่ยวสาคัญในหลายพื้นที่ ขณะเดียวกันการขยายตัวของการผลิตในภาคอุตสาหกรรม
และบริ ก ารตลอดจนการลงทุ น ด้ า นสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การเป็ น ไปอย่ า งไร้ ร ะเบี ย บ
และขาดทิ ศ ทางที่ เหมาะสม ไม่ มี ก ารน าผั งเมื อ งและผั งภาคมาใช้ ท าให้ ก ารขยายตั ว ของชุ ม ชน
กระจัดกระจาย เมืองขยายตัวโดยไม่มีโครงสร้างพื้นฐานรองรับอย่างเพียงพอ ประกอบกับมีการนา
๑๗๘

พื้นที่อุดมสมบูรณ์เหมาะสมทางการเกษตรไปใช้ประโยชน์โดยมิได้คานึงถึงศักยภาพของพื้นที่และการ
ลงทุนของภาครัฐ ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมและมลพิษอย่างกว้างขวาง นอกจากนั้นการขยายฐาน
การผลิตด้านอุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วโดยไม่มีมาตรฐานการประกอบการที่เหมาะสมและมิได้บังคับ
ใช้มาตรการควบคุมมลพิษอย่างจริงจัง ทาให้เกิดปัญหามลพิษที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
โดยตรงมากยิ่งขึ้น พร้อมกันนั้น การขยายตัวของการท่องเที่ยวอย่างรวดเร็วโดยปราศจากการดูแล
บ ารุ งรั ก ษาและการจั ด การแหล่ งท่ อ งเที่ ย วอย่ างเป็ น ระบบ ท าให้ แ หล่ งท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ
และศิลปกรรมหลายแหล่งเสื่อมโทรมสูญเสียคุณค่าและความงามลงตามลาดับ
การฟื้ น ฟู บู ร ณะทรัพ ยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้ อม ยังดาเนินการได้ในขอบเขตจากั ด
ไม่ ทั น ต่ อ ความเสื่ อ มโทรมของทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละแนวโน้ ม การเกิ ด มลพิ ษ เนื่ อ งจาก
ขาดประสิ ท ธิ ภ าพในการจั ด ท าและบริ ห ารแผนงานให้ ส ามารถน าไปสู่ ก ารท างานร่ ว มกั น
อย่างมีป ระสิทธิผ ลทั้งกับ หน่ วยงานภาครัฐและฝ่ ายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง อีกทั้งยังขาดการศึกษาวิจัย
ที่ได้มาตรฐาน ขาดมาตรการผลักดันหรือจูงใจให้มีการเปลี่ ยนแปลงกระบวนการผลิตและการบริโภค
ซึ่งจะนาไปสู่การใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ ในระดับที่ยั่งยืน ประหยัด คุ้มค่า และสอดคล้องกับศักยภาพ
นอกจากนั้นการกากับควบคุมยังมีจุดอ่อน ขาดความโปร่งใส มีปัญหาทุจริตและการแย่งชิงทรัพยากร
ระหว่างกลุ่ มผู้ ใช้ ป ระโยชน์ แม้ ว่าองค์กรชุ มชนและองค์กรปกครองส่ ว นท้ องถิ่น จะมีค วามตื่น ตั ว
ในการเข้ามามีส่วนร่วมบริหารจั ดการ แต่ยังขาดความพร้อมและประสบการณ์ ประชาชนส่วนใหญ่
ยังขาดความรู้และมิได้ตระหนักถึงความสาคัญของการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และยังไม่มีกฎหมายรับรองสิทธิของชุมชนในการดูแลทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ทาให้เกิดข้อจากัด
ของการเข้ามามีส่วนร่วม ซึ่งนาไปสู่ปัญหาความขัดแย้งระหว่างชุมชนท้องถิ่นกับภาครัฐอย่างต่อเนื่อง
ดังนั้น การให้ความสาคัญกับการปรับปรุงการจัดการให้เกิดสมดุลระหว่างการใช้ป ระโยชน์
กับ การอนุ รัก ษ์ฟื้ น ฟู ส่ งเสริ มการน าทรัพ ยากรไปใช้ประโยชน์ ในระดั บที่ ยั่งยืน เพื่ อช่วยแก้ปัญ หา
เศรษฐกิจของประเทศ สนับสนุนให้เกิดการพัฒนาที่พึ่งตนเองได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทย
และสร้างภูมิคุ้มกันให้กับชุมชนและประเทศ รวมทั้งเป็นรากฐานที่แข็งแกร่งของการพั ฒนาประเทศ
โดยเน้ น การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ มที่ อ าศั ย กระบวนการมี ส่ ว นร่ ว ม
ของทุกภาคส่วนในสังคม มุ่งเน้นประสิทธิภาพ การกากับควบคุมที่มีประสิทธิผล มีความโปร่งใส สุจริต
ตลอดจนมีการศึกษาวิจัยที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริง ดังนี้
๑. การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตอบสนองต่อการปรับโครงสร้ าง
การพั ฒ นาประเทศให้ เข้ าสู่ ส มดุ ล เน้ น การพั ฒ นาในเชิ งคุ ณ ภาพ โดยการใช้ ท รัพ ยากรธรรมชาติ
อย่างประหยัดและคุ้มค่า ไม่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ให้ความสาคัญต่อความเป็นธรรมในสังคม
วั ฒ นธรรมและวิ ถี ชี วิ ต ตลอดจนการเพิ่ ม ขี ด ความสามารถของชุ ม ชนในการได้ รั บ ประโยชน์
และการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน คือ
๑.๑ มี ร ะบบการบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ เ น้ น
ความรับ ผิดชอบ มีความโปร่งใส เกิดผลในทางปฏิบัติ มีการให้ ความรู้และเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร
โดยให้ ป ระชาชน ชุ ม ชนและองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น มี ส่ ว นร่ ว มและรั บ ผิ ด ชอบการรั ก ษา
ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
๑๗๙

๑.๒ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์ อนุ รั ก ษ์ และฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ อ ย่ า งมี ส มดุ ล


มีการควบคุมที่ดี เพื่อสนับสนุนเศรษฐกิจฐานรากและคุณภาพชีวิต ให้มีการจัดการเมืองและชุมชน
น่ า อยู่ และอนุ รั ก ษ์ สิ่ ง แวดล้ อ มของแหล่ ง ศิ ล ปวั ฒ นธรรมอย่ า งยั่ ง ยื น
๒. เป้าหมาย
๒ .๑ ป ฏิ รู ป ระบ บ การบริ ห ารจั ด การ ท รั พ ยากรธรรมชาติ และสิ่ ง แวดล้ อ ม
ให้ มี ป ระสิ ทธิภ าพในการกากับ ดูแล มี ความโปร่งใส ตรวจสอบได้ รวมทั้ งให้ ประชาชนมีส่ วนร่ว ม
ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การป้องกัน รวมทั้งการเฝ้าระวังรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
และการก่อมลพิษ
๒.๒ อนุรักษ์และฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ควบคู่กับการใช้ประโยชน์ โดยให้มีพื้นที่ป่า
อนุ รักษ์ ควบคู่ไปกับ การอนุ รักษ์พื้ นที่ ป่าชายเลน ตลอดจนลดปัญ หาการชะล้ างพั งทลายของดิ น
และฟื้นฟูปรับปรุงบารุงดินที่มีปัญหาทั้งที่เป็นดินเปรี้ยว ดินเค็มและดินขาดอินทรีย์วัตถุ
๒.๓ รักษาคุณภาพน้าในแม่น้าสายหลักทุกสายให้ มีปริมาณออกซิเจนละลายไม่ต่ากว่า
๒ มิลลิกรัมต่อลิตรตลอดทั้งปีและฟื้นฟูคุณภาพน้าทะเลชายฝั่งให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานของประเทศ
รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการรวบรวม กาจัดและลดกากของเสี ยอันตรายจากอุตสาหกรรม
และจากชุมชนให้เพิ่มขึ้นไม่ต่ากว่าร้อยละ ๕๐ ของปริมาณของเสียอันตรายที่เกิดขึ้นทั้งหมด ให้มีการ
กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิธีและปลอดภัยไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ของพื้นที่ทั้งหมด และมีการใช้
ประโยชน์มูลฝอยไม่ต่ากว่าร้อยละ ๓๐ ของปริมาณมูลฝอยที่เกิดขึ้น ตลอดจนควบคุมคุณภาพอากาศ
ให้ปริมาณฝุ่นละอองและสารมลพิษอื่น ๆ ในชุมชนเมืองอยู่ในพิกัดมาตรฐาน
๒.๔ คุ้มครอง ป้ องกัน ฟื้ นฟู และอนุ รักษ์สิ่ งแวดล้ อมของแหล่ งมรดกทางวัฒ นธรรม
และแหล่งท่องเที่ยว
๓ แนวทางการพั ฒ นาเพื่ อ ให้ ก ารบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม
เป็ น ไปอย่ างมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ บรรลุ ต ามวัต ถุ ป ระสงค์ แ ละเป้ า หมายแนวทางการพั ฒ นาจึ งมุ่ งให้
ความส าคั ญ กั บ การปรั บ กลไกและกระบวนการจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
ของประเทศให้มีประสิทธิผลโดยเน้นระบบการบริหารงานที่โปร่งใสและการมีส่วนร่วมของท้องถิ่น
และชุ ม ชน อนุ รั ก ษ์ ฟื้ น ฟู แ ละใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรอย่ า งยั่ ง ยื น มี ก ารจั ด การทรั พ ยากรน้ า
แบบบู ร ณาการในระดับ พื้น ที่ลุ่ มน้ า ฟื้นฟู ช ายฝั่ งและทะเล อนุรักษ์พื้ นที่ป่ า จัดการทรัพยากรดิน
ที่มีปัญหาและเสื่อมโทรม อนุรักษ์และพัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองและแหล่งท่องเที่ยว จัดการมลพิษ
อย่างมีประสิทธิผลควบคู่กับการส่งเสริมการผลิตที่สะอาดและการนากลับมาใช้ใหม่ โดยมีแนวทาง
การพัฒนาตามลาดับความสาคัญ ดังนี้
๓.๑ เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้เอื้อต่อ
การอนุรักษ์ฟื้นฟูและอานวยประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากของประเทศ ดังนี้
3.1.1 ปรับกลไกการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่
๑) ให้ มี ก ารถ่ ายโอนการบริห ารจั ด การทรัพ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม
ระดับชุมชน จากหน่วยงานส่วนกลางให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ควบคู่ไปกับการพัฒ นาขีด
ความสามารถให้ แ ก่ อ งค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ในด้ า นข้ อ มู ล วิช าการ กฎหมาย และแนวทาง
การจัดการให้พร้อมรับการถ่ายโอนภารกิจตามกฎหมาย
๑๘๐

๒) ให้องค์กรสิ่งแวดล้อมระดับชาติมีบทบาทในการกากับดูแล กลั่นกรองนโยบาย
จั ด สรรการใช้ ท รั พ ยากรและประสานการด าเนิ น งานระหว่ างหน่ ว ยงานต่ า งๆ ตลอดจนติ ด ตาม
ประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบายและรายงานผลต่อสาธารณะ
๓) แบ่ ง อ านาจหน้ า ที่ ในการอนุ ญ าตและตรวจสอบออกจากกั น ให้ ชั ด เจน
เพื่อให้เกิดการตรวจสอบถ่วงดุลซึ่งกันและกัน และเกิดประสิทธิภาพในการจัดการ
๔) สร้างกระบวนการประสานงานและการทางานร่วมกันระหว่างหน่วยราชการ
ที่ เกี่ ย วข้ อ งทั้ งในส่ ว นกลาง ส่ ว นภู มิ ภ าคและส่ ว นท้ อ งถิ่ น ให้ เอื้ อประโยชน์ ต่ อประชาชนในพื้ น ที่
โดยกาหนดนโยบายการจัดสรรทรัพยากร การบริหารและหน้าที่ของหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค
และส่วนท้องถิ่นให้ชัดเจน
๕) ผลักดันให้ประเด็นสิ่งแวดล้อมเป็นเรื่องสาคัญในกระบวนการทางการเมือง
ให้ มีป ระชาคมด้านสิ่ งแวดล้ อมทั้ งในระดับ จังหวัดและระดับชุม ชนตามศักยภาพและความพร้อม
สาหรับเสนอข้อคิดเห็นและประสานงานกับกลไกและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อผลักดันให้การอนุรักษ์
ป้องกันและแก้ไขปัญหาต่าง ๆ บังเกิดผลในทางปฏิบัติ
3.1.2 พั ฒ นากลไกและกระบวนการจั ด การเชิ งบู ร ณาการที่ เน้ น การมี ส่ ว นร่ว ม
ของทุกฝ่ายในการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติ
1) ปรับ ปรุงกฎหมายเพื่อสนับสนุนท้องถิ่นและประชาชนให้มีส่วนร่วมในการ
บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ รับรองสิทธิชุมชนและให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาทุกขั้นตอน อาทิ
การออกพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า พระราชบัญญัติป่าชุมชน แก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติประมง
พ.ศ. ๒๔๙๐ แก้ ไขปรั บ ปรุ ง พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ
พ.ศ. ๒๕๓๕ เพื่อสนับสนุนการกระจายอานาจการบริหารจัดการและประสิทธิผลของการบังคับใช้
กฎหมายด้านสิ่ งแวดล้ อม รวมทั้ งทบทวนกฎหมายป่ าไม้ เพื่ อให้ ค นอยู่ร่ว มกับ ป่ าได้ อ ย่างสมดุ ล
ตลอดจนปรั บ ปรุ ง กฎหมายที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การควบคุ ม การใช้ ที่ ดิ น และการขยายตั ว ของเมื อ ง
ให้สอดคล้องสัมพันธ์กันทั้งระบบ
2) เสริ ม สร้ างเครื อ ข่ า ยการประสานงานและการท างานร่ ว มกั น ขององค์ ก ร
ปกครองส่วนท้องถิ่ น องค์กรพัฒ นาเอกชน องค์กรชุมชนและประชาชนในท้องถิ่น ในการอนุรักษ์
ฟื้ น ฟู แ ละใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มอย่ า งยั่ ง ยื น โดยให้ ค วามส าคั ญ
กับการฝึกอบรมให้ความรู้แก่แกนนาชุมชน เพื่อเพิ่มศักยภาพในการสร้างกระบวนการเรียนรู้และริเริ่ม
ในชุมชนพัฒนาระบบรวบรวมและจัดทาข้อมูลระดับท้องถิ่นให้สอดคล้องกัน รวมทั้งให้มีเวทีประชาคม
เพื่อรับฟังความคิดเห็น สร้างกระบวนการเรียนรู้ การมีส่วนร่วมคิ ดร่วมทา พร้อมกับเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสารและแนวคิดอย่างต่อเนื่อง
3.1.๓ เพิ่มประสิทธิภาพการบั งคับใช้กฎหมายในการกากับ ควบคุมและตรวจสอบ
การดาเนินงานอนุรักษ์ฟื้นฟูและใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1) สนั บ สนุ น เครื อ ข่ า ยองค์ ก รปกครองส่ ว นท้ อ งถิ่ น ชุ ม ชน ประชาชน
และอาสาสมัครให้สามารถเฝ้าระวัง ติดตาม ตรวจสอบการดาเนินงานจัด การและการใช้ประโยชน์
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเฝ้าระวังการก่อมลพิษ การบุกรุกพื้นที่
อนุรักษ์ พื้นที่สาธารณะ แหล่งน้าธรรมชาติ รวมทั้งการทาเหมืองแร่
๑๘๑

2) เพิ่ ม ประสิ ท ธิภ าพการบั งคั บใช้ก ฎหมายและกฎระเบี ยบ โดยมีบ ทลงโทษ


ที่ เข้ ม งวดรุ น แรงเพื่ อ ป้ อ งปรามให้ ได้ ผ ล สนั บ สนุ น กลไกประสานงานระหว่างชุ ม ชนและโรงงาน
อุ ต สาหกรรมในการเฝ้ า ระวั ง สิ่ ง แวดล้ อ มและการก่ อ มลพิ ษ ตลอดจนใช้ ม าตรการทางสั ง คม
ในการต่อต้ านการผลิ ตที่ ก่อมลพิ ษ โดยให้ มี การรายงานและเปิ ดเผยข้อมูล ต่อสาธารณะเกี่ ยวกั บ
ผู้ประกอบการที่ก่อผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและยกย่องผู้ประกอบการที่ป้องกันผลกระทบสิ่งแวดล้อม
อย่างจริงจัง
3) พั ฒ นาและใช้ เครื่ อ งมื อ ทางเศรษฐศาสตร์ ที่ เหมาะสมเพื่ อ จู ง ใจให้ มี ก าร
ปรั บ เปลี่ ย นพฤติ ก รรมการบริ โ ภคและการผลิ ต ที่ เป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ งแวดล้ อ ม และให้ มี ก ารจ่ า ยค่ า
การใช้ป ระโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อนาไปลงทุนฟื้นฟูและบาบัดสิ่ งแวดล้ อม รวมทั้งส่งเสริม
ให้ ภ าคเอกชนลงทุ น หรื อ ร่ ว มลงทุ น กั บ ภาครั ฐ เพื่ อ แก้ ปั ญ หาสิ่ ง แวดล้ อ มในเมื อ งและชุ ม ชน
โดยใช้มาตรการจูงใจด้านภาษี
4) ปรับปรุงการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการและกิจกรรต่างๆ
ให้ ไ ด้ ม าตรฐานและเป็ น ไปตามหลั ก วิ ช าการ สนั บ สนุ น ให้ ผู้ มี ส่ ว นได้ ส่ ว นเสี ย มี ส่ ว นร่ ว ม
ในกระบวนการจัดทาโครงการในทุกขั้นตอน ตลอดจนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและองค์กรชุมชน
เป็ น แกนกลางในการรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น จากสาธารณะก่ อ นด าเนิ น โครงการและกิ จ กรรม
ที่ จ ะมี ผ ลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้ อม รวมทั้ งให้ มี การวิเคราะห์ ภ าพรวมด้ านสิ่ งแวดล้ อมของประเทศ
รายสาขาหรือระดับพื้นที่เพื่อรองรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน โดยคานึงถึงผลกระทบต่อคนและสังคม
3.1.๔ สร้างจิตสานึ กให้คนไทยตระหนักถึงความสาคัญของการรักษาสิ่ง แวดล้อม
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
1) สร้างความรู้ ความเข้าใจในเรื่องสิ่งแวดล้อม โดยสอดแทรกเรื่องสิ่งแวดล้อม
ศึก ษาไว้ในหลั ก สู ต รการศึ ก ษาทุ ก ระดั บ และทุ ก ระบบ เพื่ อปลู กฝั งทั ศ นคติ และค่ านิ ย มที่ ถู ก ต้ อ ง
ในการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่ งแวดล้อมและวัฒ นธรรม รวมทั้งสร้างพฤติกรรมการบริโภค
ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สร้างความตระหนักถึงสิทธิหน้าที่ในการมีส่วนร่วมบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม
2) เพิ่มประสิทธิภาพการดาเนินนโยบายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศโดยจัดให้มี
กลไกทางานร่ว มระหว่างหน่ วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกันในด้านการค้า
การลงทุน ผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและการแข่งขันในเวทีโลก เพื่อเป็นข้อมูลในการเจรจา
ต่อรองและประสานความร่วมมือให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศ
3.1.๕ พัฒนาและจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1) พั ฒนาฐานข้ อมู ลระดั บพื้ นที่ อาทิ ข้ อมู ลทรั พยากรดิ นและการใช้ ประโยชน์ ที่ ดิ น
ข้ อ มู ล ความหลากหลายทางชี ว ภาพและพื้ น ที่ ชุ่ ม น้ าให้ เ ป็ น มาตรฐานเดี ย วกั น โดยใช้ เทคโนโลยี
สารสนเทศ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพในการติดตามตรวจสอบและจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ได้
อย่างทันการ รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการป้องกันและปราบปรามการใช้ประโยชน์ ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างผิดกฎหมาย
2) ให้ มี ก ารศึ ก ษาวิ จัย เพื่ อ สร้างภู มิ คุ้ ม กั น และมี การติด ตามข้ อ มู ล ผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมโลก อาทิ ภาวะเรือนกระจก เพื่อวางแผนเตรียมพร้อมรับ
ปัญหาด้านอุทกภัย ปัญหาด้านการผลิตภาคการเกษตรและปัญหาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
๑๘๒

๓.๒ อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรธรรมชาติ ข องประเทศให้ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์


เพื่อ ความสมดุ ล ของระบบนิ เวศและใช้ป ระโยชน์ในการสนับ สนุน เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ
อย่างยั่งยืน ดังนี้
3.2.๑ คุ้ ม ครองและก าหนดเขตพื้ น ที่ อ นุ รั ก ษ์ เพื่ อ รั ก ษาสมดุ ล ของระบบนิ เวศ
และมีการใช้ประโยชน์ที่สอดคล้องกับสมรรถนะ
๑) ตรวจสอบความเหมาะสมของพื้ น ที่ ที่ ได้ ก าหนดเป็ น พื้ น ที่ ลุ่ ม น้ าชั้ น ที่ ๑
ให้แล้วเสร็จ และประกาศให้พื้นที่ลุ่มน้าชั้นที่ ๑ ทั้งหมด เป็นเขตอนุรักษ์หรือพื้นที่คุ้มครอง จัดทาแนว
เขตพื้นที่ป่าอนุรักษ์และป่าชายเลนอนุรักษ์ให้เสร็จสมบูรณ์ รวมทั้งแนวกันชนรอบนอกพื้นที่ป่าอนุรักษ์
ที่ส าคัญ ตลอดจนสร้างกลไกและเครือข่ายในการบริหารจัดการพื้นที่ป่าอนุรักษ์เพื่อลดข้อขัดแย้ง
ระหว่างภาครัฐและประชาชน โดยยึดหลักประสิทธิภาพและหลักการมีส่วนร่วม
๒) ให้ชุมชนและท้องถิ่นมีส่วนร่วมกับภาครัฐในการฟื้นฟูและปลูกป่า ตลอดจน
มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการป่าชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ
๓) ประกาศเขตสงวนรัก ษาพื ช พั นธุ์ เขตอนุรักษ์ พั นธุ์สั ตว์น้ าและกาหนดเขต
และมาตรการคุ้มครองการทาประมงพื้นบ้านให้ชัดเจน
๔) ก าหนดเขตการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น ในพื้ น ที่ ที่ ส มควรอนุ รั ก ษ์ เ ป็ น พื้ น ที่
เกษตรกรรม กระจายสิทธิการถือครองที่ดินในพื้นที่ที่เหมาะสมต่อการเกษตรแต่มิได้ใช้ประโยชน์
ทางการเกษตร พร้อมทั้งให้ มีกลไกสนั บสนุนด้านการเงิน และนามาให้ เกษตรกรที่ ไม่มีที่ ดินทากิน
ทาการเกษตร
๕) จัดทาระบบพื้นที่คุ้มครองแห่งชาติเพื่อการอนุรักษ์ รวมทั้งกาหนดมาตรการ
คุ้มครองระบบนิเวศที่สาคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผืนป่าขนาดใหญ่และระบบนิเวศพื้นที่ชุ่มน้า
3.2.๒ ฟื้นฟูชายฝั่งและทะเลไทยให้คืนความอุดมสมบูรณ์ โดยจัดทาแผนหลักฟื้นฟู
ทะเลไทย ให้ครอบคลุมทั้งในด้านการอนุรักษ์ ฟื้นฟูและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชายฝั่ง ทรัพยากร
ทะเล แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลและประมงพื้นบ้าน สนับสนุนการบังคับใช้กฎหมายต่อผู้กระทาผิดโดย
ใช้เครื่องมือประมงทะเลที่ทาลายระบบนิเวศชายฝั่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งอวนรุน อวนลาก ประกาศและ
ก าหนดการใช้ ป ระโยชน์ พื้ น ที่ ต ลอดแนวชายฝั่ ง ทะเล การคุ้ ม ครองปะการั ง หญ้ าทะเล
และสาหร่ายทะเล รวมทั้งฟื้นฟูชายฝั่งทะเลที่เสื่อมโทรมจากกระบวนการกัดเซาะ ตลอดจนจัดให้มี
ระบบบาบัดน้าเสียและระบบกาจัดขยะจากชุมชนและกิจกรรมการพัฒนาตามแนวชายฝั่ง
3.2.๓ อนุ รั ก ษ์ ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพเพื่ อ รักษาความสมดุล ของระบบนิ เวศ
โดยจั ด ให้ มีเครื อ ข่ายข้อ มูล และการลงทุ นวิจั ยด้ านความหลากหลายทางชี วภาพ รวมทั้ งก าหนด
มาตรการทางกฎหมายเพื่ อคุ้ ม ครองชนิ ด พั น ธุ์พื ช และสั ต ว์ที่ มี ค วามส าคั ญ ควบคู่ไปกั บ การสร้าง
ความร่ ว มมื อ ในการอนุ รั ก ษ์ ค วามหลากหลายทางชี ว ภาพ ให้ ชุ ม ชนและท้ อ งถิ่ น มี ส่ ว นร่ ว ม
ในการคุ้มครองพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
3.2.๔ สนั บ สนุ น การใช้ ท รั พ ยากรน้ าอย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพให้ มี ก ารใช้ ป ระโยชน์
อย่างยั่งยืนและเป็นธรรม
๑๘๓

๑) บริ ห ารจั ด การแหล่ งน้ าที่ มี อ ยู่ ให้ มี ก ารน ามาใช้ ป ระโยชน์ ด้ า นเกษตรกรรม
การผลิ ต การบริ โภค อย่ างเต็ ม ประสิ ท ธิภ าพ รวมทั้ งปรับ ระบบการผลิ ต ทางการเกษตรไปสู่ พื ช
ที่ใช้น้าน้อย ควบคู่กับการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้า
๒) จัดหาแหล่งน้าเอนกประสงค์โดยผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนตั้งแต่
ขั้นตอนการจัดทาโครงการและให้ประชาชนผู้ได้รับประโยชน์มีส่วนร่วมรับภาระการลงทุน
๓) ศึกษาและกาหนดแนวทางการจัดการคุณ ภาพน้าใต้ ดินและการใช้ป ระโยชน์
น้าใต้ดินให้สอดคล้องกับศักยภาพ รวมทั้งสารวจและติดตามสถานการณ์แผ่นดินทรุด เพื่อประกาศ
เขตควบคุมการใช้น้าบาดาลและแก้ปัญหาการลดลงของน้าใต้ดิน
๔) ให้ มี ก ารเก็ บ ค่ า บริ ก ารใช้ น้ าดิ บ โดยเริ่ ม จากการใช้ น้ าเพื่ อ อุ ต สาหกรรม
พาณิ ช ยกรรมและการประปา ควบคู่ กั บ การรณรงค์ แ ละสร้า งแรงจู งใจให้ ป ระชาชนมี จิ ต ส านึ ก
ในการรักษาคุณภาพแหล่งน้าและใช้น้าอย่างคุ้มค่า
๕) พัฒนาระบบการพยากรณ์ทรัพยากรน้า เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ
เอื้ออานวยต่อการแก้ไขปัญหาน้าขาดแคลน การป้องกันน้าท่วมและการจัดหาน้า
๖) จั ดทาแผนหลั กการบริห ารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการในระดับลุ่มน้า
โดยให้ ค วามส าคั ญ กั บ การจั ด การคุ ณ ภาพน้ าและการจั ด การพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ าวิ ก ฤต พร้ อ มกั บ เน้ น
การมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชนในการดาเนินการ
3.2.๕ ฟื้ น ฟู ท รั พ ยากรดิ น ที่ มี ปั ญ หาและเสื่ อ มโทรม ให้ มี ค วามอุ ด มสมบู ร ณ์
และเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยสนับสนุนกิจกรรม การเกษตร
แบบยั่งยืนหรือเกษตรเชิงอนุรักษ์ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและลดการตกค้างของสารเคมี
ในดินและน้า โดยให้ชุมชนมีบทบาทหลักและภาครัฐสนับสนุนด้านวิชาการ
3.2.๖ ใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรแร่ เพื่ อ สนั บ สนุ น ภาคการผลิ ต โดยไม่ ส่ ง ผลกระทบ
ต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม โดยก าหนดแนวทางในการใช้ ป ระโยชน์ ท รั พ ยากรแร่ ใ นกระบวนการผลิ ต
ภาคอุตสาหกรรม ควบคู่ไปกับการประเมินศักยภาพแหล่งแร่นอกเขตอนุรักษ์ ปรับปรุงกระบวนการ
ทาเหมืองแร่และควบคุมสัมปทานทรัพยากรแร่มิให้มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม สาหรับการให้
สัมปทานรายใหม่ ควรอนุ ญาตเฉพาะทรัพยากรที่มีการขาดแคลนเท่านั้น รวมทั้งให้มีการบังคับใช้
กฎระเบียบเพื่อฟื้นฟูพื้นที่ที่ผ่านการทาเหมืองแล้ว ตลอดจนกาหนดมาตรการควบคุมการทาเหมืองแร่
ที่ผิดกฎหมาย
ยุทธศาสตร์ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน สอดคล้อง
กับ ยุทธศาสตร์ช าติด้านการสร้ างการเติบ โตบนคุณ ภาพชีวิตที่ เป็นมิ ตรต่อสิ่ งแวดล้ อม ได้น้อมน า
ศาสตร์ของพระราชาสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน โดยยึดหลัก ๓ ประการคือ “มีความพอประมาณ มีเหตุผล
มีภูมิคุ้มกัน” มาเป็นหลักในการจัดทายุทธศาสตร์ชาติควบคู่กับการนาเป้าหมายของการพัฒนาที่ยั่งยืน
มาเป็นกรอบแนวคิดที่จะผลักดันดาเนินการเพื่อนาไปสู่การบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในทุกมิติ
ทั้งมิติด้านสังคม เศรษฐกิจ สิ่งแวดล้อม ธรรมาภิบาลและความเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระหว่างกันทั้ง
ภายในและภายนอกประเทศอย่างบูรณาการ โดยมีวิสัยทัศน์เพื่อให้ประเทศไทยเป็นประเทศพัฒนาแล้ว
ที่มีคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อมที่ดีที่สุดในอาเซียนภายในปี พ.ศ. ๒๕๘๐
๑๘๔

เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์
1. อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและวัฒ นธรรม ให้คนรุ่นต่อไป
ได้ใช้อย่างยั่งยืน มีสมดุล
๒. ฟื้นฟูและสร้างใหม่ฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อลดผลกระทบทางลบ
จากการพัฒนาสังคมเศรษฐกิจของประเทศ
๓. ใช้ ป ระโยชน์ แ ละสร้ างการเติ บ โต บนฐานทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ งแวดล้ อ ม
ให้สมดุลภายในขีดความสามารถของระบบนิเวศ
๔. ยกระดั บ กระบวนทั ศ น์ เพื่ อ ก าหนดอนาคตประเทศด้ า นทรั พ ยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมบนหลักของการมีส่วนร่วมและธรรมาภิบาล
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๑ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว มุ่งเน้นการพัฒนาสังคม
เศรษฐกิจให้ เติบ โตและมีความเป็นธรรมบนความสมดุล ของฐานทรัพยากรธรรมชาติและคุณ ภาพ
สิ่งแวดล้อมที่ดีด้วยเศรษฐกิจฐานชีวภาพ นาไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิต
๔.๑.๑ เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพให้ สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านการ
สร้างความสามารถในการแข่งขัน โดยส่งเสริมและสร้างเศรษฐกิจฐานชีวภาพอุบัติใหม่ และส่งเสริม
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ที่มีคุณภาพ
๔.๑.๒ อนุ รั กษ์ แ ละฟื้ น ฟู ค วามหลากหลายทางชี วภาพในและนอกถิ่น กาเนิ ด
โดยเฉพาะสัตว์ป่าและพันธุ์พืชที่ใกล้สูญพันธุ์ โดยลดอัตราการสูญเสียชนิดพันธุ์ที่ถูกคุกคาม ชนิดพันธุ์
เฉพาะถิ่ น และแหล่ งที่ อ ยู่ อ าศั ย ตามธรรมชาติ ตลอดจนควบคุ ม ชนิ ด พั น ธุ์ต่ างถิ่ น ที่ มี ผ ลกระทบ
ต่อระบบนิเวศ
๔.๑.๓ อนุ รั ก ษ์ แ ละฟื้ น ฟู แ ม่ น้ าล าคลองและแหล่ ง น้ าธรรมชาติ ทั่ ว ประเทศ
โดยฟื้นฟูแม่น้าลาคลองและการป้ องกันตลิ่งและฝายชะลอน้า มีการวางแผนการอนุรักษ์และฟื้นฟู
แหล่งน้าบนพื้นฐานของการรักษาสมดุลนิเวศ
๔.๑.๔ รักษาและเพิ่มพื้นที่สีเขียวที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยหยุดยั้งการบุกรุก
ท าลายพื้ น ที่ ป่ า โดยประยุ ก ต์ ใ ช้ เทคโนโลยี ใ นการบริ ห ารจั ด การพื้ น ที่ เสี่ ย งต่ อ การถู ก บุ กรุ ก
มี ก ารบริ ห ารจั ด การเชิ ง พื้ น ที่ แ ละมี ก ารบู ร ณาการทุ ก หน่ ว ยงานในการเฝ้ า ระวั ง และป้ อ งกั น
การบุกรุกป่า
๔ .๒ ส ร้ า งก ารเติ บ โต อ ย่ า งยั่ ง ยื น บ น สั งค ม เศ รษ ฐ กิ จ ภ าค ท ะเล มุ่ งเน้ น
การให้ความสาคัญกับการสร้างการเติบโตของประเทศจากกิจกรรมทางทะเลที่หลากหลายควบคู่ไปกับ
การดูแลฐานทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งทั้งหมด ภายใต้อานาจและสิทธิประโยชน์ของประเทศ
ที่พึงมีพึงได้ เพื่อความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าทางสังคม
๔.๒.๑ เพิ่มมูลค่าของเศรษฐกิจฐานชีวภาพทางทะเล โดยเสริมสร้างความสามารถ
ในการแข่งขันของประเทศในด้านต่าง ๆ ตามแนวทางเศรษฐกิจภาคทะเลให้มีบทบาทเป็นที่ยอมรับ
ในกลุ่มประเทศอินโดจีนและประชาคมอาเซียน รวมถึงมีกลไกการบริหารจัดการพื้นที่ชายฝั่งทะเล
และในทะเลที่มีประสิทธิภาพ มีผังชายฝั่งและฝั่งทะเลชัดเจน กาหนดพื้นที่การพัฒนาในรูปแบบต่าง ๆ
โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนและสอดคล้องกับสภาพภูมิศาสตร์และทรัพยากรในพื้นที่
๑๘๕

๔.๒.๒ ปรับ ปรุง ฟื้ น ฟู และสร้ า งใหม่ท รั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ งทั้ งระบบ


โดยรักษาแนวปะการังที่ส าคัญ ต่อการท่องเที่ยว รักษาป่าชายเลนที่สาคัญ ต่อการดูดซับก๊าซเรือน
กระจก รั กษาแหล่ งหญ้ าทะเลที่ ส าคัญ ต่อ ประมงและสั ตว์ท ะเลหายาก มี พื้ นที่ คุ้ มครองทางทะเล
ที่มีประสิทธิภาพในรูปแบบต่าง ๆ และพัฒนาฐานข้อมูลเป็นคลังรวมความรู้ด้านผลประโยชน์ทางทะเล
เพื่อให้คาปรึกษาช่วยการตัดสินใจของผู้บริหารและให้บริการความรู้แก่ประชาชน ที่จะนาความรู้ไป
พัฒนาให้เกิดการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
๔.๒.๓ ฟื้ น ฟู ช ายหาดที่ เ ป็ น แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย ว ชายฝั่ ง ทะเลได้ รั บ การป้ อ งกั น
และแก้ไขทั้งระบบ และมีนโยบายการจัดการชายฝั่งแบบบูรณาการอย่างเป็นองค์รวม โดยจัดการ
ชายฝั่งประเทศไทยทั้งหมดแบบบูรณาการ ชายฝั่งทะเลได้รับการป้องกัน แก้ไขปัญหาและมีนโยบาย
การจั ดการชายฝั่ งที่เหมาะสม มีแผนแม่บทกาหนดวิธีการจัดการในแต่ล ะพื้นที่ สาคัญ ทั่ว ประเทศ
มีการลดพื้นที่ที่มีปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง โดยใช้รูปแบบการป้องกันและแก้ไขปัญหาการกัดเซาะ
ชายฝั่งที่เหมาะสม รวมถึงการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งในบริเวณที่ยังไม่เกิดปัญหา
๔.๒.๔ พั ฒ นาและเพิ่ ม สั ด ส่ ว นกิ จ กรรมทางทะเลที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม
โดยการท่องเที่ยวทางทะเลมีการคานึงถึงความสามารถในการรองรับของระบบนิเวศ การลดความ
เหลื่อมล้าและดูแลผลประโยชน์ให้เกิดขึ้นกับประชาชนในพื้นที่ การดูแลความปลอดภัยนักท่องเที่ยว
ทางทะเล การพั ฒนาท่ าเรื อทั้ งระบบให้ เป็ นมิ ตรต่ อสิ่ งแวดล้ อม พั ฒนาการท่ องเที่ ยวทางทะเลรู ปแบบใหม่
ควบคุมและยกเลิกเครื่องมือประมงที่ทาลายล้าง และป้องกันไม่ให้เรือประมงผิดกฎหมาย ทั้งจาก
ภายในและภายนอกประเทศเข้ า มาท าการประมงที่ ผิ ด กฎหมาย เร่ ง พั ฒ นาการจั ด การปกติ
ด้านการเพาะเลี้ยง ในทะเล เพื่อให้ประเทศยังคงเป็นผู้นาด้านการผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์ประมง
มูลค่าสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๓ สร้ า งการเติ บ โตอย่ า งยั่งยื น บนสั งคมที่ เป็ น มิ ต รต่ อ สภาพภู มิ อ ากาศ มุ่ งเน้ น
ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและสร้างสังคมคาร์บอนต่า ปรับปรุงการบริหารจัดการภัยพิบัติทั้งระบบ
และการสร้ า งขี ด ความสามารถของประชาชนในการรั บ มื อ และปรั บ ตั ว เพื่ อ ลดความสู ญ เสี ย
และเสียหายจากภัยธรรมชาติและผลกระทบที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๑ ลดการปล่ อ ยก๊ า ซเรื อ นกระจก โดยพั ฒ นารูป แบบและแนวทางการจั ด
การเมื อ งเพื่ อ มุ่ ง สู่ เมื อ งคาร์ บ อนต่ าและพื้ น ที่ สี เขี ย วในทุ ก รู ป แบบ รวมทั้ ง สนั บ สนุ น การจั ด การ
ด้านการเกษตรที่มีผลประโยชน์ ร่วมในการลดก๊าซเรือนกระจก รวมทั้งเร่งฟื้นฟูพื้นที่ป่าเสื่อมโทรม
ส่งเสริมการเพิ่มพื้นที่ป่าเพื่อเป็นแหล่งกักเก็บก๊าซเรือนกระจก
4.3.2 มี ก ารปรั บ ตั ว เพื่ อ ลดความสู ญ เสี ย อละเสี ย หายจากภั ย ธรรมชาติ
และผลกระทบที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ โดยพั ฒ นาระบบฐานข้ อ มู ล
การคาดการณ์ สภาพภูมิอากาศและระบบเตือนภัยล่ วงหน้าที่รวดเร็ว แม่นยาและมีประสิ ทธิภ าพ
และมีการเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและลดผลกระทบทั้งในเชิงโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้าง
4.3.3 มุ่งเป้าสู่การลงทุนที่เป็นมิตรต่อสภาพภูมิอากาศในการพัฒนาโครงสร้าง
พื้นฐาน โดยบูรณาการนโยบายและแผนพัฒนาประเทศในทุกสาขา โดยเฉพาะการพัฒนาโครงสร้าง
พื้ น ฐาน มี ก ารส่ ง เสริ ม สิ น ค้ า และบริ ก ารคาร์ บ อนต่ าเพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น
๑๘๖

ของประเทศอย่างเป็นระบบและพัฒนาเครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อสร้างแรงจูงใจและสนับสนุน
การลงทุนเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
๔.๓.๔ พัฒนาและสร้างระบบรับมือปรับตัวต่อโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้าที่เกิด
จากการเปลี่ ย นแปลงภู มิ อ ากาศ โดยพั ฒ นาโครงสร้ า งระบบสาธารณสุ ข เครื อ ข่ า ยเตื อ นภั ย
และเฝ้ าระวังโรคให้ มี คุ ณภาพและมี ประสิ ทธิภาพ ครอบคลุ มประชากรกลุ่ มเสี่ ยงที่ มี ความอ่ อนไหว
ต่ อปั จจั ยการเปลี่ ยนแปลงทางภู มิ อากาศต่ อโรคอุ บั ติ ใหม่ โรคอุ บั ติ ซ้ า การพั ฒ นาระบบสาธารณสุ ข
สิ่งแวดล้อมและเวชศาสตร์ป้องกันทั้งระบบ
๔.๔ พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มุ่งเน้นความ
เป็นเมืองที่เติบโตอย่างต่อเนื่อง มีข้อกาหนด รูปแบบ และกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวเนื่องกับลักษณะการใช้
พื้นที่ตามศักยภาพและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยเน้นการพัฒนา “เมืองน่าอยู่ ชนบทมั่นคง เกษตร
ยั่งยืน อุตสาหกรรมเชิงนิ เวศ” โดยให้ ความส าคัญ กับ การจัดท าแผนผั งภู มินิ เ วศ การพั ฒ นาเมือ ง
ชนบท พื้ น ที่ เกษตรกรรม อุ ต สาหกรรม รวมถึ งพื้ น ที่ อ นุ รัก ษ์ ต ามศั ก ยภาพและความเหมาะสม
ทางภูมินิเวศ
๔.๔.๑ จัดทาแผนผังภูมินิเวศเพื่อการพัฒนาเมือง ชนบท พื้นที่เกษตรกรรมและ
อุตสาหกรรม รวมถึงพื้นที่อนุรักษ์ตามศักยภาพและความเหมาะสมทางภูมินิเวศอย่างเป็นเอกภาพ
โดยจัดทาและพัฒนาระบบการเชื่อมโยง จัดการและวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อการจัดทาแผนผัง
ภู มิ นิ เ วศระดั บ ประเทศ รวมถึ ง สนั บ สนุ น การบริ ห ารจั ด การตามศั ก ยภาพของภู มิ นิ เ วศ
จัดทาแผนผั งภูมินิ เวศของพื้นที่ตามเกณฑ์และมาตรฐานการพัฒ นาโครงสร้างพื้นฐาน การจัดการ
สิ่งแวดล้อม การกาหนดเขตพื้นที่แนวกันชน
๔.๔.๒ พัฒนาพื้นที่เมือง ชนบท เกษตรกรรมและอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ที่มีการ
บริหารจัดการตามแผนผังภูมินิเวศอย่างยั่งยืน โดยพัฒนาเมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน พัฒนาชนบทมั่นคง
พัฒนาพื้นที่เกษตรกรรมปลอดภัย พัฒ นาอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ พัฒ นาพื้นที่พิเศษเพื่อการอนุรักษ์
ทรั พ ยากรธรรมชาติ อุ ท ยานธรณี วิ ท ยา แหล่ ง โบราณคดี มรดกอาเซี ย นและมรดกโลก มรดก
ทางสถาปัตยกรรมและศิลปวัฒนธรรม อัตลักษณ์ และวิถีชีวิตพื้นถิ่น
๔.๔.๓ จัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้ง
ระบบ ให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล โดยปรับปรุงมาตรฐานสิ่งแวดล้อม
ของประเทศตามมาตรฐานสากลและบังคับใช้มาตรฐานสิ่งแวดล้อมด้านดิน น้า อากาศ ป่าไม้ สัตว์ป่า
และความหลากหลายทางชีวภาพกับทุกภาคส่วนอย่างเคร่งครัด
๔.๔.๔ สงวนรั กษา อนุรั กษ์ ฟื้ น ฟู และพั ฒ นาทรัพ ยากรธรรมชาติ มรดกทาง
สถาปั ต ยกรรมและศิ ล ปวัฒ นธรรม อัต ลั กษณ์ และวิถี ชี วิ ต พื้ น ถิ่ น บนฐานธรรมชาติ แ ละฐาน
วัฒนธรรมอย่างยั่งยืน โดยกาหนดให้ภาครัฐเป็ นแกนกลางในการให้ความรู้ ประสานและบูรณาการ
ทุกภาคส่วนในการเพิ่มและรักษาพื้นที่สีเขียวเพื่อเพิ่มพื้นที่ป่าไม้ในภาพรวมของประเทศ การฟื้ นฟู
ระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ พร้อมกับการปรับปรุงกฎหมายและบังคับใช้เรื่องการใช้
ประโยชน์ของชุมชนในพื้นที่ป่าอย่าง
๔.๔.๕ พัฒ นาเครือข่ายองค์กรพัฒ นาเมืองและชุมชน รวมทั้งกลุ่มอาสาสมัค ร
ด้วยกลไกการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในท้องถิ่น โดยการสนับสนุนการพัฒนาเครือข่ายองค์กร
๑๘๗

พัฒ นาเมือง ชุมชนและเครือข่ายที่ประกอบด้วยภาคีสาคัญ ตามบริบทของพื้นที่อย่างเป็นรูปธรรม


เชื่อมโยงการพัฒ นาร่ ว มกัน ในทุ กระดั บและพัฒ นาศั กยภาพ องค์กร เพื่ อการพัฒ นาเมือง ชุมชน
และเครือข่าย
๔.๔.๖ เสริมสร้างระบบสาธารณสุขและอนามัยสิ่งแวดล้อมและยกระดับความสามารถ
ในการป้ องกั นโรคอุ บั ติ ใหม่ และอุ บั ติ ซ้ า ตลอดจนควบคุ มการแพร่ ระบาดของโรคเหล่ านี้
โดยศึ ก ษาวิ จั ย สร้ า งองค์ ค วามรู้ ด้ า นการส่ ง เสริ ม สุ ข ภาพและการป้ อ งกั น โรคในประชากร
ทุกกลุ่ม โดยเฉพาะกลุ่มเปราะบาง
๔.๕ พัฒ นาความมั่น คงน้า พลังงาน และเกษตรที่เป็น มิตรต่อสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้น
พัฒ นาระบบจัดการน้ าทั้งระบบ เพื่อให้เกิดความมั่นคง เพิ่มผลิตผลในเรื่องการจัดการและการใช้น้า
ทุกภาคส่วน ดูแลภัยพิบัติจากน้าทั้งระบบ พัฒนาความมั่นคงทางพลังงานอย่างเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๑ พั ฒ นาการจั ด การน้ าเชิ ง ลุ่ ม น้ าทั้ ง ระบบเพื่ อ เพิ่ ม ความมั่ น คงด้ า นน้ า
ของประเทศ โดยจั ดให้ มีน้ าสะอาดใช้ทุกครัวเรือนในชุมชนชนบท ในปริมาณ คุณ ภาพและราคา
ที่ เข้ า ถึ ง ได้ มี ระบบการจั ดการน้ าชุ ม ชนที่ เหมาะสม พร้ อมทั้ งส่ งเสริ ม ฟื้ นฟู อนุ รั กษ์ พื้ น ที่ ต้ น น้ า
พื้ น ที่ ชุ่ มน้ า พื้ น ที่ พั กน้ า แหล่ ง น้ าธรรมชาติ แอ่ ง น้ าบาดาล การระบายน้ าชายฝั่ ง ให้ มี ป ริ ม าณ
และคุณภาพน้าและใช้ประโยชน์ได้ตามเกณฑ์
๔.๕.๒ เพิ่ ม ผลิ ต ภาพของน้ าทั้ ง ระบบในการใช้ น้ าอย่ า งประหยั ด รู้ คุ ณ ค่ า
และสร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม จากการใช้น้ าให้ท ัด เทีย มกับ ระดับ สากล โดยจัด ให้ม ีน้ าเพีย งพอ
ต่อการเจริญ เติบ โตของเขตเมืองเพื่อการอยู่อาศัย การพาณิชย์และบริการ พร้อมระบบจัดการน้า
ในเขตเมือง มีระบบแผนผังน้า ระบบกระจายน้าดี ระบบรวบรวมน้าเสีย ระบบระบายน้า สาหรับ
ภาคบริการในเขตเมือง รวมถึงชุมชนเมืองให้เพียงพอต่อความต้องการทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
โดยพัฒนาระบบน้าในเมืองที่มีความเชื่อมโยง มีแหล่งน้าสารอง การใช้น้าซ้าในพื้นที่วิกฤติ พร้อมทั้ง
จัดให้มีน้าใช้เพียงพอสาหรับการพัฒ นาเกษตร อุตสาหกรรมและท่องเที่ยว รวมทั้งมีระบบดูแลน้า
ภายในพื้นที่สาหรับผู้ใช้น้าในนิคมเกษตร อุตสาหกรรมสมัยใหม่ พื้นที่ชลประทาน พื้นที่เกษตรน้าฝน
พื้นที่เศรษฐกิจพิเศษ แหล่งท่องเทีย่ ว เกษตรพลังงาน เกษตรเพิ่มมูลค่าและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
๔.๕.๓ พั ฒ นาความมั่ น คงพลั งงานของประเทศ และส่ งเสริ ม การใช้ พ ลั งงาน
ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและพลังงานทางเลือก ทดแทนเชื้อเพลิง
ฟอสซิ ล ในการผลิ ต ไฟฟ้ า รวมทั้ ง พั ฒ นาวิ ธี ก ารบริ ห ารจั ด การระบบไฟฟ้ า ทั้ ง ด้ า นอุ ป ทาน
และด้านอุปสงค์ให้มีประสิทธิภาพและความยืดหยุ่น
๔.๖ ยกระดั บ กระบวนทั ศ น์ เพื่ อ ก าหนดอนาคตประเทศ มุ่ งส่ ง เสริม คุ ณ ลั ก ษณะ
และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของคนไทย พัฒนาเครื่องมือและกลไกเพื่อการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่มีประสิทธิภาพ รองรับการเติบโตที่มีคุณภาพในอนาคต
๔.๖.๑ ส่ ง เสริ ม คุ ณ ลั ก ษณะและพฤติ ก รรมที่ พึ ง ประสงค์ ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
และคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี ข องคนไทย โดยปรั บ ปรุ ง กลไกรั ฐ และพั ฒ นาเครื่ อ งมื อ ต่ า ง ๆ เพื่ อ การ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมของประชาชนและภาคเอกชนให้รองรับการเติบโต
ที่มีคุณภาพในอนาคต
๑๘๘

๔.๖.๒ พั ฒ นาเครื่ อ งมื อ กลไกและระบบยุ ติ ธ รรมและระบบประชาธิ ป ไตย


สิ่ ง แวดล้ อ มเกี่ ย วกั บ การบริ ห ารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ มที่ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
เพื่อรองรับการเติบโตที่มีคุณภาพในอนาคต โดยพัฒนาและยกระดับการประเมินสิ่งแวดล้อมระดับ
ยุทธศาสตร์ เพื่อเป็นกลไกในการป้องกันผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจและสังคมในพื้นที่สาคัญ
๔.๖.๓ จัดโครงสร้างเชิงสถาบันเพื่อจัดการประเด็นร่วม ด้านการบริหารจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ รวมทั้ง ประเด็นบริหารจั ดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมข้ามพรมแดน โดยกาหนดและจัดโครงสร้างเพื่อขับเคลื่อนประเด็นร่วมด้านการบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่สาคัญ
๔.๖.๔ พัฒนาและดาเนินโครงการที่ยกระดับกระบวนทัศน์ เพื่อกาหนดอนาคต
ประเทศ ด้ า นทรั พ ยากร ธรรมชาติ สิ่ ง แวดล้ อ มและวั ฒ นธรรมบนหลั ก ของการมี ส่ ว นร่ ว ม
และธรรมาภิ บ าล โดยพั ฒ นาโครงการส าคั ญที่ จะก าหนดอนาคตของประเทศให้ ทั นสมั ย โดยปรั บ
กระบวนทัศน์การวางแผนแบบองค์รวม เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาระยะยาวของประเทศโดยเร็ว

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๔ ยุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาศั ก ยภาพทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ เพื่ อ รองรั บ การพั ฒ นา
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) จัดให้มีกองทุนเพื่อส่งเสริมการศึกษาสาหรับประชาชนในพื้นที่
2) สนับสนุนส่งเสริมในการพัฒนาฝีมือแรงงานของประชาชนในพื้นที่เพื่อที่จะสามารถ
ประกอบอาชีพทุกเพศทุกวัย
มีสาระสาคัญดังนี้
การพัฒ นาการวิจัย และพัฒ นานวัตกรรม ด้านองค์ความรู้พื้นฐานที่มุ่งเน้น “การพัฒ นา
ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ”โดยสร้ า งองค์ ค วามรู้ พื้ น ฐานเพื่ อ การสะสมองค์ ค วามรู้ การต่ อ ยอดไปสู่
การประยุ กต์ใช้องค์ความรู้ และการต่อ ยอดไปสู่ นวัตกรรมทางเศรษฐกิจหรือนวัตกรรมทางสั งคม
รวมทั้งการสร้างนวัตกรรมเพื่อให้ภาคอุตสาหกรรมสามารถนาไปใช้ประโยชน์โดยตรง ผ่านการสร้าง
และพัฒนาเทคโนโลยีฐาน เพื่อให้ประเทศไทยเป็นผู้นาในระดับนานาชาติ ในงานวิจัยที่ประเทศไทย
มีความเข้มแข็ง โดยมีแนวทางการพัฒนา ดังนี้
1. พั ฒ นาองค์ ค วามรู้พื้ น ฐานและเทคโนโลยี ฐ าน โดยการส่ งเสริ ม การวิจั ย พั ฒ นา
และประยุกต์ใช้นวัตกรรมในการพัฒนาความรู้พื้นฐานและเทคโนโลยีฐาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
การแข่งขันในสาขาที่ประเทศไทยมีความได้เปรียบหรือมีศักยภาพสูง รวมทั้งนาไปใช้ประโยชน์ต่อยอด
ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม โดยมีประเด็นการวิจัยที่สาคัญ อาทิ เทคโนโลยีชีวภาพ เทคโนโลยีวัสดุ
นาโนเทคโนโลยีและเทคโนโลยีดิจิทัล
2. พัฒ นาองค์ความรู้พื้นฐานทางสังคมและความเป็นมนุษ ย์ โดยการส่งเสริมการวิจัย
พัฒ นาและประยุ กต์ใช้น วัตกรรมในการพั ฒ นาองค์ความรู้พื้ นฐานทางสั งคมและความเป็ นมนุษ ย์
เพื่อสร้างองค์ความรู้ทางด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ของประเทศ รวมทั้งนาไปใช้ประโยชน์ต่อยอด
ในเชิงเศรษฐกิจและสังคม โดยมีประเด็นการวิจัยที่สาคัญ อาทิ ชุมชนของไทย ด้านศิลปะ วัฒนธรรม
๑๘๙

ภาษา ดนตรี วรรณกรรมของไทย ความภาคภูมิใจในความเป็นไทยและสานึกในการดูแลรับผิดชอบ


ต่อบ้านเมือง มรดกวัฒนธรรม
3. พัฒ นาความเป็ น เลิ ศทางวิชาการโดยการส่ งเสริมการวิจัย พัฒ นาและประยุกต์ใช้
นวัต กรรม เพื่ อ สร้ างองค์ ความรู้ แ ละความเป็ น เลิ ศ ทางวิช าการในด้ านที่ ป ระเทศไทยมี ศั ก ยภาพ
แต่ ล ะสาขา รวมทั้ งเชื่ อ มโยงให้ เกิ ด เครื อข่ ายและการน าไปใช้ป ระโยชน์ ต่ อ ยอดในเชิงเศรษฐกิ จ
และสังคม โดยมีประเด็นการวิจัยที่สาคัญ อาทิ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ วิศวกรรม วิทยาศาสตร์ข้อมูล
วิ ท ยาศาสตร์ ชี ว ภาพ ประสาทวิ ท ยาศาสตร์ แ ละพฤติ ก รรมการรู้ คิ ด เศรษฐศาสตร์ พ ฤติ ก รรม
และนโยบายสาธารณะส าหรั บ เศรษฐกิ จ ยุ ค ใหม่ แ ละสั งคมศาสตร์แ ละสหสาขาวิช ากั บ นโยบาย
สาธารณะในโลกยุคอุตสาหกรรมยุคที่ ๔.0
ยุทธศาสตร์การพัฒนาศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ เพื่อรองรับการพัฒนาเขตเศรษฐกิจ
พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) สอดคล้ อ งกั บ แผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ ประเด็ น
การพัฒ นาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต (พ.ศ. 2561 – 2580) ได้กาหนดการพัฒ นาและยกระดับ
ทรัพยากรมนุษย์ในทุกมิติและในทุกช่วงวัยให้เต็มศักยภาพและเหมาะสม ดังนี้
๑) การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพมนุษย์ พัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของประเทศ โดยจาเป็นต้องมุ่งเน้นการพัฒนาและยกระดับคนในทุกมิติและในทุก
ช่วงวัยให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ดี เก่งและมีคุณภาพ
๒) การพั ฒ นาเด็ ก ตั้ ง แต่ ช่ ว งการตั้ ง ครรภ์ จ นถึ ง ปฐมวั ย โดยจั ด ให้ มี ก ารเตรี ย ม
ความพร้อมให้แก่พ่อแม่ก่อนการตั้งครรภ์ พร้อมทั้งส่งเสริมอนามัยแม่และเด็ก
๓) การพัฒนาช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น จัดให้มีการพัฒนาทักษะความสามารถที่สอดรับกับ
ทักษะในศตวรรษที่ ๒๑ โดยเฉพาะทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สั งเคราะห์ ความสามารถในการ
แก้ปัญหาที่ซับซ้อน ความคิดสร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อื่น
๔) การพั ฒ นาและยกระดับศักยภาพวัยแรงงาน ด้วยการยกระดับศักยภาพทักษะ
และสมรรถนะของคนในช่วงวัยทางานให้สอดคล้องกับความสามารถเฉพาะบุคคลและความต้องการ
ของตลาดแรงงาน
๕) การส่งเสริมศักยภาพวัยผู้สูงอายุ โดยส่งเสริมการมีงานทาของผู้สูงอายุให้พึ่งพา
ตนเองได้ทางเศรษฐกิจ และร่วมเป็นพลังสาคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและประเทศ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๒.๒ ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๒.๑ สร้างความเป็นธรรมและลดความเหลื่อมล้าในทุกมิติ
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๑๙๐

๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๒ การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
๔.๒.๑ ช่วงการตั้งครรภ์/ปฐมวัย
๔.๒.๒ ช่วงวัยเรียน/วัยรุ่น
๔.๒.๓ ช่วงวัยแรงงาน
๔.๒.๔ ช่วงวัยผู้สูงอายุ
๔.๔ การตระหนักถึงพหุปัญญาของมนุษย์ที่หลากหลาย
๔.๔.๓ การดึ ง ดู ด กลุ่ ม ผู้ เ ชี่ ย วชาญต่ า งชาติ แ ละคนไทยที่ มี ค วามสามารถ
ในต่างประเทศให้มาสร้างและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมให้กับประเทศ
๔.๖ การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการพัฒนาและเสริมศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๖.๑ การสร้างความอยู่ดีมสี ุขของครอบครัวไทย
๔.๖.๒ การส่งเสริมบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ครอบครัวและชุมชนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
๔.๖.๓ การปลูกฝังและพัฒนาทักษะนอกห้องเรียน
๔.๖.๔ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
๔.๑ การลดความเหลื่อมล้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
๔.๑.๔ เพิ่มผลิตภาพและคุ้มครองแรงงานไทยให้ เป็นแรงงานฝีมือที่มีคุณภาพ
และความริเริ่มสร้างสรรค์ มีความปลอดภัยในการทางาน

ยุ ท ธศาสตร์ ที่ ๑๕ ยุ ท ธศาสตร์ เขตการค้ า เสรี และสถานบั น เทิ งครบวงจร (Entertainment


Center Complex)
เป้าหมายสาคัญ คือ
1) การพั ฒ นาพื้ น ที่ เขตเศรษฐกิ จพิ เศษให้ เป็ น ศูน ย์ก ลางเศรษฐกิจการค้าระดับ โลก
ครบวงจร
2) การพัฒ นาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษให้ เป็นศูนย์กลางธุรกิจบันเทิง และศูนย์กลาง
ด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาระดับโลก “International Sports City” ปรากฏสาระสาคัญดังนี้
มีสาระสาคัญดังนี้
สถานบันเทิง ให้มีการอนุญาตการพนันถูกกฎหมายในพื้นที่โดยคนไทยที่จะเข้าสถานบันเทิง
และบ่ อ นการพนั น ถู ก กฎหมายได้ ต้ อ งมี เงิ น ทุ น ในบั ญ ชี ณ วั น เข้ า พื้ น ที่ ไม่ ต่ ากว่ า ๑ ล้ า นบาท
ยุ ท ธศาสตร์ที่ ๑๕ มี เป้ าหมายส าคั ญ คื อ การเป็ น ศู นย์ การค้ าระดั บ โลกครบวงจร ธุรกิ จ บัน เทิ ง
เป็นการพัฒ นาฐานข้อมูลที่จาเป็นและระบบสารสนเทศเกี่ยวกับนันทนาการเชิงพาณิชย์ให้มีความ
ทันสมัย และสามารถเข้าถึงได้อย่างรวดเร็ว สามารถบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ย วข้อง
ทั้ งทางด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คม ตลอดจนสามารถพั ฒ นาศั ก ยภาพภาคี เครื อ ข่ า ยนั น ทนาการ
๑๙๑

เชิงพาณิชย์ และสามารถติดตามการส่งเสริมกิจการนันทนาการเชิงพาณิชย์ ที่ส่งผลต่อการพัฒ นา


เศ รษ ฐ กิ จแ ล ะสั งค ม ใน ว งก ว้ า ง (Socio - Economic Impact) แ ล ะศู น ย์ กี ฬ าระดั บ โล ก
“International Sports City”
ยุ ท ธศาสตร์ เ ขตการค้ า เสรี แ ละสถานบั น เทิ ง ครบวงจร (Entertainment Center
Complex) สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561 – 2580 และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์
ชาติ ประเด็น ศักยภาพการกีฬา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ดังนี้
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขันจึงกาหนดแนวทางการพั ฒ นา
ที่ให้ความสาคัญกับการพัฒนากลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคตที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มได้ทั้งใน
ภาคเกษตร อุตสาหกรรมและบริการและการท่องเที่ยว โดยให้ประเทศสามารถยกระดับอุตสาหกรรม
และบริการแห่งอนาคตที่จะเป็นกลไกขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยนวัตกรรม
และเทคโนโลยี แ ห่ งอนาคต รวมทั้ งรั ก ษาการเป็ นจุ ดหมายปลายทางของการท่ องเที่ ยวระดั บโลก
ในขณะเดียวกันจาเป็นต้องพัฒนาปัจจัยสนับสนุนต่าง ๆ ทั้งในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพ
ในด้ านโครงข่ ายคมนาคม พื้ น ที่ และเมื อง รวมถึ งเทคโนโลยี และโครงสร้างพื้ น ฐานทางเศรษฐกิ จ
เพื่ออานวยความสะดวกและลดต้นทุนในการเคลื่อนย้ ายสินค้า บริการ เงินทุน บุคลากรและเชื่อมโยง
ประเทศไทยกับประชาคมโลกและรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสู่อนาคต
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
1. ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
2. ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น
ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน
๔.๓ สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว
๔.๓.๑ ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์และวัฒนธรรม
๔.๓.๒ ท่องเที่ยวเชิงธุรกิจ
๔.๓.๓ ท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ความงามและแพทย์แผนไทย
๔.๓.๔ ท่องเที่ยวสาราญทางน้า
๔.๓.๕ ท่องเที่ยวเชื่อมโยงภูมิภาค
๔.๔ โครงสร้างพื้นฐาน เชื่อมไทย เชื่อมโลก
๔.๔.๑ เชื่อมโยงโครงข่ายคมนาคมไร้รอยต่อ
๔.๔.๒ สร้างและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
๔.๔.๓ เพิ่มพื้นที่และเมืองเศรษฐกิจ
๔.๔.๔ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเทคโนโลยีสมัยใหม่
๔.๔.๕ รักษาและเสริมสร้างเสถียรภาพทางเศรษฐกิจมหภาค
๔.๕ พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผู้ประกอบการยุคใหม่
๔.๕.๑ สร้างผู้ประกอบการอัจฉริยะ
๔.๕.๒ สร้างโอกาสเข้าถึงบริการทางการเงิน
๔.๕.๓ สร้างโอกาสเข้าถึงตลาด
๑๙๒

๔.๕.๔ สร้างโอกาสเข้าถึงข้อมูล
๔.๕.๕ ปรับบทบาทและโอกาสการเข้าถึงบริการภาครัฐ

ประเด็นศักยภาพการกีฬา (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐)


ศักยภาพการกีฬา โดยมุ่งส่งเสริมการใช้กิจกรรมกีฬาและนันทนาการบนฐานของวิทยาศาสตร์
การกีฬา เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างสุขภาวะของประชาชนอย่างครบวงจรและมีคุณภาพมาตรฐาน
การสร้างนิสัย รักกีฬาและมีน้าใจเป็นนักกีฬาและการใช้กีฬาและนันทนาการในการพัฒนาจิตใจ สร้าง
ความสามัคคีของคนในชาติ หล่อหลอมการเป็นพลเมื องดี พัฒ นาคุณ ภาพชีวิต รวมทั้งการพัฒ นา
ทั ก ษะด้ านกี ฬ าสู่ ค วามเป็ น เลิ ศ และกี ฬ าเพื่ อ การอาชี พ ในระดั บ นานาชาติ ในการสร้ า งชื่ อ เสี ย ง
และเกียรติภูมิของประเทศชาติ
เป้าหมายการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๒.๑ คนไทยเป็นคนดี คนเก่ง มีคุณภาพ พร้อมสาหรับวิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
๒.๒ สังคมไทยมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อและสนับสนุนต่อการพัฒนาคนตลอดช่วงชีวิต
ประเด็นภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
๔.๗ การเสริมสร้างศักยภาพการกีฬาในการสร้างคุณค่าทางสังคมและพัฒนาประเทศ
๔.๗.๑ การส่งเสริมการออกกาลังกายและกีฬาขั้นพื้นฐานให้กลายเป็นวิถีชีวิต
๔.๗.๒ การส่ ง เสริ ม ให้ ป ระชาชนมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมออกก าลั ง กาย กี ฬ า
และนันทนาการ
๔.๗.๓ การส่งเสริมการกีฬาเพื่อพัฒนาสู่ระดับอาชีพ
๔.๗.๔ การพั ฒ นาบุ คลากรด้ านการกี ฬาและนั นทนาการเพื่ อรองรั บการเติ บโต
ของอุตสาหกรรมกีฬา

๔.๓ ผลการวิเคราะห์ และอภิป รายผลการศึ กษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สั งคม


ความมั่นคงและการเมือง
ในส่วนนี้ ขอนาเสนอผลการวิเคราะห์ ศึกษาตามกรอบประเด็นในการศึกษา ดังนี้
ด้านที่ ๑ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ความเป็นไปได้ในการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้
ด้านสิ่งแวดล้อม โดยให้ความสาคัญของผลกระทบจากการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจ
พิ เศษขวานทองภาคใต้ ส าหรั บ รายละเอี ยดของผลกระทบจากการดาเนิ น การโครงการดั งกล่ าว
จะต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาประเมิ น ผลกระทบสิ่ งแวดล้ อ มในด้ านสิ่ งแวดล้ อ มทางกายภาพ สิ่ งแวดล้ อ ม
ทางชี ว ภาพ คุ ณ ค่ า การใช้ ป ระโยชน์ ข องทรัพ ยากรต่ อ คุ ณ ภาพชี วิ ต ของผู้ ที่ อ ยู่ ในพื้ น ที่ โ ครงการ
และมวลมนุ ษ ยชาติ ผลจากการศึ ก ษาประเมิ น ผลกระทบสิ่ ง แวดล้ อ มดั ง กล่ า วน าไปสู่ ร ะบบ
การวางแผนการจั ดการด้านสิ่ งแวดล้ อมในพื้ นที่ เจตเศรษฐกิจพิ เศษขวานทองภาคใต้ และบริเวณ
โดยรอบพร้อมทั้งด้านการติดตามและประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
๑๙๓

โดยทั่ว ๆ ไปได้มีการกาหนดไว้แล้วโดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ดังนั้น มุมมอง


ในด้านผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมจึงเป็นมุมมองในภาพกว้าง เพื่อให้ครอบคลุมทุกบริบทของกิจกรรม
ดังนี้
๑. ด้านธรณีวิทยา เช่น แหล่งแร่ธาตุ การชะล้าง การพังทลายของดิน
๒. ด้านทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่ป่าไม้ในรูปแบบต่าง ๆ รวมถึงสัตว์ป่า นกและสิ่งมีชีวิต
ที่อยู่ในป่า
๓. ด้ า นทรั พ ยากรทางน้ า ทั้ ง น้ าจื ด น้ ากร่ อ ยและน้ าเค็ ม เช่ น การประมง
การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า รวมถึงแหล่งเพาะพันธุ์ทางธรรมชาติ
๔. ด้านทรัพยากรทางทะเล เช่น การแพร่กระจายพันธุ์สัตว์ทะเล ความหลากหลาย
ทางชีวภาพ สัตว์ทะเล ปะการังและหญ้าทะเลเป็นต้น
๕. ด้ า นทรั พ ยากรที่ ดิ น เพื่ อ การเกษตร การปศุ สั ต ว์ รวมถึ ง ที่ ดิ น เพื่ อ ใช้ ใ น
อุตสาหกรรรมรูปแบบต่าง ๆ
6. ด้านอุทกวิทยา เช่น น้าผิวดิน น้าใต้ดิน การไหลของน้า รวมถึงแหล่งทรัพยากร
น้าในรูปแบบต่าง ๆ
มาตรการแก้ไขและลดผลกระทบ
๑. นาผลการศึกษาการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่ได้ศึกษาและยอมรับไปใช้
ในการวางแผนและการออกแบบเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่
๒. ติ ด ตามผลและเฝ้ าระวังการเปลี่ ย นแปลงของการเคลื่ อ นย้ ายประชากรสั ต ว์
สัตว์ป่า สัตว์ทะเลอย่างใกล้ชิด โดยจัดให้มีองค์กรหนึ่งรับผิดชอบในเรื่องนี้เป็นพิเศษ
๓. ต้องยอมรับว่าปัญหาด้านสังคม เศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาจ
ได้รับผลกระทบทั้งโดยตรงและโดยอ้อมจากการพัฒนาพื้นที่โครงการขุดคลองไทยเป็นปัญหาที่สาคัญ
และจ าเป็ นต้ องได้ รั บการแก้ ไขอย่ างทั นท่ วงที โดยควรจั ดสรรงบประมาณรายได้ จากการพั ฒนาพื้ นที่ ฯ
มาใช้เพื่อการแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะและประชาชนจะต้องมีส่วนร่วมมากที่สุดตั้งแต่ก่อนเริ่มโครงการ
ในระหว่างดาเนินการและหลังดาเนินการแล้ว
4. ต้ องบั งคั บให้ มี การศึ กษาประเมิ นผลกระทบสิ่ งแวดล้ อมอย่ างรอบคอบในทุ ก ๆ ด้ าน
ทุกกิจกรรมว่ามีประเด็นอะไรบ้างที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบในระดับใด และมีมาตรการแก้ไขอย่างไร
บ้างที่จะลดความรุนแรงให้น้อยลงหรือมีแนวทางแก้ไขอย่างไร หรือมีทางเลือกอื่นอีกหรือไม่ ซึ่งข้อมูล
ที่ได้มาจะทาให้ทราบปัญหาและจะได้เตรียมการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ทันท่วงที
ผลการวิเคราะห์ศึกษา
จากการศึกษาเอกสารและผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องที่ผ่านมา พบว่า การศึกษาผลกระทบ
ของการขุดคลองในมิติทางด้านสิ่งแวดล้อม โดยส่วนใหญ่เป็นเพียงการศึกษาผลกระทบในเบื้องต้น
และเป็นการคาดการณ์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นเมื่อดาเนินโครงการเท่านั้น โดยผลกระทบทางบวก
ที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ได้แก่ ลดปัญหาภาวะเรือนกระจกและมลภาวะทางอากาศ ความอุดมสมบูรณ์
ของพื้นที่ที่คลองตัดผ่านและช่วยเป็นที่รองรับน้าฝน ในกรณีที่ฝนตกหนักและเกิดความหลากหลาย
ทางชีวภาพในน้ ามากขึ้น เป็ น ต้น ส่วนผลกระทบทางลบประกอบด้ว ย ปัญ หาภาวะเรือนกระจก
และมลภาวะทางอากาศผลกระทบของระบบนิเวศบนบกและในทะเล การเกิดภาวะมลพิษจากน้ามัน
๑๙๔

ความสกปรกของน้ าทะเลเมื่อมีคนอาศัยในบริเวณท่าเรือมากขึ้น สารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม


ที่ ส่ งผลต่ อสั ตว์ และพื ชในทะเลชายฝั่ ง การเปลี่ ยนแปลงช่ วงระดั บน้ าขึ้ นน้ าลงและการถ่ ายเทของมวลน้ า
ผ่ า นคลอง และอาจจะมี เชื้ อ โรคหรื อ ตั ว เบี ย น (Parasites) ผ่ า นคลองไปยั ง ทะเลทั้ ง สองด้ า น
การเปลี่ยนแปลงทางด้านทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ทรัพยากรดิน แร่ธาตุ
และธรณีวิทยา เป็นต้น
ข้อพิจารณา
๑) หากมีก ารด าเนิ น การโครงการขุ ด คลองไทย อาจมีผ ลกระทบต่ อ สิ่ งแวดล้ อ ม
แหล่ งท่ อ งเที่ ย วชายฝั่ ง การเคลื่ อ นย้ ายสิ่ งมี ชีวิ ต ในทะเล เช่ น ปั ญ หาน้ าทะเลปนเปื้ อนกับ น้ าจื ด
อาจส่งผลกระทบต่อการทาการเกษตร การปนเปื้อนสารเคมี มลพิษทางน้าและมลพิษทางอากาศ
จากการเดินเรือ ตลอดจนส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวจึงต้องพิจารณาอย่างรอบด้านโดยเฉพาะการ
ลดมลพิษและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ทั้งนี้ ควรมีการศึกษาข้อมูลผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นทุกบริบท
เช่ น จั ดท ารายงาน ก ารป ระเมิ น ผ ลก ระท บ สิ่ งแ วด ล้ อ ม (EIA : Environmental Impact
Assessment) และจัดทารายงาน ประเมินผลกระทบต่อสุ ขภาพ (EHIA : Environmental Health
Impact Assessment) ทั้ งนี้ เพื่ อ ศึก ษารวบรวมผลกระทบทุ กบริบ ทเพื่ อประกอบรายงานในการ
พิจารณาหาแนวทางแก้ไข
๒) หากมีการดาเนินการโครงการขุดคลองไทยดังกล่าว ต้องอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม
และควรมีการตรวจสอบพื้นที่อนุรักษ์ก่อนดาเนินการ เช่น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น
๓) หากมีการดาเนินการโครงการขุดคลองไทย ควรมีการประสานรับฟังความคิดเห็น
และให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการฯ ทั้งนี้ ควรมีการ
ทาศึกษาวิเคราะห์ และทาประชาพิจารณ์ เพื่อจัดทารายงานข้อมูลผลกระทบเพื่อประกอบรายงาน
ในการพิจารณาหาแนวทางแก้ไข
๔) หากมีการดาเนินการโครงการขุดคลองไทย ดังกล่าว ต้องใช้งบประมาณในการ
ดาเนิ น การเป็ น จ านวนมาก จึ งต้องมีการศึกษาผลกระทบทุกบริบ ทที่เกี่ยวข้องกับ การดาเนินการ
โครงการดั ง กล่ า วอย่ า งละเอี ย ด ทั้ ง นี้ หน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งควรมี ก ารจั ด สรรงบประมาณ
เพื่อใช้ทาศึกษาวิจัยและวิเคราะห์ผลอย่างเพียงพอและเหมาะสม
ด้านที่ ๒ ผลกระทบด้านสังคม
จากการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการที่เกี่ยวข้อง ปรากฏผลการศึกษา ดังนี้
ผลการวิเคราะห์ศึกษา
๑) หากมีการดาเนิ นการโครงการขุดคลองไทย ซึ่งเป็นโครงการขนาดใหญ่ ต้องมีการ
เวนคื น พื้ น ที่ ในส่ ว นที่ เกี่ ย วข้ อ งเพื่ อ ใช้ ในการด าเนิ น การกิ จ การต่ า ง ๆ ท าให้ ห น่ ว ยงานภาครั ฐ
ภาคเอกชนและประชาชนในพื้นที่แนวโครงการดังกล่าว ได้รับผลกระทบ เช่น ที่ดินทากิน ที่อยู่อาศัย
สาธารณู ป โภคต่าง ๆ ของประชาชนในพื้นที่ ทั้งนี้ คณะกรรมาธิการวิสามัญฯ ได้กาหนดแนวทาง
ในการแก้ไขและลดปัญหาตามสภาพของผลกระทบที่ได้รับ เช่น การจ่ายค่าเวนคืนที่ดินที่เหมาะสม
การจัดหาที่ดิน ทากินทดแทน การจัดหางานหรือสิ ทธิในการมีงานทา รวมถึงกองทุนในการชดเชย
แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการดาเนินโครงการ ดังกล่าว เป็นต้น
๑๙๕

๒) ประเด็นปัญหาสังคมจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต อาชีพและรูปแบบในการประกอบ
อาชีพ ที่ เปลี่ ย นจากภาคเกษตรกรรมดั้งเดิมไปสู่ อุตสาหกรรมสมัยใหม่ เช่น อุตสาหกรรมการบิ น
การพาณิ ชย์ น าวี การท่ อ งเที่ ย ว การบริ ก าร การเกษตรแนวใหม่ ที่ เ กิ ด จากการเชื่ อ มโยง
กับ เขตเศรษฐกิจ พิ เศษทั้ งประเทศ ส่ งผลให้ ก ารผลิ ต ทรัพ ยากรมนุ ษ ย์ ไม่ส มดุ ล กับ ความต้อ งการ
ของตลาดแรงงาน
๓) ประชาชนในพื้ น ที่ อ าจปรั บ ตั ว ไม่ ทั น ต่ อ การเปลี่ ย นแปลงและการไหลบ่ า
ทางวัฒนธรรมต่างชาติ จึงอาจส่งผลกระทบทาให้เกิดความเหลื่อมล้าของคนในพื้นที่เกิดปัญหาสังคม
ปัญหาอาชญากรรมที่เกิดจากความเป็นเมืองและอาจส่งผลกระทบต่อโบราณสถาน รวมทั้งโบราณวัตถุ
ในบางพื้นที่ ตลอดจนความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดาเนินโครงการขุดคลองไทยที่ต้องแบ่งแยกพื้นที่
ทางกายภาพ
ข้อพิจารณา
๑) หากมี ก ารด าเนิ น โครงการคลองไทยจะเกิ ด การย้ า ยถิ่ น ของชุ ม ชนขนานใหญ่
และการเวนคืน ที่ดิน ในแนวโครงการดังกล่ าว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจึงควรศึกษาอัตราค่าเวนคืน
และชดเชยที่เหมาะสมเป็นธรรมแก่ผู้ได้รับผลกระทบ รวมทั้งจัดหาพื้นที่อยู่อาศัยและทากินทดแทน
ในบริ เวณโครงการฯ ตลอดจนด าเนิ น การจั ด ตั้งกองทุ น เยีย วยาผู้ ได้ผ ลกระทบและครอบครัว ให้
สามารถเป็นสิทธิการรับมรดกตกทอดได้ตามกฎหมาย ทั้งนี้รัฐต้องดาเนินการในเรื่องการจัดการที่ดิน
ดังนี้
(๑) กาหนดอัตราการเวนคืนที่ดินในเขตพื้นที่คลองไทยสูงกว่าอัตราการประเมินที่ดินปกติ
(๒) การเวนคืนที่ดิน ควรจัดสรรที่ดินให้แก่ผู้ถูกเวนคืนให้อยู่ในเขตพื้นที่ โครงการฯ
โดยไม่ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้นั้นเกินสมควร ทั้งนี้ เป็นไปตามเงื่อนไขที่กฎหมายกาหนด
๒) เนื่ อ งจากเกิ ด การเปลี่ ย นแปลงวิ ถี ชี วิ ต อาชี พ และรู ป แบบการประกอบอาชี พ
แบบดั้งเดิมเป็นอุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่อาจเกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรพิจารณา
ศึ ก ษาปรั บ ปรุ ง หลั ก สู ต รการเรี ย นการสอนให้ ส อดคล้ อ งรองรั บ กั บ สภาพสั ง คมและเศรษฐกิ จ
ที่เปลี่ยนแปลงเหมาะสม ทั้งนี้ รัฐต้องดาเนินการแก้ไขปัญหาการประกอบอาชีพ ดังนี้
(๑) การประกอบอาชีพ เนื่องจากการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
พิ เศษขวานทองภาคใต้ จะท าให้ ผู้ ที่ อ ยู่ ในแนวคลองไทยขาดรายได้ ในระหว่ า งการด าเนิ น การ
รัฐต้องจัดหางานให้แก่ผู้ที่ได้ผลกระทบและจัดสรรงบประมาณเพื่ออุดหนุนรายได้แก่ผู้ได้รับผลกระทบ
(๒) รั ฐ ต้องวางแผนการศึกษาด้านการศึก ษาเพื่ อการประกอบอาชี พ ในเขตพื้ น ที่
เศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ ในอนาคต โดยมีเงื่อนไขบุตรหลานผู้ที่อยู่ในโครงการฯต้องมีงานทา
ทุกคนตามความรู้ ความสามารถและศักยภาพของแต่ละบุคคล
(๓ ) เพื่ อ การแก้ ปั ญ หาด้ า นความเปลี่ ย นแปลงทางสั ง คมและวั ฒ นธรรม
เป็น ไปอย่างมีประสิทธิภ าพ จึงควรศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลง การไหลบ่าทางวัฒ นธรรมต่างชาติ
และการปะทะสังสรรค์ทางสังคม รวมทั้งผลกระทบต่อโบราณสถาน โบราณวัตถุในบางพื้นที่ ตลอดจน
ความวิตกกังวลเกี่ยวกับการดาเนินโครงการฯ ที่ต้องแบ่งแยกพื้นที่ทางกายภาพอย่างถ่องแท้
๑๙๖

ด้านที่ ๓ ผลกระทบด้านความมั่นคง
ผลการวิเคราะห์ศึกษา
ภู มิ รัฐ ศาสตร์ ของที่ ตั้งประเทศไทยมี แ ผ่ น ดิน ติด กั บ ทะเล ๒ ด้ าน คือ ด้ านตะวัน ตก
เป็นทะเลอันดามันและช่องแคบมะละกา ส่วนด้านตะวันออกเป็นอ่าวไทย จะเห็นได้ว่าน่านน้าอ่าวไทย
มีลั ก ษณะเป็ น กึ่ งปิ ด (Semi Enclosed Sea) ที่ ห้ อมล้ อ มด้ ว ยน่ านน้ าที่ เป็ น เขตเศรษฐกิ จ จ าเพาะ
ของประเทศต่างๆ ถึง ๒ ชั้น ด้านอ่าวไทยชั้นใน คือ ราชอาณาจักรกัมพูชา สาธารณรัฐสังคมนิยม
เวียดนามและสหพันธรัฐมาเลเซียและชั้นนอก คือ สาธารณรัฐประชาชนจีน สาธารณะรัฐอินโดนีเซีย
และสาธารณรัฐฟิลิปปินส์ ส่วนทางด้านตะวันตกในส่วนของพื้นที่ตอนเหนือของช่องแคบมะละกาถูก
โอบล้อมด้วยน่านน้าของสหพันธรัฐมาเลเซียและอินโดนีเซีย ส่วนพื้นที่ตอนบนในส่วนของทะเลอันดา
มันถูกโอบล้ อมด้วยน่ านน้าของสาธารณรัฐ อินเดียและสาธารณรัฐสหภาพเมียนมาร์ การวางกาลั ง
ทางเรือของกองทัพเรือ วางกาลังป้องกันประเทศเป็น ๓ ทัพเรือภาค ในฝั่งอ่าวไทยมีทัพเรือภาคที่ ๑
และทั พ เรื อ ภาคที่ ๒ และฝั่ ง อั น ดามั น มี ทั พ เรื อ ภ าคที่ ๓ การเคลื่ อ นย้ า ยก าลั ง ทางเรื อ
เพื่อคอยสั บ เปลี่ ยนกาลั งระหว่างสองฝั่ งทะเลจะต้องเดินทางผ่ านช่องแคบมะละกา ดังนั้น หากมี
โครงการดังกล่าวสิ่งที่กระทบด้านความมั่นคงทางทะเล ส่งผลดีเนื่องจากในทางกายภาพที่สาคัญ คือ
ท าให้ พื้ น ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารทางเรื อ เปลี่ ย นไปทั น ที ที่ เดิ ม เป็ น การยากหรือ แทบเป็ น ไปไม่ ได้ ที่ จ ะพร้ อ ม
ปฏิบัติการทางเรืออย่างเต็มรูปแบบทั้งฝั่งอ่าวไทยและอันดามันในเวลาเดียวกัน (สมาคมคลองไทย
เพื่อการศึกษาและพัฒนา, ๒๕๖๓) เนื่องจากการเคลื่อนย้ายกาลังทางเรือระหว่างสองฝั่งมหาสมุทร
ได้แก่ มหาสมุทรแปซิฟิกและมหาสมุทรอินเดียได้รวดเร็วขึ้นภายใต้อานาจอธิปไตยของประเทศไทย
ไม่ต้องขออนุญาตประเทศในพื้นที่ช่องแคบด้วยวิธีทางการทูตเพื่อป้องกันการเข้าใจผิด และสามารถ
ปกปิ ด ในการเคลื่ อ นย้ า ยก าลั ง ในสภาวะสงครามได้ รวมถึ ง การปฏิ บั ติ ก ารที่ ไม่ ใช่ ก ารรบ เช่ น
การช่วยเหลือประชาชนจากภัยพิบัติในฝั่งอันดามัน เป็นต้น
ผลกระทบการรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศ ประกอบด้วย
(๑) ประเด็ น ความมั่น คงภายในประเทศ ที่ เป็ น ข้ อคั ดค้ านและกังวลเป็ น อัน มาก
โดยมีการคาดการณ์ว่าหากมีโครงการขุดคลองไทยจะทาให้เกิดการแยกประเทศเช่นเดียวกับเหตุการณ์
ที่เกิดขึ้นกับประเทศโคลัมเบียจนเกิดเป็นประเทศปานามา หากเกิดโครงการขุดคลองไทย แม้เป็นการ
แ บ่ งแ ย ก ท างก าย ภ าพ ข อ งจั งห วั ด ใน ภ าค ใต้ เป็ น ส อ งส่ ว น อ าจ จ ะ เป็ น สิ่ งที่ ก ระ ตุ้ น
ให้ การแบ่ งแยกประเทศไทยที่ อาจลุ กลามจากปัญ หาการก่อความไม่ส งบในพื้น ที่จังหวัดชายแดน
ภาคใต้
ในประเด็น การแบ่ งแยกดิน แดนและตั้งตนเป็นรัฐ อิส ระ ภายหลั งยุคสงครามเย็น
หากการตั้ ง เป็ น รั ฐ อิ ส ระโดยการใช้ ค วามรุ น แรงนั้ น กระท าได้ ย าก เนื่ อ งจากขั ด กั บ กฎบั ต ร
ของสหประชาชาติ และมิ ใช่ สิ่ งที่ น านาประเทศจะให้ ก ารยอมรั บ ได้ เพราะการแยกเป็ น รัฐ ใหม่
จะต้องเป็ น ไปตามเงื่อนไขของกฎหมายระหว่างประเทศ และต้องได้ รับความยิน ยอมจากรัฐ เดิ ม
(ภัทรมน สาตรักษ์, ๒๕56) ในกรณี การแยกดินแดนจากรัฐที่เคยเป็นประเทศอาณานิคมตามหลักการ
ก าหนดใจตนเองกั บ การปลดปล่ อ ยอาณานิ ค ม (The Principles Self-determination and
Decolonization) ที่องค์กรสหประชาชาติ ให้ การยอมรับ ต้องมาจากภู มิภ าคที่ขึ้น บัญ ชีไว้ ในกรณี
ปั ญ หาจั งหวัดชายแดนภาคใต้ เป็ นเรื่องการก่ออาชญากรรมภายในประเทศ ไม่ใช่จากการที่ส าม
๑๙๗

จังหวัดชายแดนภาคใต้ เคยเป็นประเทศอาณานิคม รวมทั้งไม่ได้อยู่ภูมิภาคที่สหประชาชาติขึ้นบัญชี


ไว้ตามหลักสิทธิในการกาหนดใจตนเองในฐานะสิทธิ ตามกฎหมายระหว่างประเทศ ปฏิญญาการให้
เอกราชแห่ งดิ น แดนอาณานิ ค ม (Declaration on the Granting of Independent to Colonial
People) (1960, para. 2) ม ติ ที่ 1 5 1 4 (xv) ได้ รั บ ก า ร เห็ น ช อ บ จ า ก ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ
ใน ค.ศ. ๑๙๖๐ ปฏิ ญ ญากล่ าวว่ าปวงชนทุ ก คนมี สิ ท ธิในการก าหนดใจตนเองและโดยสิ ท ธิ นั้ น
พวกเขาควรมี อิ ส ระในการตั ด สิ น ใจเลื อ กสถานะทางการเมื อ งและอิ ส ระในการตั ด สิ น ใจ
ในเรื่องการพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ณัฐกฤษตา เมฆา, ๒๕๕๑) จากข้อมูลข้างต้น
เห็นได้ว่าเป็นไปไม่ได้ที่การก่อความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ จะส่งผลให้เกิดการแยกประเทศ
เป็นสองประเทศโดยวิธีการใช้ความรุนแรงและการร้องขอให้ สหประชาชาติเข้ามาแทรกแซงก่อตั้ง
เป็นรัฐอธิปไตยใหม่เนื่องจากเป็นรัฐภายใต้อาณานิคม
(๒ ) ประเด็ น ปั ญ หาก่ อ การร้ายข้ ามชาติ อาชญากรรมข้ ามชาติ ปั ญ หาแรงงาน
ต่ า งด้ า ว และผู้ ห ลบหนี เ ข้ า เมื อ งผิ ด กฎหมายจะเข้ า มาก่ อ ปั ญ หาในพื้ น ที่ แ นวคลองไทย
และเขตเศรษฐกิจพิเศษ สาเหตุเกิดจากการหลั่งไหลมาจากทั่วสารทิศของผู้คนที่ไม่สามารถตรวจสอบ
อาชญากรที่แฝงตัว เข้ามาได้ จนทาให้ เกิดปัญ หายุ่งยากซับซ้อนขึ้น อาจสร้างปัญ หาอาชญากรรม
ทาให้ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินลดลง และลาดตระเวนเฝ้าตรวจในบริเวณน่านน้าภายใน
ที่ไม่ครอบคลุมเพียงพอ อาจเกิดการปล้นสะดมในเขตพื้นที่น่านน้าภายในของไทยสาหรับเรือประเภท
ต่างๆ ที่คอยบริเวณปากร่องน้า เพื่อเข้าใช้บริการหากเกิดโครงการขุดคลองไทยเช่นเดียวที่เ กิดขึ้นใน
พื้นที่ช่องแคบมะละกา แม้เป็นปัญหาเล็กหากละเลยอาจจะขยายปัญหาให้ใหญ่ขึ้น (World Trade
Organization, 2017) จึงควรเพิ่มประสิทธิภาพในการบังคับใช้ก ฎหมายและมีเครื่องมือสนับสนุน
ที่เชื่อถือได้ในความถูกต้องแม่นยา เที่ยงตรง เพื่อให้ผู้ที่ใช้ประโยชน์ในพื้นที่ มีความเชื่อมั่นในระบบ
การรักษาความสงบเรียบร้อยภายในประเทศดังนั้นในพื้นที่ดังกล่าว และต้องจัดลาดับความสาคัญ
สูงสุด เมื่อมีรายได้เพิ่มมากขึ้นจากการดาเนินการมีจานวนเพียงพอจาเป็นต้องขยายระบบการรักษา
ความสงบเรีย บร้อยภายในประเทศไปยังพื้ นที่ต่าง ๆ ทั่ว ประเทศตามลาดับความส าคัญ ของพื้น ที่
เพื่อสร้างความปลอดภัยในชีวิตให้คนไทยและชาวต่างชาติที่พานักในประเทศไทย
ข้อพิจารณา
๑) จากข้อกังวลหากมีโครงการขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้ นที่เศรษฐกิจพิเศษ
ขวานทองภาคใต้ จะส่ ง ผลดี ส าหรั บ การรั ก ษาความมั่ น คงทางทะเล เนื่ อ งจากช่ ว ยสนั บ สนุ น
และส่ ง เสริ ม ให้ ก าลั ง ทางเรื อ สามารถเคลื่ อ นย้ า ยไปมาระหว่ า งกั น ได้ ส ะดวก หากถู ก ปิ ด ล้ อ ม
และหากเกิดภัยพิบัติฝั่งใดฝั่งหนึ่ง กาลังทางเรืออีกฝั่งสามารถเข้าช่วยเหลือทัพเรืออีกฝั่งได้รวดเร็ว
ยิ่งขึ้น การสร้างความปลอดภัยทางทะเลที่จะสร้างจุดดึงดูดให้นานาชาติพิจารณาเข้ามาใช้ ประโยชน์
เนื่องจากมีความปลอดภัยและเป็นหลักประกันว่าการที่เรือทุกประเภทเข้ามาใช้ประโยชน์ ทั้งเส้นทาง
การเดิ น เรื อ ท่ า เรื อ มี ค วามปลอดภั ย จ าเป็ น ต้ อ งพั ฒ นาก าลั ง ทางบก ทางเรื อ และทางอากาศ
ให้เข้มแข็งกว่าเดิม สามารถคุ้มครองให้เกิดความปลอดภัยให้กับเรือทุกประเภทที่เข้า มาใช้เส้นทาง
เดินเรือที่เกี่ยวข้องกับโครงการคลองไทยที่มีภารกิจเพิ่มมากขึ้น ในกรณีเกิดความไม่ปลอดภัยในชีวิต
และทรัพ ย์ สิ น กับ เจ้ าหน้ าที่ ป ระจ าเรือ ผู้ โดยสารเรือทุ กประเภทที่เข้ามาใช้ประโยชน์ ในโครงการ
คลองไทย จ าเป็ น ต้ องจั ดตั้งองค์ กรที่จ ะท าหน้าที่ ช ดใช้ค่ าเสี ยหายที่ เกิด ขึ้นกั บ ชีวิตและทรัพ ย์สิ น
๑๙๘

แก่ผู้ที่มาใช้ประโยชน์ในพื้นที่ดังกล่าว ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด และครอบคลุมการรักษา


ความมั่น คงปลอดภัยครบวงจร ควรพิจารณาศึกษาผลกระทบและแนวทางการรักษาความมั่นคง
ภายใน การรั ก ษาผลประโยชน์ ข องชาติ ท างทะเล ความมั่ น คงทางภาคพื้ น ดิ น ที่ เปลี่ ย นแปลง
ความมั่นคงทางทะเลในพื้นที่รับผิดชอบและเส้นทางการคมนาคมทางทะเลที่เกี่ยวเนื่องกับโครงการ
คลองไทย ความมั่ น คงในห้ ว งอากาศ อวกาศ รวมทั้ ง การจั ด โครงสร้ า งก าลั ง ทางบก ทางเรื อ
และทางอากาศ อาวุธยุทโธปกรณ์ที่เหมาะสมในกรณีเกิดโครงการศึกษาการยุทธร่วมและผสมในกอง
กาลังที่รักษาความมั่นคงในแนวโครงการขุดคลองไทยและการวิเคราะห์ข่าวทางยุทธศาสตร์ เพื่อให้ได้
ข่าวสารในด้ านความมั่ น คงส าหรั บ เตรีย มกาลั งและอาวุ ธ ยุท โธปกรณ์ ในการป้ อ งกัน และตอบโต้
การรุกรานทางทหารที่อาจเกิดขึ้น รวมถึงการป้องปรามไม่ให้มีการสร้างความเสียหายแก่โ ครงการ
ขุด คลอง ตลอดจนการรัก ษาความปลอดภั ย ในชีวิต และทรัพ ย์สิ น ส าหรับ เรือ ทุ ก ประเภทที่ ม าใช้
ประโยชน์ในโครงการคลองไทยตามภารกิจที่ได้รับมอบหมายจากการขยายเส้นทางและระยะทางเพิ่ม
มากขึ้น
๒) จากข้ อกั งวลการหลั่ งไหลเข้ามาของผู้ ค นจากทั่ วโลก เช่น ปั ญ หาก่อ การร้าย
และอาชญากรรมข้ามชาติ รวมทั้งปัญหาแรงงานต่างด้าวและผู้หลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมายเข้ามา
ก่ออาชญากรรมประทุษร้ายต่อชีวิต ร่างกายและทรัพย์สิน เป็นต้น การรักษาความสงบเรียบร้อย
ภายในพื้นที่ จาเป็นต้องมีกาลังพลด้านการบังคับใช้กฎหมายที่มีทักษะพิเศษนอกเหนือจากกาลังพล
ที่ปฏิบัติงานด้านบังคับใช้กฎหมายปกติ และมีเครื่องมือพิเศษที่สนับสนุนการป้องกันและปราบปราม
อาชญากรรมไว้ ป ฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ เพื่ อ ให้ ผู้ เข้ า มาใช้ ป ระโยชน์ ในเขตอธิ ป ไตย
บนแผ่ น ดิน ในพื้ น ที่โครงการขุดคลองไทยได้มีความปลอดภั ยในชีวิตและทรัพย์สิ นขั้นสู งสุ ด จูงใจ
ให้ ผู้ ค นจากทั่ ว โลกสนใจเข้ า มาพ านั ก ในเขตโครงการคลองไทยเนื่ อ งจากมี ค วามปลอดภั ย สู ง
และจ าเป็ น ต้ อ งขยายไปยั งพื้ น ที่ อื่ น ๆ ทั้ งนี้ เพื่ อ ให้ ก ารรั ก ษาความสงบเรี ย บร้ อ ยภายในเกิ ด ขึ้ น
ทั่ว ประเทศ โดยจั ดล าดับ ความส าคัญ ของพื้ น ที่ เป็ น ส าคั ญ เพื่ อให้ เกิด ความเชื่ อมั่ นกั บ ประชาชน
ทัง้ ภายในประเทศและต่างประเทศ
นอกจากนี้ ควรพิ จ ารณาศึ ก ษาผลกระทบและแนวทางในการรั ก ษากฎหมาย
และการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่โครงการขุดคลองไทยและการจัดโครงสร้างกาลังที่บังคับใช้กฎหมาย
รักษาผลประโยชน์ของชาติและผลประโยชน์ของชาติทางทะเล ตามกรอบวงเงินที่ได้รับจัดสรรจาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ด้านที่ ๔ ผลกระทบด้านการเมือง
๑) ผลกระทบด้านการเมืองภายในประเทศ
ข้อกังวล จากผลสงครามการค้าระหว่างสหรัฐอเมริกากับจีน ซึ่งอุตสาหกรรมจากจีนได้
พยายามขยายฐานการผลิตออกต่างประเทศและอุตสาหกรรมของสหรัฐอเมริกาและยุโรปเกิดการย้าย
ฐานการผลิ ตกลับ ไปเข้าประเทศ หากการผลิ ตประเภทใดไม่คุ้มทุน มีแนวโน้มว่ามีการดาเนินการ
เช่นเดียวกับจีนจะมองหาแหล่งผลิตสินค้านอกประเทศที่คุ้มทุน ผลการศึกษาพบว่า หากมีโครงการขุด
คลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ จะส่งผลดีเนื่องจากเป็นการสร้างโอกาสและ
ส่งเสริมให้ทั้งสหรัฐอเมริกา ยุโรป ตลอดจนจีน ย้ายฐานการผลิตมาลงทุนในประเทศไทยและประเทศ
๑๙๙

ใน ก ลุ่ ม อ าเซี ย น เพื่ อ ล ด ต้ น ทุ น ใน ก ารขน ส่ ง รว ม ทั้ งล ด ต้ น ทุ น ก ารผ ลิ ต เข้ า ม าล งทุ น


ในพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ หรือที่อื่น ๆ ในประเทศเพิ่มขึ้น
ข้ อ กั ง วลของฝ่ า ยปกครองในเรื่ อ งการบริ ห ารจั ด การทั้ ง การปกครองส่ ว นภู มิ ภ าค
และการปกครองส่วนท้องถิ่น จะมีความซับซ้อนมากขึ้น ส่งผลให้ การบริการภาครัฐในด้านต่าง ๆ
ไม่เอื้ออานวยในการส่งเสริมการลงทุนภายในเขตพื้นที่จากการบริหารรูปแบบเดิมแนวทางแก้ปัญหา
โดยพิจารณาให้พื้น ที่ที่ดาเนิ น การใช้รูปแบบการปกครองท้องถิ่นแบบพิเศษเพื่อเพิ่มประสิทธิภ าพ
ในการบริ ห ารจั ด การ ซึ่ ง ต่ า งจากการปกครองท้ อ งถิ่ น ทั่ ว ไป (ผู้ แ ทนสมาคมสั น นิ บ าตเทศบาล
แห่งประเทศไทย,๒๕๖๓)
๒) ผลกระทบด้านการเมืองระหว่างประเทศ
จากข้ อ กังวลผลกระทบด้ านการเมื อ งระหว่างประเทศ กับ ประเทศมหาอ านาจโลก
กลุ่มประเทศในระดับภูมิภาคและกลุ่มประเทศอาเซียนมีผลการศึกษาและวิเคราะห์ตามรายละเอียด ดังนี้
๒.๑) ประเทศมหาอานาจ
ผลการศึกษาผลกระทบต่อมหาอานาจระดับโลก หากมีโครงการขุดคลองไทยต่อจีน
อิน เดีย อเมริ กา พบว่า โครงการขุดคลองไทยจะเป็น เส้ น ทางการค้าที่ ส าคั ญ เส้ น ทางหนึ่ งของจีน
นอกเหนื อ จากช่อ งแคบมะละกาและยั งเกิด ประโยชน์ กั บ ญี่ ปุ่ น เกาหลี ใต้ และอิน เดี ย เนื่ อ งจาก
คลองไทยอยู่ในอธิปไตยของไทย นโยบายต่างประเทศเพื่อการใช้คลองไทยจะต้องเปลี่ยนไป ทาให้เกิด
การเปลี่ ยนแปลงการเติ บโตทางเศรษฐกิ จของมาเลเซี ยและสาธารณรัฐสิ งคโปร์ เนื่ องจากช่ องแคบมะละกา
มี บ ทบาทหลั ก ในการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ของทั้ ง สองประเทศ นอกจากนี้ การเติ บ โต
ทางเศรษฐกิจอย่างรวดเร็วของจีน ในช่วงสิบปี ทาให้ อเมริกาเกิดความกังวล หากจีนมีเส้นทางอีก
ช่องทางที่จะส่งสินค้าโดยตรง และรวดเร็วไปทั่วโลกจะสนับสนุนการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของจีน
อย่างมาก
สาหรับอเมริกา เป็นประเทศที่ถือประโยชน์ร่วมทางเศรษฐกิจ การเมือง และการทหาร
ทั่วโลก ทาให้อเมริกามีเสรีภาพในการเดินเรือผ่านท่าเรือสาคัญ ๆ ในช่วงนั้น ไม่มีชาติใดมีกองกาลัง
เพียงพอที่จะปกป้องการขนส่งสินค้าในเส้นทางระยะไกลหรือทะเลในภูมิภาคยังประโยชน์ ต่อประเทศ
กลุ่ ม อาเซีย น ตลอดจนญี่ ปุ่ น และเกาหลี ใต้ ที่ ได้ รับ การปกป้ องจากอเมริก า นอกจากนี้ อเมริก า
ได้เจรจาผูกพัน สนธิสัญญาที่จะให้ ความปลอดภัยในการขนส่งสินค้ากับญี่ปุ่นและเกาหลีเหนือด้วย
เช่นกัน เพื่อให้การขนส่งพลังงาน วัตถุดิบมีความปลอดภัย ความสัมพันธ์ระหว่างอเมริกากับประเทศ
ในกลุ่มอาเซียน รวมถึงจีนเป็นการเชื่อมโยงอย่างแข็งแกร่ง ในขณะเดียวกัน อเมริกายังเป็นประเทศ
ที่ ใช้ พ ลั ง งานจากน้ ามั น มากที่ สุ ด ในโลก จึ ง เร่ ง จั ด การเคลื่ อ นย้ า ยก าลั ง ทางทหารเพื่ อ ปรั บ ปรุ ง
ความสามารถในแถบเอเชีย แปซิฟิก
ส่ ว นอิ น เดี ย ในช่ ว งหลายปี ที่ ผ่ านมา อิ น เดีย มี ค วามร่ ว มมื อ อย่างเข้ ม แข็ งทางทหาร
กั บ ไทย และอิ น โดนี เซี ย โดยเฉพาะกองทั พ เรื อ เพื่ อ ความมั่ น คงทางทะเลของมหาสมุ ท รอิ น เดี ย
และแปซิฟิก ป้ องกันการเลี่ย งภาษีศุลกากร การปล้ นสะดมในน่านน้า การค้าอาวุธและสิ่ งเสพติด
การลักลอบทาประมงผิดกฎหมาย และการอพยพอย่างผิดกฎหมาย หากมีโครงการคลองไทย เรือที่มา
ใช้บ ริ ก ารจะต้ องผ่ านช่ อ งแคบระหว่ างทะเลอัน ดามั น ของอิ น เดี ยและหมู่ เกาะนิ โคบาร์ จะท าให้
โครงการดั งกล่ าวสอดคล้ องกับ แผนการขุ ดคลองเดิน เรือ ภายใต้ ชื่อ โครงการ Sethusamudram
๒๐๐

ของอิ น เดี ย และยั งให้ ค วามสนใจต่ อ จี น ในการพั ฒ นาคลองไทย ด้ ว ยเหตุ ที่ ว่ า คลองไทยจะช่ ว ย
สนั บ สนุ น ความเข้มแข็งของยุ ท ธศาสตร์ String of Pearls ประกอบด้วย ท่ าเรือต่าง ๆ ที่อานวย
ความสะดวกทั้งการทหาร และการค้าจากมหาสมุทรอินเดีย ทะเลจีนใต้ จนถึงมหาสมุทรแปซิฟิก
ในอนาคต (อิวิกา คินเดอร์ , ๒๕๕๐)
๒.๒) กลุ่มประเทศในระดับภูมิภาค
ผลการวิเคราะห์ที่คาดการณ์ว่าจะเกิดผลกระทบต่อประเทศต่าง ๆ ในระดับภูมิภาค
พบว่ า ในปั จ จุ บั น อาเซี ย น – อ่ า วเบงกอล - เอเชี ย ใต้ ก ลายเป็ น พื้ น ที่ ที่ มี ป ระชากรร้ อ ยละ ๒๕
ของประชากรโลก ความสัมพันธ์ของประเทศในอ่าวเบงกอล อยู่ในสถานะที่ดี ไม่มีกรณีพิพาทดังเช่น
ในทะเลจีนใต้ ที่ประเทศส่วนหนึ่งในอาเซียนเป็นประเทศคู่ขัดแย้งและประเทศไทยไม่ได้ เป็นประเทศ
คู่ขัดแย้งดังกล่าว รวมทั้ง จากข้อมูลการใช้แบบจาลองทางเศรษฐศาสตร์ควบคู่กับการสัมภาษณ์เชิงลึก
กับนักเศรษฐศาสตร์ทั่วโลกพบว่าในปี พ.ศ. 2593 ประเทศที่จะเป็นอันดับ ๑ ในด้านเศรษฐกิจ คือ
จีน รองลงมาคือ อเมริกา อันดับ ๓ อินเดีย อันดับ ๔ อินโดนีเซีย และอันดับ ๕ ญี่ปุ่น
แนวโน้ ม การพั ฒ นาของโลกในอนาคตจึ งอาจกลั บ ไปดั งเช่ น อดี ต ก่ อ นยุ ค การล่ า
อาณานิ ค ม บทบาทการเมื อ งระหว่ างประเทศของไทยควรพิ จ ารณาเข้ าไปเชื่ อ มโยงกั บ แนวทาง
การพัฒนาดังกล่าวในหลาย ๆ เส้นทาง กล่าวได้ว่าแนวโน้มการพัฒนาของกรอบความริเริ่มแห่งอ่าว
เบงกอลส าหรั บ ความหลากหลายสาขาทางวิ ช าการและเศรษฐกิ จ (BIMSTEC : Bay of Bengal
Initiative Multi – Sectoral Technical and Economic Cooperation) มี ๒ ป ระเทศ จากอาเซี ยน
เข้ามาเกี่ยวข้อง คือ ไทยและเมียนมาร์ ซึ่งเมื่อมีการสร้างความเชื่อมโยงด้านการคมนาคมขนส่งและ
ระบบโลจิสติกส์ที่มีประสิทธิภาพจากทางบก ส่งผลให้ประเทศอื่น ๆ ในอาเซียนสามารถใช้เส้นทาง
ดังกล่าวเป็นประตูสู่เอเชียใต้ได้
การวางยุทธศาสตร์ให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางของอาเซียน เพื่อเชื่อมโยงสู่ภูมิภาคต่าง ๆ นั้น
ประเทศไทยไม่ ค วรจะเป็ น เพี ย งเมื อ งผ่ า น ควรพิ จ ารณ าสร้ า งสภาวะให้ อ ยู่ ใ นทุ ก ขั้ น ตอน
ของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) ตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การบริหารและสารสนเทศ ให้ถึงมือผู้รับ
ได้ อย่ างดีที่ สุ ด โดยไทยต้องเป็ น ประเทศต้นทาง กลางทาง และปลายทางของการกระจายสิ นค้ า
และการลงทุน หากเปรีย บประเทศไทยเป็นองค์กรที่มีการบริห ารจัดการห่ วงโซ่อุปทาน (Supply
Chain Management) อย่ างมีป ระสิทธิภ าพ ไทยจะได้รับผลประโยชน์จากทุกขั้นตอนของห่ วงโซ่
อุปทาน รวมทั้ง ทาให้ไทยมีศักยภาพและมีอานาจในการต่อรองมากขึ้นในเวที เศรษฐกิจ (ศูนย์ศึกษา
ยุ ท ธศาสตร์ สถาบั น วิ ช าการป้ อ งกั น ประเทศ, ๒๕๕๖) จะท าให้ มี ก ารเชื่ อ มต่ อ ในด้ านการเมื อ ง
เศรษฐกิ จ ระหว่างประเทศทางทะเลอี ก ช่ องหนึ่ งให้ เชื่ อ มโยงกั บ กลุ่ ม ประเทศอาเซี ย นผ่ านกรอบ
เขตการค้าเสรีอ าเซี ย น (AFTA : ASEAN Free Trade Area) และเป็ นกลไกที่ ส่ งเสริม ด้านการค้ า
การลงทุ น การท่ อ งเที่ ย ว ระหว่ า งประเทศในอ่ า วเบงกอลในกรอบความร่ ว มมื อ BIMSTEC
และเชื่อมโยงถึงกลุ่มประเทศในเอเชียใต้ผ่านทางสมาคมความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียใต้ (SAARC :
The South Asian Association for Regional Cooperation) เป็ น เวที เ ชื่ อ มประสานนโยบาย
Look West ของประเทศไทยและนโยบาย Act East ของภูมิภ าคเอเชียใต้ ตามวัตถุประสงค์ห ลั ก
คือ เสริมสร้างความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมในภูมิภาคที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเท่าเทียมกัน
และส่งเสริมผลประโยชน์ ร่วมกันทางด้านเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยีและความช่วยเหลือระหว่าง
๒๐๑

ประเทศสมาชิก ในรูปแบบของการอบรม การค้นคว้าวิจัย การกระชับความร่วมมือระหว่างประเทศ


เพื่ อใช้ ป ระโยชน์ จ ากภาคกสิ ก รรม จะก่อ ให้ เกิ ด การขยายตั ว ทางการค้ าและการลงทุ น ระหว่ าง
ประเทศไทยหรือ AFTA กับประเทศใน BIMSTEC ซึ่งประเทศในกลุ่มนี้ใช้การขนส่งสินค้าในเส้นทาง
ช่องแคบมะละกาเป็ น หลัก รวมถึงจะทาให้ ร่นระยะเวลาไปได้ป ระมาณ ๒ - ๓ วัน ส่งเสริมการค้า
การลงทุนเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการค้าจากการช่วยลดต้นทุนในการขนส่งสินค้าไปได้มากหลัก
๒.๓) กลุ่มประเทศอาเซียน
ผลการศึกษาที่จะเกิดผลกระทบต่อประเทศต่าง ๆ ในระดับอนุภูมิภาค คือ เอเชีย
ตะวัน ออกเฉีย งใต้ จะทาให้ การจราจรทางน้าเพิ่มมากขึ้น ส่ งเสริมธุรกิจและการค้าในอนุ ภูมิภ าค
ผลประโยชน์อีกประการหนึ่งของคลองไทยและเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ คือ การกระจาย
ผลประโยชน์ ทางการค้าสู่ ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น เมียนมาร์ กัมพูชา เวียดนาม กิจการค้าระหว่าง
ประเทศทางด้านการขนส่ งทางทะเลและธุรกิ จบริการอื่น ๆ จะช่ว ยส่ งเสริมการพั ฒ นาแนวพื้ น ที่
เศ รษ ฐ กิ จ ต อ น ใต้ (SEC : Southern Economic Corridor) ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ป ร ะ เท ศ ไท ย
ราชอาณาจั กรกัม พู ช าและสาธารณรัฐ สั งคมนิ ย มเวีย ดนาม SEC ท าให้ พื้ น ที่ ช ายฝั่ งทะเลของทั้ ง
๓ ประเทศมี ค วามเจริ ญ ทางด้ านการพาณิ ช ย์ อุ ต สาหกรรม และการท่ อ งเที่ ย วตามแนวชายฝั่ ง
ด้านตะวันออกของไทยในส่วนเมียนมาร์จะให้ความสาคัญการขนส่งทางน้าเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าจากที่
ขนส่ งทางช่องแคบมะละกาและสนับ สนุ นการพัฒ นาท่าเรือน้าลึ กที่เมืองทวาย ด้านอุตสาหกรรม
อสังหาริมทรัพย์ทางตอนใต้ของเมียนมาร์ สาหรับเวียดนามจะเกิดการกระตุ้นในการพัฒนาท่าเรือทาง
ตอนใต้ ของประเทศเนื่ อ งจากสภาพทางภู มิ ศ าสตร์เศรษฐกิ จ ของเวีย ดนาม สิ น ค้ าของเวีย ดนาม
ร้อยละ ๙๐ อาศัยการขนส่งทางทะเลที่สาคัญแม้ลาวจะไม่มีทางออกทะเลความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ของลาวต้องพึ่งพาประเทศไทยในการส่งสินค้าไปยังภูมิภาคอื่น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่เกิดขึ้น
ในไทย เป็นผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจของลาวเช่นกัน (รีนี ซูยาติ ซูลอง, ๒๕๕๕)
ในความเสี่ยงจากความขัดแย้งกับสมาชิกในอาเซียน ประเทศที่เกี่ยวข้องในช่องแคบ
มะละกา ประกอบด้วย ประเทศไทย สหพันธรัฐมาเลเซีย สาธารณรัฐสิงคโปร์ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
มีประเทศที่คัดค้านหากมีโครงการขุดคลองไทย คือ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ด้วยเหตุผลที่จะทาให้เกิดการ
สูญเสียทางเศรษฐกิจ ด้วยเหตุที่สาธารณรัฐสิงคโปร์ตั้งอยู่ในทาเลที่เป็นยุทธศาสตร์เชื่อมต่อทางทะเล
ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีท่าเรือที่ใช้ขนถ่ายสินค้าที่ใหญ่ที่สุดของโลกและมีท่าเรือสาหรับตู้คอน
เทนเนอร์ใหญ่เป็นอันดับสอง รองจากฮ่องกง ดังนั้น สาธารณรัฐสิงคโปร์น่าจะเป็นหุ้นส่วนใหญ่หากมี
โครงการขุดคลองไทย เมื่อมาพิจารณาว่าในประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ มีบริษัทลงทุนข้ามชาติจาก
สหัรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่นและยุโรป กว่า ๗,๐๐๐ บริษัท จึงไม่ควรประเมินบริษัทข้ามชาติเหล่านี้ต่า
ไปในแง่ของการคั ดค้านหรือสนั บ สนุนการสขุดคลองไทยในส่วนอินโดนีเซียและมาเลเซียจะแสดง
ความสนใจที่จะลงทุนในโครงการขุดคลองไทยมากกว่า (อิวิกา คินเดอร์ , ๒๕๕๐)
ข้อพิจารณา
๑) จากข้อกังวลผลกระทบต่างๆในด้านการเมืองภายในประเทศที่ เกิดขึ้นตั้งแต่อดีต
จนถึงปัจจุบันเกิดจากปัญหาทางเศรษฐกิจทาให้เกิดปัญหาการเมืองตามมา หากมีโครงการขุดคลองไทย
และการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ จ ะเป็ น การกระตุ้ น เศรษฐกิ จ ช่ ว ยให้ เกิ ด อาชีพ ใหม่
และการจ้ างงาน รวมทั้ งสร้ างรายได้ ให้ กั บคนในพื้ นที่ และรายได้ กระจายทั่ วประเทศ ลดความเหลื่ อมล้ า
๒๐๒

ส่งผลให้การเมืองภายในประเทศเข้มแข็งขึ้น และในพื้นที่มีการค้าการลงทุนจากทั้งในและต่างประเทศ
เข้ามาเป็นจานวนมากและการหลั่งไหลเข้ามาของประชาชนเปลี่ยนจากชุมชนเกษตรเป็นชุมชนเมือง
ขนาดใหญ่ และหลากหลายอุต สาหกรรมส่ งผลให้ การปกครองส่ ว นภูมิ ภ าคและการปกครองส่ ว น
ท้ อ งถิ่ น มี ก ารบริ ห ารจั ดการที่ ค วามซั บ ซ้ อนขึ้น เป็ น อั น มากต่ างจากเดิ ม ควรศึ ก ษาการใช้ รูป แบบ
การปกครองทั้งส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการในแบบพิเศษ
ซึง่ ต่างจากการปกครองรูปแบบเดิม
๒) ด้ า นการเมื อ งระหว่ า งประเทศ จะส่ ง ผลเชิ ง บวกต่ อ ประเทศไทยเนื่ อ งจาก
เป็นช่องทางน้าช่องทางพิเศษของนานาชาติ จะมีการเข้ามาใช้ประโยชน์มากยิ่งขึ้น อาจจะทาให้ชาติ
ที่ ไ ด้ รั บ ผลกระทบเชิ ง บวกและลบจากโครงการคลองไทย เกิ ด การสนั บ สนุ น จากที่ ป ระเทศ
ที่ได้ประโยชน์และต่อต้านจากที่ประเทศที่เสียประโยชน์ มีความเสี่ยงที่อาจส่งเกิดปัญหาที่คาดไม่ถึงได้
ในอนาคตควรพิ จ ารณาศึ ก ษาถึ ง การขยายอ านาจของประเทศมหาอ านาจ เช่ น สหรัฐ อเมริ ก า
สาธารณรัฐประชาชนจีน รวมถึงประเทศเพื่อนบ้านที่ได้รับผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ ตลอดจน
ความขัดแย้งระหว่างประเทศอื่น ๆ ที่อาจมีผลกระทบถึงการเมืองระหว่างประเทศกับประเทศไทย
ด้านที่ ๕ กฎหมายที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ผลการวิเคราะห์ศึกษา
คณะอนุ ก รรมาธิ ก ารได้ พิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่ า โครงการคลองไทยเป็ น โครงการ
ทั้งด้านผลกระทบสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรทางทะเล แหล่งท่องเที่ยว สภาพสังคม ความมั่นคงเกี่ยวกับ
อ านาจอธิ ป ไตยด้ า นดิ น แดน อาณาเขตทางทะเลและการเมื อ ง นอกจากนี้ ยั ง มี ผ ลต่ อ บทบาท
ทางการเมืองระหว่างประเทศ ซึ่งท่าทีระหว่างประเทศของไทยย่อมส่งผลต่อความยอมรับของประเทศ
ในระดั บ สากลอย่ า งมี นั ย ส าคั ญ ประกอบกั บ ปั จ จุ บั น สภาพสั งคมและเศรษฐกิ จ เปลี่ ย นแปลงไป
อย่ า งรวดเร็ ว สอดคล้ อ งกั บ นางสาวดลหทั ย จิ ร วิ ว รรธน์ ได้ ให้ ข้ อ มู ล และข้ อ คิ ด เห็ น ต่ อ คณะอนุ
กรรมาธิ ก ารสรุ ป สาระส าคั ญ ว่ า “หากภาครั ฐ พิ จ ารณาแล้ ว เห็ น ว่า ควรด าเนิ น การขุ ด คลองไทย
ต้องดาเนิ น แผนงานที่รัดกุมทั้งในด้านการลงทุน การก่อสร้าง แผนการบริหารจัดการ บารุงรักษา
ภายหลั ง การก่ อ สร้ า งแล้ ว เสร็ จ จึ ง จ าเป็ น ต้ อ งมี ก ารตรากฎหมายที่ ร องรั บ การก ากั บ ควบคุ ม
การบริห ารงานคลองไทยอย่ างรั ดกุม รอบคอบและจากการศึกษากฎหมายประกอบรัฐธรรมนู ญ
ของสาธารณรัฐปานามาและบริบทของสังคมไทย เห็นควรเสนอให้มีการจัดทาร่างพระราชบัญญัติ
ว่าด้ ว ยองค์ กรผู้ มี อ านาจบริ ห ารจั ด การคลองไทย พ.ศ. ....ขึ้ น เพื่ อเป็ น แนวทางในการก ากั บ ดู แ ล
โครงการคลองไทยได้อย่างเป็นเอกเทศไม่ผูกพันต่อกฎหมายว่าการคลังแผ่นดิน”
ข้อพิจารณา
หากรั ฐ บาลพิ จ ารณ าอย่ า งละเอี ย ด รอบคอบ แล้ ว เห็ น ว่ า การขุ ด คลองไทย
และการพัฒ นาพื้น ที่ระเบี ย งเศรษฐกิจภาคใต้เกิด ผลดีมากกว่าผลเสี ยและสามารถสร้างประโยชน์
ให้แก่ประเทศชาติ และประชาชนได้อย่างสูงสุด เห็นควรเสนอให้มีการตรากฎหมายเพื่อให้มีการจัดตั้ง
องค์กรควบคุมบริหารจัดการโครงการคลองไทยอย่างรัดกุ มทั้งในด้านการลงทุน การก่อสร้างแผนการ
บริห ารจั ดการ บ ารุ งรักษาภายหลั งการก่อสร้างแล้ วเสร็จ ตลอดจนการชดเชยเยียวยาประชาชน
ในพื้นที่อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมต่อไป
บทที่ ๕
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ

5.1 สรุปผลการศึกษา
การที่จ ะพิจ ารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่ให้ เป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษ
หลักการพิจารณา คือ การคานึงถึง “ผลประโยชน์ของชาติ” (National Interest) เป็นเป้าหมายสูงสุด
การศึ ก ษาข้ อ มู ล เ บื้ อ งต้ น ( Pre - Feasibility Study) ทั้ ง ด้ า นธรณี วิ ท ยา ด้ า นวิ ศ วกร ร ม
ด้านสิ่ งแวดล้ อม ด้านความมั่น คง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมายฯ และทาการศึกษาเปรียบเทียบ
ความเหมาะสมในทุ ก ด้ า นทุ ก มิ ติ จะสามารถลดความเสี่ ย งและลดผลกระทบที่ อ าจเกิ ด ขึ้ น ได้
อย่ า งไรก็ ต ามที่ ส าคั ญ ที่ สุ ด คื อ “มติ ม หาชน” ที่ จ ะต้ อ งสร้ า งการรั บรู้ อ ย่า งรอบด้ า น สร้ า งการมี
ส่วนร่วมในการตัดสินใจและประชาพิจารณ์ ซึ่งสามารถสรุปได้ ดังนี้
๕.๑.๑ สรุปผลการศึกษาการขุดคลองไทย
๑) เห็ น ด้ ว ยกั บ การขุ ด คลองไทยทางภาคใต้ ข องประเทศไทย อั น เป็ น การเชื่อม
ระหว่างทะเลอันดามันมหาสมุทรอิน เดียและอ่าวไทยในมหาสมุทรแปซิฟิก และแนวคลองที่เหมาะสม
ที่ สุ ด คื อ แนวทางเส้ น ๙A ผ่ า น ๕ จั ง หวั ด ได้ แ ก่ จั ง หวั ด กระบี่ จั ง หวั ด ตรั ง จั ง หวั ด พั ท ลุ ง
จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา
๒) พิจารณาเห็นว่า การขุดคลองไทยอย่างเดียว ไม่สามารถจูงใจให้เกิดการลงทุน
ขนาดใหญ่ ไ ด้ จ าเป็ น จะต้ อ งพั ฒ นาพื้ นที่ ประกาศเป็ นเขตเศรษฐกิ จพิ เศษใน ๕ จั ง หวั ด ได้ แก่
จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา ซึ่งครอบคลุมไปถึง
การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง การทหาร โดยยกระดับให้เป็นมาตรฐานโลก
เพราะเป็น พื้น ที่ภูมิศาสตร์ ที่เหมาะสมแก่การพัฒ นาอย่างมีศักยภาพมากกว่าการเป็นคลองที่เ ป็น
เส้นทางการเดินเรือเพียงอย่างเดียว การเป็นศูนย์กลางพัฒนาของโลกในทุก ๆ ด้าน จะสร้างประโยชน์
แก่ประเทศไทยได้มากกว่าหลายเท่า
๓) สาหรับรูปแบบลักษณะของคลองที่จะขุด จากการพิจารณาศึกษาจากเอกสาร
และผู้มานาเสนอทัง้ ภาคเอกชนและภาครัฐ มีการเสนอหลากหลายรูปแบบ เช่น
๓.๑) การขุ ด คลองเดี ย วกว้ า งและลึ ก เพื่ อ ให้ เ รื อ ทุ ก ขนาดสวนทางกั น ได้
และเกิดความปลอดภัย
๓.๒) การขุดคลองเดียวกว้างและลึก ที่มีเกาะกลางบางช่วง เพื่อเป็นแหล่งพัฒนา
ทางด้านเศรษฐกิจ
๓.๓) การขุดเป็นคลองหลักขนานกัน จานวน ๒ คลอง ที่ระดับความลึกต่า งกัน
โดยแบ่ ง ตามระดั บ ความลึ ก ของเรื อ ระหว่ า งเที่ ย วไปกั บ เที่ ย วกลั บ ที่ บ รรทุ ก สิ น ค้ า ไม่ เ หมื อ นกั น
(โดยเฉพาะน้ามัน) ข้อดี คือ ดินที่ขุดปริมาณน้อ ยกว่าและลงทุนน้อยกว่าแนวทางแรก แต่อาจจะ
กระทบกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มและวิ ถี ชี วิ ตของประชาชนในถิ่ นที่ อ ยู่ แ นวคลองมากกว่ า ในโอกาสต่ อ ไป
อาจพัฒนาให้คลองกว้างขึ้นโดยเชื่อมสองคลอง
๓.๔) การขุดคลองหลัก จานวน ๒ คลอง เส้นยาวจากฝั่งทะเลอันดามันไปทะลุ
ทะเลอ่าวไทย ห่างกัน ๑๐ กิโลเมตร ขุดตามแนว ๙A มีเส้นทางเชื่อมระหว่าง ๒ คลอง จานวน ๒ จุด
๒๐๔

แนวคลองที่ขุดจะมีการสร้างอ่าวเทียม ทั้ง ๒ ข้างคลอง เพื่อเป็นท่าเทียบเรือพาณิชย์และเรือสาราญ


ที่จ ะมาจากทั่ว โลก การที่มีคลอง ๒ เส้ นเพื่อให้ ก ารเดิน เรื อสะดวกรวดเร็ว ขึ้น เพื่ อเพิ่ มศั ก ยภาพ
ทางเศรษฐกิจและป้องกันปัญหาการเกิดอุบัติเหตุ ที่อาจเกิดขึ้นในคลอง จึงมีจุดเชื่อมระหว่าง ๒ คลอง
จ านวน ๒ จุ ด เมื่ อ มี อุ บั ติ เ หตุ จ ะได้ แ ก้ ปั ญ หาได้ รวดเร็ ว เป็ น คลองขนาดเล็ ก เพื่ อ การขนส่ ง
และการท่องเที่ยวเป็นคลองคู่ขนานอยู่ด้านนอก
๓.๕) สาหรับดินที่ได้จากการขุดคลองนาไปทาเกาะเทียมเพิ่มมูลค่าด้านต่าง ๆ
เช่น ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ด้านการทหาร ความมั่นคง เป็นต้น และสามารถนาดินไปถม
พื้นที่น้ากัดเซาะชายฝั่งอ่าวไทยและฝั่งอันดามัน
๕.๑.๒ สรุปผลการศึกษาการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (The Golden Ax Special Economic Zone :
GASEZ) จะเป็นเขตเศรษฐกิจพิเศษระดับโลกในพื้นที่ ๕ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง
จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดสงขลา โดยจะมีการบริหารจัดการด้วยกฎหมาย
พิเศษที่ตราขึ้นมาโดยเฉพาะการเวนคืนที่ดิน ๘,๑๐๐ ตารางกิโลเมตร เพื่อนามาจัดระเบี ยบบริหาร
จัดการเพื่อเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่าที่สุดโดยประชาชนที่ได้รับผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน
สวัสดิการและคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุด โดยประชาชนที่ได้รับผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน สวัสดิการ
และคุ ณ ภาพชี วิ ต ที่ ดี สุ ด จากผลประโยชน์ ที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น จาก GASEZ และประการส าคั ญ ที่ นี่
จะกลายเป็ น ศู น ย์ ก ลางการค้ า และเศรษฐกิ จ ใหม่ ข องโลก โดยมี ก ารขุ ด คลองตามแนวคลอง
ตั ว อย่ า งเช่ น แนว ๙A เพื่ อ ให้ เ รื อ สิ น ค้ า จากทั่ วโลกได้ ผ่ านประเทศไทย ในพื้ นที่ ของ GASEZ นี้
คลองที่จะขุด มีสองคลอง คือ คลอง K๙ และ K๑๐ โดยแต่ละคลองจะมีความยาว ๑๓๕ กิโลเมตร
ความลึ ก ๔๐ เมตร ความกว้ า ง ๑ กิ โ ลเมตร ซึ่ ง ทั้ ง คลอง K๙ และ K๑๐ จะมี ร ะยะห่ า งกั น
๑๐ กิ โ ลเมตร และตลอดตามแนวคลองทั้ ง สองคลองมี จุ ด เชื่ อ มระหว่ า งคลอง จ านวน ๒ จุ ด
โดยแต่ละจุดจะมีความกว้าง ๑ กิโลเมตร นอกจากนี้ยังจะมีคลองเล็กคู่ขนานด้านนอกของทั้งคลอง
K๙ และ K๑๐ เป็ นจ านวน ๒ คลอง มี ความยาว ๑๓๕ กิ โลเมตร ความกว้ าง ๒๐๐ เมตร และความลึ ก
๑๕ เมตร คลองเล็ กนี้ จะใช้ ประโยชน์ เพื่ อการท่ องเที่ ยว การขนส่ งเรื อท้ องถิ่ นและป้ องกั นปั ญหาน้ าท่ วม
ภาคใต้มีจุดเชื่อมโยงกับ ๒ คลองใหญ่ คลองเล็ก ๒ คลองชื่อคลอง P และ คลอง B ห่างจากคลอง
ใหญ่เป็นระยะทาง ๒ กิโลเมตร รวมแล้ว GASEZ จะมีคลองใหญ่ ๒ คลอง (K๙ และ K๑๐) คลองเล็ก
๒ คลอง (P และ B) มีอุโมงค์ลอด ๑๒ อุโมงค์ให้รถและรถไฟผ่าน คลองใหญ่มีสะพานแขวน ๒ จุด
ชื่อสะพาน C และ V ซึ่งเป็ น จุ ดชมเมืองที่ส วยงามที่สุ ด คลองเล็ กมีส ะพานคลองละ ๕ สะพาน
เพื่อการคมนาคมและการท่องเที่ยวทั้งคลองใหญ่และคลองเล็ก จะมีท่าเทียบเรือท่าจอดเรือท่องเที่ยว
ตลอดแนว ๔ คลองตามความเหมาะสม เพื่ อ เป็ น ท่ า เที ย บเรื อ พาณิ ช ย์ แ ละเรื อ ส าราญ
ที่เดินทางมาจากทั่วโลก การมีคลอง K๙ และ K๑๐ ใช้เป็นเส้นทางขาไปเดินเรือ จากฝั่งอ่าวไทย
ไปยั งฝั่ งอัน ดามัน เส้ นทางเดิน เรื อขากลับจากฝั่ งอันดามันไปยังฝั่งอ่าวไทยทาให้เส้นทางเดินเรือ
มีความปลอดภัยป้อ งกันอุบัติเหตุและการมีจุดเชื่อมคลอง K๙ และ K๑๐ สามารถช่วยแก้ปัญหา
การกลับเรือและเพื่อประโยชน์อื่น ๆ เนื่องจากคลองมีความยาวมาก ทั้งนี้ ดินที่ได้จากการขุดคลอง
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ ดังนี้
๒๐๕

๑) นาดินไปถมชายหาดอ่าวไทยที่ถูกน้าทะเลกัดเซาะหายไปหลายกิโลเมตรตั้งแต่จังหวัด
สมุทรปราการ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จนถึงจังหวัดสงขลา
๒) นาดินไปทาเกาะเทียม ปากคลองด้านอ่าวไทย เพื่อเพิ่มมูลค่า เช่น เกาะสถานบันเทิง
ครบวงจร เกาะนกนางแอ่นเพื่อการท่องเที่ยว เกาะอุตสาหกรรมต่อเรือ โรงกลั่นน้ามันปิโตรเคมี
โกดังเก็บสินค้า ท่าเทียบเรือขนถ่ายสินค้า
๓.) เกาะเพื่ อ เชิ ด ชู ส ถาบั น ชาติ ศาสนาและสถาบั น พระมหากษั ต ริ ย์ เป็ น เกาะใหญ่
อยู่กลางอ่าวไทยขนาด ๒๐ ตารางกิโลเมตร
๔) เกาะทางด้านการทหารและความมั่นคง อุตสาหกรรมส่งดาวเทียมสู่อวกาศ
แนวคลองแบ่งออกเป็น ๓ ระดับความสาคัญ คือ
๑) AAA คือ พื้นที่ ระหว่างคลอง K๙ และ K๑๐ กว้าง ๑๐ กิโลเมตร ยาว ๑๓๕ กิโลเมตร
คิดเป็นพื้นที่ ๑,๓๕๐ ตารางกิโลเมตร
๒) AA คื อ พื้ น ที่ น อกคลอง K๙ และ K๑๐ ความกว้ า ง ๒๕ กิ โ ลเมตรความยาว ๑๓๕
กิโลเมตร ๒ ด้าน (รวม 50 กิโลเมตร x 135 กิโลเมตร) คิดเป็นพื้นที่ 6,750 ตารางกิโลเมตร
๓) A คือ พื้นที่ของ ๕จังหวัด คือ กระบี่ ตรัง สงขลา นครศรีธรรมราช และพัทลุง
ทั้งนี้ พื้น ที่ ๕ จั งหวัด จะมีแนวคลองพาดผ่ านยาว ๑๓๕ กิโ ลเมตร กว้าง ๖๐ กิโ ลเมตร
ถื อ ว่ า เป็ น ศู น ย์ ก ลางของเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) เป็ น เนื้ อ ที่ ๘,๑๐๐
ตารางกิโลเมตร (AAA+ AA) ส่วนพื้นที่ A ใน ๕ จังหวัดที่เหลืออยู่จะมีความพิเศษน้อยกว่า AAA
และ AA
การออกกฎหมายเพื่อบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (The Golden
Ax Special Economic Zone : GASEZ) ในพื้ น ที่ 5 จั ง หวั ด จะต่ อ ยอดจากพระราชบั ญ ญั ติ
เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 แต่จะพิเศษกว่า เพราะเป็น Smart City ระดับโลก
แห่ ง ใหม่ ล่ า สุ ด ของโลกและต้ อ งออกกฎหมายใหม่ เ ฉพาะเขตเศรษฐกิ จ ขวานทองภาคใต้
(The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) รวมถึงหากจาเป็นต้องมีการปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายเวนคืนที่ดินเพื่อบริหารจัดการในพื้นที่ 8,100 ตารางกิโลเมตรและบางจุดของ 5 จังหวัด
กฎหมายพาณิ ช ย์ น าวี กฎหมายการเดิ น เรื อ กฎหมายการเงิ น การคลั ง กฎหมายสิ่ ง แวดล้ อ ม
และกฎหมายสิทธิพิเศษต่าง ๆ เกี่ยวกับสวัสดิการสังคมใน 5 จังหวัด เป็นต้น
ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) และคลองไทย
(Thai Canal) ถูกจัดสรรเพื่อพัฒนาในภาคส่วนต่าง ๆ ดังนี้
๑) พัฒนาพื้นที่ AAA AA และA ใน ๕ จังหวัด
๒) บารุงพัฒนาจังหวัดต่าง ๆ ในภาคใต้อีก ๙ จังหวัด ร้อยละ ๑๔
๓) จัดสรรงบประมาณไปช่วยพัฒนา ๖๓ จังหวัด ร้อยละ ๒๐
๔) จัดสรรงบประมาณเพื่อความมั่นคงของ ชาติ ศาสนา และสถาบันพระมหากษัตริย์ ร้อยละ ๑๓
๕) จัดสรรเงินกองทุนเพื่อสิ่งแวดล้อมเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ร้อยละ ๒
๖) กองทุนวิจัยและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) ร้อยละ ๑
๒๐๖

โครงสร้างพื้นฐาน ได้แก่ ไฟฟ้าพลังงานสะอาด รถไฟทางคู่และความเร็วสูง เชื่อมเมือง


และแหล่งอุตสาหกรรม 1,000 กิโลเมตร โครงข่ายใยแมงมุมและถนนเชื่อมโยงในเขตเศรษฐกิจ
พิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) 1,000 กิโลเมตร
๕.๑.๓ สรุ ป ผลการศึ ก ษาผลกระทบการขุ ด คลองไทยและพั ฒ นาระเบี ย งเศรษฐกิ จ
ด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง และการเมือง
จากการศึกษาโดยการเชิญหน่วยงานภาครัฐ เอกชนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาให้ข้อมูล
และแสดงความคิ ด เห็ น ตลอดจนศึ ก ษาจากเอกสารทางวิ ช าการ งานวิ จั ย และกฎหมายต่ า ง ๆ
ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ ฯ เห็ น ควรมี ข้ อ สั ง เกตและข้ อเสนอแนะ ๕ ด้ านที่ ส าคั ญ
ประกอบด้วย
ด้านที่ ๑ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
ด้านที่ ๒ ผลกระทบด้านสังคม
ด้านที่ ๓ ผลกระทบด้านความมั่นคง
ด้านที่ ๔ ผลกระทบด้านการเมือง
ด้านที่ ๕ กฎหมายที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้ น ที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
ซึ่ ง คณะรั ฐ มนตรี องค์ อิ ส ระ หรื อ หน่ ว ยงานเกี่ ย วข้ อ ง ควรทราบหรื อ ควรพิ จ ารณา
เกี่ยวแนวทางการศึกษาการดาเนินโครงการขุดคลองไทย ดังนี้
ด้านที่ ๑ ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
1) เสนอให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ควรศึ ก ษาผลกระทบต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ มแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วชายฝั่ ง การเคลื่ อ นย้ า ยสิ่ ง มี ชี วิ ต ในทะเล
เช่น ปัญหาน้าทะเลปนเปื้อนกับน้าจืดอาจส่งผลกระทบต่อการทาการเกษตร การปนเปื้อนสารเคมี
มลพิษทางน้าและมลพิษทางอากาศจากการเดินเรือ ตลอดจนส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวจึงต้อง
พิ จ ารณาอย่ า งรอบด้ า นโดยเฉพาะการลดมลพิ ษ และก๊ า ซคาร์ บ อนไดออกไซด์ (ควรด าเนิ น การ
ภายใน ๒ ปี)
2) เสนอให้ ก ระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม ควรศึ ก ษาแนวเขตการด าเนิน
โครงการขุดคลองไทย ต้องอยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม ควรมีการตรวจสอบพื้นที่อนุรักษ์ก่อนดาเนินการ
เช่น พื้นที่อนุรักษ์ พื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี)
3) เสนอให้ ก รมควบคุ ม มลพิ ษ และกรมเจ้ า ท่ า ควรพิ จ ารณาถึ ง โครงการที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
กับการควบคุมมลพิษในเส้นทางเดินเรือ และพื้นที่ใกล้เคียง เปรียบเทียบการบริหารจัดการเดินเรือ
ในช่องแคบมะละกาที่เกี่ยวข้องกับการจัดการมลพิษและผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม (ควรดาเนินการ
ให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี)
4) เสนอให้ ส านั ก งานคณะกรรมการนโยบายเขตพั ฒ นาพิ เ ศษภาคตะวั น ออก ควรศึ ก ษา
แนวทางการดาเนิ น การโครงการขุดคลองไทยอาจใช้กรณีการดาเนินการและการบริห ารจัด การ
เขตพัฒ นาพิเศษภาคตะวั นออก (EEC) เป็นกรณีศึกษาและพิจารณากฎหมายที่เกี่ยวข้องเพิ่มเติม
(ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี)
๒๐๗

5) เสนอให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม/กระทรวงสาธารณสุข/กระทรวง
อุตสาหกรรม/กระทรวงมหาดไทย ๑. ควรจัดทารายงานการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้ อม EIA
(Environmental Impact Assessment) และจั ด ท ารายงานประเมิ น ผลกระทบต่ อ สุ ข ภาพ EHIA
(Environmental Health Impact Assessment) ๒. ควรมี ก ารประสานรั บ ฟั ง ความคิ ด เห็ น
และให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมเกี่ยวกับผลกระทบด้านสิ่งแวดล้ อมของโครงการขุดคลองไทย
เนื่องจากปัจจุบันโครงการขุดคลองไทยมีข้อมูล ที่เกี่ยวข้องและมีข้อมูล ที่คลาดเคลื่ อนแตกต่ างกัน
เป็นจานวนมาก (ควรดาเนินการข้อ ๑ - ๒ ให้แล้วเสร็จภายใน ๒ ปี)
ด้านที่ 2 ผลกระทบด้านสังคม
1) เสนอให้กระทรวงมหาดไทย/สานักงานสภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ดาเนินการ ดังนี้
(๑) ศึกษาอัตราค่าเวนคืนและชดเชยที่เหมาะสมและเป็นธรรมที่ได้แก่ผู้ได้รับผลกระทบ เช่น
กาหนดอัตราการเวนคืนที่ดินในเขตพื้นที่คลองไทยสูงกว่าอัตราการประเมินที่ดินปกติ เป็นต้น
(๒) จัดหาพื้นที่อยู่อาศัยและทากิน ทดแทนในบริเวณโครงการคลองไทย รวมทั้งการตั้ง
กองทุนเยียวยาผู้ได้ผลกระทบและครอบครัวให้สามารถตกทอดเป็นมรดกแก่ทายาท มีการรับฟัง
ความคิ ด เห็ น ของทุ ก ภาคส่ ว นภาครั ฐ เอกชน ภา คประชาชนเพื่ อ ประเมิ น ความพึ ง พอใจ
(ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
2) เสนอให้ กระทรวงศึก ษาธิก าร ควรพิจารณาศึกษาปรับปรุง หลั กสู ตรการเรียนการสอน
ให้ ส อดคล้ องรองรั บ กับ สภาพสั งคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ ยนแปลงไป (ควรดาเนินการให้ แล้ ว เสร็จ
ภายใน ๑ ปี)
3) เสนอให้กระทรวงวัฒนธรรม ดาเนินการ ดังนี้
(๑) ศึกษาวิจัยการเปลี่ยนแปลงทางสังคมการไหลบ่าของวัฒนธรรมต่างชาติ การปะทะ
สังสรรค์ทางสังคม ซึ่งอาจส่งผลกระทบทาให้เกิดความเหลื่อมล้าของคนในพื้นที่ เกิดปัญหาสังคม
ปั ญหาอาชญากรรมที่เกิดจากความเป็นเมือง อาจส่ งผลกระทบต่อโบราณสถานและโบราณวัตถุ
และการวิตกกังวลเกี่ย วกั บ การดาเนินโครงการขุดคลองที่อาจต้องแบ่งแยกพื้นที่ออกเป็นสองฝั่ง
เสมื อ นแบ่ ง แยกแผ่ น ดิ น อย่ า งถ่ อ งแท้ ต ามที่ ป ระชาชนเกิ ด ความกั ง กลก่ อ นลงไปท าความเข้ า ใจ
ในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
(๒) ศึกษาการใช้รู ป แบบการพัฒ นาทรัพยากรมนุษย์ให้ ตอบสนองกับเศรษฐกิจในแนว
โครงการคลองไทยทั้ง ด้านอุตสาหกรรม พาณิชย์นาวี การท่องเที่ยว การเกษตร ปศุสัตว์ การประมง
(ควรดาเนินการข้อ ๑ - ๒ให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
ด้านที่ ๓ ผลกระทบด้านความมั่นคง
1) เสนอให้สานักนายกรัฐมนตรี ดาเนินการ ดังนี้
(๑) ให้ กอ.รมน. ศึกษาผลกระทบต่อความมั่นคงภายในอันเกิดจากภัยสังคมรูปแบบต่าง ๆ
ที่ เ พิ่ ม มากขึ้ น จากการขุ ด คลองไทย ควรพิ จ ารณาภั ย คุ ก คามในรู ป แบบเดิ ม และรู ป แบบใหม่
รวมทั้งโครงสร้างกาลังต้องปรับปรุงให้เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
๒๐๘

(๒) ให้ ศรชล. ศึกษาผลประโยชน์ของชาติทางทะเลที่เปลี่ยนแปลงในกรณีการขุดคลองไทย


รวมทั้งการจัดโครงสร้างที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการตามข้อ ๑ – ๒
ให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
2) เสนอให้สานักข่าวกรองแห่งชาติ/ สภาความมั่นคงแห่งชาติ ศึกษาการจัดโครงสร้างการข่าว
ทางยุทธศาสตร์รองรับหากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
3) เสนอให้กองบัญชาการกองทัพไทย ศึกษาการอานวยการยุทธการร่วมผสมระหว่างเหล่าทัพ
และกองทั พ ต่ า งประเทศในการรั ก ษาความมั่ น คงปลอดภั ย หากเกิ ด โครงการขุ ด คลองไทย
(ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
4) เสนอให้กองทัพบก ศึกษาผลกระทบและแนวทางการรักษาความมั่นคงทางภาคพื้ นดิน
ที่เปลี่ยนแปลง และการจัดโครงสร้างกองกาลั งทางบกที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
5) เสนอให้ กองทั พเรื อ ศึกษาผลกระทบและแนวการรั ก ษาความมั่ น คงทางทะเลในพื้ น ที่
รับผิดชอบ และ เส้นทางการคมนาคมทางทะเลที่เกี่ยวเนื่องกับคลองไทย รวมทั้งการจัดโครงสร้าง
กองกาลังทางเรือที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
6) เสนอให้กองทัพอากาศศึกษาผลกระทบและแนวทางการรักษาความมั่นคงในห้วงอากาศ
และอวกาศและการจั ด โครงสร้ า งก าลั ง ทางอากาศที่ เ หมาะสมหากเกิ ด โครงการขุ ด คลองไทย
(ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
7) เสนอให้สานักงานตารวจแห่งชาติ ศึกษาผลกระทบและแนวทางในการการรักษากฎหมาย
และการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่การขุดคลองไทยและการจัดโครงสร้างกาลังที่บังคับใช้กฎหมาย
หากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
ด้านที่ ๔ ผลกระทบด้านการเมือง
1) เสนอให้กระทรวงการต่างประเทศ ควรศึกษาถึงการขยายอานาจของประเทศมหาอานาจ
รวมถึงประเทศเพื่อนบ้ านที่ได้รั บผลกระทบทั้งทางบวกและทางลบ หากมีโ ครงการขุดคลองไทย
ตลอดจนความขั ด แย้ ง ระหว่ า งประเทศอื่ น ๆ ที่ อ าจมี ผ ลกระทบถึ ง การเมื อ งระหว่ า งประเทศ
กับประเทศไทยหากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
2) เสนอให้ ก ระทรวงมหาดไทยศึ ก ษาการใช้ รู ป แบบการปกครองทั้ ง ส่ ว นภู มิ ภ าค
และส่วนท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการบริห ารจัดการในแบบพิเศษซึ่งต่างจากการปกครอง
ท้องถิ่นทั่วไปในพื้นที่หากเกิดโครงการขุดคลองไทย (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๑ ปี)
ด้ า นที่ ๕ กฎหมายที่เ ป็ น ประโยชน์ต่ อ การศึก ษาการขุ ดคลองไทยและการพั ฒนาพื้ น ที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
1) หากรัฐบาลซึ่งเป็ นฝ่ ายบริหารเห็นสมควรให้ ขุดคลองไทย รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบั ญญั ติ
สมควรสนั บ สนุ น การพิจ ารณากฎหมายเพื่อให้ มีองค์กรควบคุมบริห ารจัดการโครงการคลองไทย
อย่างรัดกุมทั้งในด้านการลงทุน การก่อสร้าง แผนการบริหารจัดการ บารุงรักษาภายหลังการก่อสร้าง
๒๐๙

แล้วเสร็จตลอดจนการชดเชยเยียวยาประชาชนในพื้นที่อย่างเหมาะสมและเป็นธรรม (ควรดาเนินการ
ให้แล้วเสร็จภายใน ๓ ปี)
2) เสนอให้คณะรัฐมนตรี ดาเนินการ ดังนี้
(๑) พิจารณาออกพระราชบัญญัติคณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการโครงการคลองไทย
พ.ศ. …. เพื่อให้มีองค์กรหรือหน่วยงานองค์กรควบคุมการบริหารจัดการโครงการคลองไทยอย่าง
รัดกุมทั้งด้านการลงทุน การก่อสร้าง แผนบริหารจัดการ การชดเชยผู้ได้รับผลกระทบอย่างเป็นธรรม
และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(๒) ผลั ก ดั น และสนั บ สนุ น ให้ โ ครงการศึ ก ษาคลองไทยเป็ น วาระแห่ ง ชาติ เ พื่ อ ให้ เ กิ ด
การศึกษาเชิงลึกอย่างถ่องแท้ เพื่อให้ได้ข้อยุติว่าควรดาเนินการอย่างไร พร้อมทั้งส่งเสริมให้รัฐมนตรีที่
เกี่ยวข้องรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในพื้นที่ และประชาชนทั่วประเทศ (ควรดาเนินการให้แล้ว
เสร็จภายใน ๓ ปี)
3) เสนอให้สานักงบประมาณ สนับสนุนงบประมาณในการศึกษาเกี่ยวกับโครงการคลองไทย
อย่างรอบด้านให้เหมาะสม (ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน ๓ ปี)

5.2 ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร เพื่อพิจารณาโดยเสนอแนะให้รัฐบาลสั่งการหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องพิจารณาดาเนินการ ดังนี้
๑) การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ จะต้องดาเนินการด้วยกฎหมาย
พิเศษขึ้นมาฉบั บหนึ่ ง ที่มีลั กษณะแนวทางเดียวกั บพระราชบั ญญัติ เขตพัฒนาพิ เศษภาคตะวั นออก
พ.ศ. ๒๕๖๑ (Eastern Economic Corridor Act : EEC Act)
๒) ต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาขั้ น สมบู ร ณ์ (Full Feasibility Study) อย่ า งละเอี ย ด ถี่ ถ้ ว นเพื่ อ ให้
ลดผลกระทบในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่ งแวดล้ อมและด้านความมั่นคงของประเทศ
การศึกษาข้อมูลทั้งด้านธรณีวิทยา ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ
ด้านกฎหมาย ด้านสังคม ฯ เปรียบเทียบความเหมาะสมในทุกด้าน ทุกมิติ จะสามารถลดความเสี่ยง
และลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นได้
๓) รัฐบาลต้องประกาศให้ การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้
เป็น “วาระแห่งชาติ ” เป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติที่จะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในกาหนด
ระยะเวลา
๔) มีการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายและการขับเคลื่อนการขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้น ที่เขตเศรษฐกิ จ พิเศษภาคใต้ โดยมีนายกรัฐ มนตรีเป็นประธานและรองนายกรัฐ มนตรีที่ได้รับ
มอบหมายเป็นรองประธาน รัฐมนตรีทุกกระทรวงเป็นกรรมการ มี สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติเป็นกรรมการและเลขานุการ พร้อมทั้งรัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณหรือหาแหล่ง
ทุนเพื่อการศึกษาเชิงลึกในการดาเนินงานในทุกมิติทั้งภาพรวมและเชิงพื้นที่ ควบคู่ไปกับการขับเคลื่อน
ในมิติทางด้านสังคมและด้านอื่น ๆ อีกด้วย
๒๑๐

๕) ประกาศเขตเศรษฐกิ จ พิ เศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ) เป็ น วาระแห่ ง ชาติที่ ต้ อ งรีบ


ดาเนินการอย่างเร่งด่วน
๖) รัฐบาลต้องรีบดาเนินการตั้งงบประมาณเพื่อสารวจออกแบบและปฏิบัติการในพื้นที่จริง
๗) ออกพระราชบั ญญัติร วมไปถึงแก้ไ ขปรับปรุ งกฎหมายที่เ กี่ยวข้อ งทั้งหมดหากจ าเป็ น
ในการบริหารจัดการเพื่อนาไปสู่การพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๘) สร้างความรู้ ความเข้าใจ สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนในพื้นที่ ๕ จังหวัด คือ จังหวัด
กระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา และประชาชนทั้งประเทศ
ว่าผลประโยชน์ที่ประชาชนและประเทศจะได้รับจากเขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๙) จั ด ให้ มี ก ารท าประชามติ จ ากประชาชนทั้ ง ประเทศ เพื่ อ เห็ น ชอบในการด าเนิ น การ
เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้ (GASEZ)
๑๐) จากการศึ ก ษาดู ง านเขตเศรษฐกิ จพิ เ ศษอิ ส กั น ดาร์ สหพั น ธรั ฐ มาเลเซีย จึ ง ควรนา
แนวทางการบริหารจัดการเขตเศรษฐกิจพิเศษอิสกันดาร์ สหพันธรัฐมาเลเซีย ซึ่งเป็นประเทศในเอเชีย
ที่ประสบความสาเร็จในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษมาเป็นกรอบแนวทางในการศึกษาความเป็นไปได้
( Feasibility Study)และการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง
จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา ภายใต้ชื่อ “เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทอง
ภ า ค ใ ต้ ” ( The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ) เ พื่ อ เ ป็ น ก า ร ขั บ เ ค ลื่ อ น
และพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทยในภาคใต้ ให้มีการบริหารจัดการด้วยกฎหมายพิเศษ
ในการเวนคืน ที่ดิน จ านวน 8,100 ตาราง กิโ ลเมตร เพื่อนามาพัฒ นาจัดระเบียบบริห ารจัดการ
อสั งหาริ มทรั พย์ ของประเทศไทยเพื่อเพิ่มมูล ค่าทางเศรษฐกิจที่คุ้มค่าที่สุด โดยประชาชนที่ได้รับ
ผลกระทบจะได้รับผลตอบแทน สวัสดิการและคุณภาพชีวิตที่ดีที่สุดและควรขุดคลองตามแนว k9
และ k10 มีระยะห่างกัน 10 กิโลเมตรและมีเส้นคลองน้าจืดคู่ขนานเพื่อรองรับการอุปโภค บริโภค
ของชุมชนและอุตสาหกรรมในอนาคต เพื่อเป็นท่าเทียบเรือพาณิชย์และเรือสาราญที่เดินทางมาจาก
ทั่วโลกและเป็นศูนย์กลางการค้าและเศรษฐกิจใหม่ของโลกต่อไป
๑๑) ควรศึ กษาบทเรี ย นท่ าเรื อ PSA (Port of Singapore Authority) เพราะได้ รั บการยกย่ อง
ว่าบริหารงานดีที่สุดแห่งหนึ่งในโลกมาเป็นแนวทางในการบริหารจัดการ สายการเดินเรือที่มาใช้บริการ
ท่ าเรื อ PSA โดยเฉพาะความทั น สมั ยในด้ านเทคโนโลยี สารสนเทศ กล่ าวกั นว่ า PSA เป็ นท่ าเรื อ
ซึ่ งมี ระบบเทคโนโลยี สารสนเทศดี ที่ สุ ดในโลก โดยใช้ ระบบเอกสารอิ เล็ กทรอนิ กส์ เพื่ อเพิ่ มประสิ ทธิ ภาพ
ในการลดเวลาและค่ า ใช้ จ่ า ย นอกจากนี้ ยั ง ใช้ ร ะบบคอมพิ ว เตอร์ CITOS หรื อ Computer
Integrated Terminal Operations System ซึ่ ง ท าให้ ผู้ บ ริ ห ารท่ า เรื อ สามารถวางแผน ควบคุ ม
และตรวจสอบตู้ ค อนเทนเนอร์ แ ต่ ล ะตู้ คนขั บ รถหั ว ลาก และเครนอย่ า งต่ อ เนื่ อ งแม้ท่ า เรือ PSA
จะมีประสิทธิภาพสูงที่สุดในโลก แต่ก็พยายามปรับปรุงประสิทธิภาพอยู่ตลอดเวลา โดยมีนวัตกรรม
สาคัญ ๓ ประการ ดังนี้
ประการแรก ระบบ “Flow - Through Gate System” ได้รับรางวัลนวัตกรรมเมื่อปี ๒๕๔๒
เนื่องจากเป็นระบบที่ทันสมัยที่สุดในโลก มีประสิทธิภาพเหนือกว่าท่าเรือในยุโรปหรือสหรัฐ อเมริกา
ท าให้ การน าเข้ า - ส่ งออกตู้ คอนเทนเนอร์ จะผ่ านพิ ธี การศุ ลกากรโดยใช้ เวลาเพี ยง ๒๐ - ๒๕ วิ นาที /คั น
นับว่าเร็วที่สุดในโลก
๒๑๑

ประการที่ส อง เป็ น ท่าเรื อแห่ งแรกของโลกที่ใช้นวัตกรรมใหม่ คือ Remote-controlled


Overhead Bridge Crane ทาให้ประสิทธิภาพการทางานเพิ่มขึ้นอย่างไม่เคยมีมาก่อน เดิมพนักงาน
บังคับเครนแต่ละคนสามารถควบคุมเครนได้เพียง ๑ ตัว แต่เมื่อใช้ระบบใหม่แล้ว พนักงานแต่ละคน
สามารถควบคุมเครนได้มากถึง ๖ ตัว โดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมคล้าย ๆ กับเราใช้เมาส์ทางาน
กับคอมพิวเตอร์ การทางานจะเป็นแบบอัตโนมัติแทบทั้งหมด
ประการที่ ส าม มี ก ารติ ด ตั้ ง เครนขนาดใหญ่ ที่ เ รี ย กว่ า Post - Panamax Quay Cranes
เพื่อขนถ่ายสินค้าขึ้นลงเรือเดินสมุทรขนาดใหญ่ โดยแขนของเครนมีความยาวถึง ๕๕ เมตร สามารถ
ให้บริการแก่เรือที่มีขนาดความกว้างของลาตัวเรือไม่เกิน ๑๘ ตู้ ปัจจุบันได้ก้าวสู่ “Super Crane”
ซึ่งเป็นเครนขนาดใหญ่มีความยาวมากถึง ๖๐ เมตร สามารถให้บริการแก่เรือที่มีความกว้างของลาตัวเรือ
มากถึง ๒๒ ตู้ นอกจากท่า เรื อ คอนเทนเนอร์แ ล้ ว PSA Singapore Terminal ยังให้ ความส าคั ญ
ต่ อ ท่ า เรื อ สิ น ค้ า ทั่ ว ไป (Multi - Purpose Terminal) โดยมี ท่ า เรื อ Multi - Purpose Terminal (MPT)
of Pasir Panjang และSambawang Wharves ให้บริการ MPT โดยสามารถรองรับการขนถ่ายสินค้า
ประเภทรถยนต์ ไ ด้ ม ากกว่ า ๑ ล้ า นคั น นอกจากนั้ น ยั ง มี ร ะบบเชื่ อ มโยงด้ า นโลจิ ส ติ ก ส์
ที่มีประสิทธิภาพไปยังเขตอุตสาหกรรมต่าง ๆ ในเขตเศรษฐกิจอีกด้วย
ประการส าคั ญ ที่ท าให้ PSA Singapore Terminal ประสบความส าเร็จ ก็ คื อ “ทรัพ ยากร
มนุษย์” โดย PSA Singapore Terminal ให้ความความสาคัญในการพัฒนาศักยภาพของพนักงาน
อยู่ตลอดเวลาทั้งทางด้านประสิทธิภาพการทางานและด้านอื่น ๆ
๒๑๒

๗. ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
จากการประชุมพิจารณาศึกษา การเดินทางไปศึกษาดูงาน และการจัดสัมมนา ตลอดจน
การรวบรวมเอกสารข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทย
และพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร มีข้อสังเกต ดังนี้
1) สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ควรดาเนินการของบประมาณ
เพื่อศึกษาความเป็น ไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) ให้เพียงพอที่จะศึกษาให้ ครอบคลุ ม
ทุกมิติ ทุก ประเด็นและพื้นที่ เพื่อให้ส ามารถดาเนินการศึกษาความเป็นไปได้ อย่างเต็มรู ป แบบ
(Full Feasibility Study) ต่อไป
๒) การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ (Feasibility Study) จะต้องศึกษาให้ครบถ้วน
ทุกประเด็น ไม่ว่าประเด็นด้านความมั่นคงระดับโลก ความมั่นคงภายในประเทศ แหล่งเงินลงทุน
ที่ควรมาจากหลายแหล่งทั้งจากประเทศฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกและต้องทราบถึงความต้องการ
ของผู้ ม าใช้ บ ริ ก ารผ่ า นคลองไทยด้ ว ยและต้ อ งมี ก ารศึ ก ษาขั้ น สมบู ร ณ์ (Full Feasibility Study)
อย่างละเอียดถี่ถ้วน เพื่อให้ลดผลกระทบในด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านสิ่งแวดล้อมและด้าน
ความมั่ น คงของประเทศ การศึ ก ษาข้ อ มู ล ทั้ ง ด้ า นธรณี วิ ท ยา ด้ า นวิ ศ วกรรม ด้ า นสิ่ ง แวดล้ อ ม
ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ด้านสังคมและวัฒนธรรม เปรียบเทียบความเหมาะสม
ในทุกด้านทุกมิตจิ ะสามารถลดความเสี่ยงและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
๓) รัฐบาลควรประกาศให้การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษภาคใต้
เป็น “วาระแห่งชาติ” ซึ่งเป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์ชาติที่จะต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายในกาหนด
ระยะเวลา
๔) ควรมี การจั ดตั้ งคณะกรรมการนโยบายและการขั บเคลื่ อนการขุ ดคลองไทยและการพั ฒนา
พื้ น ที่ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคใต้ โดยมี น ายกรั ฐ มนตรี เ ป็ น ประธานและรองนายกรั ฐ มนตรี
ที่ได้รับมอบหมายเป็นรองประธาน ตลอดจนรัฐมนตรีทุกกระทรวงเป็นกรรมการและมีสานักงานสภา
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เป็นกรรมการและเลขานุการ
๕) รัฐบาลควรจัดสรรงบประมาณหรือหาแหล่งทุนเพื่อการศึกษาเชิงลึกในการดาเนินงาน
ในทุ กมิ ติ ทั้ งภาพรวมและเชิ งพื้ นที่ ควบคู่ ไปกั บการขั บเคลื่ อนในมิ ติ ทางด้ านสั งคมและด้ านอื่ น ๆ อี กด้ วย
อย่ า งไรก็ ต าม การที่ จ ะพิ จ ารณาศึ ก ษาการขุ ด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ใ ห้ เ ป็ น เขต
เศรษฐกิจพิเศษ หลักการพิจารณาคือ การคานึงถึง “ผลประโยชน์ของชาติ ” (National Interest)
เป็ น เป้ า หมายสู ง สุ ด การศึ ก ษาข้ อ มู ล เบื้ อ งต้ น (Pre - Feasibility Study) ทั้ ง ด้ า นธรณี วิ ท ยา
ด้านวิศวกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจ ด้านกฎหมาย ฯ และทาการศึกษา
เปรี ย บเที ย บความเหมาะสมในทุ ก ด้ า นทุ ก มิ ติ จ ะสามารถลดความเสี่ ย งและลดผลกระทบ
ที่อาจเกิดขึ้นได้ อย่างไรก็ตามที่สาคัญที่สุด คือ “มติมหาชน” ที่จะต้องสร้างการรับรู้อย่างรอบด้าน
สร้างการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจและประชาพิจารณ์
๖) ควรปรับรูปแบบในการดาเนินการโดยกาหนดให้มีหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงก่อน
เช่ น กรมเจ้ า ท่ า หรื อ ส านั ก งานนโยบายและแผนการขนส่ ง และจราจรเป็ น หน่ ว ยงานที่ ศึ ก ษา
ความเป็นไปได้ของโครงการเพื่อเสนอต่อรัฐบาลและให้สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติเป็นหน่วยงานกลั่นกรองก่อนที่รัฐบาลจะพิจารณาอนุมัติโครงการก่อสร้างต่อไป
๒๑๓

๗) การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ถือว่าเป็นการดาเนินงาน
โครงการลงทุนขนาดใหญ่ของภาครัฐ (Mega Project) จะต้องดาเนินการด้วยกฎหมายพิ เศษที่ มี
ลักษณะแนวทางเดียวกับพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. ๒๕๖๑ (Eastern
Economic Corridor Act : EEC Act) ดังนั้น จึงควรตั้งองค์กรลักษณะเดียวกับ เขตเศรษฐกิจพิเศษ
ภาคตะวั น ออก (Eastern Economic Corridor) โดยตราเป็ น พระราชบั ญ ญั ติ ขึ้ น มาโดยเฉพาะ
เพื่อดาเนินการ หากนาหน่วยงานขนาดเล็กมาดาเนินการย่อมไม่มีทางสาเร็จเพราะโครงการดังกล่าว
เป็นการเชื่อมโยงการพัฒนาประเทศในทุกมิติทั้งด้านการท่องเที่ยว การเกษตรกรรม การขนส่งสินค้า
และถือเป็นการสร้างศักยภาพในการแข่งขันกับนานาชาติ นอกจากนี้จะต้องมี การศึกษาให้รอบด้าน
อย่างแท้จริงและกาหนดขอบเขตการศึกษาอย่างชัดเจน
๘) ควรน าบทเรี ย นเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอิ ส กั น ดาร์ ประเทศมาเลเซี ย มาเป็ น แนวทาง
ในการศึ กษาด้ านการบริ ห ารจั ดการเขตเศรษฐกิ จพิ เศษ เพราะเขตเศรษฐกิ จพิ เศษอิ สกั นดาร์
สหพันธรัฐมาเลเซีย เป็นประเทศในเอเชียที่ประสบความสาเร็จในการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจพิเศษมา
เป็นกรอบแนวทางในการศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study) และการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจ
พิเศษใน 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดกระบี่ จังหวัดตรัง จังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดสงขลา
ภายใต้ชื่อ “เขตเศรษฐกิจพิเศษขวานทองภาคใต้” (The Golden Ax Special Economic Zone : GASEZ)
เพื่อเป็นการขับเคลื่อนและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทยในภาคใต้ นอกจากนี้ควรนา
บทเรียนการบริหารท่าเรือ PSA (Port of Singapore Authority) ที่ได้รับการยกย่องว่าบริหารงานดี
ที่ สุ ด แห่ ง หนึ่ งในโลก โดยเฉพาะความทั น สมั ย ในด้า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศมาเป็ นบทเรี ยนใน
การศึกษาการบริหารท่าเรือด้วยเช่นกัน
๙) หากมีโครงการขุดคลองไทยจะส่งผลดีสาหรับการรักษาความมั่นคงทางทะเล เนื่องจาก
สามารถสนับสนุ นและส่ งเสริ มให้ กาลังทางเรือสามารถเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างกันได้สะดวกหากถูกปิดล้อม
และหากเกิดภัยพิบัติฝั่งใดฝั่งหนึ่ง กาลังทางเรืออีกฝั่งสามารถเข้าช่วยเหลือและสนับสนุนการรบได้
รวดเร็วยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามในบริบทด้านความมั่นคงเพื่อรองรับโครงการขุดคลองไทย หน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้องควรมีการศึกษาและดาเนินการ ดังนี้
(๑) กองบัญชาการกองทัพไทย ศึกษาการอานวยการยุทธร่วม/ผสมระหว่างเหล่าทัพ
และกองทัพต่างประเทศในการรักษาความมั่นคงปลอดภัยหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๒) กองทัพบก ศึกษาผลกระทบและแนวทางการรั ก ษาความมั่น คงทางภาคพื้ น ดิ น
ที่เปลี่ยนแปลง และการจัดโครงสร้างกองกาลังทางบกที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๓) กองทั พ เรื อ ศึ ก ษาผลกระทบและแนวการรั ก ษาความมั่ น คงทางทะเลในพื้ น ที่
รับผิดชอบ และเส้นทางการคมนาคมทางทะเลที่เกี่ยวเนื่องกับคลองไทย รวมทั้งการจัดโครงสร้าง
กองกาลังทางเรือที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๔) กองทัพอากาศ ศึกษาผลกระทบและแนวทางการรักษาความมั่นคงในห้วงอากาศ
และอวกาศและการจัดโครงสร้างกาลังทางอากาศที่เหมาะสมหากเกิดโครงการขุดคลองไทย
(๕) สานักงานตารวจแห่งชาติ ศึกษาผลกระทบและแนวทางในการการรักษากฎหมาย
และการบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่การขุดคลองไทยและการจัดโครงสร้างกาลังที่บังคับใช้กฎหมาย
หากเกิดโครงการขุดคลองไทย
บรรณานุกรม
ภาษาไทย
กชกร โกทนุท. (2558). พัฒนาการเชิงนโยบายการพัฒนาเป็นศูนย์กลางการขนส่งทางภาคพื้นสมุทร.
ภาคนิ พ นธ์ ศิ ล ปศาสตรบั ณ ฑิ ต (สาขาเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้ ศึ ก ษา) คณะศิ ล ปศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กมลา สาครมณีรัตน์. (๒๕๕๘). มาตรการทางกฎหมายในการป้องกันและฟื้นฟูผลกระทบจากการถมทะเล.
นิติศาสตรมหาบัณฑิต (กฎหมายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์. (2557). กรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้า
โขง : GMS. สื บ ค้ น เมื่ อ 12 สิ ง หาคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า : www.dft.go.th/ Portals/5/.../
กรอบ%20GMS@20110808-1744546017.doc.
กรมควบคุ ม มลพิ ษ , กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม. (๒๕๕๔). รายงานสถานการณ์
เรื่ องมาบตพุด กับการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยอง. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก จั ด ก าร
คุ ณ ภาพอากาศและเสียง.
กรมควบคุมมลพิษ, กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). (ร่าง) Roadmap การจัดการ
ข ย ะ พ ล า ส ติ ก พ . ศ . 2 5 6 1 – 2 5 7 3 ( Thailand’s Roadmap on plastic Waste
Management 2018 – 2030) [ออนไลน์].2562 แหล่งที่มา : https://www.facebook.com/
PCD.gp.th/photos/pcb.2209593882457320/2209593499124025/
?type=3&theater.
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพาณิช ย์. (2557). ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจในเอเชีย -
แปซิฟิก. สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2563. แหล่งที่มา : http://www.dtn.go.th
กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. (๒๕๕๖). Country Profile ญี่ปุ่น. สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มกราคม 2556,
จาก www.thaifta.com/ThaiFTA/Portals/0/ctr1_jp070911.pdf.
กรมเจรจาการค้ า ระหว่ า งประเทศ. (๒๕๕๘). Country Profile เกาหลี . สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ 8 มกราคม
2558, แหล่งที่มา : www.thaifta.com/ThaiFTA/Portals/0/ctr_kr070911.pdf.
กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม. (๒๕๕๓).
ป่าชายเลนและการกักเก็บมลพิษริมฝั่งทะเลอ่าวไทยตอนบน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง , กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2562). การด้าเนินงาน
ในภาพรวมของ ทช. เกี่ ย วกั บ โครงการพื้ น ที่ ส าธิ ต การบริ ห ารจั ด การขยะทะเลครบวงจร
อย่างมีส่วนร่วมระยอง. แหล่งที่มา : https://www.dmcr.go.th/miniprojects/147/37514.
กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง. (2556). ข้อมูลสมุทรศาสตร์ฝั่งอันดามัน. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม
2563. แหล่งที่มา : http://km.dmcr.go.th/th/c_263/d_1137.
กรมทรั พยากรทางทะเลและชายฝั่ ง. (2563). ระบบฐานข้ อมู ลกลางและมาตรฐานข้ อมู ลทรั พยากรทางทะเล
และชายฝั่ ง (Central Database System and Data Standard for Marine and Coastal Resources,
“ลักษณะ เด่นของพื้นที่ตามข้อก้าหนด”. กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง .
๒๑๖

กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง . อาณาเขตทางทะเลไทย. สื บ ค้ น เมื่ อ 9 ธั น วาคม 2563


แหล่งที่มา : http://marinegiscenter.dmcr.go.th/km/maritimezone_doc1/#.WOxRRGnygdV.
กรมป่ า ไม้ , กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม. (๒๕๕๘). ประโยชน์ ข องป่ า ชายเลน.
สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2558, แหล่งที่มา : www.forest.go.th/index. php?option=com_
Content&view=article&id=322.
กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. (2557). “กรอบความร่ วมมืออนุภูมิภาค”.
สื บ ค้ น เมื่ อ 12 สิ ง หาคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า : http://www.mfa.go.th/ business/th/
cooperation/245/44874-การประชุมผู้นา-BIMSTEC-ครั้งที-่ 3 .html.
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2562). การสร้างท่าเรือ Tuas ขนาดยักษ์ของสิงคโปร์. สืบค้นเมื่อ
11 ธั น วาคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า : https://www.ditp.go.th/contents_attach/167361/
167361.pdf.
กรมสนธิสั ญญาและกฎหมาย. (2548). หนังสือแปล อนุสัญญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยกฎหมายทะเล
ค.ศ. 1982, กรุงเทพฯ : กรมสนธิสัญญาและกฎหมาย กระทรวงการต่างประเทศ.
กรมอุทกศาสตร์ กองทัพเรือ. (2538). รายงานการวิเคราะห์ข้อมูลสมุทรศาสตร์เขตกลางอ่าวไทย 2525 -
2536. กรุงเทพฯ : กรมอุทกศาสตร์. กองทัพเรือ.
กระทรวงต่างประเทศ. (2555). แผนงานการพัฒนาเขตเศรษฐกิจสามฝ่ายอินโดนีเซีย – มาเลเซีย - ไทย
(Indonesia – Malaysia – Thailand Growth Triangle : IMT - GT). สืบค้นเมื่อ 1 พฤศจิกายน
2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที่ ม า : https://www.mfa.go.th/th/content/5 d5 bcc2 7 1 5 e3 9 c
306000a362?cate=5d5bcb4e15e39c3060006872.
กระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม. กรมทรั พ ยากรทางทะเลและชายฝั่ ง . (2561) .
ข้อมูลปริมาณขยะทะเลในประเทศไทย (ปีงบประมาณ 2561). สืบค้นเมื่อ 10 ตุลาคม 2563.
แหล่งที่มา : http : //tcc.dmcr.go.th/thaicoastalcleanup/report.
กวี จรุ ง ทวี เ วทย์ . (2546). การศึ ก ษาผลของรากหญ้ า แฝกหอมต่ อ การเพิ่ ม ก้ า ลั ง เฉื อ นของดิ น ทราย
ปนทรายแป้ง. วารสารวิจัย มข. (ฉบับบัณฑิตศึกษา). ปีที่ 3 ฉบับพิเศษ, หน้า 183 - 192.
กอแก้ว จันทร์กิ่งทองและคณะ. (๒๕๕๙). ผลกระทบและความเป็นไปได้การด้าเนินโครงการขุดคลองไทย
(คอคอดกระ). สงขลา : บริษัท คิงส์แลนด์ (ประเทศไทย) จากัด.
กองบู ร ณาการนโยบายพั ฒ นาภาค, ส านั ก งานสภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . (2561).
แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย (พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔) ฉบับทบทวน. กรุงเทพฯ :
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
กองศึ กษาวิจั ย ทางยุ ทธศาสตร์ และความมั่นคง สถาบันวิช าการป้องกันประเทศ. (2557). “บทความ
วิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคงของประเทศรายสัปดาห์ ” ฉบับที่ 42/56.
29 กรกฎาคม - 5 สิ ง หาคม2556 .สื บ ค้ น เมื่ อ 11 พฤศจิ ก ายน 2563. แหล่ ง ที่ ม า :
www.sscthailand.org/index.php?option=com_docman...th.
กอบกุล รายะนาคร. (๒๕๕๐). กฎหมายสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : บริษัทสานักพิมพ์วิญญูชน
จากัด.
๒๑๗

กิตติกุล ลิ่ มสกุล . (2541). การศึกษาเพื่อเปรี ยบเทียบศักยภาพท่า เรื อแหลมฉบังและท่า เรื อกรุ งเทพ.
กรุงเทพฯ : สถาบันพาณิชย์นาวี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เกรี ย งศั ก ดิ์ เจริ ญ วงศ์ ศั ก ดิ์ . (2554). การคิ ด เชิ ง บู ร ณาการ Integrative Thinking. กรุ ง เทพฯ :
บริษัทซัคเซส มีเดีย จากัด.
ขวัญใจ เตชเสนสกุล. (กรกฎาคม 2556). Iskandar กระจกสะท้อนการพัฒนาของมาเลเซีย ธนาคารเพื่อ
การส่ ง ออกและน้ า เข้ า แห่ ง ประเทศไทย. สื บ ค้ น 15 สิ ง หาคม 2563 แหล่ ง ที่ ม า :
http://www.exim.go.th/doc/newsCenter/42859.pdf.
คณะกรรมาธิการขับ เคลื่อนการปฏิรู ปประเทศด้านสาธารณสุ ขและสิ่ งแวดล้อม. (2561). รายงานเรื่ อง
“ข้ อ เสนอแนะเชิ ง นโยบายเรื่ อ งการแบ่ ง เขตการใช้ ป ระโยชน์ แ ละก้ า หนดพื้ น ที่ คุ้ ม ครอง
ทางทะเล”. กรุงเทพฯ : สานักกรรมาธิการ 3, สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
คณะกรรมาธิการปฏิรูปการเกษตร อุตสาหกรรม พาณิชย์ การท่องเที่ยวและบริการสภาปฏิรูปแห่งชาติ (สปช.).
(๒๕๕๘). รายงานเรื่อง “วาระพัฒนาระบบโลจิสติกส์ : แผนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและ
โลจิสติกส์และร่างพระราชบัญญัติส้านักงานโครงสร้างพื้นฐานและโลจิสติกส์แห่งชาติ พ.ศ....”.
กรุงเทพฯ : สานักกรรมาธิการ 1 สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิสภา พุทธศักราช ๒๕๔๘.
(๒๕4๘). ผลการศึกษาโครงการขุดคลองไทย. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
คณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ วุฒิสภา.(2547). รายงานของ
คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ เพื่ อ ศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ ข องโครงการขุ ด คอคอดกระ วุ ฒิ ส ภา.
กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (๒๕๕๑). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการศึกษาเพื่อจัดทาข้อเสนอใน
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมในเขตมาบตาพุด
และจังหวัดระยอง. เชียงใหม่ : คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
คณะส ารวจพื้น ที่เกิดเหตุดิน ถล่ มภาคเหนื อ ตอนล่ า ง. (2550). เหตุการณ์ ธ รณี พิบัติภัยดิน ถล่ ม บริ เ วณ
ภาคเหนือตอนล่าง : รายงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม, กรมทรัพยากรธรณี,
ฉบับที่ กธส. 2/2550, 61 หน้า.
คณะอนุกรรมการบริหารจัดการขยะพลาสติก การจัดการขยะพลาสติก พ.ศ. 2561 – 2573. (2561).
รายงานการประชุ ม คณะอนุ ก รรมการบริ ห ารจั ด การขยะพลาสติ ก ครั้ ง ที่ 1 /2561.
สืบค้นเมื่อ 16 กุมภาพันธ์ 2563. แหล่งที่มา : http://www.pcd.go.th/ Info_serv/File/17-
09-62/01.pdf.
คณะอนุกรรมาธิการพิจารณาการขุดคอคอดกระในคณะกรรมาธิการการทหาร สภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๔๓).
“บทสรุปย่อ การศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการขุดคอคอดกระ”. ๒๕๔๓.
คุ ณ ภาพชี วิ ต - สั ง คม, แฟ้ ม ภาพ. (2562). “มหิ ด ลแนะปลู ก ต้ น ไม้ 5 ชนิ ด ประสิ ท ธิ ภ าพดั ก ฝุ่ น
ระดับ 4 ดาว”.กรุงเทพธุรกิจ (19 มกราคม 2562) : 1 หน้า.
เครือข่ายเฝ้าระวังรักษาชายหาด (Beach Watch Network). (๒๕๕๖). การเติมทรายและการถ่ายเททราย.
สืบค้นเมื่อ 26 เมษายน 2563, แหล่งที่มา http://www.bwn.psu.ac.th/ beachfill.html.
๒๑๘

จตุ พ ร ศุ ข เฉลิ ม . (๒๕๕๓). การศึ ก ษาความเป็ น ไปได้ เ ชิ ง พาณิ ช ย์ ด้ ว ยระบบเทคโนโลยี ย กเรื อ ส้ า หรั บ
โครงการคลองกระ. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารกิจการทางทะเล
(สหสาขาวิชา) บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จิรพันธ์ หมวดจันทร์. (๒๕๕๕). สถานการณ์การบุกรุกป่าชายเลนของประเทศไทย, เอกสารวิชาการฉบับที่
3/2555. สานั กอนุ รั กษ์ทรั พยากรป่าชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ ง กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
จิรากรณ์ คชเสนี. (2556). นิเวศพัฒนาเพื่อความยั่งยืน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จุมพต สายสุนทร. (2550). กฎหมายสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ : วิญญูชน.
จุลชีพ ชินวรรโณ (2547). ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ : แนวคิด ทฤษฎีและกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ฉวี ว รรณ สายบั ว . (๒๕๔๔). รายงานการวิ จั ย การก้ า หนดและการด้ า เนิ น การตามนโยบายเพื่ อ
สาธารณประโยชน์ : กรณีนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมมาบตาพุด. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย.
เฉลิมพงศ์ ตั้งบริบูรณ์รัตน์และนายเจตนา เหล่ารักวงศ์. (2552). กรณีศึกษาเขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองเซินเจิ้น
กับทางเลือ กในการพั ฒนาเศรษฐกิจ ประเทศไทย. สื บค้น 11 สิ งหาคม 2563 แหล่ งที่มา :
http://www.thaibizchina.com/thaibizchina/th/articles/detail.php?IBLOCK_ID=70&SEC
TION_ID=507&ELEMENT_ID=567.
ชมรมอาสาสมั ค รเพื่ อ ให้ ค วามช่ ว ยเหลื อ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละเทคโนโลยี แ ก่ ป ระชาชน (อชวท.)
ในสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์. (๒๕๓๒). คลองกระกับอนาคต
ของไทย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชรินทร์ หาญสืบสาย. (2557). เรื่องเล่าจาก ส.ว. เขตเศรษฐกิจพิเศษแม่สอด. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม
2563. แหล่ ง ที่ ม า : http://www.senate.go.th/w3c/senate/pictures/comm/
warasarn/feb.pdf.
ช่อฉัตร กระเทศ. (๒๕๖๐). ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของไทยรองรับการขยายอิทธิพลทางทะเล
ของจี น ในทะเลจี น ใต้ แ ละมหาสมุ ท รอิ น เดี ย . หลั ก สู ต รการป้ อ งกั น ราชอาณาจั ก ร รุ่ น ที่ ๕๙.
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
ช่อฉัตร กระเทศ. China and India Ocean. นาวิกศาสตร์. ปีที่ ๙๖ เล่ม ๑, ๒๕๕๖. หน้า ๘ - ๑๐.
ชาญชัย คุ้มปัญญา. แผนความร่วมมือป้องกันประเทศสหรัฐฯ - ญี่ปุ่น. คอลัมน์สถานการณ์โลก, ไทยโพสต์.
ปีที่ ๑๙ (ฉบับที่ ๖๗๕๒) วันอาทิตย์ที่ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๘.
ชาติรส สัมมะวัฒนา. (2557). แต้มต่อการค้าชายแดนไทย : เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน. สืบค้นเมื่อ
13 สิ ง ห า ค ม 2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที ่ ม า : http://www.bts.dft.go.th/btsc/files/
Document analysiselse/4.pdf.
ชุมพร ปัจจุสานนท์และคณะ. (2553). การศึกษากระบวนการการเข้าเป็นภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติ
ว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
๒๑๙

ชุมพร ปัจจุสานนท์. (2556). ความท้าทายการจัดการผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเลไทย ภายใต้กติกา


สากล : อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982 กับการออกกฎหมายรองรับ
ของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ชุมพล โพธิสาร. (2559). แนวทางการจัดการวัฒนธรรมบนฐานของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ ง แวดล้ อ มกลุ่ ม ชาติ พั น ธุ์ ม านิ (ซาไก) ในเขตรั ก ษาพั น ธุ์ สั ต ว์ ป่ า เขาบรรทั ด . กรุ ง เทพฯ :
สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
ไชยณรงค์ เศรษฐเชื้อ. (2543). นิ เ วศวิ ท ยาการเมื อ งของการสร้ า งเขื่ อ นขนาดใหญ่ใ นประทศไทย :
กรณีศึกษาโครงการเขื่อนแก่งเสือเต้น. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต , สาขาวิชาการจัดการ
สิ่งแวดล้อม, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ไชยสิ ท ธิ์ ตั น ตยกุ ล . รู ป แบบของความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งจี น กั บ สหรั ฐ ฯและบทบาทของไทย.
ศูนย์วิจัยยุทธศาสตร์ไทย – จีน สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ฐานข้อมูลความรู้ทางทะเล. (2562). อาณาเขตทางทะเล. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563. แหล่งที่มา
http://mkh.in.th/index.php/2010-03-22-18-01-39.
ณรงค์ ขุ้มทอง. “ทาไมต้องมีคลองไทย”. เศรษฐกิจ และการสร้างรายได้. มติชน. 6 ก.พ. 2563 (กรอบบ่าย).
ณรงค์ เส็งประชา. (๒๕๔๑). มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮาส์.
ณัฐกฤษตา เมฆา. (2551). ปัญหาและลู่ทางว่าด้วยสิทธิในการก้าหนดใจตนเองของชนพื้นเมืองดั้งเดิม.
วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
ดลหทัย จิรวิวรรธน์. (๒๕๕๙). คลองไทย : ประเด็นที่ต้องพิจารณาและเตรียมความพร้อมทางด้านกฎหมาย.
วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ด ารง แสงกวี เ ลิ ศ และนั น ธิ ก า ทั ง สุ พ านิ ช . (2545). เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ : แนวคิ ด ใหม่ ใ นการพั ฒ นา
พื้นที่เฉพาะ. วารสารเศรษฐกิจและสังคม. ปีที่ 39 (2), 42-43.
ทวีวงศ์ ศรีบุรี. (2541). EIA การวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : บริษัท มายด์
พับลิชชิ่ง.
ทีมข่าวเฉพาะกิจไทยรัฐออนไลน์. (2563). “12 ต้นไม้” กรองพิษ PM 2.5 “พื้นที่สีเขียว” ทางรอดลดฝุ่ น
ที่ ถู ก อ สั ง ห า ฯ ก ลื น . สื บ ค้ น เ มื่ อ 2 5 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที่ ม า :
https://www.thairath.co.th/scoop/1746540.
ธนพร ทัพพันธุ์. (2017). ภูมิศาสตร์ : ภูมิศาสตร์ของประเทศเกาหลีใต้. สืบค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2563.
แหล่งที่มา : https://nampicpatour.wordpress.com/ภูมิศาสตร์.
ธนาคารไทยพาณิชย์. (๒๕๖๒). แนวโน้มเศรษฐกิจปี ๒๐๒๐ : ยินดีต้อนรับสู่ปลายวัฏจักรของการเติบโต
เ ต รี ย ม พ ร้ อ ม กั บ โ ล ก ที่ ช ะ ล อ ตั ว . สื บ ค้ น เมื่ อ ๓๐ กั น ยายน ๒๕๖๓. แหล่ ง ที่ ม า :
https://thestandard.co/now-next-2020-economic-overview/.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). โครงสร้างเศรษฐกิจภาคใต้. สืบค้นเมื่อ 21 ตุลาคม 2563. แหล่งที่มา :
https://www.bot.or.th/Thai/MonetaryPolicy/Southern/Economic
Report/DocLib_Structure/EconomicStructure_south.pdf.
๒๒๐

ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2562). ยุทธศาสตร์ความร่วมมือทางเศรษฐกิจ อิรวดี – เจ้าพระยา – แม่โขง


(Ayeyawady – Chao Phraya – Mekong Economic Cooperation Strategy : ACMECS).
สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 1 พ ฤ ศ จิ ก า ย น 2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที่ ม า : https://www.bot.or.th/Thai/
AboutBOT/InternationalCooperation/Pages/ACMECS.aspx.
ธนิต โสรัตน์. (2560). เอกสารบรรยาย เศรษฐกิจสีคราม : ผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเล. คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ธเนศ ศรี วิ ชั ย ล าพั น ธ์ . (2558). วิ ช า 751727 : การวางแผนและประเมิ น โครงการ. เชี ย งใหม่ :
คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ธรรมรัตน์ พุทธไทย, กัมปนาท ภักดีกุล, และสุระ พัฒนเกียรติ. (2562). มาตรการระยะยาวเพื่อควบคุม
คุณ ภาพอากาศให้เ หมาะสมโดยใช้ พืชพรรณที่มีศักยภาพในการดักจับฝุ่นละอองในอากาศ
ล ง ทุ น น้ อ ย แ ต่ ไ ด้ ผ ล ร ะ ย ะ ย า ว . สื บ ค้ น เ มื่ อ 2 3 เ ม ษ า ย น 2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที่ ม า :
https://en.mahidol.ac.th/images/Factsheet_EN_Thamarat.pdf.
นงนภัส คู่วรัญญู เที่ยงกมล. (๒๕๕๑). สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่ง
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นรพัชร เสาธงทอง. การขุดคอคอดกระกับความมั่นคงทางภูมิรัฐศาสตร์ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. ปีที่ ๘. (มกราคม – มีนาคม ๒๕๕๙) : ๑๔๓ - ๑๕๓.
นิโรจน์ ธรรมยศ . นโยบาย "ความฝันของชนชาติจีน" (Chinese Dream) ของประธานาธิบดีสี จิ้น ผิง.
วารสารหลักเมือง. ปีที่ ๒๓, ฉบับที่ ๒๘๑, (กันยายน ๒๕๕๗). หน้า ๓๒ - ๓๕.
แนว คิ ด เชิ ง ระบบ ( System Concept). (28 เมษายน 2552 ). อั ญ ชลี ธ รรมะวิ ธี กุ ล , น . 1.
สื บ ค้ น เ มื่ อ วั น ที่ 1 0 กุ ม ภ า พั น ธ์ 2 5 6 2 , จ า ก ฐ า น ข้ อ มู ล PANCHALEE’S BLOG;
https://panchalee.wordpress.com.
บ้ า นและสวน. (2563). บ้ า นขนาดเล็ ก จะเพิ่ ม พื้ น ที่ สี เ ขี ย วที่ ช่ ว ยกรองฝุ่ น ได้ อ ย่ า งไร. สื บ ค้ น เมื่ อ
23 เมษายน 2563. แหล่ ง ที่ ม า : https://www.baanlaesuan.com/147117/ideas/
pm2-5-vertical_garden.
ประกาศกรมประมง เรื่อง แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยการป้องกัน ยับยั้งและขจัดการทาการประมงที่
ผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร้การควบคุม พ.ศ. 2558 – 2562 และแผนการบริหารจัดการ
ประมงทะเลของประเทศไทย นโยบายแห่งชาติด้านการจัดการประมงทะเล พ.ศ. 2558 – 2562.
(2558, 29 ธันวาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 132 ตอนพิเศษ 346 ง. หน้า 1.
ประทีป มีคติธรรม. (2557). คู่มือปฏิรูปกฎหมายกับพันธกรณีระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : คณะกรรมการ
ปฏิรูปกฎหมาย.
ประพจน์ คล้ายสุบรรณ. แนวคิด ทฤษฎีและหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องในคดีสิ่งแวดล้อม. วารสารวิชาการ
ศาลปกครอง. ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๒ (๒๕๕๐), หน้า ๓๐ - ๓๔.
ประภั ส สรณ์ เทพชาตรี . ข้ อ เสนอบทบาทของอาเซี ย นในการแก้ ปั ญ หาความขั ด แย้ ง ในทะเลจี น ใต้ .
ไทยโพสต์. ฉบับวันที่ ๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๔.
๒๒๑

ปราโมทย์ โศจิ ศุ ภ ร, ศุ ภิ ชั ย ตั้ ง ใจตรงและสมมาตร เนี ย มนิ ล . (2546). Eye on the Ocean
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 : ฟิสิกส์ในทะเล. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
ปาริชาต โชติยะ. (2539). รายงานผลกระทบทางสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบายศึกษา.
ปาริชาต โชติยะและคณะ. (๒๕๓๙). คู่มือแนวทางการมีส่วนร่วมของประชาชนในการประเมินผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สานักงานนโยบายและแผนร่วมกับสถาบันนโยบายการศึกษา.
ปิยนาถ ประยูร, ชัยวัฒน์ ถิระพันธุ์ , พระมหาสุทิตย์ อบอุ่น. (2548). Systems thinking วิธีคิดกระบวน
ระบบ. กรุงเทพฯ : โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.).
ผู้จัดการออนไลน์. (2557, 11 ตุลาคม). “ประจิน เทงบยุทธศาสตร์ทางนา 10 ปี 7.66 หมื่นล้าน สั่งผุด
แลนด์ บ ริ ด จ์ เ ชื่ อ มปากบาริ - สงขลา”. สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ 6 มกราคม 2558, แหล่ ง ที่ ม า :
https://mgronline.com/business/detail/9570000117168.
เผดิมศักดิ์ จารยะพันธุ์ และคณะ. (๒๕๕๐). ผลประโยชน์แห่งชาติทางทะเล : สถานการณ์และข้อเสนอ.
กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2550.
ฝ่ายเศรษฐกิจมหภาค, ธนาคารแห่งประเทศไทย. (๒๕๖๓). ทิศทางเศรษฐกิจไทยปี ๒๕๖๓ ชะลอตัวต่้ากว่า
ที่คาดและต่้ากว่าศักยภาพ. BOT MAGAZINE. ๒๕๖๓ (๑), ๔ - ๗.
พระราชบั ญญั ติ ก าหนดเขตจั งหวั ดในอ่ าวไทยตอนใน พ.ศ. 2502. (29 กั นยายน 2502). ราชกิ จจานุ เบกษา.
เล่ม 76 ตอนที่ 92 หน้าที่ 430.
พระราชบัญญัติเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ส้าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย พ.ศ. ๒๕๖๐. (๒๕๖๐,
๑๓ กุมภาพันธ์). เล่มที่ ๑๓๔, ตอนที่ ๑๙ ก. หน้า ๑-๑๐.
พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม การพาณิ ช ย์ น าวี พ.ศ. ๒๕๒๑. ๑๘ ธั น วาคม ๒๕๒๑. ราชกิ จ จานุ เ บกษา.
เล่ม ๙๕ ตอนที่ ๑๔๓ฉบับพิเศษ หน้า ๑-9.
พระราชบัญญัติส่งเสริมการลงทุน (ฉบับที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๖๐. (๒๕๖๐, ๒๔ มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา.
เล่มที่ ๑๓๔ ตอนที่ ๑๐ ก. หน้า ๔๗ - ๕๑.
พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ (ฉบั บ ที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๑. (๒๕๖๑,
๑๙ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๕. ตอนที่ ๒๗ ก. หน้า ๒๙ - ๔๓.
พระราชบั ญ ญั ติ ส่ ง เสริ ม และรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ มแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๓๕. (๒๕๓๕, ๔ เมษายน).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๐๙. ตอนที่ ๓๗. หน้า ๑ - ๓๗.
พระราชบั ญ ญั ติ ส ภาความมั่ น คงแห่ ง ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๙. (๒๕๕๙, ๒๖ กั น ยายน). ราชกิ จ จานุ เ บกษา.
เล่ม ๑๓๓. ตอนที่ ๘๕ ก. หน้า ๑ - ๘.
พั ช รี วี ร ะนนท์ . (3 ธั น วาคม 2562). พื้ น ที่ ชุ่ ม น้้ า ของประเทศไทย. สื บ ค้ น เมื่ อ 13 สิ ง หาคม 2563.
แหล่งที่มา : http://www.onep.go.th/พื้นที่ชุ่มน้าของประเทศ/.
พาลาภ สิ งหเสนี และคณะ. (๒๕๔๕). รายงานการวิจัยการมีส่วนร่ วมเพื่อคุณ ภาพชีวิตและชุมชนและ
การพั ฒ นาที่ ยั่ ง ยื น : กรณี ศึ ก ษาการแก้ ปั ญ หาสารพิ ษ ในนิ ค มอุ ต สาหกรรมมาบตาพุ ด .
กรุงเทพฯ : บริษัท อาษรโสภณ จากัด.
๒๒๒

พีรพงศ์ ไวกาสี . (2550). บทบาทของกองทั พไทยในการเสริมสร้างความสัมพันธ์ ไทย - มาเลเซียในปี


พ.ศ. ๒๕๔๘ – ๒๕๕๑. เอกสารวิ จั ย ส่ ว นบุ ค คล, วิ ท ยาลั ย การทั พ บก, สถาบั น วิ ช าการ
ทหารบกชั้ น สู ง .
เพ็ญนภา สวนทอง. แนวคิดและทฤษฎีในการศึกษาจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม : มุมมอง
เศรษฐศาสตร์การเมือง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา. ๒๕๖๐. ๕(๒). หน้า ๙๕ - ๑๑๘.
โพสต์ทูเดย์ , “ปากบารา – แลนด์ บริ ด จ์ ไม่คุ้มค่า – ท้า ร้ า ยภาคใต้ ”. สื บค้นเมื่อ 20 เมษายน 2563,
แหล่ ง ที่ ม า : http://prdnews.egat.co.th/clipnews_egat/2015/1/6/ corporate-post-
today01-1-417-20150106-131623.pdf.
ภั ท รมน สาตรั ก ษ์ . (๒๕๕๖). ความชอบด้ ว ยกฎหมายของการประกาศอิ ส รภาพฝ่ า ยเดี ย วต่ อ
การเกิดขึ้นของรัฐใหม่. วารสารนิติศาสตร์มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ, (๓), ๘๗ - ๙๘.
มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๒ เรื่อง การทบทวนมติคณะรัฐ มนตรี วันที่ 1 สิงหาคม
2543 เรื่อง ทะเบียนรายนามพื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญระดับนานาชาติและระดับประเทศไทยและ
มาตรการอนุรักษ์พื้นที่ชุ่มน้า ข้อที่ 10.
มติชนออนไลน์. (2563, 30 มิถุนายน). จีนก้าหนดมณฑลไห่หนาน เขตทดลองการค้าเสรี เพื่อให้สอดคล้อง
กั บความเปลี่ ยนแปลงของโลก : โดย ศชยานั นต์ ศุ กลวณิ ช. สื บค้ นเมื่ อวั นที่ 13 พฤศจิ กายน 2563.
แหล่งที่มา : https://www.matichon.co.th/news-monitor/news_2246309.
มาโนช วามานนท์ , เพ็ ญ นภา ทรั พ ย์ เ จริ ญ (2540). ผั ก พื้ น บ้ า น : ความหมายและภู มิ ปั ญ ญาของ
สามัญชนไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์.
มู ล นิ ธิ สื บ นาคเสถี ย ร. ว่ า ด้ ว ยการถมทะเล. สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ ๒๕ กั น ยายน ๒๕๖๓. แหล่ ง ที่ ม า :
http://www.seub.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=685:seub
news &catid=5:2009-10-07-10-58-20&Itemid=14.
ยศวี ร์ ตั น กิ ม หงษ์ . (2551). การเปรี ย บเที ย บรู ป แบบการขนส่ ง สิ น ค้ า ตู้ ท างบกและทางทะเลจาก
ประเทศไทยสู่เวียดนาม. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาการการจัดการด้านโลจิสติกส์)
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย. (๒๕๖๐, ๖ เมษายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม ๑๓๔. ตอนที่ ๔๐ ก.
หน้า ๑ - ๙๐.
รีนี ซูยาติ ซูลอง. (2555). ความสัมพันธ์ระหว่างคลองกระกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. ถอดความเป็น
ภาษาไทยโดย เจริญ เอียดทอง.
เรวดี แก้วมณี. (2556). แนวโน้มการค้าชายแดนสดใส...โอกาสของภาคอุตสาหกรรมภายใต้ยุคค่าเงินบาท
ผันผวน. วารสารเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. 9(33). 15 - 18.
วชิรพร วงศ์นครสว่าง. ความร่วมมือด้านความมั่นคงทางทะเลในอาเซียน : ความท้าทายและความคาดหวัง.
นาวิกาธิปัตย์สาร. ฉบับที่ ๘๔, (มิถุนายน - กันยายน ๒๕๕๐). หน้า ๖๐.
วรวุ ฒิ ตั น ติ ว นิ ช . (2535). ธรณี วิ ท ยาภั ย พิ บั ติ เ นื่ อ งจากแผ่ น ดิ น ถล่ ม ที่ บ้ า นกระทู น เหนื อ
จั ง หวั ด นครศรี ธ รรมราช. ฝ่ า ยธรณี วิ ท ยาสิ่ ง แวดล้ อ ม กองธรณี วิ ท ยา. กรุ ง เทพฯ :
กรมทรัพยากรธรณี.
๒๒๓

วรากร ไม้เรี ย งและคณะ. (2546). รายงานวิจัยฉบับสมบูร ณ์ โ ครงการพัฒนาแผนหลักการจัดการภัย


ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินถล่ม. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วัญเพ็ญ ไกรเกีย รติกุล . (2549). การวิเ คราะห์ค่า ระหว่ า งการขนส่ง สิน ค้ า ทางทะเลระหว่า งประเทศ
กรณี ศึ ก ษาเส้ น ทางไทย - เซี่ ย งไฮ้ แ ละเส้ น ทางไทย - สิ ง คโปร์ . วิ ท ยานิ พ นธ์ เ ศรษฐศาสตร
มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วายูน ศาลาอนุกูลกิจ. (๒๕๕๙). นโยบายต่างประเทศของจีนในสมัยเลขาธิการพรรคและประธานาธิ บดี
สีจิ้นผิงต่อกรณีพิพาทเกี่ยวกับหมู่เกาะสแปรตลี่ร ะหว่า ง ค.ศ. ๒๐๑๒ - ๒๐๑๕. วิทยานิพนธ์
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิชัย โถสุวรรณจินดา. (2554). ครบเครื่องเรื่องการเจรจาต่อรอง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ : สมาคมส่งเสริม
เทคโนโลยี (ไทย - ญี่ปุ่น).
วิชาญ ศิริชัยเอกวัฒน์. (2556). ความท้าทายการจัดการผลประโยชน์ แห่งชาติทางทะเลไทย ภายใต้กติกา
สากล : อนาคตการประมงทะเลของไทยหลังการให้สัตยาบันอนุสัญญาสหประชาชาติว่า ด้วย
กฎหมายทะเล. ค.ศ. 1982. กรุงเทพฯ : สานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
วินัย เรืองศรี. ลักษณะและขอบเขตคดีสิ่งแวดล้อม. เอกสารประกอบการบรรยายวิชาปัญหาการดาเนินคดี
คดีสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, น.6.
วิโรจน์ พินโยภรณ์. (2529). การเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาลของลักษณะมวลน้้า ในอ่าวไทยและทะเลจีนใต้.
วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต , ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล. บัณฑิตวิทยาลั ย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วุ ฒิ ส ภา. (2548). รายงานของคณะกรรมาธิ ก ารเศรษฐกิ จ การพาณิ ช ย์ แ ละอุ ต สาหกรรมวุ ฒิ ส ภา
เรื่อง ร่างพระราชบัญญัติ เขตเศรษฐกิจพิเศษ. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขาธิการวุฒิสภา.
ศรัณย์ เพ็ชร์พิรุณ. (2549). สมุทรกรณี. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ศิ โ รฒน์ ภาคสุ ว รรณ. (๒๕๓๑). ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ : ทฤษฎี แ ละพฤติ ก รรม. กรุ ง เทพฯ :
โรงพิมพ์ข่าวพาณิชย์.
ศูนย์ป้องกันวิกฤติน้า กรมทรัพยากรน้า (2563). ลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา. สืบค้นเมื่อ 8 พฤศจิกายน 2563.
แหล่งที่มา : http://mekhala.dwr.go.th/knowledge-basin-songkla.php.
ศูนย์ปืน โสมภีร์และจเร โฉมเฉลา. (๒๕๕๐). ระบบโลกสมุททานุภาพกับโอกาสทางเศรษฐกิจ. ในการบรรยาย
งานวิชาการ ๔ สถาบัน, สถาบันวิชาการทหารเรือชั้นสูง จังหวัดนครปฐม. หน้า ๒ - ๕.
ศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยในประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน, สานักงานส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
ณ กรุ ง มะนิ ล า. (2563). สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ก ารลงทุ น ในประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ . สื บ ค้ น เมื่ อ 14
พฤศจิ ก ายน 2563. แหล่ ง ที่ ม า : https://www.ditp.go.th/ contents_ attach/92342/
92342.pdf.
ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุงสานักงานวิจัยและพัฒนากรมการข้าว . (2550). พันธุข้าวพื้นบ้านภาคใต้เล่ม 1. พัทลุง :
ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ส้านักงานวิจัยและพัฒนากรมการข้าว.
๒๒๔

ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. (๒๕๖๐). เอกสารศึกษาเฉพาะกรณี : ยุทธศาสตร์


และการพัฒนาขีดความสามารถก้าลังทางเรือ. กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการ
ป้องกันประเทศ.
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงนิวเดลี. (๒๕๕๘). ความสัมพันธ์ไทย – อินเดีย. สืบค้นเมื่อ ๒๐ สิงหาคม ๒๕๖๓.
แหล่ ง ที่ ม า : http://newdelhi.thaiembassy.org/th/thailand-india-relations-th/political-
andsecurity-cooperation-th/ , 2558.
สถานเอกอั ครราชทู ต ณ กรุ งปั กกิ่ ง. (๒๕๖๐). การเมื อง. สื บค้ นเมื่ อ ๒๐ สิ งหาคม ๒๕๖๓. แหล่ งที่ มา :
http://www.thaiembbeij.org/thaiembbeij/th/republic-of-china/thai–relations-
china/,2560.
สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศว์โรปการกระทรวงการต่างประเทศ. (2556). ค้าศัพท์ - ค้าย่อทางการทูต
และการต่างประเทศ. พิมพ์ครั้งที่ 5 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : หจก. ภาพพิมพ์.
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา. (2557). แนวระเบียงเศรษฐกิจในอนุภู มิภาคลุ่มน้้าโขง.
สื บ ค้ น เมื่ อ 12 สิ ง หาคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า : http://itd.or.th/research -trade - and -
dev/217-4 (1/10/57).
สถาบั น วิ จั ย ระบบสาธารณสุ ข . (2548). คู่ มื อ ประชาชนเพื่ อ การเรี ย นรู้ น โยบายสาธารณะ : รู้ ทั น
ร่างกฎหมายเขตเศรษฐกิจพิเศษ. เอกสารประกอบการสัมมนา "ความจริง นโยบาย กฎหมายและ
สิ ทธิ คนจน" วั นที่ 25 - 26 มี นาคม 2548. โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุ งเทพมหานคร. กรุ งเทพฯ :
แผนงานวิจัยและพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ.
สนธยา พลศรี. (2545). ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
สภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๖๓). รายงานการพิจารณาศึกษา เรื่อง “การพัฒนาภาคใต้เขตเศรษฐกิจพิเศษ
ข ว า น ท อ ง ” ( The Golden Ax Special Economic Zone: GASEZ). ก รุ ง เ ท พ ฯ :
คณะกรรมาธิ ก ารความมั่ น คงแห่ ง รั ฐ กิ จ การชายแดนยุ ท ธศาสตร์ ช าติ แ ละการปฏิ รู ป ประเทศ
สภาผู้แทนราษฎร.
สมชาย ภคภาสน์วิวัฒน์. (2551). กลยุทธ์การเจรจาต่อรอง. พิมพ์ครั้งที่ 5 .กรุงเทพฯ : พัฒนาวิจัย.
สมชาย ศักดาเวคีอิศร. (2557). เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษชายแดน. “เอกสารเสวนา เรื่อง เพื่อนคู่คิด มิตร
คู่ AEC ครั้ งที่ 2/2557”. วั นพุ ธที่ 27 สิ งหาคม2557 ณ.ธนาคารกรุ งเทพ ส านั กงานใหญ่ . กรุ งเทพฯ :
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สมยศ นาวีการ. (2547). ทฤษฎีองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ : กรุงธนพัฒนา จากัด.
สมาคมสันนิบาติเทศบาลแห่งประเทศไทย. (2548). การวิเคราะห์(ร่าง) พระราชบัญญัติเขตเศรษฐกิจ
พิเศษ. สืบค้นเมื่อ 13 สิงหาคม 2563. แหล่งที่มา : http://www.nakhonmaesotcity.go.th.
ส่ ว นธรณี วิ ท ยาทางทะเล. (2555). ธรณี วิ ท ยากายภาพพื้ น ทะเลอ่ า วไทยตอนบน. รายงานวิ ช าการ
เลขที่ สทธ. 9/2555 ส่วนธรณีวิทยาทางทะเล สานักเทคโนโลยีธรณี www.geothai.net/gulf-of-
thailand [2016, Oct 8]
สามารถ จาปีรัตน์.(2556). สมุททานุภาพ เนื้อหาความรู้ความหมายที่ทหารเรือไทย ควรรู้ให้แจ้ง ตอนที่ ๒
สมุทรานุภาพ. นาวิกศาสตร์. (พฤศจิกายน ๒๕๕๖). หน้า ๑๑ - ๑๓.
๒๒๕

ส านั ก ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งประเทศ กระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร. (2557). ความเป็ น มาของ ASEM.
สืบค้นเมื่อ 12 สิงหาคม 2563. แหล่งที่มา : http://www.bic.moe.go.th/th/index.php?
สานักงบประมาณของรัฐสภา, สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (๒๕๖๓). รายงานเศรษฐกิจ การเงิน
การคลังภาครัฐระดับมหภาค. กรุงเทพฯ : สานักการพิมพ์ สานักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สานักงานกฎหมาย มีชัย ฤชุพันธุ์ . (2547). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการรูปแบบเขตเศรษฐกิจพิเศษ.
กรุงเทพฯ : บริษัท สานักงานกฎหมาย มีชัย ฤชุพันธุ์ จากัด.
ส านั ก งานคณะกรรมการกฤษฎี ก า. “ถมทะเล (Land Reclamation)”. สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ 6 กุ ม ภาพั น ธ์
2556, แหล่งที่มา : http://www.lawreform.go.th/lawreform/index. php?
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2546). สรุ ป Special Economic Zone Laws ของต่า งประเทศ.
กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (4 เมษายน 2548). เขตเศรษฐกิจพิเศษ (Special Economic Zone.)
กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา.
ส านั กงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. “ถมทะเล (Land Reclamation)”. สื บค้นเมื่อ 6 สิ งหาคม 2563,
แหล่งที่มา : http://www.lawreform.go.th/lawreform/index.php?
สานักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติ , กระทรวงพลังงาน. ทะเลจีนใต้และหมู่เกาะสแปรทลีย์
ชนวนแห่ ง ความขั ด แย้ ง ด้ า นสิ ท ธิ ค รอบครอง. วารสารนโยบายพลั ง งาน. ฉบั บ ที่ ๕๑,
(มกราคม - มีนาคม ๒๕๔๔). หน้า ๗๖ - ๘๒.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี. (2559). แผนพัฒนา
เศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี.
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2552). การขับเคลื่อน ยุทธศาสตร์การ
ผลิตที่ยั่งยืนเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ทรัพยากรในภาคการผลิตและการบริการ. กรุงเทพฯ :
สามารถก๊ อ ปปี้ .
ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . (๒๕๕๖). รายงานการศึ ก ษาเรื่ อ ง
การพั ฒ นาพื้ น ที่ ช ายฝั่ ง ทะเลภาคใต้ . สื บ ค้ น เมื่ อ วั น ที่ 6 มกราคม 2556, แหล่ ง ที่ ม า :
http://www.nesdb.go.th.
ส านั กงานคณะกรรมการพัฒ นาการเศรษฐกิจ และสั ง คมแห่ ง ชาติ. (2557จ). รายงานการศึ กษาดูงาน
การบริ ห ารจั ด การเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษอิ ส กั น ดาร์ ประเทศมาเลเซี ย และการวางผั ง เมื อ ง
ประเทศสิงคโปร์ ระหว่างวันที่ 26 - 28 มีนาคม 2557. กรุงเทพฯ : สานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.). (2563). รายงานการวิเคราะห์
สถานการณ์ เศรษฐกิจ สังคม ยุทธศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ ระดับพื้นที่ภาคใต้ตอนบน
(ภาคใต้ฝั่งอ่า วไทยและภาคใต้ฝั่งอัน ดามัน ). กรุงเทพฯ : คณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์
วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.).
๒๒๖

สานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนากรอบอนุภูมิภาค กระทรวงการต่างประเทศ. (2557). กรอบข้อตกลง


ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งประเทศ ACMECS. สื บ ต้ น เมื่ อ 12 ตุ ล าคม 2563.แหล่ ง ที่ ม า :
http://tica.thaigov.net/main/th/aid/3252(1/10/57).
สานักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ. (2557). การรวมกลุ่ม
ป ร ะ ช า ค ม เ ศ ร ษ ฐ กิ จ อ า เ ซี ย น . สื บ ค้ น เ มื่ อ 1 2 สิ ง ห า ค ม 2 5 6 3 . แ ห ล่ ง ที่ ม า :
http://tica.thaigov.net/main/th/aid/3 2 5 2 / 3 8 0 6 9 - ก ร อ บ - AEC-(ASEAN-Economic-
Community).html 02203-5000(1/10/57).
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. (2552). รู้ไว้ใช่ว่าพื้นที่ชุ่มน้้า. กรุงเทพฯ :
สานักความหลากหลายทางชีวภาพ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.
สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย. (2561). โครงการพัฒนาศักยภาพในการเชื่อมโยงและจัดท้า แผน
ยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับพื้นที่ : ดัชนีชุมชนเข้มแข็ง, จ้านวนองค์กรชุมชนต่อ
ประชากรแสนคน. สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563. แหล่งที่มา : http://benchmark.moi.go.th/
moibenchmarking2561/#kpi-02200012.
ส านั ก งานปลั ด กระทรวงมหาดไทย. (2561). โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพในการเชื่ อ มโยงและจั ด ท้ า
แผนยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนการพัฒนาในระดับพื้นที่ : สัดส่วนแรงงานเพศหญิงต่อประชากร
แรงงาน (รายภาค). สืบค้นเมื่อ 20 ตุลาคม 2563. แหล่งที่มา : http://benchmark.moi.go.th/
moibenchmarking2561/#kpi-0112001.
ส านั ก งานปลั ด กระทรวงมหาดไทย. (2561). โครงการพั ฒ นาศั ก ยภาพในการเชื่ อ มโยงและจั ด ท้ า
แผนยุทธศาสตร์เ พื่อสนับสนุน การพัฒนาในระดับพื้น ที่ : สัดส่วนผู้หญิงในระดับบริ หารหรื อ
ในระดั บการตั ด สิน ใจต่ อจ้ า นวนแรงงานในระดับบริ หารทั้งหมด (รายภาค). สื บค้นเมื่อ 20
ตุลาคม 2563. แหล่งที่มา : http://benchmark.moi.go.th/ moibenchmarking2561/#kpi-
0113001.
ส านั ก งานราชบั ณ ฑิ ต ยสภา. (2556). ทะเลสาบ. สื บ ค้ น เมื่ อ 20 ตุ ล าคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า :
http://www.royin.go.th/ ?knowledges=ทะเลสาบ-๑๙-ตุลาคม-๒๕๕๖.
ส านั ก งานเลขาธิ ก ารวุ ฒิ ส ภา. (2548). รายงานของคณะกรรมาธิ ก ารเศรษฐกิ จ การพาณิ ช ย์ แ ละ
อุ ต สาหกรรม วุ ฒิ ส ภา “ร่ า งพระราชบั ญ ญั ติ เ ขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ”. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งาน
เลขาธิการวุฒิสภา.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น การต่ า งประเทศ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
๒๒๗

ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น การพั ฒ นาการเรี ย นรู้ พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นความมั่นคง พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์
ชาติ, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น การปรั บเปลี่ยนค่า นิยมและวัฒนธรรม พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : ส านักงาน
เลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ , สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็น การพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงาน
เลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ , สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น ศั ก ยภาพการกี ฬ า พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นการบริหารจัดการน้้าทั้งระบบ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นการวิจัยและพัฒนานวัตกรรม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการ
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น การเติ บ โตอย่ า งยั่ ง ยื น พ.ศ. ๒๕๖๑-๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น เศรษฐกิ จ ฐานราก พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก าร
ของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งานคณะกรรมการพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และ
สังคมแห่งชาติ.
๒๒๘

ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่บ ทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นอุตสาหกรรมและการบริการแห่งอนาคต พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงาน
เลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ , สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น การบริ การประชาชนและประสิ ทธิ ภ าพภาครั ฐ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ :
ส านั กงานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ , ส านักงานคณะกรรมการพั ฒ นาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นพลังทางสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติ, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐.
กรุ งเทพฯ : ส านั กงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ , ส านักงานคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นพื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของ
คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นการท่องเที่ยว พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติ, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นการเกษตร พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการ
ยุทธศาสตร์ชาติ, สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น โครงสร้ า งพื้ น ฐาน ระบบโลจิ ส ติ ก ส์ แ ละดิ จิ ตั ล พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ :
ส านั กงานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ , ส านักงานคณะกรรมการพั ฒ นาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็นความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุงเทพฯ : สานักงาน
เลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ , สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ.
๒๒๙

ส านั กงานเลขานุ การของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ. (๒๕๖๑). แผนแม่ บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ ช าติ
ประเด็ น กฎหมายและกระบวนการยุ ติ ธ รรม พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐. กรุ ง เทพฯ :
ส านั กงานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการยุ ทธศาสตร์ช าติ , ส านักงานคณะกรรมการพั ฒ นาการ
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (๒๕๖๑). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐
(ฉบั บ ย่ อ ). กรุ ง เทพฯ : ส านั ก งานเลขานุ ก ารของคณะกรรมการยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , ส านั ก งาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ. (๒๕๖๒). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๘๐.
พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักงานเลขานุการของคณะกรรมการยุทธศาสตร์ช าติ , สานักงาน
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
ส านั กงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรงอุตสาหกรรมและสถาบันการขนส่ ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
(๒๕๕๐). รายงานการศึกษาฉบับสมบูร ณ์ โ ครงการผลักดัน อุตสาหกรรมต่อเรื อและซ่อ มเรื อ
แบบครบวงจร. กรุงเทพฯ : สถาบันการขนส่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ส านั ก งานส่ ง เสริ ม วิ ส าหกิ จ ขนาดกลางและขนาดย่ อ ม(สสว.). (2553). สรุ ป ผลการศึ ก ษา SMEs
ประเทศไทย : บทบาทเชิงเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม. สื บค้นเมื่อ 25 ตุล าคม 2563
แ ห ล ่ ง ที ่ ม า : https://www.sme.go.th/upload/mod_download/ Chapter 7 -
20171024122055.pdf.
สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช). (๒๕๕๘). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๘ - ๒๕๖๔.
กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.
สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ (สมช). (๒๕๕๘). แผนความมั่นคงแห่งชาติทางทะเล พ.ศ. ๒๕๕๘ -
๒๕๖๔. กรุงเทพฯ : สานักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ.
ส านั ก งานสภาพั ฒ นาการเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ . (2562). รายงานการศึ ก ษาความเหมาะสม
ในรายละเอี ย ดของรู ป แบบการพั ฒ นาในพื้ น ที่ จั ง หวั ด ชุ ม พร – ระนองและ พื้ น ที่
จังหวัดสุราษฎร์ธานี - นครศรีธรรมราช : การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ อย่างยั่งยืน
(Southern Economic Corridor: SEC). กรุงเทพฯ : สานักยุทธศาสตร์และการวางแผนพัฒนา
พื้นที่ สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2563). แผนพัฒนาภาค พ.ศ. 2560 - 2565
(ฉบั บ ทบทวน) แผนพั ฒ นาภาคเหนื อ แผนพั ฒ นาภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ แผนพั ฒ นา
ภาคกลางและพื้นที่กรุงเทพมหานคร แผนพัฒนาภาคตะวันออก แผนพัฒนาภาคใต้ แผนพัฒนา
ภาคใต้ชายแดน. กรุงเทพฯ : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้ อม.
(๒๕๕๖). โครงการถมทะเลและก่อสร้างท่าเทียบเรือและคลังเก็บวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมี.
สื บ ค้ น เมื ่ อ วั น ที ่ 17 ตุ ล าคม 2556 , แหล่ ง ที ่ ม า : http://eia.onep.go.th/pro-
info.php?id=4517.
๒๓๐

สานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน (OSM Andaman). (2560). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัด


ภาคใต้ ฝั่ ง อั น ดามั น (ระนอง พั ง งา ภู เ ก็ ต กระบี่ ตรั ง ) พ.ศ. ๒๕๖๑ - ๒๕๖๔. ภู เ ก็ ต :
กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอันดามัน สานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด
ภาคใต้ฝั่งอันดามัน (OSM Andaman).
สานักบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย. (2559). แผนพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย
(พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๖๔). สุราษฎร์ธานี : กลุ่มงานบริหารยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคใต้ ฝั่งอ่าวไทย.
สานักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว. (2553). พันธุข้าวพื้นบ้านภาคใต้ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักวิจัยและ
พัฒนาข้าว กรมการข้าว.
ส านั กอนุ รั กษ์ ทรั พยากรป่ าชายเลน. (2552). พั นธุ์ ไม้ ป่ าชายเลนในประเทศไทย (ฉบั บปรั บปรุ งใหม่ ) .
(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จากัด
สิ ริ ว ษา สิ ท ธิ ชั ย . (2551). สิ ท ธิ ป ระโยชน์ ท างภาษี เ พื่ อ ประโยชน์ ใ นการจั ด ตั้ ง เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ.
วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. (นิติศาสตร์). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย.
สุกัลยา โชคบารุง. (๒๕๔๗). โครงการคลองกระ. เอกสารรายงานส่วนบุคคลหลักสูตรประกาศนียบัตรชั้นสูง
การบริหารเศรษฐกิจสาธารณะสาหรับนักบริหารระดับสูง รุ่นที่ ๒. กรุงเทพฯ : สถาบันพระปกเกล้า.
สุ คนธ์เมธ จิ ตรมหั น ตกุล . (2555). ธรณีวิทยาอ่าวไทย. สื บค้นเมื่อ 14 ธันวาคม 2563. แหล่ งที่มา :
http://www.geothai.net/gulf-of-thailand
สุทธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์. (2544). โครงสร้างและพลวัฒนธรรมภาคใต้กับการพัฒนา. กรุงเทพฯ : สานักงาน
กองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
สุธิชา ชิตกุล. (2550). ความคิดเชิงระบบกับการพัฒนาองค์กร : ศึกษากรณี บริษัท กสท. โทรคมนาคม
จ้ากัด มหาชน. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต , สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ , คณะ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์, สาขาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ.
สุนทร ปัญญะพงษ์. (2554). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสังคมวิทยา. ชัยภูมิ : คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ.
สุนีย์ มัลลิกะมาลย์. (๒๕๔๒). การใช้บังคับกฎหมายสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์นิติธรรม.
สุ นี ย์ มั ล ลิ ก ะมาลย์ . (๒๕๔๙). รั ฐ ธรรมนู ญ กั บ การมี ส่ ว นร่ ว มของประชาชนในการพิ ทั ก ษ์ รั ก ษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุ ม าลี ปิ ต ยานนท์ . (๒๕๓๙). เศรษฐศาสตร์ แ รงงาน. พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 2. กรุ ง เทพฯ : คณะเศรษฐศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุมาลี สุขดานนท์และคณะ. (2552). การศึกษาการประเมินศักยภาพการใช้ท่าเรือไทย. กรุงเทพฯ : สถาบัน
ธุรกิจพาณิชย์นาวี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุรัตน์ เจียรนัยวิวัฒน์. (2556). การกัดเซาะพื้นที่ชายฝั่งทะเลจังหวัดระยอง. สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2563.
แหล่งที่มา : http://sawasdee.bu.ac.th/article/geo4303.html.
โสภารั ต น์ จารุ ส มบั ติ . (๒๕๕๑). นโยบายและการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ ม. กรุ ง เทพฯ : โรงพิ ม พ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
๒๓๑

โสภารั ต น์ จารุ ส มบั ติ . (2559). อนุ สั ญ ญาสหประชาชาติ ว่ า ด้ ว ยกฎหมายทะเล ค.ศ. 1982


กับการด้าเนินงานของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
อรรถพร บรมสุ ข . (๒๕๕๓). การขุ ด คลองกระกั บ ความมั่ น คงทางทะเลไทย. วิ ท ยานิ พ นธ์ ม หาบั ณ ฑิ ต
คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรวรรณ วงษ์ประคอง (มปป). การคิดเชิงระบบเพื่อการพัฒนาองค์การ. สถาบันพัฒนาครู คณาจารและ
บุคลกรทางการศึกษา.
อักษรศรี พานิชสาส์น. (๒๕๕๙). จีนเดินแผนเชื่อมอาเซียน ยุทธศาสตร์เส้นทางสายไหม. สืบค้นเมื่อ ๒๒
สิงหาคม ๒๕๖๓. แหล่งที่มา : http://daily.khaosod.co.th/ view_news.php?.
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2552). แนวคิดเชิงระบบ (System Concept). สืบค้นเมื่อ 10 กรกฎาคม 2563.
แหล่งที่มา : https://panchalee. wordpress. com/ 2009/ 04/ 28/ system- concept/.
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล. (2552). กระบวนการนิเทศภายใน. กรุงเทพฯ : อักษรบริการ.
อาคม สุ ว รรณกั น ธา. (2555). เขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษชายแดนภาคเหนื อ . สื บ ค้ น เมื่ อ 18 กรกฎาคม
2560, ค้นจาก : http://goldenworld-inter.com/index.php?option=com.
อาภรณ์ อุกฤษณ์. ชาวเลและซาไก เจ้าของฝั่งทะเลตะวันตก : ในคืนวันแห่งความเปลี่ยนแปลง. วารสาร
ทักษิณคดี ปีที่ ๓ ฉบับที่๓(ตุลาคม 2536) และ ปรีดา คงแป้น มูลนิธิชุมชนไท นาเสนอ “วิกฤติ
วิถีชาวเล” สกว.
อานาจ วงศ์บัณฑิต. (๒๕๕๐). กฎหมายสิ่งแวดล้อม. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์วิญญูชน.
อิทธิพล ปานงามและคณะ. (2541). การศึกษาปัจจัยเปรียบเทียบศักยภาพของท่าเรือในภู มิภาคอินโดจีน.
กรุงเทพฯ : สถาบันธุรกิจพาณิชย์นาวี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อุทยานธรณีสตูล (Satun Geopark). (2560). เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล . สืบค้นเมื่อ 25 ตุลาคม 2563.
แหล่งที่มา : http://www.satun-geopark.com/เกี่ยวกับอุทยานธรณีสตูล.
เอก เจริญศิลป์และนภัสวัลย์ เกิดนรินทร์. (2563). ศึกษาการใช้งานพันธุ์ไม้ช่วยลดมลภาวะทางอากาศเพื่อ
ใช้ในโครงการคอนโดรักษ์สิ่งแวดล้อมในเมือง. เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ
มหาวิทยาลัยรังสิต ประจาปี 2563. 1 พฤษภาคม 2563.
เอนก เหล่าธรรมทัศน์และคณะฯ. ข้อเสนอนโยบาย One Belt One Road ของจีน. สืบค้นเมื่อ ๒๐ สิงหาคม
๒๕๖๓. แหล่งที่มา : http://www.slideshare.net/Klangpanya/one-belt-one-road, ๒๕๕๘.
เอวิ ก า คิ น เดอร์ . (2007). นั ย ทางยุ ท ธ ศ าสตร์ ของค วามเป็ น ไปได้ ใ นการขุ ด คลองไทย ,
ถอดความเป็นภาษาไทยโดย เจริญ เอียดทอง.
๒๓๒

ภาษาอังกฤษ
A. Giordano and N.Filippi. (2014). Advantages and disadvantages of land use changes for
the preservation of soil resources. Review of soil conservation practice and the
need for related research. Accessed July 8, 2020, from : http: / / om. ciheam.
org /om/pdf/c01-2/95605231.pdf.
Aaron, M.C. (2007). Negotiating Outcomes : Expert Solutions to Everyday Challenges
(Pocket Mentor). Harvard Business Review Press; Illustrated edition (May 16, 2007)
Abbott, C. et al. (2006). Global Responses to Global Threats Sustainable Security for The
21st Century. UK: Oxford Research Group.
Abe K. and Iwamoto M. (1986). Preliminary experiment on shear in soil layers with a large
direct-shear apparatus. Journal of the Japanese Forestry Society, 68 : 61 – 65.
Ackoff, R. L. (2010). Systems Thinking for Curious Managers. (Triarchy Press).
Alfred Thayer Mahan. (1987). The Influence of Sea Power upon History, 1660 - 1783.
London : Dover Publications. p. 26 - 32.
Amonthep Thongsin. (2002). The Kra canal and Thai security. Master thesis submitted to
the Naval Postgraduate School, USA.
Ashton B. Carter, William J.Perry and John D. Steinbrunner. A New Concept of Cooperative
Security. Brookings Institution. (October 1992) : p. 7.
Aumann, R.J. & Dreze, J.H. (1974). Cooperative games with coalition structures.
International Journal of Game Theory, 3, 217 – 237.
Australia and New Zealand Banking Group Limited (ANZ). (2019). Vietnam’s Growth here
to Stay. Accessed November 12, 2020. from https://institutional.anz.com/insight-
and-research/vietnam-growth-here-to-stay.
Autoridad del Canal de Panamá. (2020). Canal de Panama Annual Report 2 0 1 9.
Panama : Autoridad Del Canal de Panamá. pp. 1 - 170.
Barbour, M.G. and J.E. Rodman. (1970). Saga of the west coast sea-rockets: Cakile edentula
ssp. californica and C. maritima. Rhodora. 72 : 370 - 386
BBC News Services. (2019). Iran tanker seizure: What is the Strait of Hormuz?. Accessed 13
October 2020. From : https://www.bbc.com/news/world-middle-east-49070882
Biodiversity. "Area (UNCLOS)". Accessed 13 October 2020. From : http://biodiversitya-
z.org/content/area-unclos.
Bloomberg News. Chinese Spending Lures Countries to Its Belt and Road Initiative.
Accessed August 20, 2020. from : https://www.bloomberg.com/ graphics/2017-
china-belt-and-road-initiative/?ter minal=true. May 10, 2017.
Braddock K. Linsley , Henry C. Wu, Tim Rixen, Christopher D. Charles, Arnold L. Gordon
and Michael D. Moore. 2016. SPCZ zonal events and downstream influence on
๒๓๓

surface ocean conditions in the Indonesian Throughflow region. Geophyscial


Research Letters. Vol.44 (1). pp. 293 – 308.
Brown, B. (2007). Coral reefs of the Andaman Sea : An integrated perspective. In : Gibson,
R.N., Atkinson, R.J.A. and Gordon, J.D.M. (eds.) Oceanography and Marine
Biology : An Annual Review. Taylor & Francis. 45 : 173 - 197.
Buranapratheprat, A., Yanagi, T., Boonphakdee, T. & Sawangwong, P. (2002). Seasonal
variations in inorganic nutrient budgets of the Bangpakong estuary, Thailand.
Journal of Oceanography. 58, 557 - 564.
Business, Energy and Resources. New canal a lifeline for energy. China Daily, June 26, 2013.
From : http://www.china.org.cn/business/2013-06/26/content 29231369. htm.
Checkland, P. (1981). Systems Thinking, System Practice : Includes a - 30Year
Retrospective. New York : J. Wiley and Sons.
Cheng Yong Lau, Jason Wai Chow Lee. (2016). The Kra Isthmus Canal : A New Strategic
Solution for China’s Energy Consumption Scenario?. Environmental Management.
2016 (57), pp. 1 – 20.
Ching - mu Chen and Satoru Kumagai, (2016). Economic Impacts of the Kra Canal :
An application of the Automatic Calculation of Sea Distances by a GIS. Institute
of Developing Economics, Japan, March 2016.
Chul- hwan Koh, Jongseong Ryu and Jong Seong Khim. (2010). The Saemangeum : History
and Controversy. Korean Society for Marine Environment Engineering. 13,
(November 2010), pp. 327 - 329.
Damond Benningfield. (2010). Drake Passage. Accessed August 20, 2020. From : https://
www.scienceandthesea.org/program/201001/drake-passage.
Daniel Van Boom. (2017). Pollution - fighting Vertical Forest buildings coming to China.
11 December 2020. From : https://www.cnet.com/news/pollution-fighting-vertical-
forest-coming-to-china/.
Department of Statistics Singapore. (2015). Yearbook of Statistic Singapore 2015.
Singapore : Department of Statistics, Ministry of Trade & Industrial.
Deudney, Daniel. Geopolitics as Theory : Historical Security Materialism. European journal
of International Relations. 2000, Vol. 6(1). pp. 77 – 107.
Devetak, Richard ; Burke, Anthony : George, Jim, eds. (2011). An Introduction to
International Relations. Cambridge : Cambridge University Press.
Dong - Oh Cho. (2007). The evolution and resolution of conflicts on Saemangeum
Reclamation Project. Coastal & Ocean Management. 930, ( March 2007) : pp.
930 - 944.
ENSR Asia. (2008). West Island Line Environment Impact. Accessed Jan 10 2015. from :
https://www.epd.gov.hk/eia//register/report/eiareport/eia1532008/ EIA-pdf/S5.pdf.
๒๓๔

Environmental Management of Enclosed Coastal Seas (EMECS). (2015). Yellow Sea. Accessed
Jan 15, 2015, from : www.emecs.or.jp/guidebook/eng/pdf/ 19yellow.pdf.
Erftemeijer, P.L.A. and R. Jugmongkol. (1999). Migratory Shorebirds and their Habitats in the
Inner Gulf of Thailand. Wetlands International Thailand Programme Publication 13.
Wetlands International and Bird Conservation Society of Thailand, Bangkok and
Hat Yai.
Eric Gaba. (2008). Topographic map in English of the Red Sea. Accessed August 20, 2020.
From : https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Red_Sea_topographic_ map-en.jpg.
Eric Grove, (2017). Sea Power. Oxford Research Encyclopedia of International Studies. Accessed
October 22, 2020. From : https://oxfordre.com/view/10.1093/
acrefore/9780190846626.001.0001/acrefore-9780190846626-e-294
European Commission. (2012). Blue Growth – Opportunities for Marine and Maritime
Sustainable Growth – Communication from the Commission to the European
Parliament, the Council, the European Economq1ic and Social Committee and
the Committee of the Regions. Luxembourg : Publications Office of the European
Union.
European Union, (2018). THE 2018 ANNUAL ECONOMIC REPORT ON EU BLUE ECONOMY.
Brussels Belgium : Directorate - General for Maritime Affairs and Fisheries Economic
Analysis, European Commission
European Union, (2019). The EU Blue Economy Report. 2019. Brussels Belgium : European
Commission.
Evans, G & Newnham, J. (1998). "The Penguin Dictionary of International relations".
Penguin Books, London, UK.
Fisher, Roger and Ury, William. (2012). Getting to Yes. (London : Random House Business
Books.
General Assembly resolution 1514 (XV). Declaration on the granting of independence to
colonial countries and peoples. document A/RES/1514(XV), 14 December 1960,
para. 2.
Geographic Guide. Image of English Channel. Accessed August 20, 2020. From :
http://www.geographicguide.com/planet/channel.htm
Gogwilt, Christopher (2000). The Fiction of Geopolitics. Stanford University Press.
Großmann, Harald et al. (2006). Maritime Trade and Transport Logistics. HWWI (Part A) :
Perspectives for maritime trade – Cargo shipping and port economics. Berenberg
Bank (Part B) Perspectives of maritime trade and transport logistics – Strategies for
companies and investors. Strategy 2030 - Wealth and Life in the Next Generation,
No. 4, Berenberg Bank und Hamburgisches Welt Wirtschafts Institut (HWWI), Hamburg.
H. J. Mackinder. (1919). Democratic Ideals and Reality : A Study in the Politics of
Reconstruction. London : Constable and Co., Ltd.
๒๓๕

Hoogheemraadschap van Rijnland. (2009). Flood control in the Netherlands. Accessed


August 20, 2020. from : https://www.rijnland.net/downloads/ floodcontrolrijnland-1-
1 . pdf http://images.jsc.nasa.gov/luceneweb/caption_direct.jsp?photoId=STS059-
238-074 https://www.flickr.com/photos/nasa2explore/9364207155/.
Innovateus. What is Land Reclamation?. Retrieved September 13, 2020, from :
http://www.innovateus.net/earth-matters/what-land-reclamation.
Iskandar Regional Development Authority (IRDA). (2008). ISKANDAR MALAYSIA FLAGSHIP B
Important facts and details on SINGAPORE. Malaysia : Iskandar Regional
Development Authority (IRDA).
Iskandar Regional Development Authority (IRDA). (2016). SMART CITY ISKANDAR MALAYSIA.
Malaysia: Iskandar Regional Development Authority (IRDA).
Jamback, J.R., Andrady, A., Geyer, R., Narayan, R., Perryman, M., Siegier, T., Wilcox, C., Lavender
Law, k. (2015). Plastic waste inputs from land into the ocean. Science. 347.,
pp. 768 - 771
James A. Harris, Paul Birch and John P. Palmer. (1996). Land Restoration and Reclamation:
Principle and Practice. Harlow : Longman.
Jason Dittmer, Jo Shar (2014). Geopolitics : An Introductory Reader. Routledge. p. 64.
Joseph R. Morgan . ( 2020) . Pacific Ocean. Retrieved September 13, 2020. from :
https://www.britannica.com/place/Pacific-Ocean.
Kim, Gang-Hoon. A Study of Saemangeum Project's Sustainable Development : Focused on
local governments of Jeollabukdo. Korean System Dynamics Review. 2010. vol.11
no.4 pp.25 - 59.
Korea Rural Community Corporation. (2014). Korea’ s green hope. Accessed Oct 13, 2014,
from : www.isaemangeum.co.kr/eng/down/saemangeum_pdf_eng. pdf.
L.M. Highland and P. Bobrowsky. (2008). The Landslide Handbook - A Guide to
Understanding Landslides. Denver Publishing Service Center.
Lawicki, Roy J.and Barry, Bruce and Saunders, David M. (2010). Negotiation, 6thed. Singapore
: Mc Graw-Hill,Inc.
Laws of Malaysia. (2006). Free Zones Act 1990 : Incorporating all amendments up to 1
January 2006. The Commissioner of Law Revision, Malaysia.
LISCR issues Marine Security Advisory. 2020. Enhanced security measures for
vessels transiting the Singapore and Malacca Straits. Accessed Oct 13, 2020,
from : https://safety4sea.com/enhanced-security-measures-for-vessels-transiting-the-
singapore-and-malacca-str/.
Loring Chien. (2019). Why was the Strait of Magellan important? Why couldn't they have
just sailed the slightly longer route on the very bottom of the continent?.
Accessed Oct 13, 2020, https://www.quora.com/Why-was-the-Strait-of-Magellan-
๒๓๖

important-Why-couldnt-they-have-just-sailed-the-slightly-longer-route-on-the-very-
bottom-of-the-continent.
Mackinder, H. (1904). The Geographical Pivot of History. The Geographical Journal, 23(4),
421 - 437.
Makoto Tanihara. (2555). เทคนิคการเจรจาต่อรองส้าหรับคนใจอ่อน. แปลจาก Bengoshi ga oshieru
kiyowa na anata no koshojutsu, แปลโดย ชไมพร สุ ธ รรมวงศ์ . พิ ม พ์ ค รั้ ง ที่ 7. กรุ ง เทพฯ :
สานักพิมพ์ ส.ส.ท. 2555.
Mehmet Akif Okur, Classical Texts of the Geopolitics and the "Heart of Eurasia", Journal of
Turkish World Studies, 2014. XIV/2, pp.76-90.
Michael Crotty. (1998). The Foundations of Social Research - Meaning and perspective in
the research process. SAGE Publications Ltd.
Mikael Weissmann. (2020). Chinese Soft Power and ASEAN’ S Congtructive Engagement :
The South China Sea.Retrieved August 20, 2020. from : https://kyotoreview.org/issue-15/
chinese-soft-power-and-aseans-constructive-engagement-sino-asean-relations-and-
the-south-china-sea/
Mohd Hazmi Mohd Rusli. (2010). Attempts to seek Alternative Routes to The Straits of
Malacca and Singapore. Journal of Maritime Geopolitics and Culture. 1(1). pp. 6-8.
N.S.F. Abdul Rahman, A.H. Saharuddin and R. Rasdi. (2014). Effect of the Northern Sea Route
Opening to the Shipping Activities at Malacca Straits. International Journal of
e-Navigation and Maritime Economy. 2014. Vol.1., pp. 85-98.
N.S.F. Abdul Rahman, N.H.M. Salleh, A.F.A. Najiab and V.Y.H. Lan. (2016). A descriptive
method for analyzing the Kra canal decision on maritime business patterns in
Malaysia. Journal of Shipping and Trade. 2016. No.13., pp. 1-16.
Nagarajan, M. & Sosic, G. (2008). Game – theoretic analysis of cooperation among supply
chain agents: Review and extensions. European Journal of Operational Research,
187, 719 - 745.
NASA Shuttle Radar Topography Mission. (2008). Sunda Strait map. Accessed Oct 13, 2020,
from https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Sunda_Strait_map-fr.svg.
NASA. (2002). Satellite image Strait of Dover. December, 2002. Accessed Oct 13, 2020, from
https://enacademic.com/dic.nsf/enwiki/104898.
NASA/GSFC/JPL/MISR-Team. (2000). Bering strait. December 15, 2020. From :
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Bering_Strait.jpeg.
NEDECO (The Netherlands Engineering Consultants). (1965). Siltation: Bangkok Port Channel.
Vol. 2. Report to the Government of Thailand.
Nelson D. L., Quick J. C. (2006). Organizational behavior : foundations, realities, and
challenges. 5th ed. Mason, Ohio : Thomson/South-Western.
Nguyen P, et al. (2014). Evaluation of the antiprion activity of 6-aminophenanthridines
and related heterocycles. Eur J Med Chem 82:363-71.
๒๓๗

Norman Einstein. (2009). Map showing the location of the Strait of Sicily, between Sicily,
Italy in Europe and Tunisia in Africa. December 15, 2020. From :
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Strait_of_Sicily_map.png.Organization
for Economic Co-Operation and Development. (2015). OECD Recommendation on
the Implementation of the Polluter Pays Principle 1974. Accessed Jan 12,
2015, from : http: / / acts. oecd. org/ Instruments/ ShowInstrument
View. aspx?InstrumentID= 38&InstrumentPID= 305&Lang= en&Book
=False.
Ostrom, Elinor (1990). Governing the Commons : The Evolution of Institutions for
Collective Action. Cambridge, UK : Cambridge University Press.
Overland, Indra (2015). "Future Petroleum Geopolitics: Consequences of
Climate Policy and Unconventional Oil and Gas" : 3517 –
3544. doi:10.1002/9781118991978.hces203.
Overland, Indra; O'Sullivan, Meghan; Sandalow, David; Vakulchuk, Roman; Lemphers, Nathan;
Begg, Harry; Behrens, Arno; Bhatiya, Neil; Clark, Alex (2017). The Geopolitics of
Renewable Energy. New York : Center on Global Energy Policy Columbia University.
Philippines Economic Zone Authority. (2012). Annual Report 2012. Available from :
http://www.peza.gov.ph/ [2014 November 25].
Poolprop. (2561). 45 ไม้ ป ระดั บ ในที่ ร่ ม และดู ด สารพิ ษ สามารถปลู ก ในบ้ า น อาคาร ออฟ ฟิ ศ
ส านั ก งานได้ . สื บ ค้ น เมื่ อ 23 พฤศจิ ก ายน 2563. แหล่ ง ที่ ม า http://www.poolprop.
com/Article.aspx/45-ไม้ป ระดับในที่ร่มและดูดสารพิษ -สามารถปลู กในบ้าน-อาคาร-ออฟฟิศ-
สานักงานได้ ?Articleld=323.
Population Reference Bureau. (2015). World Population Data Sheet. Accessed September
18, 2020, from : http: / / www. prb. org/ pdf15/ 2015- world- population- data-
sheet_eng.pdf.
Ravenstein, E. (1889). The Laws of Migration : Second Paper. Journal of the Royal Statistical
Society. 52 : pp. 241 - 335.
Rene Kolman. (2012). New Land by the sea : Economically and Socially, Land Reclamation
Pays. Terra et Aqua. No. 128. September 2012, pp 3 – 8.
Republic of the Philippines. (1995). The Special Economic Zone Act of 1995. Retrieved
from : http://www.peza.gov.ph/index.php/about-peza/special-economic-zone-act.
Rizal, S. et al. (2012). General circulation in the Malacca Strait and Andaman Sea :
A numerical model study. American Journal of Environmental Science. 8 (5) : 479 - 488.
Robinson, M.K. (1974). The physical oceanography of the Gulf of Thailand. NAGA Report.
Rosalind Malcolm. (1994). A Guidebook to Environmental Law. Great Britain : Sweet & Maxwell.
S.R. Pudjaprasetya, I. Magdalena. Two - Layer Non - Hydrostatic Model for Generation and
Propagation of In - terfacial Waves. Chinese Ocean Engineering Society and Springer-
Verlag GmbH Germany, part of Springer Nature. 2019, Vol. 33, No. 1, P. 65–72.
๒๓๘

Safari, H. & Soufi, M. (2014). A game theory approach for solving the knowledge sharing
problem in supply chain. International Journal of Applied Operational Research,
4(3), 13 - 24.
Sanoko Nichitateno. (1983). China’s Special Economic Zones : Experimental Units for
Economic Reform. International Comparative Law Quartery. 32. pp. 175 - 185.
Schlager, E. & Ostrom, E. (1992). The Formation of Property Right. in Susan Hanna. In Folke,
C. & Marler, K. G. (eds). Right to Nature : Ecology, Economic, Cultural and Political
Principles of Institutions for the Environment. Washington D.C. : Island Press.
Shelldon G. Adelson. (2020). Marina Bay Sands. Accessed Jan 20, 2015, from :
http://www.marinabaysands.com/company-information.html.
Shenxia, Zheng. ( 2008) . “ China’ s Peaceful Development and Asia- Pacific Security”
in China Association for Military Science. Peaceful Development and Security in
the Asia – Pacific Region. Beijing : Military Science Publishing House., 8-15.
Sojisuporn, P., Morimoto, A. and Yanagi, T. (2010). Seasonal variation of sea surface current
in the Gulf of Thailand. Coastal Marine Science. 34(1) : 91-102.
Suez Canal Authority Planning & Research Department Information Center. (2019).
Suez Canal Traffic Statistics Annual Report 2019. Suez Canal Authority. PP. 1 - 31.
TAKIENG. (2560). ตึกสูงระฟ้าสไตล์ใหม่ที่มีต้นไม้ปกคลุมโดยรอบตึกกาลังหยั่งรากลึกลงที่ประเทศจีน. สืบค้น
เมื่อ 11 ธันวาคม 2563. แหล่งที่มา : https://www.takieng.com/stories/3642.
TCDC. (2563). Vertical Forest เมืองป่า แนวตั้งทางเลือ กที่ (อาจ) รอดของคนเมือง. สื บค้นเมื่อ 11
ธันวาคม 2563. แหล่งที่มา : https://web.tcdc.or.th/th/Articles/Detail/Vertical-Forest.
TERRABKK. (2017). "คอคอดกระ" กั บ "เส้ น ทาง 9A" แห่ ง ความหวั ง . สื บ ค้ น เมื่ อ 23 เมษายน 2563
แหล่งที่มา : https://www.terrabkk.com/articles/93426.
Thai People Map and Analytics Platform. (2562). ภาพรวมคนจน ในปี 2562 ประเทศไทย. สืบค้น
เมื่อ 25 ตุลาคม 2563. จาก : https://www.tpmap.in.th/2562/.
The Organization for Economic Co - operation and Development ( OECD) . The Rotterdam
Workshop Final Report. Accessed October 10, 2020. From : http://www.oecd.org
/futures/infrastructureto2030/48321781.pdf.
The Statistics Portal. (2020). Japan : Total population in Japan from 2014 to 2024.
Accessed October 24, 2020, from : https://www.statista.com/statistics/263746/
total-population-in-japan/.
The Statistics Portal. (2020). South Korea : Total population in South Korea from 2014
to 2024. Accessed October 24, 2020, from : https://www.statista.com/statistics/
263747/total-population-in-south-korea/.
The World Geography. (2013). 11 Incredible Island Airports. Accessed Jan 13, 2015, from :
www.theworldgeography.com/2013/06/island-airports.html.
Tomczak, M. and Godfrey, J.S. (1994). Regional Oceanography : An Introduction. New York : Pergamon.
๒๓๙

Ulamm. (2014). A map of the en : Irish Sea. December 15, 2020. From : https://commons.wikimedia.org/
wiki/File:IrishSeaReliefMap.jpg.
Uniq. (2562). ต้นไม้ฟอกอากาศทั้ง 11 ปลูกง่ายได้สุขภาพ. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2563. แหล่งที่มา :
https://uniquefd.com/ดูบทความ-42327-ต้นไม้ฟอกอากาศทั้ง-11-ปลูกง่ายได้สุขภาพ.html.
United Nations Environment Programme. (1992). Rio Declaration on Environment and Development
1992, Principle 4, Accessed Jan 12, 2015, from : www. unep. org/ Documents. Multilingual/
Default.asp?documentid=78&articleid=1163.
United Nations Industrial Development Organization. (2015). Economic Zones in The ASEAN :
Industrial Parks, Special Economic Zones, Eco Industrial Parks, Innovation
Districts As Strategies For Industrial Competitiveness. VIET NAM : UNIDO Country
Office in Viet Nam.
United Nations. (2015). Chronological lists of ratifications of, accessions and successions
to the Convention and the related Agreements as at 3 October 2014. December
15, 2020. From : http://www.un.org/depts/los/reference_files/chronological_
lists_of_ratifications.htm.
Watkins, Michael. (2003). Negotiation. Boston : Harvard Business School Press.
Wattayakorn, G. and Jaiboon, P. (2014). An assessment of biogeochemical cycles of
nutrients in the Inner Gulf of Thailand. Eur. Chem. Bull. 3(1) : 50-54.
Wen, Q. & Fang, H. (2012). Analysis on the dynamic game model of SMEs group loan.
Advances in Applied Economics and Finance (AAEF), 2(4), 437 - 441.
Wimvipa. (2562). ควรปลูกติดกับบ้านไว้กับ 20 ต้นไม้ช่วยฟอกอากาศ ลดปัญหาฝุ่น PM 2.5. สืบค้นเมื่อ
23 พฤศจิกายน 2563. แหล่งที่มา : https://cheechongruay.smartsme. co.th/content/25604.
WINNIE. (2018). VERTICAL GARDEN มิติของธรรมชาติในแนวตั้ง จาก ZILLION INNOVATION. สืบค้น
เมื่อ 28 เมษายน 2563. แหล่ งที่มา : https://dsignsomething. Com/2018/08/02/vertical-
garden-มิติของธรรมชาติในแนว.
Wizdom Trader. (2009). ทฤษฎี เ กม (game theory). สื บ ต้ น เมื่ อ 15 ตุ ล าคม 2563. แหล่ ง ที่ ม า :
https://medium.com/@WizdomTraderOfficial/ทฤษฎีเกม-game-theory-60e53a98d98c.
workpointTODAY. (16 มกราคม 2563). ฝ่ายค้าน - รัฐบาล ประสานเสียงรีบศึกษาขุดคลองไทย เชื่อไม้ตายพลิก
เศรษฐกิจ. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2563. แหล่งที่มา : https://workpointtoday.com/thai-canal/.
World Bank. (2008). Special economic zones : Performance, lessons learned, and implications
for zone development. n.p.
World Trade Organization. (2017). World Trade Statistical Review 2 0 1 7 . Switzerland :
World Trade Organization.
Wyrtki, K. An equatorial jet in the Indian Ocean, Science, 181, 262–264, 1973.
ภาคผนวก
ภาคผนวก ก
ประกาศ และคาสั่งต่าง ๆ
(๑) ประกาศสภาผู้แทนราษฎร
เรื่อง ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
หนา้ ๑๒
เลม่ ๑๓๗ ตอนที่ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓

ประกาศสภาผู้แทนราษฎร
เรื่อง ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้

ด้วยในคราวประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๕ ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๑๙ (สมัยสามัญประจําปีครั้งที่สอง)


วัน พฤหัส บดีที่ ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓ ที่ ประชุมได้ พิจารณาญัตติ เรื่ อ ง ขอให้สภาผู้แ ทนราษฎร
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย (Thai Canal) เส้น ๙A (พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์
เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญศึกษาการขุดคลองไทย
(นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิ จ ารณาศึ ก ษาหาแนวทางในการขุ ด คลองไทยเชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งทะเลอั น ดามั น กั บ ทะเลอ่ า วไทย
(นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์ และนายจุลพันธ์ อมรวิวัฒน์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเพื่อศึกษาการขุดคลองไทย เส้นทางแนว ๙A (นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง
และนายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย (ร้อยตํารวจเอก อรุณ สวัสดี เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดตั้งเขตการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้อย่างยั่งยืน (SEC) (นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร
ตั้ ง คณะกรรมาธิ ก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษายุ ท ธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
สู่ศูนย์กลางเศรษฐกิจระดับโลก (SEC) (นายนพดล แก้วสุพัฒน์ เป็นผู้เสนอ) ญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎร
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการจัดทําโครงการพัฒนาเศรษฐกิจในพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคใต้ทางน้ํา
(คลองไทย) ทางบก (รถไฟความเร็วสูง) และทางอากาศ (สนามบินศูนย์กลางอาเซียน) ในโครงการ
พัฒนาเศรษฐกิจภาคใต้ (The New Thailand Southern Economic) (นายจิรายุ ห่วงทรัพย์ เป็นผู้เสนอ)
และญัตติ เรื่อง ขอให้สภาผู้แทนราษฎรตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
(นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์ เป็นผู้เสนอ) และลงมติตั้งกรรมาธิการวิสามัญขึ้นคณะหนึ่งเพื่อพิจารณา
ศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ตามข้อ บังคับการประชุมสภา
ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๖๒ ข้อ ๔๙ ประกอบด้วย
หนา้ ๑๓
เลม่ ๑๓๗ ตอนที่ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓

๑. นายจิรายุ ห่วงทรัพย์
๒. นายฉลอง เทอดวีระพงศ์
๓. นายชยุต ภุมมะกาญจนะ
๔. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๕. พลตํารวจตรี โชติ ชัยชมภู
๖. นายณัฏฐ์ชนน ศรีก่อเกื้อ
๗. นายเดชอิศม์ ขาวทอง
๘. พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์
๙. พลเรือตรี ธีระยุทธ นอบน้อม
๑๐. นายนพดล แก้วสุพัฒน์
๑๑. นายนัทธี ถิ่นสาคู
๑๒. นายนิยม ช่างพินิจ
๑๓. นายบัลลังก์ อรรณนพพร
๑๔. นายประสิทธิ์ชัย หนูนวล
๑๕. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
๑๖. พลโท พงศกร รอดชมภู
๑๗. นายพนิต วิกิตเศรษฐ์
๑๘. นายพยม พรหมเพชร
๑๙. นายพรพจน์ เพ็ญพาส
๒๐. นางพิชชารัตน์ เลาหพงศ์ชนะ
๒๑. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน
๒๒. นายพิเชษฐ สถิรชวาล
๒๓. นางสาวพิมพ์รพี พันธุ์วิชาติกุล
๒๔. นายพิสิฐ ลี้อาธรรม
๒๕. นายพีรเดช คําสมุทร
๒๖. นายภาสกร เงินเจริญกุล
๒๗. นายวันชัย เจริญนนทสิทธิ์
หนา้ ๑๔
เลม่ ๑๓๗ ตอนที่ ๒๕ ง ราชกิจจานุเบกษา ๒๖ มีนาคม ๒๕๖๓

๒๘. นายวันชัย ปริญญาศิริ


๒๙. นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา
๓๐. นายวาสุเทพ ศรีโสดา
๓๑. นายวิทยา ยาม่วง
๓๒. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
๓๓. นางศิริวรรณ สุคนธมาน
๓๔. นายศุภชัย นาคสุวรรณ์
๓๕. นายสงคราม กิจเลิศไพโรจน์
๓๖. นายสมชาย ฝั่งชลจิตร
๓๗. นายสมชาย สุมนัสขจรกุล
๓๘. นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง
๓๙. นายสัณหพจน์ สุขศรีเมือง
๔๐. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์
๔๑. นายสัมพันธ์ มะยูโซ๊ะ
๔๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๔๓. นายสาธิต อุ๋ยตระกูล
๔๔. นายสุทา ประทีป ณ ถลาง
๔๕. นายสุรเชษฐ์ ประวีณวงศ์วุฒิ
๔๖. นายสุรศักดิ์ พันธ์เจริญวรกุล
๔๗. นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ
๔๘. นายอรรถกร ศิริลัทธยากร
๔๙. ร้อยตํารวจเอก อรุณ สวัสดี
จึงประกาศให้ทราบทั่วกัน

ประกาศ ณ วันที่ ๒๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๖๓


ชวน หลีกภัย
ประธานสภาผู้แทนราษฎร
(๒) ญัตติที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
(จานวน ๙ ญัตติ)
(๓) ประกาศสภาผู้แทนราษฎร
เรื่อง ตั้งกรรมาธิการในคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
และการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
แทนตาแหน่งที่ว่างลง
(๔) หนังสือยืนยันมติ การเลือกตั้งตาแหน่งต่าง ๆ ของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
(๕) คำสั่งแต่งตั้งที่ปรึกษำประจำคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ
คำสั่งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทย
และกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
สภำผู้แทนรำษฎร
ที่ ๑๔ / ๒๕๖๓
เรื่อง แต่งตั้งที่ปรึกษำประจำคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทย
และกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ สภำผู้แทนรำษฎร
------------------------------------------
ด้วยในคราวประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒ นาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ สภาผู้แทนราษฎร ครั้งที่ ๒๑ เมื่อวันพฤหัสบดี ที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ ที่ประชุมได้มี มติ
ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
เพื่อทาหน้าทีใ่ ห้คาปรึกษา แนะนา และเสนอแนะเกี่ยวกับภารกิจต่าง ๆ ในการพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและ
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพิจารณาดาเนินการของคณะกรรมาธิการ
วิสามัญฯ ประกอบด้วยบุคคลดังต่อไปนี้
๑. พลตรี อมรเดช พิชิตรณภูมิ
๒. นางสาวธัญพิชชา ตรีวิชาพรรณ
๓. นายเทพสิทฐิ์ ประวาหะนาวิน
๔. นายเจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์
๕. นางสาวพิมพ์กาญจน์ กีรติวิราปกรณ์
๖. นายสามารถ เจนชัยจิตรวนิช
๗. นายวิศิษฎ์ ลิมป์ธีระกุล
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๓ ธันวาคม ๒๕๖๓ เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๓

พลตรี
(ทรงกลด ทิพย์รัตน์)
ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร
(๖) ประกาศแต่งตั้งคณะอนุกรรมาธิการ จานวน ๓ คณะ
(๗) คาสั่งแต่งตั้งคณะทางานจัดทารายงานคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
คำสั่งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทย
และกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
สภำผู้แทนรำษฎร
ที่ ๑๑/๒๕๖๓
เรื่อง แต่งตั้งคณะทำงำนจัดทำรำยงำนคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำ
กำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
--------------------------------------
ด้วยในคราวประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้ สภาผู้ แ ทนราษฎร ครั้ งที่ ๑๓ เมื่ อ วั น พฤหั ส บดี ที่ ๑๐ กั น ยายน ๒๕๖๓
และครั้งที่ ๑๔ เมื่อวัน พฤหัสบดีที่ ๒๔กันยายน ๒๕๖๓ ที่ประชุมได้มีมติแต่งตั้งคณะทางานจัดทารายงาน
คณะกรรมาธิก ารวิ ส ามั ญ พิ จ ารณาศึ ก ษาการขุด คลองไทยและการพั ฒ นาพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภาคใต้
ประกอบด้วยบุคคลดังนี้
๑. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ที่ปรึกษาคณะทางาน
๒. พลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์ ที่ปรึกษาคณะทางาน
๓. นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง ที่ปรึกษาคณะทางาน
๔. ศาสตราจารย์ฐาปนา บุญหล้า คณะทางาน
๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ยุทธนา มหัจฉริยวงศ์ คณะทางาน
๖. นายนิยม ชูชื่น คณะทางาน
๗. นายบัณฑิต ศรีภา คณะทางาน
๘. นาวาเอก วชิรพร วงศ์นครสว่าง คณะทางาน
๙. นายเจษฎาภรณ์ วิริยะสกุลธรณ์ คณะทางาน
๑๐. นายสุวัฒน์ นิลดา คณะทางาน
๑๑. นายทวีศักดิ์ ไตรโลกา คณะทางาน
๑๒. นายเทพสิทฐ์ ประวาหะนาวิน คณะทางาน
๑๓. นายกิตติ ลิ่มสกุล คณะทางาน
๑๔. นายยุทธนา ศรีเจริญ คณะทางาน
๑๕. นายสุวภัทร พุ่มนุ่ม คณะทางาน
๑๖. นางสาวธัญพิชชา ตรีวิชาพรรณ คณะทางาน
๑๗. นายณรงค์ ขุ้มทอง คณะทางาน
๑๘. นายทัศชัย อินทร์วิเศษ คณะทางาน
๑๙. นายสุรพล ดวงแข คณะทางาน
๒๐. พันตารวจเอกหญิง จินดา กลับกลาย เลขานุการคณะทางาน
๒๑. นาวาเอก มนตรี ศิริไพศาล ผู้ช่วยเลขานุการคณะทางาน
/โดยให้คณะทางาน......
-๒-

โดยให้คณะทางานมีหน้าที่และอานาจ ดังนี้
๑. ศึกษารวมรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
ภาคใต้ในมิติองค์รวม ตลอดจนความคิดเห็นจากหน่วยงานต่าง ๆ ข้อเสนอแนะและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
๒. ศึกษา รวบรวม วิเคราะห์และสังเคราะห์เกี่ยวกับผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม ความมั่นคง
และการเมือง ถ้ามีการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
๓. จัดทาร่างรายงานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนา
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อนาเสนอรายงานต่อที่ประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญ
๔. ปรับแก้รายงานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาการขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่
ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ เพื่อนาเสนอต่อสภาผู้แทนราษฎรต่อไป
ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๘ ตุลาคม๒๕๖๓ เป็นต้นไป
สั่ง ณ วันที่ ๘ ตุลาคมพ.ศ. ๒๕๖๓

(นายอธิรัฐ รัตนเศรษฐ)
ประธานคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษา
การขุดคลองไทยและการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้
สภาผู้แทนราษฎร
ภาคผนวก ข
ภาพการประชุมพิจารณา สรุปผลการเดินทางไปจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น
และการเดินทางไปศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
(๑) ภาพการประชุมพิจารณาของคณะกรรมาธิการวิสามัญ
(๒) สรุปผลการเดินทางไปจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น
และการเดินทางไปศึกษาดูงานของคณะกรรมาธิการวิสามัญฯ
สรุปผลการเดินทางไปจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น
เรื่อง “การขุดคลองไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวระดับโลก”
วันจันทร์ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ณ หอประชุมโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดกระบี่ อาเภอเมือง จังหวัดกระบี่
---------------------------------------------------------

ส ำหรั บ กำรจั ด สั ม มนำในครั้ ง นี้ คณะกรรมำธิ ก ำรวิส ำมั ญ พิ จำรณำศึ ก ษำกำรขุ ด คลองไทยและ
กำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ สภำผู้แทนรำษฎร ซึ่งได้ลงพื้นที่จังหวัดกระบี่เป็นเวทีแรกในกำรจัด
สั ม มนำรั บ ฟั ง ควำมคิ ด เห็ น กำรขุ ด คลองไทยเพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลำงกำรค้ ำ โลก แหล่ ง อุ ต สำหกรรม
และกำรท่องเที่ยวระดับโลก โดยกรรมำธิกำรได้ร่วมแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็น พร้อมตอบข้อซักถำม ข้อกังวล
และรับฟังควำมคิดเห็นจำกประชำชนผู้เข้ำร่วมสัมมนำในครั้งนี้ โดยสรุปสำระสำคัญได้ดังนี้

นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธำนคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ คนที่หนึ่ง พร้อมคณะได้ลงพื้นที่


จั ง หวั ด กระบี่ ในกำรจั ด สั ม มนำรั บ ฟั ง ควำมคิ ด เห็ น กำรขุ ด คลองไทยเพื่ อ เป็ น ศู น ย์ ก ลำงกำรค้ ำ โลก
แหล่งอุตสำหกรรม และกำรท่องเที่ยวระดับโลก
โดยมี พั น ต ำรวจโทหม่ อ มหลวง กิ ติ บ ดี ประวิ ต ร ผู้ ว่ ำ รำชกำรจั ง หวั ด กระบี่ พร้ อ มด้ ว ย
นำยสมศักดิ์ กิตติธรกุล นำยกองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดกระบี่ ให้กำรต้อนรับ พร้อมหัวหน้ำส่วนรำชกำร
ผู้ประกอบกำรธุรกิจกำรท่องเที่ยว ผู้ประกอบกำรโรงแรม ผู้ประกอบกำรด้ำนอุตสำหกรรม และด้ำนกำร
เกษตรกรรม ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นำชุมชน และหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง รวมถึงประชำชนผู้สนใจ
ทั่วไป ในพื้นที่จังหวัดกระบี่ และจังหวัดตรัง เข้ำร่วมสัมมนำและแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็น จำนวน ๓๐๐ คน
ได้เข้ำร่วมประชุมอย่ำงพร้อมเพรียงกัน เพื่อรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนต่อกำรศึกษำควำมเป็นไปได้ในกำร
ขุดคลองไทยในกำรเป็นศูนย์กลำงกำรค้ำ แหล่งอุตสำหกรรม และกำรท่องเที่ยวระดับโลก ตลอดจนกำรพัฒนำ
พื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้

พันตารวจโทหม่อมหลวง กิติบดี ประวิตร ผู้ว่าราชการจังหวัดกระบี่ ได้กล่ำวว่ำ กำรสัมมนำครั้งนี้


ถือเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีและมีควำมสำคัญ หำกในอนำคตโครงกำรดังกล่ำวได้เกิดขึ้น จะเป็นกำรสร้ำงงำน สร้ำง
รำยได้ทำงเศรษฐกิจกำรลงทุน ภำคอุตสำหกรรม ระบบโลจิสติกส์ กำรขนส่ง และกำรท่องเที่ยวที่เชื่อมโยง
ภูมิภำคอันดำมันและอ่ำวไทยเข้ำด้วยกัน จังหวัดกระบี่สร้ำงรำยได้ให้แก่ประเทศเป็นอันดับที่ ๔ ของประเทศ
รองรั บ นั กท่องเที่ย วได้ป ระมำณ ๖.๙ ล้ ำนคน โดยจังหวัดกระบี่เป็นเมืองท่องเที่ยวจึงมุ่งเน้นเรื่องควำม
ปลอดภัยเป็นหัวใจสำคัญ ไม่ว่ำจะเป็นควำมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ควบคู่กับสุขลักษณะอนำมัยที่ดี
ของประชำชน ตลอดจนปัจจัยด้ำนสิ่งแวดล้ อมซึ่งต้องคำนึงถึงในส่วนนี้ ซึ่งทุกกิจกรรมต้องได้รับควำมร่วมมือ
จำกทุกภำคส่วนในกำรช่วยกันขับเคลื่อนและประชำสัมพันธ์กำรท่องเที่ยวในจังหวัดกระบี่

ทั้งนี้ เพื่อรั บฟังควำมคิดเห็ น กำรแลกเปลี่ ยนควำมคิดเห็ น และสอบถำมในประเด็นส ำคัญเกี่ ยวกั บ


กำรขุดคลองไทย เพื่อรวบรวมประเด็นและข้อสรุปควำมคิดเห็นของชำวจังหวัดกระบี่และชำวจังหวัด ตรัง
ว่ำประชำชนในพื้นที่เป้ำหมำยมีควำมคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นดังกล่ำวอย่ำงไร ตำมแนวเส้นทำงสำย ๙A
จำกจังหวัดสงขลำ ผ่ำนจังหวัดพัทลุง จังหวัดนครศรีธรรมรำช จังหวัดตรัง และจังหวัดกระบี่ รวมระยะทำง
ประมำณ ๑๓๕ กิโลเมตร ซึ่งมีผลกระทบต่อประชำชนในพื้นที่ทั้งเชิงบวกและเชิงลบ อันจะเป็นภำพที่สะท้อน
ควำมต้องกำรในกำรดำเนินงำนโครงกำรหรือไม่ เพื่อนำมำวิเครำะห์ ประมวลผลประกอบกำรจัดทำรำยงำน
นำเสนอต่อที่ประชุมคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภำคใต้ สภำผู้แทนรำษฎรดังกล่ำวต่อไป
นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่หนึ่ง กล่ำวว่ำ กำรเป็นเขตเศรษฐกิจ
พิเศษถือว่ำเป็นควำมโชคดีของจังหวัดนั้น ๆ จะเห็นได้จำกกำรพัฒนำเขตพิเศษภำคตะวันออก และต้องมี
กองทุนเพื่อรักษำสิ่งแวดล้อมควบคู่ไปกับกำรทำโครงกำรดังกล่ำวนี้ โดยให้นักอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมได้ทำงำน
ร่ ว มกั บ รั ฐ บำล จะเห็ น ได้ จ ำกประเทศมำเลเซี ย ซึ่ ง มี ก ำรพั ฒ นำเขตเศรษฐกิ จ พิ เ ศษโดยกำรถมทะเล
แต่นักอนุรักษ์ต่ำง ๆ ของประเทศต่ำงให้ควำมร่วมมือในกำรดำเนินกำรเพรำะมีกำรศึกษำร่วมกันอย่ำงจริงจัง
ระหว่ำงรัฐบำลและนักอนุรักษ์เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่คนในประเทศ สำมำรถนำรำยได้เข้ำประเทศได้อย่ำง
มหำศำล
เศรษฐกิจขวำนทองจะต้องเป็นแกนของโลกและระดับโลก กล่ำวคือ เมือ่ เปรียบเทียบ ใน
๕ จังหวัดภำคใต้ ที่จะเป็นเศรษฐกิจพิเศษขวำนทองเท่ำกับเกำะไหหลำ แต่ยังมีพื้นที่ที่เป็นไข่แดง ๘,๑๐๐
ตำรำงกิโลเมตร กว้ำง ๖๐ คูณ ๑๘๕ กิโลเมตร อันนี้จะเป็นศูนย์กลำงของเศรษฐกิจพิเศษ คือ เป็นแนวคลองนี้
คือ ขอบเขตที่วำงไว้ ส่วนธุรกิจกลุ่มอุตสำหกรรมที่เป็นไข่แดงของไทย ตรงไข่แดงนี้จะเป็นอุตสำหกรรมสะอำด
คื อ อุ ต สำหกรรมกำรเงิ น ศู น ย์ ก ำรศึ ก ษำ ซึ่ ง จะไม่ มี ม ลพิ ษ โดยจะวำงโซนนิ่ ง ของอุ ต สำหกรรมต่ ำ ง ๆ
เช่น อุตสำหกรรมปิโตรเคมี อุตสำหกรรมต่อเรือ จะอยู่ฝั่งทะเลอ่ำวไทยด้ำนจังหวัดสงขลำ อุตสำหกรรม
ท่องเที่ยวจะอยู่ฝั่งทะเลอันดำมัน ช่วงกลำงคลองจะทำให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีกำรเชื่อมคลองทั้ง ๒ คลอง
คลองเล็กเพื่อกำรท่องเที่ยว เพื่อกำรประมง ถือว่ำใช้พื้นที่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ส่ ว นพื้น ที่เศรษฐกิจ พิ เ ศษของไทยจะสู้ พื้ น ที่เ ศรษฐกิจเพื่ อนบ้ำ นได้ ห รื อ ไม่ ของประเทศไทยจะ
ได้เปรียบมำก หำกเกิดคลองไทยขึ้นมำ ประเทศต่ำง ๆ จะต้องร่วมมือกับประเทศไทย ซึ่งกำรร่วมมือระหว่ำง
ประเทศเป็นยุทธศำสตร์ทำงทะเลที่ร่วมกันระหว่ำง ๓ ประเทศ ซึ่งจะกลำยเป็นศูนย์กลำงทำงด้ำนโลจิสติกส์
ของโลก
พลตรี ทรงกลด ทิพย์รั ต น์ รองประธานคณะกรรมาธิการ คนที่สี่ กล่ ำวว่ำ คณะกรรมำธิกำร
วิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒ นำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ สภำผู้แทนรำษฎร
ที่ประชุมได้มีมติให้แต่งตั้งคณะอนุกรรมำธิกำร จำนวน ๓ คณะ เพื่อพิจำรณำศึกษำและรำยงำนผลกำรศึกษำ
ต่อคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ เพื่อพิจำรณำต่ อไป ประกอบด้วย ๑) คณะอนุกรรมำธิกำรพิจำรณำศึกษำกำร
ขุดคลองไทย โดยมีพลตรี ทรงกลด ทิพย์รัตน์ เป็นประธำนคณะอนุกรรมำธิกำร ๒) คณะอนุกรรมำธิกำร
พิจำรณำศึกษำกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ โดยมี นำยพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพำน เป็นประธำนคณะ
อนุกรรมำธิกำร และ ๓) คณะอนุกรรมำธิกำรพิจำรณำศึกษำผลกระทบสิ่งแวดล้อม สังคม ควำมมั่นคง และ
กำรเมือง โดยมีนำยสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง เป็นประธำนคณะอนุกรรมำธิกำร
ซึ่ ง กำรพิ จ ำรณำศึ ก ษำควำมเป็ น ไปได้ ข องโครงกำรเพื่ อ ประกอบกำรพิ จ ำรณำ โดยแบ่ ง เป็ น
๘ ด้ ำน ดั งนี้ (๑) ด้ ำนควำมคุ้ มค่ ำทำงเศรษฐกิ จ (๒) ด้ ำนสั งคม (๓) ด้ ำนกำรเมื อง (๔) ด้ ำนควำมมั่ นคง
(๕) ด้ำนสิ่งแวดล้อม (๖) ด้ำนเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ ๆ (๗) ด้ำนกฎหมำยภำยในประเทศและระหว่ำง
ประเทศ และ (๘) ด้ำนมติมหำชน
และให้ ข้ อ เสนอแนะเพิ่ ม เติ ม ว่ ำ จำกกำรศึ ก ษำพบว่ ำ หั ว ใจส ำคั ญ ของกำรเดิ น เรื อ ที่ ส ำคั ญ
คือ ระยะทำง เวลำ และค่ำใช้จ่ำย
นายสฤษฏ์พงษ์ เกี่ยวข้อง โฆษกคณะกรรมาธิการ ให้ข้อสังเกตว่ำ กำรตั้งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญ
พิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ดังกล่ำวขึ้นมำ เพื่อให้ศึกษำ
ควำมเป็นไปได้ว่ำมีควำมคุ้มค่ำเพียงใด เกี่ยวกั บประเด็นโครงกำรคลองไทย จึงต้องพิจำรณำข้อดี - ข้อเสีย
อย่ำงรอบคอบและรอบด้ำน หลำกหลำยมิติ ซึ่งโครงกำรดังกล่ำวนี้เป็นโครงกำรระดับใหญ่ซึ่งต้องรับฟังควำม
คิดเห็นของประชำชนและเป็นโครงกำรของประชำชนในประเทศไทย
ทั้งนี้ กรรมำธิกำรได้ให้ข้อกังวลกรณีเกี่ยวกับโครงกำรคลองไทยว่ำควรศึกษำโครงกำรดังกล่ำวนี้อย่ำง
จริงจัง ทั้งผลดี - ผลเสีย ให้ชัด รวมถึงประโยชน์ต่ำง ๆ ที่จะเกิดขึ้นว่ำเป็นประโยชน์ต่อประชำชนในพื้นที่
หรือไม่ ตลอดจนต้องประเมินผลกระทบที่จะเกิดขึ้นในจังหวัดสงขลำ จังหวัดพัท ลุง จังหวัดนครศรีธรรมรำช
จังหวัดตรัง และจังหวัดกระบี่
โดยมีประชำชน ภำครัฐและภำคเอกชนได้ร่วมให้ข้อคิดเห็นต่อประเด็น กำรขุดคลองไทยเพื่อเป็น
ศูนย์กลำงกำรค้ำโลก แหล่งอุตสำหกรรม และกำรท่องเที่ยวระดับโลก สรุปสำระสำคัญได้ดังนี้
1. ได้ให้ข้อคิดเห็นว่ำ จำกกำรศึกษำเรื่องคลองไทยได้รับรู้กำรศึกษำเรื่องดังกล่ำวนี้มำนำนมำกแล้ว
จึงเห็นว่ำควรหยุดกำรศึกษำและลงมือดำเนินกำรพัฒนำได้แล้ว
2. จำกกำรศึกษำคลองไทย ซึ่งได้ศึกษำมำพอสมควรแล้วและมีประเด็นว่ำหำกขุดคลองไทยแล้วจะมี
เรือมำใช้ในคลองไทยหรือไม่ ซึ่งให้ควำมเห็นว่ำหำกขุดคลองไทยจะประหยัดเวลำในกำรเดินทำงได้จริง และมี
เรือมำใช้บริกำรจำนวนมำก
3. มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับกำรขุดคลองไทย ดังนี้ (๑) เห็นด้วยให้มีกำรขุดคลองไทย เนื่องจำกเรือประมง
ของประเทศไทยในปัจจุบันเหลือประมำณ ๑๐,๖๐๐ กว่ำลำ และมีข้อกฎหมำยให้ชำวประมงทำประมงโดย
เลือกข้ำงไม่สำมำรถข้ำมฝั่งได้ และมีกำรนำเข้ำสินค้ำประมงจำนวนมำก ซึ่งเรือดังกล่ำวต้องวิ่งอ้อมแหลม จึง
ทำให้ผู้ประกอบกำรชำวประมงประสบปัญหำดังกล่ำว จึงเสนอแนะว่ำหำกมีกำรขุดคลองไทยแล้วให้ เกิด
ประโยชน์จริง ๆ จะต้องสำมำรถลดระยะเวลำกำรเดินทำง รวมถึงระบบกำรเข้ำคิวให้รวดเร็วยิ่งขึ้น (๒) กำร
พัฒนำพื้นที่โดยรอบ อำทิ จังหวัดตรัง (๓) เรื่องอุบัติเหตุทำงน้ำที่ต้องมีมำตรกำรสนับสนุนและช่วยเหลือ
เรือประมง (๔) สถำนกำรณ์กำรแพร่ระบำดของโรคโควิด -๑๙ ที่ส่งผลกระทบกับกำรท่องเที่ยวในภำคใต้ของ
ประเทศไทย ซึ่งเห็นได้ว่ำไม่มีธุรกิจสำรองให้กับประชำชนในพื้นที่ จึงอยำกให้มีกำรขุดคลองไทยขึ้น
4. เห็นด้วยกับกำรขุดคลองไทย เนื่องจำกมีกำรส่งออกยำงพำรำ ทำให้เกิดต้นทุนค่ำขนส่งที่สูง หำกมี
กำรขุดคลองไทยจะได้ประหยัดต้นทุนค่ำขนส่งลงได้และมีครอบครัวและญำติพี่น้องมีภูมิลำเนำอยู่ในเขตพื้นที่
๙A ซึ่งเป็นเส้นทำงในกำรขุดคลองไทย ซึ่งอยำกให้มีกำรขุดคลองไทยโดยเร็ว
5. กำรขุดคลองไทยเป็ นโครงกำรมำตั้งแต่ดึกดำบรรพ์ กว่ำ ๓๐๐ – ๔๐๐ ปีมำแล้ว จึงควรให้ มี
โครงกำรคลองไทยเกิดขึ้นในเวลำนี้ และดำเนินกำรขุดคลองไทยอย่ำงจริงจัง เพรำะมีผลประโยชน์ต่ำง ๆ
มำกมำยที่จะก่อให้เกิดแก่ประชำชนชำวไทย
ทั้งนี้ จำกกำรรับฟังควำมคิดเห็นส่วนใหญ่ทั้ง ๒ จังหวัดมีควำมคิดเห็นไปในแนวทำงเดียวกัน คือ ให้
ดำเนินกำรโครงกำรคลองไทยอย่ำงจริงจังและจริงใจ เพรำะผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นเป็นของประชำชนและ
ประเทศไทย และให้ลงพื้นที่ทำควำมเข้ำใจกับประชำชนในพื้นที่ที่มีกำรขุดคลองผ่ำนเส้นทำง ๙ เอ อย่ำง
เข้มข้น ทั้งผลดี-ผลเสีย ซึ่งในปัจจุบันประชำชนส่วนใหญ่ต้องกำรให้เกิดขึ้นซึ่งจะทำให้มีอำชีพที่มั่นคงมีรำยได้
ที่เพียงพอ จึงอยำกให้มีโครงกำรใหญ่ของประเทศไทยเกิดขึ้นในภำคใต้เพื่อเศรษฐกิจของภำคใต้จะได้ดีขึ้น
ดังนั้น จึงอยำกให้รัฐบำลปัจจุบันเห็นควำมสำคัญ โครงกำรนี้และผลักดันให้เกิดขึ้นอย่ำงจริงจัง ซึ่งจำกกำรรับ
ฟังควำมคิดเห็นของประชำชนในพื้นที่ทำให้เข้ำใจควำมต้องกำรของประชำชนมำกยิ่งขึ้นว่ำ ประชำชนโดย
ส่วนใหญ่ที่แสดงควำมคิดเห็นในกำรสัมมนำนั้น มีควำมคิดเห็นด้วยอยำกให้มีกำรศึกษำอย่ำงจริงจังและอยำก
ให้ดำเนินกำรอย่ำงเร่งด่วนในกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ เพรำะคิดว่ำจะ
เป็นประโยชน์ต่อกำรพัฒนำเศรษฐกิจในพื้นที่และจะเป็นกำรสร้ำงงำนสร้ำงอำชีพให้กับลูกหลำนในระยะยำว
สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงาน
เรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย”
วันจันทร์ที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ณ ท่าเรืออันดามันพอร์ตและบริเวณปากอ่าวทะเล จังหวัดกระบี่

-------------------------------------------------
สำหรับกำรเดินทำงไปศึกษำดูงำนเรื่องดังกล่ำว มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษำดูงำนเกี่ยวกับ กำรพัฒนำ
พื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภำคใต้ เ พื่ อ เพิ่ ม ศั ก ยภำพกำรแข่ ง ขั น ทำงเศรษฐกิ จ ของประเทศไทย อันจะนำมำใช้
ประกอบกำรพิจำรณำและวิเครำะห์ในกำรจัดทำรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ โดยคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ
ได้เดินทำงไปยังอำเภอคลองท่อมลงพื้นที่ศึกษำดูงำน ณ ท่ำเรืออันดำมันพอร์ต และบริเวณปำกอ่ำวทะเล
เพื่ อ ศึ ก ษำควำมเป็ น ไปได้ ในกำรขุ ด คลองไทยและพั ฒ นำพื้ น ที่ ร ะเบี ย งเศรษฐกิ จ ภำคใต้ อันจะนำมำใช้
ประกอบกำรพิจำรณำและวิเครำะห์ในกำรจัดทำรำยงำนของคณะกรรมำธิกำรวิส ำมัญ ฯ ซึ่ง เป็น กำรศึกษำควำม
เป็นไปได้ในกำรขุดคลองไทยและพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้

คณะกรรมำธิกำรฟังกำรบรรยำย
สภำพพื้นที่ สภำพภูมิศำสตร์ตำมแนว
๙A

ซึ่งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญและที่ปรึกษำมีควำมสนใจรับฟัง
กำรบรรยำยเป็ น อย่ ำงมำก ซึ่งเป็ น เส้ น ทำงตำมแนว ๙A ตลอดจน
วิทยำกรได้อธิบำยสภำพภำพทำงภูมิศำสตร์ที่ได้ใช้ในกำรเดินเรือ และ
สถำนที่ท่องเที่ยว ซึ่งถำมีกำรขุดคลองไทยและพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ จะทำให้เกิดธุ รกิจที่
หลำกหลำย และส่งผลให้เกิดกำรสร้ำงงำน สร้ำงรำยได้ให้กับประชำชนในพื้นที่ตำมมำ ซึ่งจะทำให้มีควำม
เป็นอยู่ที่ดีขึ้น

คณะกรรมำธิ กำรมี ควำมสนใจ


เป็นอย่ำงมำก ตลอดจนล่องเรือศึกษำ
สภำพท้ อ งทะเลและวั ด ควำมลึ ก
ของทะเลจริ ง กำรวั ด ควำมลึ ก ของ
ทะเลจะทำให้เข้ำใจสภำพท้องทะเลว่ำ
ถ้ ำมี กำรขุ ดคลองไทยจะต้ อ งขุ ด ลึ ก
ประมำณเท่ำไร เรือขนำดใหญ่ถึงจะ
สำมำรถวิ่ ง วิ่ ง ได้ และจะต้ อ งมี ก ำร
วำงแผนอย่ำงไรต่อไป

ทั้งนี้ กำรศึกษำดังกล่ำวเป็นกำรศึกษำเส้นทำงกำรเดินเรือและสภำพควำมลึกของน้ำทะเลเส้นทำง
ตมแนว ๙A ที่มีกำรศึกษำเกี่ยวกับกำรขุดคลองไทย ตลอดจนศึกษำสภำพแวดล้อมและภูมิศำสตร์ตำมแนวเส้น
นี้ เพื่อเป็นกำรให้คณะกรรมำธิกำรได้เห็นสภำพควำมเป็นจริงของพื้นที่ซึ่งได้มีกำรศึกษำ ซึ่งจะเป็นข้อมูลและ
พื้นฐำนทำงควำมคิดในกำรวิเครำะห์และสังเครำะห์ประเด็นต่ำง ๆ เพื่อประกอบกำรจั ดทำรำยงำนกำรศึกษำ
ของคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
สรุปผลการเดินทางไปจัดสัมมนารับฟังความคิดเห็น
เรื่อง “การขุดคลองไทยเพื่อเป็นศูนย์กลางการค้าโลก แหล่งอุตสาหกรรม และการท่องเที่ยวระดับโลก”
วันอังคารที่ ๒๑ กรกฎาคม ๒๕๖๓
ณ ศาลาประชาคมหอประชุมโรงละครองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช
และ ณ หอประชุมอาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช

---------------------------------------------------------
จำกกำรที่คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียง
เศรษฐกิจภำคใต้ ได้ลงพื้นที่สำรวจพื้นที่จริงและรับฟังควำมคิดเห็นจำกประชำชน ตำมที่คณะกรรมำธิกำร
วิสำมัญพิจำรณำศึกษำกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ สภำผู้แทนรำษฎร ได้จัด
ให้มีกำรสัมมนำรับฟังควำมคิดเห็น เรื่อง “กำรขุดคลองไทยเพื่อเป็นศูนย์กลำงกำรค้ำโลก แหล่งอุตสำหกรรม
และกำรท่ อ งเที่ ย วระดั บ โลก” ณ ศำลำประชำคมหอประชุ ม โรงละครองค์ ก ำรบริ ห ำรส่ ว นจั ง หวั ด
นครศรีธรรมรำช และ ณ หอประชุมอำเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมรำช คณะกรรมำธิกำรวิสำมัญฯ ได้
ชี้แจงควำมเป็นมำและวัตถุประสงค์ในกำรสัมมนำว่ำ ตำมที่สมำชิกสภำผู้แทนรำษฎรทั้งฝ่ำยรัฐบำลและฝ่ำย
ค้ำนร่วมกันเสนอให้สภำผู้แทนรำษฎรพิจำรณำและมีมติให้ตั้งคณะกรรมำธิกำรวิสำมัญพิจำรณำกำรขุดคลอง
ไทยกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ขึ้น เพื่อศึกษำควำมเป็นไปได้อย่ำงจริงจัง ในกำรสัมมนำในครั้งนี้
เพื่อรับฟังควำมคิดเห็นและข้อเสนอแนะต่อกำรขุดคลองไทยและกำรพัฒนำพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
เพื่อนำข้อมูลไปกำหนดแนวทำงกำรดำเนินกำรตำมที่ประชำชนต้องกำร ซึ่งโครงกำรขุดคลองไทยไม่อำจประสบ
ผลส ำเร็ จ ได้เลยหำกปรำศจำกควำมร่ ว มมือจำกพี่น้องประชำชน และเสนอรำยงำนกำรพิจำรณำศึกษำ
ต่อสภำผู้แทนรำษฎร จำกกำรสัมมนำแลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นระหว่ำงกัน สรุปสำระสำคัญได้ดังนี้
๑. ปั จ จุ บั น เป็ น ยุ ค แห่ ง กำรพั ฒ นำแข่ ง ขั น ทำงเศรษฐกิ จ หำกมี โ ครงกำรคลองไทยเกิ ด ขึ้ น จริ ง
ควรพิจ ำรณำหำแนวทำงว่ ำควรดำเนิ น กำรอย่ ำงไรให้ โ ครงกำรคลองไทยเป็น ของประเทศไทยและเกิ ด
ประโยชน์ต่อประเทศชำติมำกที่สุด มีกฎหมำยควบคุมเฉพำะที่เหมำะสม มีกลยุทธ์ในกำรเจรจำต่อรองใน
ระดับนำนำชำติที่ไม่เสียเปรียบ เป็นโครงกำรที่พร้อมที่จะร่วมมือกับทุกประเทศ เป็นคลองแห่งมิ ตรภำพและ
สันติภำพ หำกประเทศไทยไม่เปลี่ยนแปลงก็ไม่อำจพัฒนำศักยภำพกำรแข่งขันได้เท่ำกับประเทศอำเซียน
เช่น เวีย ดนำม มำเลเซีย หำกมีโ ครงกำรขุดคลองไทยซึ่งเป็นโครงกำรขนำดใหญ่ย่ อมเกิดควำมพั ฒ นำ
เปลี่ยนแปลงแก่ภำคใต้และประเทศ
๒. เสนอให้มีกำรศึกษำเรื่องโครงกำรขุดคลองไทยอย่ำงจริงจังรอบด้ำน เพื่อประกอบกำรพิจำรณำ
ต้องเป็นกำรแสดงท่ำทีอย่ำงชัดเจนว่ำจะศึกษำอย่ำงจริงจัง รอบด้ำน ถึงข้อดี ข้อเสีย และนำมำประชำสัมพันธ์
ให้ ป ระชำชนทรำบ อย่ ำงไรก็ตำมรั ฐ บำลควรดำเนินโครงกำรขุด คลองไทยได้ แล้ ว เนื่องจำกที่ผ่ ำ นมำมี
กำรศึกษำข้อมูลมำโดยตลอด ถึงเวลำที่ต้องลงมือทำ คลองไทยเป็นควำมหวังของคนใต้อยำกให้ภำคใต้พัฒนำ
เจริญเหมือนภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ภำคเหนือ หำกมีกำรขุดคลองไทยประชำชนในพื้นที่แนวคลองย่อมได้
ประโยชน์จำกกำรท่องเที่ยว ผลผลิตทำงกำรเกษตรรำคำสูงขึ้น หวังว่ำโครงกำรคลองไทยจะเกิดขึ้นจริง
๓. หำกเกิดโครงกำรขุดคลองไทยจะช่วยสร้ำงงำน สร้ำงรำยได้ เกิดระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้หรือเขต
เศรษฐกิจพิเศษ ลดควำมเหลื่อมล้ำ เป็นทำงเลือกนอกจำกพืชเศรษฐกิจของภำคใต้ เช่น ยำงพำรำ ปำล์ม
น้ำมัน หรือกำรท่องเที่ยว ในอดีตโครงกำรขนำดใหญ่ของประเทศไทยไทยมักถูกคัดค้ำนเสมอ เช่น ท่ำอำกำศ
ยำนสุวรรณภูมิถูกคัดค้ำนมำโดยตลอด ทว่ำปัจจุบันท่ำอำกำศยำนสุวรรณภูมิ มีผู้โดยสำรและนักท่องเที่ยว
เดินทำงมำใช้บริกำรประมำณ ๗๐ ล้ำนคนต่อปี สำมำรถกระจำยนักท่องเที่ยวไปยังจังหวัดต่ำง ๆ ของประเทศ
ไทยสำมำรถสร้ำงงำนสร้ำงรำยได้ให้แก่ประเทศเป็นจำนวนมำก เช่นเดียวกันหำกเกิดโครงกำรคลองไทยขึ้นจะ
เกิดจุดเชื่อมต่อกำรเดินทำงขนส่งสินค้ำ เกิดอุตสำหกรรมต่อเนื่อง เช่น กำรท่องเที่ยว กำรบริกำร กำรต่อเรือ
อำชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง อำทิ พนั ก งำนน ำร่ อ ง ช่ ำ งเชื่ อ มต่ อ เรื อ ประชำชนชำวไทยถู ก ก ำหนดชี วิ ต โดยชำติ
มหำอำนำจ เช่น กำรล่ำอำณำนิคม สงครำมโลก ครั้งนี้ขอให้ชำวไทยกำหนดชีวิตของตนเองโดยกำรขุดคลอง
ไทยเพื่อควำมเจริญและเศรษฐกิจของประเทศชำติ
๔. สำหรับงบประมำณในกำรลงทุนโครงกำรคลองไทย มีประเทศต่ำง ๆ สนใจเข้ำร่วมลงทุนเนื่องจำก
คลองไทยอำจเป็นจุดยุทธศำสตร์ใหม่ของโลก แต่ท่ำทีของประเทศไทยก็ควรเป็นเป็นคลองนำนำชำติเพื่อใช้ใน
กำรพำณิชย์ ในกำรสัมมนำบำงส่วนเสนอว่ำ งบประมำณในกำรดำเนินโครงกำรไม่จำเป็นต้องหำแหล่งเงินทุน
จำกต่ ำ งประเทศ เสนอให้ ใ ช้ ก ำรขำยหุ้ น แก่ ป ระชำชนภำยในประเทศก็ น่ ำ จะได้ รั บ ควำมสนใจและมี
งบประมำณเพียงพอในกำรดำเนินโครงกำร
๕. คลองสำคัญของโลกที่มนุษย์สร้ำงขึ้น เช่น คลองปำนำมำ คลองสุเอซ คลองคีล มิได้เกิดสงครำม
แต่อย่ำงใด ปัจจุบันคลองเหล่ำนี้ล้วนสร้ำงผลประโยชน์และเกิดกำรพัฒนำทำงเศรษฐกิจแก่ประเทศนั้น ๆ
อย่ำงมหำศำล หำกมีกำรขุดคลองไทยสำมำรถร่นระยะเวลำกำรเดินเรือจำกช่องแคบมะละกำลงประมำณ
๑,๐๐๐ – ๑,๕๐๐ กิโลเมตร ย่อมสำมำรถประหยัดต้นทุน ลดกำรปล่อยมลพิษจำกกำรเผำไหม้เชื้อเพลิ ง
สำมำรถใช้อ้ำงอิงต่อต่ำงชำติได้ว่ำคลองไทยสำมำรถช่วยลดมลพิษ ลดโลกร้อนได้ และอำจได้รับเงินสนับสนุน
จำกกองทุนภูมิอำกำศสีเขียว (Green Climate Fund : GCF) กำรร่นระยะเวลำในกำรเดินเรือจึงทำให้ต้นทุน
ในกำรขนส่งถูกลง ส่งผลให้รำคำสินค้ำถูกลงด้วย
๖. ข้อกังวลถึงผลกระทบจำกกำรขุดคลองและพัฒนำเศรษฐกิจพิเศษภำคใต้ และข้อเสนอแนะแนว
ทำงกำรแก้ปัญหำ จำกเวทีสัมมนำ
๖.๑ เกี่ย วกับ ประเด็น กำรแบ่ งแยกดินแดน เห็ นว่ำ คลองไทยเป็นเพียงแค่ ก ำรแบ่ง แยกทำง
กำยภำพมิใช่กำรแบ่งแยกอำนำจอธิปไตยแต่อย่ำงใด สำหรับปัญหำด้ำนควำมมั่นคง ต้องมีกำรวำงระบบ
พัฒนำเศรษฐกิจเปิดโอกำสให้นำนำชำติร่วมลงทุน เป็นคลองแห่งควำมร่วมมือเพื่อลดควำมขัดแย้งเนื่องจำก
ทุกประเทศมีผลโยชน์ร่วมกันในคลองไทย มีกำรเชิญประเทศตะวันตกและตะวันออกที่สนใจมำร่วมลงทุน
เพื่อให้ทุกประเทศเกิดควำมร่วมมือและมีผลประโยชน์ร่วมกันในคลองไทย ส่งผลให้ลดควำมขัดแย้ง
๖.๒ ปัญหำผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อม พื้นที่ภำคใต้มีควำมอุดมสมบูรณ์ทำงทะเลสำมำรถผลิต
อำหำรเลี้ยงคนทั่วโลก หำกเกิดโครงกำรขุดคลองไทยอำจเกิดผลกระทบด้ำนสิ่ง แวดล้อม เช่นเดียวกับคลอง
ขนำดใหญ่ในอดีต เช่น คลองสุเอซ คลองปำนำมำ ซึ่งก็มีระบบกำรจัดกำรเพื่อแก้ไขปัญหำสิ่งแวดล้อม อย่ำงไร
ก็ตำมปัจจุบันเทคโนโลยีก้ำวหน้ำขึ้นวิธีกำรบริหำรจัดกำรสิ่งแวดล้อมย่อมมีประสิทธิภำพขึ้น ข้อกังวลในด้ำน
กำรเกิดตะกอนจำกกำรขุดคลองจะทำให้เกิ ดผลกระทบต่อน้ำทะเล เสนอให้มีกำรศึกษำเชิงลึกร่วมกับสมำคม
วิศวกรแห่งประเทศไทยเพื่อวิเครำะห์ถึงผลกระทบและแนวทำงแก้ปัญหำอย่ำงรอบคอบที่สุด
๖.๓ ปัญหำค่ำตอบแทนหรือผลประโยชน์ที่ประชำชนที่ได้รับผลกระทบจำกกำรขุดคลองและ
พั ฒ นำเศรษฐกิ จ ภำคใต้ ซึ่ ง เป็ น เรื่ อ งส ำคั ญ ที่ ไ ด้ มี ก ำรแลกเปลี่ ยน และร่ ว มแสดงควำมคิ ด เห็ น กั น อย่ำง
กว้ำงขวำง ในเรื่องแนวทำงกำรชดเชยผู้ได้รับผลกระทบจำกคลองไทย เช่น กำรเวนคืนที่ดินทำกินหรือที่อยู่
อำศัยจะต้องมีกำรชดเชยอย่ำงเหมำะสมเป็นธรรม และต้องทำให้ประชำชนมั่นใจ กำรให้หุ้นหรือผลกำไรจำก
กำรบริกำรพื้นที่แนวคลองแก่ผู้ได้รับผลกระทบ โดยอำจใช้กองทุนคลองไทยที่จัดตั้งขึ้น
๖.๔ ผลตอบแทนจำกโครงกำรขุดคลองไทยมิได้มำจำกค่ำผ่ำนคลองแต่รำยได้และผลประโยชน์
ตอบแทนส่วนใหญ่มำจำกจำกกำรบริหำรพื้นที่กิจกำร กำรบริกำรต่ำง ๆ จำกพื้นที่แนวคลอง ดังนั้นมีข้อเสนอ
๑) รัฐบำลต้องกำหนดให้ผู้มำทำงำนในโครงกำรขุดคลองไทย เช่น วิศวกร แรงงำนต้องเป็น
คนไทยเท่ำนั้น
๒) ต้องออกกฎหมำยแบ่งปันหุ้นในกำรทำธุรกิจหรือกิจกำรต่ำง ๆ ให้แก่ผู้ได้รับผลกระทบ
จำกโครงกำรคลองไทยอย่ำงเหมำะสมเป็นธรรมและตกทอดเป็นมรดกแก่ทำยำท
๓) ต้องไม่เก็บภำษีบำงประเภทที่ส่งเสริมกำรค้ำกำรผลิต เช่น ภำษีพิกัดศุลกำกร ไม่เก็บภำษี
บุคคลธรรมดำ ส่งเสริมให้เกิดระบบเสรีทำงกำรเงิน ส่งผลให้เกิดกำรพัฒนำระบบกำรค้ำ กำรธนำคำร
๔) ประชำชนที่มีชื่ออยู่ทะเบียนบ้ำนอย่ำงน้อย ๕ ปี ในพื้นที่โครงกำรต้องได้รับผลประโยชน์
ที่เหมำะสมเป็นธรรม เช่น หุ้นในกิจกำรต่ำง ๆ เอนเตอร์เทนเมนต์ คอมเพล็กซ์ในพื้นที่โครงกำรคลองไทย
สร้ำงกำรพัฒนำเศรษฐกิจส่งเสริมระบบกำรเงินเสรี
๕) รัฐต้องมีนโยบำยกำรจ้ำงงำนในระดับปริญญำตรีลงมำต้องเป็นผู้มีสัญชำติไทยทั้งหมด
นอกจำกนี้ยังเกิดกำรพัฒนำอำชีพตัวแทนออกของหรือชิปปิ้ ง (Shipping คือ ผู้ทำหน้ำที่ด้ำนพิธีกำรเอกสำร
ผ่ำนธนำคำร พิธีกำรศุลกำกร) จะเกิดกำรพัฒนำมำตฐำนได้รับค่ำจ้ำงในเทียบเท่ำสำกล อุตสำหกรรมต่อเนื่อง
ที่เกี่ยวกับกำรต่อเรือและต้องกำรแรงงำนด้ำนดังกล่ำวจำนวนมำก คำดว่ำจำนวนนักศึกษำในสำขำโลจิสติกส์
และพำณิช ย์ ห รื อสำขำที่ เกี่ย วข้องที่มีอยู่ ในปัจจุบันไม่เพียงพออย่ำงแน่นอน กรมอำชีว ศึกษำ กระทรวง
ศึกษำธิกำรต้องพิจำรณำแผนเตรียมควำมพร้อมหลักสูตรที่เกี่ยวข้องรองรับ
๖) ให้ผู้แทนประชำชนในพื้นที่มีส่วนร่วม ในกำรร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมตรวจสอบประเมินผล
รวมทั้งเผยแพร่ข้อมูลที่ถูกต้องให้ ประชำชนในพื้นที่รับฟังอย่ำงรอบด้ำน โดยในปัจจุบันมีกำรรวมตัวของภำค
ประชำชนในพื้นที่ ในกำรศึกษำข้อดี ข้อเสีย มีกำรรณรงค์ และผลักดันให้เกิดกำรขุดคลองไทย รวมทั้ง
ประชำชนบำงคนพร้อมจะบริจำคที่ดินให้ทำประโยชน์หำกเกิดโครงกำรขุดคลองไทย
๗) ข้อกังวลที่สำคัญที่ประชำชนกลัวจะเกิดขึ้นซ้ำรอยที่ผ่ำนมำ คือ หำกเกิดกำรเปลี่ยนแปลง
รัฐบำลเกรงว่ำนโยบำยเกี่ยวกับโครงกำรขุดคลองไทยจะเปลี่ยนแปลงเหมือนที่ผ่ำนมำ เท่ำกับทำลำยควำมหวัง
ของประชำชน
๘) ประชำชนที่เข้ำร่วมสัมมนำส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับกำรขุดคลองไทยเนื่องจำกจะเกิดกำร
พัฒนำเศรษฐกิจในพื้นที่ โดยได้เสนอให้น้อมนำหลักกำรทรงงำนของในหลวง รัชกำลที่ ๙ มำปรับใช้ในกำร
ดำเนินกำรขุดคลอง กล่ำวคือ
- เข้ำใจ คือ ศึกษำข้อมูลอย่ำงรอบด้ำนก่อนมิได้ฝืนดำเนินโครงกำรก่อนศึกษำ
- เข้ำถึง คือ ลงพื้นที่ทำควำมเข้ำใจและรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนในพื้นที่ก่อน
- พัฒนำ คือ หำกเห็นประโยชน์ของประเทศชำติอย่ำงสูงสุดจึงพิจำรณำดำเนินโครงกำร
- กำรขำดทุน คือ กำไร กล่ำวคือ บำงครั้งกำรทำงำนใดย่อมเกิดผลกระทบบ้ำง เช่น กรณี
กำรสร้ำงเขื่อนรัชประภำ อำจเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมบ้ำง ซึ่งปัจจุบันได้พัฒนำเป็นแหล่งเก็บและผลิ ต
พลังงำนไฟฟ้ำที่สำคัญของภำคใต้และกลำยเป็นแหล่งท่องเที่ยวสำคัญสร้ำงงำนสร้ำงรำยได้ของคนในพื้ นที่
เช่นเดียวกันหำกเกิดขุดคลองไทยย่อมต้องเกิดผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมบ้ำงแต่จะเกิดกำรพัฒนำและเกิด
ผลประโยชน์แก่ประเทศมหำศำลอย่ำงแน่นอน
สรุปสุดท้าย เวทีสัมมนำหวังว่ำโครงกำรขุดคลองไทยและกำรเกิดพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้
จะเป็นอีกหนึ่งโครงกำรที่สำมำรถกระตุ้ นและแก้ปัญหำเศรษฐกิจตลอดจนสำมำรถนำพำชำติพ้นวิกฤติทำง
เศรษฐกิจได้ รูปแบบกำรบริหำรจัดกำรคลองไทยหรือระเบียงเศรษฐกิจภำคใต้ต้องมีกฎหมำยที่เป็นสำกล พิจำรณำ
อย่ ำ งครอบคลุ ม ทุ ก ด้ ำ นที่ ป ระชำชนมี ค วำมกั ง วล เช่ น ด้ ำ นสิ่ ง แวดล้ อ ม ด้ ำ นสั ง คม โดยเชิ ญ สถำบั น
ระดับอุดมศึกษำที่น่ำเชื่ อถือมำร่วมพิจำรณำศึกษำ นอกจำกนี้เห็นว่ำประชำชนในพื้นที่โครงกำรคลองไทย
ควรได้รับผลประโยชน์และสิทธิอื่น ๆ เป็นพิเศษ โดยประชำชนในพื้นที่ส่วนใหญ่ เห็นด้วยกับกำรขุดคลองไทย
เพรำะเป็นควำมหวังของประชำชนในพื้นที่ภำคใต้ในกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต ควำมเป็นอยู่ให้ดีขึ้นได้ แต่ยังมี
ข้อห่ ว ง วิตกกังวล ในประเด็น ว่ำ หำกมีกำรดำเนินโครงกำรขุดคลองไทยขอให้ ชดเชยเยียวยำแก่ผู้ได้รับ
ผลกระทบอย่ำงเป็นธรรม เช่น กำรชดเชยเวนคืนที่เหมำะสมเป็นธรรม กำรให้หุ้นหรือผลกำไรจำกกำรบริกำร
พื้นที่แนวคลอง ปัญหำผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อม และข้อห่วงกังวลมำกที่ สุด คือ หำกเกิดกำรเปลี่ยนแปลง
รัฐบำลเกรงว่ำนโยบำยเกี่ยวกับโครงกำรขุดคลองไทยจะเปลี่ยนแปลงไปดั่งเช่นอดีตที่ผ่ำนมำ เป็นต้น สำหรับ
ข้อเสนอ แนะนำ จำกประชำชน แนะนำว่ำให้น้อมนำหลักกำรทรงงำนของในหลวง รัชกำลที่ ๙ มำปรับใช้ คือ
- เข้ำใจ คือ ศึกษำข้อมูลอย่ำงรอบด้ำนก่อน มิได้ฝืนดำเนินโครงกำรก่อนศึกษำ
- เข้ำถึง คือ ลงพื้นที่ทำควำมเข้ำใจและรับฟังควำมคิดเห็นของประชำชนในพื้นที่ก่อน
- พัฒนำ คือ หำกเห็นประโยชน์ของประเทศชำติอย่ำงสูงสุดจึงพิจำรณำดำเนินโครงกำร
- กำรขำดทุน คือ กำไร กล่ำวคือ บำงครั้งกำรทำงำนใดย่อมเกิดผลกระทบ หำกเกิดขุดคลองไทย
ย่อมต้องเกิดผลกระทบด้ำนสิ่งแวดล้อมบ้ำงแต่จะเกิดกำรพัฒนำ และเกิดผลประโยชน์แก่ประเทศมหำศำล
อย่ำงแน่นอน จึงขอให้ศึกษำข้อมูลอย่ำงรอบด้ำนทั้งผลดีและผลเสีย และนำผลกำรศึกษำที่ได้มำชี้แจงให้
ประชำชนในพื้นที่ได้เข้ำใจทั้งผลดีและผลเสียเพื่อประกอบกำรตัดใจอีกครั้งหนึ่ง
ภาพการสัมมนา ณ ศาลาประชาคมหอประชุมโรงละครองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช
ภาพการสัมมนา ณ หอประชุมอาเภอหัวไทร จังหวัดนครศรีธรรมราช
สรุปผลการเดินทางไปศึกษาดูงาน
เรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก เพื่อเพิ่มศักยภาพการแข่งขัน
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทย”
และเรื่อง “การพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ ๓ เพื่อเพิ่มศักยภาพรองรับการขนส่งสินค้า
ทางทะเลระหว่างประเทศในอนาคต”
ระหว่างวันพฤหัสบดีที่ ๑๕ ถึงวันศุกร์ที่ ๑๖ ตุลาคม ๒๕๖๓
ณ จังหวัดระยอง และจังหวัดชลบุร

๑. การศึกษาดูงานเรื่อง “การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก เพื่อเพิ่มศักยภาพ


การแข่งขันทางเศรษฐกิจของประเทศไทย”
โครงกำรเขตพัฒนำพิเศษภำคตะวันออก (อีอีซี)เป็นโครงกำรพัฒนำพื้นที่โดยมีวัตถุประสงค์
หลั ก เพื่ อ ต่ อ ยอดกำรพั ฒ นำพื้ น ที่ ช ำยฝั่ ง ทะเลตะวั น ออกซึ่ ง เป็ น ที่ รู้ จั ก กว่ ำ 30 ปี หรื อ ที่ เ รี ย กว่ ำ
อีสเทิร์นซีบอร์ดโครงกำร อีอีซี มุ่งเน้นกำรพัฒนำพื้นที่ 3 จังหวัดในภำคตะวันออก ได้แก่ ระยอง
ชลบุ รี และฉะเชิ ง เทรำแผนกำรพั ฒ นำอี อี ซี เล็ ง เห็ น ถึ ง ควำมส ำคั ญ ของกำรพั ฒ นำพื้ นที่ ทั้ ง ทำง
กำยภำพและทำงสังคม เพื่อเป็นกำรยกระดับ ควำมสำมำรถในกำรแข่งขันของประเทศ
๒. การศึกษาดู งาน เรื่ อง “การพัฒนาท่า เรื อแหลมฉบัง ระยะที่ ๓ เพื่อเพิ่มศักยภาพรองรั บ
การขนส่งสินค้าทางทะเลระหว่างประเทศในอนาคต”
ท่ ำ เรื อ แหลมฉบั ง เป็ น ท่ ำ เรื อ น้ ำลึ ก หลั ก ในกำรขนส่ ง สิ น ค้ ำ ระหว่ ำ งประเทศ ตั้ ง อยู่ ท ำงภำค
ตะวั น ออกของประเทศไทย มี พื้ น ที่ ข นำด 6,340 ไร่ ประกอบด้ ว ยท่ ำ เที ย บเรือ ที่ เ ปิ ด ให้ บ ริกำร
แล้ว ดังนี้
 ท่ำเทียบเรือตู้คอนเทนเนอร์ 7 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือเอนกประสงค์ 1 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือ Ro/Ro 1 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือโดยสำรและเรือ Ro/Ro 1 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือสินค้ำทั่วไป ประเภทเทกอง 1 ท่ำ
 อู่ต่อและซ่อมเรือ 1 ท่ำ
สำมำรถรองรับเรือขนำดใหญ่พิเศษ (Super Post Panamax) ได้ โดยกำรท่ำเรือฯ ทำหน้ำที่เป็น
องค์กรบริหำรท่ำเรือโดยรวม ส่วนงำนด้ำนปฏิบัติกำรเป็นของเอกชนที่เช่ำประกอบกำรหรือที่เรียกว่ำ
Landlord Port โดยเป็ น ท่ ำ เที ย บเรื อ ที่ มี อั ต รำกำรเติ บ โตของกำรให้ บ ริ ก ำรขนถ่ ำ ยสิ น ค้ ำ สู ง สุ ด
แห่งหนึ่งของโลก จำกกำรจัดอันดับท่ำเทียบเรือที่เป็น World Top Container Port โดยนิตยสำรชั้น
นำของโลก เช่น Loylld List เป็นต้น ท่ำเรือแหลมฉบังได้เพิ่มขึ้นอย่ำงก้ำวกระโดดจำกลำดับที่ 23
ในช่วงปี 2541- 2542 โดยเลื่อนขึ้นเป็นลำดับที่ 20 และ 18 ในปี 2545 และ 2546 ตำมลำดับ
ด้วยควำมมุ่งมั่นที่จะพัฒนำท่ำเรือแหลมบังให้เป็น World Class Port ซึ่งมีองค์ประกอบหลำย
ด้ำนที่จำเป็นเพื่อยกระดับของกำรให้บริกำร กำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถ (capacity) ให้พอเพียงกับกำร
ให้บริกำรดังกล่ำวข้ำงต้น จะทำให้คุณภำพของกำรให้บริกำรสูงขึ้น ช่วยลด Waiting Time ของเรือ
ที่ เ ที ย บท่ ำ อั น จะท ำให้ ต้ น ทุ น ส่ ว นที่ เ ป็ น Port Cost ของสำยกำรเดิ น เรื อ ต่ ำลงด้ ว ย นอกจำกนี้
กำรจัดสรรพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมที่เกี่ยวเนื่อง รวมถึงกำร เพิ่มศักยภำพในด้ำน Productivity และ
กำรนำเอำระบบเทคโนโลยีทีทันสมัยมำใช้ในกำรบริหำรงำนหน้ำท่ำ และ Yard Operation รวมทั้ง
กำรริเริ่มโครงกำรและกิจกรรมใหม่ๆ ที่จะทำกำรให้บริกำรมีควำมครบถ้วนมำกยิ่งขึ้น เช่น โครงกำร
Container Care Center เป็นต้น จะเป็นปัจจัยสำคัญที่ยกมำตรฐำนของกำรให้บริกำรของท่ำเรื อ
แหลมฉบังให้มุ่งไปสู่กำรเป็น Word Class Port

ด้วยลักษณะที่ตั้งของประเทศไทย ที่มีอำณำเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้ำนหลำยประเทศ ได้แก่


พม่ำ ลำว กัมพูชำ และมำเลเซีย และยังสำมำรถติดต่อทำกำรค้ำผ่ำนแดนกับประเทศใกล้ เคียง ได้แก่
จีนตอนใต้ และ เวียดนำม เป็นต้น โดยมีลักษณะเป็นหน้ำด่ำนของภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ทำให้ท่ำเรือแหลมฉบัง มีข้อได้เปรียบในลักษณะที่เป็นท่ำเรือที่มีดินแดนหลังท่ำ (Hinterland) ที่มี
ขนำดกว้ ำ งใหญ่ จึ ง ท ำให้ มี ศั ก ยภำพสู ง ในกำรพั ฒ นำท่ ำ เรื อ แหลมฉบั ง ให้ เ ป็ น Gateway Port
โดยพยำยำมดึงประเทศเพื่อนบ้ำนเหล่ำนี้มำเป็น Hinterland ของท่ำเรือแหลมฉบัง
ท่ำเรือแหลมฉบัง มีควำมพร้อมในด้ำนโครงสร้ำงพื้นฐำนและสิ่งอำนวยควำมสะดวกที่ทันสมัย
เป็นไปตำมมำตรฐำนสำกล สำมำรถรับเรือสินค้ำขนำดใหญ่ที่สุด (Post Panamax) ได้ รวมทั้งมีพื้นที่
สนับสนุน (Supporting Areas) สำหรับประกอบกำรท่ำเทียบเรือ และกิจกำรต่อเนื่องอย่ำงเพียงพอ
ตลอดจนมีระบบโครงข่ำยกำรคมนำคมขนส่งทำงถนน รถไฟ และทำงน้ำเข้ำ - ออก ท่ำเรือแหลมฉบัง
เชื่อมโยงกับภำคต่ำง ๆ ของประเทศ และกับประเทศเพื่อนบ้ำนได้ดีพอสมควร
ยิ่งไปกว่ำนั้นท่ำเรือแหลมฉบัง ยังมีพื้นที่ว่ำงเพียงพอที่จะใช้สำหรับพัฒนำในธุรกิจเกี่ยวเนื่องอื่นๆ
เช่น สถำนีจอดรถบรรทุก (Truck Terminal) ศูนย์กระจำยสินค้ำ และ Free Trade Area เป็นต้น
รวมทั้งมีสิ่งอำนวยควำมสะดวกเสริมอื่นๆ เช่น คลังสินค้ำอันตรำย ศูนย์ฝึกป้องกันควำมเสียหำยจำก
อัคคีภัย ที่ได้มำตรฐำนสำกล ซึ่งพร้อมที่จะรองรับกำรพัฒนำกำรให้บริกำรแบบครบวงจร แก่ลูกค้ำได้
และธุ ร กิ จ ที่ เ กี่ ย วเนื่ อ ง ซึ่ ง ผู้ ใ ช้ บ ริ ก ำรจะได้ รั บ ประโยชน์ จ ำกกำรแข่ ง ขั น ทำงกำรตลำดระหว่ ำ ง
ผู้ ป ระกอบกำรท่ำเทีย บเรื อต่ ำง ๆ สู งสุ ดด้ำนกำรประกอบกำรท่ำเรื อแหลมฉบัง มีควำมคล่ อ งตั ว
ในกำรบริหำร และมีควำมยืดหยุ่นในกำรให้บริกำรแก่ลูกค้ำสูง เนื่องจำกท่ำเรือแหลมฉบัง เน้นกำรเปิด
โอกำสให้เอกชนเข้ำมำมีส่วนร่วมในกำรบริหำรประกอบกำรท่ำเทียบเรือ
โดยท่ำเรือแหลมฉบัง ได้รับกำรสนับสนุนส่งเสริมจำกรัฐบำลในกำรเป็นท่ำเรือหลักของประเทศ
แทนท่ำเรือกรุงเทพ โดยมีนโยบำยจำกัดตู้สินค้ำผ่ำนท่ำเรือกรุงเทพ ไว้ไม่เกิน 1.0 ล้ำนทีอียู ตั้งแต่ปี
2539 เป็นต้นมำ

คณะกรรมำธิกำร
ฟังบรรยำยควำมเป็นมำ
และกำรพัฒนำท่ำเรือ
แหลมฉบังโดยรวมและ
ท่ำเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3
โดยคณะกรรมำธิ กำรวิ สำมั ญฯ และคณะเดิ นทำงทุ กท่ ำนได้ ฟั งกำรบรรยำยจำกผู้ บริ หำรท่ ำเรื อแหลมฉบัง
และศึกษำสภำพรวมกำรดำเนินกำรของท่ำเรือแหลมฉบังบนหอคอยตรวจกำร
ท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3
โครงกำรพัฒนำท่ำเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 เป็นกำรเพิ่มขีดควำมสำมำรถของท่ำเรือเพื่อ
รองรับควำมต้องกำรขนส่งสินค้ำทำงทะเลระหว่ำงประเทศที่เพิ่มขึ้นในอนำคต โดยจะดำเนินกำร
ก่อสร้ำงท่ำเทียบเรือสำหรับจอดเรือน้ำลึกและสิ่งอำนวยควำมสะดวกอื่นๆ รวมทั้งกำรพัฒนำศูนย์ กำร
ขนส่ งตู้สิ น ค้ำทำงรถไฟที่ท่ำ เรื อแหลมฉบั ง (Single Rail Transfer Operator, SRTO) ก่อสร้ ำงท่ ำ
เทียบเรือชำยฝั่ง (ท่ำเทีย บเรื อ A) ปรับปรุงสิ่งอำนวยควำมสะดวกเพื่อแก้ไขปัญหำจรำจรภำยใน
ท่ำเรื อตลอดจนโครงข่ำยและระบบกำรขนส่ งต่อเนื่องที่จำเป็นในเขตพื้นที่ท่ำเรือแหลมฉบังที่จะ
เชื่อมต่อกับภำยนอกให้เพียงพอและพร้อมที่จะรองรับกำรขยำยตัวของปริมำณเรือและสินค้ำ ประเภท
ต่ำง ๆ ที่ตั้งโครงกำร ท่ำเรือแหลมฉบังตั้งอยู่ตำบลทุ่งสุขลำ อำเภอศรีรำชำ จังหวัดชลบุรี

สถำนะท่ำเรือแหลมฉบังในปัจจุบัน โดยปัจจุบันได้มีกำรพัฒนำท่ำเรือแหลมฉบังมำแล้วในระยะที่
1 และระยะที่ 2 ซึ่งมีพื้นที่รวมขนำด 8,752 ไร่ เป็นอำณำบริเวณทำงบก (พื้นที่เวนคืน) 6,341 ไร่
และอำณำบริเวณทำงน้ำ (พื้นที่ถมทะเล) 2,411 ไร่ โดยมีท่ำเรือที่เปิดดำเนินกำรแล้ว ดังนี้
 ท่ำเทียบเรือตู้สินค้ำ 11 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือขนส่งรถยนต์ (Ro/Ro) 3 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรืออเนกประสงค์ 3 ท่ำ
 ท่ำเทียบเรือสินค้ำทั่วไป 1 ท่ำ
 อู่ โ ดยศั ก ยภำพท่ ำ เรื อแหลมฉบั ง ในปั จ จุ บั น มี ค วำมสำมำรถในกำรรองรั บ ตู้ สิ น ค้ ำ ประมำณ
11 ล้ำนตู้ต่อปี และรองรับรถยนต์ได้ 2 ล้ำนคันต่อปี
วัตถุประสงค์ของโครงกำร
1. เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรรองรับตู้สินค้ำจำก 11 ล้ำนตู้ต่อปี เป็น 18 ล้ำนตู้ต่อปี
2. เพื่อเพิ่มขีดควำมสำมำรถในกำรรองรับรถยนต์จำก 2 ล้ำนคันต่อปี เป็น 3 ล้ำนคันต่อปี
3. เพื่อติดตั้งระบบจัดกำรตู้สินค้ำแบบอัตโนมัติ (Automation)
4. เพื่อเพิ่มสัดส่วนกำรขนส่งสินค้ำทำงรำงเป็น 30%
5. เพื่อพัฒนำเป็นศูนย์กลำงกำรขนส่งสินค้ำของภูมิภำคอินโดจีน (Hub Port) และประตูกำรค้ำ
ที่ ส ำคั ญ ของภู มิ ภ ำคลุ่ ม แม่ น้ ำ โขง (Gateway Port) พร้ อ มก้ ำ วขึ้ น เป็ น ท่ ำ เรื อ ระดั บ โลก
(World-Class Port)
องค์ประกอบโครงกำร
กำรพัฒนำท่ำเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3 บนพื้นที่ขนำด 1,600 ไร่ ประกอบไปด้วย
1. ท่ำเทียบเรือตู้สินค้ำ 7 ท่ำ สำมำรถรองรับตู้สินค้ำได้ไม่ต่ำกว่ำ 7 ล้ำนตู้ต่อปี
2. ท่ำเทียบเรือรถยนต์ (Ro/Ro) 1 ท่ำ สำมำรถรองรับรถยนต์ได้ 1 ล้ำนคันต่อปี
3. ท่ำเทียบเรือสินค้ำทั่วไปและตู้สินค้ำ 1 ท่ำ
4. กำรอ ำนวยควำมสะดวกผู้ ใ ช้ บ ริ ก ำรท่ ำ เรื อ ด้ ว ยระบบ e-Port ผ่ ำ นเทคโนโลยี
อิเล็กทรอนิกส์เต็มรูปแบบ
5. กำรเชื่อมโยงโครงสร้ำงพื้นฐำนด้ำนกำรคมนำคม โดยเน้นกำรขนส่งระบบรำง เพื่อ
เอื้อต่อธุรกิจภำคโลจิสติกส์
มูลค่ำกำรลงทุนโครงกำรให้เอกชนเข้ำร่วมทุนฯ 114,000 ล้ำนบำท โดยมีระยะเวลำในกำร
ดำเนินโครงกำร (ก่อสร้ำงและให้บริกำร) ให้เอกชนร่วมทุนฯ 35 ปี ซึง่ ผลตอบแทนโครงกำร (project
return) 149,045 ล้ำนบำท โดยใช้รูปแบบกำรให้เอกชนร่วมลงทุนให้เอกชนร่วมลงทุนในกิจกำร
ของรัฐ (Public Private Partnership: PPP)
คาถามและข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการ
1. ท่ำเรือเฟส ๓ จะมีควำมลึกของร่องน้ำเท่ำไร แล้วอนำคตจะถมทะเลยื่นออกไปไหม
2. ถ้ำจะทำเขื่อนป้องกันน้ำเค็มไม่ให้มำทำให้น้ำเค็มจะต้องลงทุนเท่ำไร
3. เรือที่มีขนำดใหญ่และกินน้ำลึกกว่ำนี้จะเข้ำมำได้หรือไม่
4. พื้นที่ในกำรก่อสร้ำง 3500 ไร่ ทำให้เกิดปัญหำต่อกำรประมงหรือไม่ และสิ่งปลูกสร้ำงต่ำง ๆ
มีผลกระทบอย่ำงไรบ้ำง
5. สัดส่วนระหว่ำงเรือฟีดเดอร์และเรือแม่มีสัดส่วนเท่ำไร
6. กำรสร้ำงท่ำเรือน้ำลึกชุมพร และมีกำรสร้ำงสะพำนท่ำเรืออ่ำวไทย และมีกำรทำโกดังสินค้ำ
จะคุ้มค่ำกับกำรขนสินค้ำขึ้นลงหรือไม่ และรถขนส่งสินค้ำจะมีขนำดยำวเท่ำไรต่อวัน ถ้ำมีกำรขุดคลอง
ไทยจะคุ้มค่ำกว่ำหรือไม่ แล้วรัฐบำลชอบเส้นทำงไหนในกำรเดินเรือ
7. ควรมีระบบรำงใช่หรือไม่ เพื่อขนส่งสินค้ำและลดปัญหำกำรจรำจร
ผู้แทนจากท่าเรือแหลมฉบังตอบข้อซักถาม ดังนี้
1. ท่ำเรือแหลมฉบังเฟส 3 ได้ออกแบบให้เรือที่มีขนำดใหญ่ที่สุดลอยน้ำที่สำมำรถบรรทุกตู้ได้
15,000 บีทียูเข้ำมำได้ โดยอีก 4 ปี จะสร้ำงสำเร็จ โดยเรือที่มีขนำดใหญ่จะกินน้ำลึก 18.5 เมตร
ซึ่งเรือขนำดใหญ่จะไม่กินน้ำลึกมำกกว่ำนี้ แม้จะมีขนำดใหญ่ก็จะมีขนำดออกข้ำง มีกำรใช้รถระบบ
NGV ที่สำมำรถวิ่งเองมำใช้ที่ท่ำเรื อแหลมฉบังเพื่อลดปัญหำกำรจรำจร และมีกำรวำงแผนไว้ เผื่ อ
เรียบร้อยแล้ว
2. ท่ำเรือแหลมฉบังได้มีกำรศึกษำผลกระทบทำงสุขภำพและสิ่งแวดล้อมแล้ว (EHIA) ได้มีกำรทำ
ประตูลักน้ำ มีแม่ปั้มสูบน้ำ เป็นพื้นที่อนุบำลสัตว์น้ำตัวอ่อนไม่ให้เรือประมงมำทำลำยสัตว์น้ำ มีกำร
พัฒนำให้เป็นที่จอดฝูงเรือบริกำรนักท่องเที่ยว และมีกำรศึกษำกำรกัดเซำะชำยฝั่งเพื่อไว้ตอบคำถำม
ประชำชนว่ำมีผลกระทบหรือไม่เพรำะปกติแล้วแม้จะไม่มีกำรถมทะเลและก่อนสร้ำงใด ๆ ก็มีกำรกัด
เซำะชำยฝั่งตำมธรรมชำติอยู่แล้ว
3. ในกำรขุดดินลงไป 0-8 เมตร จะขุดลึกดิ่งลงไป 57 ล้ำนคิว แล้วเอำดินที่ได้ไปถมทะเล 34
ล้ ำนคิว และถำมทะเลยื่ น ออกไป 2 กิโ ลเมตร โดยออกแบบเป็นรูปนิ้วมือให้นิ้วก้อยยำวกว่ำตำม
แนวคิดให้เจริญรุ่งเรือง
4. เมื่อ 4-5 ปีที่แล้วได้มีเรือฟีดเดอร์ขนำด 200-300 ตู้ วิ่งเข้ำไปยังสำธำรณะรัฐสิง คโปร์
ปัจจุบันลดจำนวนลง
5. ถ้ำมีกำรขุดคลองไทยจะเป็นบวกต่อกำรเดินเรือขนส่งสินค้ำ และต้องมีกำรสร้ำงแรงจูงใจและ
ประชำสัมพันธ์ให้สำยกำรเดินเรือมำใช้เส้นทำงถ้ำมีกำรขุดคลองไทย
6. กำรขุดคลองไทยและแลนด์บริดจ์มองคนละภำพกันขึ้นอยู่กับว่ำจะมองในภำพไหน เพรำะถ้ำ
มองคลองไทยจะสำมำรถวิ่ ง เรื อ ทั้ ง ในประเทศไทยและไปประเทศอื่ น ด้ ว ย ส่ ว นแลนบริ ด จ์ ภ ำค
ประชำชนจะได้ใช้ประโยชน์ ซึ่งจะคุม้ ค่ำไม่เท่ำกัน
7. ที่ท่ำเรือแหลมฉบังจะมีเรือฟีดเดอร์ประมำณ 400 เที่ยว ส่วนวิ่งออกนอกประเทศเป็นเรือแม่
ประมำณ 2,000 เที่ยว
8. เรื อที่ ขนส่ งรถยนต์ เพื่ อส่ งออก เช่ น ยำรี ส แคมมเอร์ จะวิ่ งจำกญี่ ปุ่ นมำไทย แล้ วไปยั งอิ นโดนี เชี ย
และจะกลั บไปประเทศต้ นทำงโดยจะไม่ มี กำรถ่ ำยล ำเรื อที่ สำธำรณรั ฐสิ งคโปร์ ยกเว้ นที่ เป็ นลู กค้ ำเท่ ำนั้ น
แล้วก็จะไปยังตะวันออกกลำงและทวีปยุโรป ส่วนออสเตรเลียจะถ่ำยเรือที่สำธำรณรัฐสิงค์โปร์
ภาคผนวก ค – ฉ (QR CODE)

ภาคผนวก ค ภาคผนวก ง
การทบทวนวรรณกรรม ข้อมูล รายงานคณะอนุกรรมาธิการ
และเอกสารวิจัยที่เกี่ยวข้อง พิจารณาศึกษาการขุดคลองไทย
(QR CODE) (QR CODE)

ภาคผนวก จ ภาคผนวก ฉ
รายงานคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา รายงานคณะอนุกรรมาธิการพิจารณาศึกษา
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้ ผลกระทบสิง่ แวดล้อม สังคม
(QR CODE) ความมั่นคง และการเมือง
(QR CODE)
สำนักงำนเลขำธิกำรสภำผู้แทนรำษฎร

You might also like