การจัดการมรดกและการทำพินัยกรรม

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 20

03/02/63

การจัดการมรดกและ
การทําพินยั กรรม
โครงการอบรมทักษะการปฏิบตั งิ านทางกฎหมาย
(LEGAL PRACTICE WORKSHOP)
ประจําปี การศึกษา 2562
ผูบ้ รรยาย : วีรพจน์ ตลอดสุข
ทนายความและทีป่ รึกษากฎหมายอิสระ

การจัดการมรดก
เมื่อเจ้ามรดกถึงแก่ความตาย

ทายาทมีความประสงค์ท่จี ะจัดการทรัพย์มรดกของผูต้ าย

่ ง้ ผูจ้ ดั การมรดก (มีพนิ ยั กรรม/ไม่มีพนิ ยั กรรม)


ขอให้ศาลมีคาํ สังตั

ผูจ้ ดั การมรดกแบ่งปันทรัพย์มรดกให้แก่ทายาท

1
03/02/63

ผูร้ อ้ ง คําร้องขอ ศาล

มาตรา 4 จัตวา
คําร้องขอแต่งตัง้ ผูจ้ ดั การมรดก ให้เสนอต่อศาลที่เจ้ามรดกมีภมู ิลาํ เนา
อยู่ในเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย
ในกรณีท่เี จ้ามรดกไม่มภี ูมลิ าํ เนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้เสนอต่อศาลที่
ทรัพย์มรดกอยู่ในเขตศาล

ข้อควรระวัง : ศาลทีเ่ จ้ามรดกมีภมู ลิ าํ เนาอยู่ในเขตศาลในขณะถึงแก่ความตาย ไม่ใช่!!! ศาลทีเ่ จ้ามรดกถึงแก่ความตายในเขตศาล

บุ คคลใดมีสทิ ธิรอ้ งต่อศาลขอให้ตงั้ ผูจ้ ดั การมรดก?


มาตรา 1713
ทายาทหรือผูม้ ีสว่ นได้เสียหรือพนักงานอัยการจะร้องต่อศาลขอให้ตงั้ ผูจ้ ดั การมรดกก็ได้ ในกรณีดงั ต่อไปนี้
(1) เมือ่ เจ้ามรดกตาย ทายาทโดยธรรมหรือผูร้ บั พินยั กรรมได้สูญหายไป หรืออยู่นอกราชอาณาเขต หรือเป็ นผูเ้ ยาว์
(2) เมือ่ ผูจ้ ดั การมรดกหรือทายาทไม่สามารถ หรือไม่เต็มใจทีจ่ ะจัดการ หรือมีเหตุขดั ข้องในการจัดการ หรือในการแบ่งปันมรดก
(3) เมือ่ ข้อกําหนดพินยั กรรมซึง่ ตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกไว้ไม่มผี ลบังคับได้ดว้ ยประการใด ๆ
การตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกนัน้ ถ้ามีขอ้ กําหนดพินยั กรรมก็ให้ศาลตัง้ ตามข้อกําหนดพินยั กรรม และถ้าไม่มขี อ้ กําหนดพินยั กรรม ก็ให้
ศาลตัง้ เพือ่ ประโยชน์แก่กองมรดกตามพฤติการณ์และโดยคํานึงถึงเจตนาของเจ้ามรดก แล้วแต่ศาลจะเห็นสมควร

2
03/02/63

บุ คคลที่มสี ทิ ธิรอ้ งต่อศาลขอให้ตงั้ ผูจ้ ดั การมรดก


1. ทายาท
o ทายาทโดยธรรม
o ผูร้ บั พินยั กรรม
กรณี ท่เี จ้ามรดกมีทายาทโดยธรรมหรือผูร้ บั พินยั กรรม
2. ผูม้ ีสว่ นได้เสีย เจ้าหนี้สามารถเรียกร้องให้ทายาทโดยธรรมหรือ
o เช่น เจ้าหนี้ กองมรดก ผูร้ บั พินยั กรรมให้รบั ผิดชําระหนี้จากกองมรดกได้อยู่แล ้ว
เจ้าหนี้จงึ ไม่มสี ่วนได้เสียทีจ่ ะร้องขอเป็ นผูจ้ ดั การมรดก
3. พนักงานอัยการ

บุ คคลใดไม่สามารถเป็ นผูจ้ ดั การมรดกได้?

มาตรา 1718
บุคคลต่อไปนี้จะเป็ นผูจ้ ดั การมรดกไม่ได้
(1) ผูซ้ ่งึ ยังไม่บรรลุนิตภิ าวะ
(2) บุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็ นผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ
(3) บุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็ นคนล้มละลาย

3
03/02/63

คุณสมบัตขิ องผูจ้ ดั การมรดก

1. ต้องบรรลุนิตภิ าวะแล้ว
2. ต้องไม่เป็ นบุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสังให้
่ เป็ นผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ
3. ต้องไม่เป็ นบุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็ นคนล้มละลาย

ตัวอย่างแบบพิมพ์ศาล
คําร้อง/คําขอ/คําแถลง

4
03/02/63

หลักเกณฑ์การบรรยาย
1. ผูร้ อ้ ง
o ผูร้ อ้ งเกี่ยวข้องอย่างไรกับผูต้ าย
2. ผูต้ าย (เจ้ามรดก)
o ผูต้ ายถึงแก่ความตายเมื่อใด ด้วยสาเหตุอะไร ขณะถึงแก่ความตายผูต้ ายมีผูภ้ มู ิลาํ เนาอยู่ท่ใี ด
3. ทายาท
o ขณะถึงแก่ความตาย ผูต้ ายมีทายาทกี่คน

หลักเกณฑ์การบรรยาย
4. พินยั กรรมและทรัพย์มรดก
o ก่อนถึงแก่ความตาย ผูต้ ายได้ทาํ พินยั กรรมไว้หรือไม่
o ขณะถึงแก่ความตาย ผูต้ ายมีทรัพย์มรดกอะไรบ้าง

5. เหตุขดั ข้อง
o เหตุท่จี ดั การมรดกไม่ได้ จึงต้องขอให้ศาลตัง้ ผูจ้ ดั การมรดกไปดําเนิ นการ เช่น เจ้าพนักงานทีด่ นิ ไม่ยอมให้โอนทีด่ นิ

6. ความยินยอมของทายาท
o ทายาทโดยธรรมให้ความยินยอม

5
03/02/63

หลักเกณฑ์การบรรยาย
7. ผูจ้ ดั การมรดกไม่มีคณ
ุ สมบัตติ อ้ งห้าม
o บรรลุนิตภิ าวะแล้ว
o ไม่เป็ นบุคคลวิกลจริต หรือบุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็ นผูเ้ สมือนไร้ความสามารถ
o ไม่เป็ นบุคคลซึ่งศาลสัง่ ให้เป็ นคนล้มละลาย

8. คําขอ
9. ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด
10. ลงชื่อ

ตัวอย่าง
คําร้องขอตัง้ ผูจ้ ดั การมรดก

6
03/02/63

การบรรยาย : ผูร้ อ้ ง

การบรรยาย : ผูต้ าย (เจ้ามรดก)

7
03/02/63

การบรรยาย : ทายาท

บัญชีเครือญาติ
คืออะไร?

ตัวอย่างบัญชีเครือญาติ

8
03/02/63

การบรรยาย : พินยั กรรมและทรัพย์มรดก


บัญชีทรัพย์
คืออะไร?

ตัวอย่างบัญชีทรัพย์

9
03/02/63

การบรรยาย : เหตุขดั ข้อง

การบรรยาย : ความยินยอมของทายาท

หนังสือยินยอมทายาท
คืออะไร?

10
03/02/63

ตัวอย่างหนังสือยินยอมทายาท

การบรรยาย : ผูจ้ ดั การมรดกไม่มคี ุณสมบัตติ อ้ งห้าม

11
03/02/63

การบรรยาย : คําขอ

ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด

12
03/02/63

ลงชื่อ

การทําพินยั กรรม
พินยั กรรมแบบธรรมดา (มาตรา 1656)
พินยั กรรมเขียนเองทัง้ ฉบับ (มาตรา 1657)
พินยั กรรมทําเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง (มาตรา 1658)
พินยั กรรมทําเป็ นเอกสารลับ (มาตรา 1660)

พินยั กรรมทําด้วยวาจา (มาตรา 1663)

13
03/02/63

พินยั กรรมแบบธรรมดา

มาตรา 1656
พินยั กรรมนัน้ จะทําตามแบบดังนี้กไ็ ด้ กล่าวคือต้องทําเป็ นหนังสือลงวัน เดือน ปี ในขณะทีท่ าํ ขึ้น และ
ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องลงลายมือชื่อไว้ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนพร้อมกัน ซึง่ พยานสองคนนัน้ ต้องลงลายมือชือ่
รับรองลายมือชื่อของผูท้ าํ พินยั กรรมไว้ในขณะนัน้
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลีย่ นแปลงอย่างอืน่ ซึง่ พินยั กรรมนัน้ ย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่จะได้
ปฏิบตั ติ ามแบบอย่างเดียวกับการทําพินยั กรรมตามมาตรานี้

หลักเกณฑ์การเขียนพินยั กรรมแบบธรรมดา
1. หัวกระดาษ
o พินยั กรรมของ...
2. สถานที่ทาํ พินยั กรรม
o ทําที่...
3. วันที่ทาํ พินยั กรรม
o วัน เดือน ปี

14
03/02/63

หลักเกณฑ์การเขียนพินยั กรรมแบบธรรมดา
4. ผูท้ าํ พินยั กรรม
o ชื่อ, เลขบัตรประจําตัวประชาชน, อายุ, ที่อยู่
5. ความประสงค์ของผูท้ าํ พินยั กรรม
o เมื่อผูท้ าํ พินยั กรรมถึงแก่ความตายแล้ว ประสงค์จะจัดการทรัพย์สนิ ใด ให้แก่ใคร
6. คํารับรองและลายมือชื่อของผูท้ าํ พินยั กรรม
7. คํารับรองและลายมือชื่อของพยาน 2 คน

ตัวอย่างพินยั กรรมแบบธรรมดา
หัวกระดาษ
สถานที่ทาํ
พินัยกรรม

วันที่ทาํ พินัยกรรม
ผูท้ าํ พินัยกรรม

ความประสงค์ของ
ผูท้ าํ พินัยกรรม

15
03/02/63

ข้อความลงท้าย

คํารับรองและลายมือชื่อของผูท้ าํ พินยั กรรม

16
03/02/63

คํารับรองและลายมือชื่อของพยาน

พินยั กรรมเขียนเองทัง้ ฉบับ

มาตร 1657
พินยั กรรมนัน้ จะทําเป็ นเอกสารเขียนเองทัง้ ฉบับก็ได้ กล่าวคือผูท้ าํ พินยั กรรมต้องเขียนด้วยมือตนเอง
ซึง่ ข้อความทัง้ หมด วัน เดือน ปี และลายมือชื่อของตน
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลีย่ นแปลงอย่างอืน่ ซึง่ พินยั กรรมนัน้ ย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผูท้ าํ
พินยั กรรมจะได้ทาํ ด้วยมือตนเอง และลงลายมือชื่อกํากับไว้

17
03/02/63

พินยั กรรมทําเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง


มาตรา 1658
พินยั กรรมนัน้ จะทําเป็ นเอกสารฝ่ ายเมืองก็ได้ กล่าวคือ
(1) ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องไปแจ้งข้อความทีต่ นประสงค์จะให้ใส่ไว้ในพินยั กรรมของตนแก่กรมการอําเภอต่อหน้าพยานอีกอย่างน้อยสองคน
พร้อมกัน
(2) กรมการอําเภอต้องจดข้อความทีผ่ ูท้ าํ พินยั กรรมแจ้งให้ทราบนัน้ ลงไว้ และอ่านข้อความนัน้ ให้ผูท้ าํ พินยั กรรมและพยานฟัง
(3) เมือ่ ผูท้ าํ พินยั กรรมและพยานทราบแน่ชดั ว่าข้อความทีก่ รมการอําเภอจดนัน้ เป็ นการถูกต้องตรงกันกับทีผ่ ูท้ าํ พินยั กรรมแจ้งไว้แล้ว
ให้ผูท้ าํ พินยั กรรมและพยานลงลายมือชื่อไว้เป็ นสําคัญ
(4) ข้อความทีก่ รมการอําเภอจดไว้นนั้ ให้กรมการอําเภอลงลายมือชื่อและลงวัน เดือน ปี ทัง้ จดลงไว้ดว้ ยตนเองเป็ นสําคัญว่า
พินยั กรรมนัน้ ได้ทาํ ขึ้นถูกต้องตามบทบัญญัตอิ นุมาตรา 1 ถึง 3 ข้างต้น แล้วประทับตราตําแหน่งไว้เป็ นสําคัญ
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลีย่ นแปลงอย่างอื่นซึง่ พินยั กรรมนัน้ ย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผูท้ าํ พินยั กรรม พยาน และกรมการ
อําเภอจะได้ลงลายมือชื่อกํากับไว้

ตัวอย่างพินยั กรรม
ทําเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง

18
03/02/63

ตัวอย่างพินยั กรรม
ทําเป็ นเอกสารฝ่ ายเมือง

พินยั กรรมทําเป็ นเอกสารลับ


มาตรา 1660
พินยั กรรมนัน้ จะทําเป็ นเอกสารลับก็ได้ กล่าวคือ
(1) ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องลงลายมือชื่อในพินยั กรรม
(2) ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องผนึกพินยั กรรมนัน้ แล้วลงลายมือชื่อคาบรอยผนึกนัน้
(3) ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องนําพินยั กรรมทีผ่ นึกนัน้ ไปแสดงต่อกรมการอําเภอ และพยานอีกอย่างน้อยสองคน และให้ถอ้ ยคําต่อบุคคล
ทัง้ หมดเหล่านัน้ ว่าเป็ นพินยั กรรมของตน ถ้าพินยั กรรมนัน้ ผูท้ าํ พินยั กรรมมิได้เป็ นผูเ้ ขียนเองโดยตลอด ผูท้ าํ พินยั กรรมจะต้องแจ้งนามและ
ภูมลิ าํ เนาของผูเ้ ขียนให้ทราบด้วย
(4) เมือ่ กรมการอําเภอจดถ้อยคําของผูท้ าํ พินยั กรรมและวัน เดือน ปี ทีท่ าํ พินยั กรรมมาแสดงไว้บนซองนัน้ และประทับตราตําแหน่งแล้ว
ให้กรมการอําเภอผูท้ าํ พินยั กรรมและพยานลงลายมือชื่อบนซองนัน้
การขูดลบ ตก เติม หรือการแก้ไขเปลีย่ นแปลงอย่างอื่นซึง่ พินยั กรรมนัน้ ย่อมไม่สมบูรณ์ เว้นแต่ผูท้ าํ พินยั กรรมจะได้ลงลายมือชื่อกํากับไว้

19
03/02/63

พินยั กรรมทําด้วยวาจา
มาตรา 1663
เมือ่ มีพฤติการณ์พเิ ศษซึง่ บุคคลใดไม่สามารถจะทําพินยั กรรมตามแบบอืน่ ทีก่ าํ หนดไว้ได้ เช่น ตกอยู่ใน
อันตรายใกลค้ วามตาย หรือเวลามีโรคระบาด หรือสงคราม บุคคลนัน้ จะทําพินยั กรรมด้วยวาจาก็ได้
เพือ่ การนี้ ผูท้ าํ พินยั กรรมต้องแสดงเจตนากําหนดข้อพินยั กรรมต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคนซึง่ อยู่พร้อม
กัน ณ ทีน่ นั้
พยานสองคนนัน้ ต้องไปแสดงตนต่อกรมการอําเภอโดยมิชกั ช้าและแจ้งข้อความทีผ่ ูท้ าํ พินยั กรรมได้สงไว้ด้ ั ่ วย
วาจานัน้ ทัง้ ต้องแจ้งวัน เดือน ปี สถานทีท่ ท่ี าํ พินยั กรรมและพฤติการณ์พเิ ศษนัน้ ไว้ดว้ ย
ให้กรมการอําเภอจดข้อความทีพ่ ยานแจ้งนัน้ ไว้ และพยานสองคนนัน้ ต้องลงลายมือชื่อไว้ หรือมิฉะนัน้ จะให้
เสมอกับการลงลายมือชื่อได้กแ็ ต่ดว้ ยลงลายพิมพ์น้ วิ มือโดยมีพยานลงลายมือชื่อรับรองสองคน

จบการบรรยาย
โครงการอบรมทักษะการปฏิบตั งิ านทางกฎหมาย
(LEGAL PRACTICE WORKSHOP)
ประจําปี การศึกษา 2562
ผูบ้ รรยาย : วีรพจน์ ตลอดสุข
ทนายความและทีป่ รึกษากฎหมายอิสระ

20

You might also like