Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 34

ชลีรินย์ เภาพัฒนา อมรศักดิ

ผู้พพ
ิ ากษาหัวหน้ าศาลประจํากองผู้ช่วยผู้พพ
ิ ากษาศาลฎีกา

● นิติศาสตร์ บัณฑิต เกียรตินิยมดี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์


●(สอบได้ อันดั บที ๔ ของคณะ)

● เนติบัณฑิตไทย ปี ๒๕๓๖ (สอบได้ อันดั บที ๔)

● นิติศาสตร์ มหาบั ณฑิต HARVARD LAW SCHOOL สหรั ฐอเมริ กา

● นิติศาสตร์ มหาบั ณฑิต WASHINGTON COLLEGE OF LAW สหรั ฐอเมริ กา

● ผู้พพิ ากษาประจําสํานักประธานศาลฎีกา
● ผู้พพ ิ ากษาหัวหน้ าคณะศาลอาญากรุงเทพใต้
●ผู้พพิ ากษาหัวหน้ าศาลประจํากองผู้ช่วยผู้พพ
ิ ากษาศาลฎีกา

ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ ง
● ภาค ๑ บททัวไป
● ภาค ๒ วิธีพิจารณาในศาลชันต้ น
ลักษณะ ๑ วิธีพิจารณาสามัญในศาลชันต้ น มาตรา ๑๗๐
ถึง ๑๘๘
● ภาค ๓ อุทธรณ์และฎีกา
●ภาค ๔ วิธีการชัวคราวก่อนพิพากษาและการบังคับตามคํา
พิพากษาหรื อคําสัง

1
แผนการสอน ๑๖ ครัง้

● ครัง้ ที่ ๑ คําฟ้ อง มาตรา ๑(๓) และ มาตรา ๑๗๐ ถึง ๑๗๒

● ครัง้ ที่ ๒ คําฟ้ อง (ต่อ )

● ครัง้ ที่ ๓ คําให้ การ มาตรา ๑(๔) และ มาตรา ๑๗๗

●ครัง้ ที่ ๔ ฟ้ องแย้ง


●ครัง ้ ที่ ๕ ฟ้ องแย้ง (ต่อ )
●ครัง ้ ที่ ๖ ฟ้ องแย้ง (ต่อ )

●ครัง้ ที่ ๗ ฟ้ องซ้ อน


●ครัง ้ ที่ ๘ ฟ้ องซ้ อน(ต่อ )

●ครัง้ ที่ ๙ ทิง้ ฟ้ อง มาตรา ๑๗๔ มาตรา ๑๗๖


●ครัง ้ ที่ ๑๐ ทิง้ ฟ้ อง (ต่อ )

●ครัง้ ที่ ๑๑ แก้ ไขเพิม


่ เติมคําฟ้ อง-คําให้ การ
●ครัง ้ ๑๒ แก้ ไขเพิม่ เติมคําฟ้ อง-คําให้ การ(ต่อ )

●ครัง้ ที่ ๑๓ คําพิพากษาฎีกาทีส


่ ํ าคัญ
●ครัง ้ ที่ ๑๔ คําพิพากษาฎีกาทีส่ ํ าคัญ (ต่อ )

● ครัง้ ที่ ๑๕ ข้อสอบเก่า

● ครัง้ ที่ ๑๖ แนวข้อสอบ

● …...................................................................

2
มาตรา 170 ห้ ามมิให้ ฟ้อง พิจารณาและชีขาดตัดสินคดี
เป็ นครังแรกในศาลหรื อโดยศาลอืนนอกจากศาลชันต้ น เว้ นแต่
จะมีกฎหมายบัญญัติไว้ ชัดแจ้ งเป็ นอย่างอื น

ภายใต้ บงั คับแห่งบทบัญญัติในภาคนี ว่าด้ วยคดีไ ม่มีข้อพิพาท


คดีมโนสาเร่ คดีขาดนัด และคดีทีมอบให้ อนุญาโตตุลาการชี ขาด
การฟ้ อง การพิจารณาและชี ขาดตัดสินคดี ในศาลชันต้ น
นอกจากจะต้ องบังคับตามบทบัญญัติทัวไปแห่งภาค 1 แล้ ว ให้
บังคับตามบทบัญญัติในลักษณะนีด้ วย

ความสําคัญของวิธีพจิ ารณาคดีในศาลชันต้ น
๑. กระบวนพิจารณาทุกุ อย่างถูกรวบรวมไว้ ในสํานวนความ และจะใช้ ไป
ตลอดจนกว่าคดีจะถึงทีสุด
๒. ศาลอุทธรณ์และศาลฎีกา ไม่รับพิจารณาพิพากษาคดีทียังไม่ผ่าน
การพิจารณาพิพากษาของศาลชันต้ น มาตรา๑๗๐ วรรคหนึง
๓. การพิจารณาพิพากษาคดีในชันอุทธรณ์และฎีกา ต้ องพิจารณาตาม
สํานวนความทีศาลชันต้ นรวบรวมไว้ - ต้ องเป็ นข้ อทีได้ ยกขึนว่ากันมาแล้ ว
โดยชอบในศาลชันต้ น มาตรา ๒๒๕ วรรคหนึง

3
กรณีทีคดีถงึ ทีสุดตามคําพิพากษาศาลชันต้ น

คู่ความไม่ติดใจอุทธรณ์

●คดีต้องห้ ามอุทธรณ์เพราะศาลชันต้ นพิพากษาคดีไปตามทีคูค่ วาม


ประนีประนอมยอมความกัน มาตรา ๑๓๘ วรรคสอง
เป็ นคดีทีต้ องห้ ามอุทธรณ์ในปั ญหาข้ อเท็จจริ ง

คดีมีข้อพิพาท
&
คดีไม่มีข้อพิพาท

4
บรรดาเอกสารทีคู่ความเสนอต่ อศาล
๑. เอกสารทีเป็ นคําคู่ความ
- คําฟ้อง
- คําให้ การ
- คําร้ องทังหลายทียืนต่อศาลเพือตังประเด็นระหว่างคูค่ วาม
๒. เอกสารทีเป็ นคําร้ อง คําแถลง คําขอธรรมดา
๓.เอกสารทีคู่ความเสนอต่อศาลเพือเป็ นพยานหลักฐานใน
คดี

คําฟ้อง
มาตรา ๑(๓) “คําฟ้อง” หมายความว่า กระบวนพิจารณาใด ๆ
ทีโจทก์ได้ เสนอข้ อหาต่อศาลไม่วา่ จะได้ เสนอด้ วยวาจาหรื อทําเป็ น
หนังสือ ไม่วา่ จะได้ เสนอต่อศาลชันต้ น หรื อชันอุทธรณ์หรื อฎีกา ไม่วา่
จะได้ เสนอในขณะทีเริ มคดีโดยคําฟ้ องหรื อคําร้ องขอหรื อเสนอใน
ภายหลังโดยคําฟ้ องเพิมเติมหรื อแก้ ไข หรื อฟ้ องแย้ งหรื อโดยสอดเข้ า
มาในคดีไม่วา่ ด้ วยสมัครใจ หรื อถูกบังคับ หรื อโดยมีคําขอให้ พิจารณา
ใหม่

5
ประเภทของคําฟ้อง
๑. คําฟ้ องทีเสนอต่อศาลในขณะเริ มต้ นคดี
- คําฟ้ องในคดีมีข้อพิพาท
- คําร้ องขอในคดีไม่มีข้อพิพาท
๒. คําฟ้ องทีเสนอในภายหลัง หรื อเสนอในระหว่างการพิจารณาของศาล
ชันต้ น
- คําร้ องขอแก้ ไขเพิมเติมคําฟ้ อง มาตรา ๑๗๙ และ ๑๘๐
- ฟ้ องแย้ ง มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม
- คําร้ องสอด มาตรา ๕๗(๑)

- การร้ องขอรับชําระหนีก่อน มาตรา ๓๒๔


- คําร้ องสอดในชันบังคับคดี

๓. คําฟ้ องทีเสนอศาลชันต้ นภายหลังศาลชันต้ นมีคําพิพากษาหรื อ


คําสังชีขาดคดี
- คําขอให้ พิจารณาคดีใหม่ ภายหลังศาลพิพากษาให้ ค่คู วามฝ่ าย
ทีขาดนัดพิจารณาแพ้ คดี ตามมาตรา ๒๐๗
- คําฟ้ องอุทธรณ์และคําฟ้ องฎีกา
- คําร้ องขัดทรัพย์ ตามมาตรา ๓๒๓

6
รายการในคําฟ้อง มาตรา ๖๗
๑. ชือศาลทีจะรับคําฟ้อง
๒. ชือคู่ความในคดี
๓. ชือจําเลย
๔. ใจความและเหตุผล
๕. วันเดือนปี ของคําฟ้อง
๖. ลายมือชือของโจทก์หรื อผู้ยืนคําฟ้อง

7
แผนการสอน ๑๖ ครัง
ครังที ๑ คําฟ้ อง มาตรา ๑(๓) และ มาตรา ๑๗๐ ถึง ๑๗๒

ครังที ๒ คําฟ้ อง (ต่อ)

ครังที ๓ คําให้การ มาตรา ๑(๔) และ มาตรา ๑๗๗

ครังที ๔ ฟ้ องแย้ง
ครังที ๕ ฟ้ องแย้ง (ต่อ)
ครังที ๖ ฟ้ องแย้ง (ต่อ)

ครังที ๗ ฟ้ องซ้อน
ครังที ๘ ฟ้ องซ้อน (ต่อ)

ครังที ๙ ทิ งฟ้ อง มาตรา ๑๗๔ มาตรา ๑๗๖


ครังที ๑๐ ทิ งฟ้ อง (ต่อ)

ครังที ๑๑ แก้ไขเพิ มเติมคําฟ้ อง-คําให้การ


ครังที ๑๒ แก้ไขเพิ มเติมคําฟ้ อง-คําให้การ (ต่อ)

ครังที ๑๓ คําพิพากษาฎีกาทีสําคัญ
ครังที ๑๔ คําพิพากษาฎีกาทีสําคัญ (ต่อ)

ครังที ๑๕ ข้อสอบเก่า

ครังที ๑๖ แนวข้อสอบ

…...................................................................

1
มาตรา 172 วรรคสอง

คําฟ้ องคดีแพ่ง ต้องไม่เคลือบคลุม คือ แสดงโดยแจ้งชัด


ซึ ง
- สภาพแห่ งข้อหาของโจทก์
- คําขอบังคับ และ
- ข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลักแห่ งข้อหาเช่นว่านัน
แต่ ไม่จาํ ต้องอ้าง - ตัวบทกฎหมาย หรื อ
- ข้อเท็จจริ งในรายละเอียด

2
สาเหตุทีคําฟ้ องต้องชัดแจ้ง/ไม่เคลือบคลุม

๑. จําเลยเข้าใจและให้การต่อสูค้ ดีได้อย่างถูกต้อง มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง มิเช่นนัน


- จําเลยขาดนัดยืนคําให้การ มาตรา ๑๙๗

- คําให้การทีไม่ชดั แจ้ง = ยอมรับ/ไม่ปฏิเสธข้อเท็จจริ งตามฟ้ องในข้อนันๆ


= ไม่เกิดประเด็นข้อพิพาท = โจทก์ไม่ตอ้ งสืบพยานในประเด็นดังกล่าว =
ศาลรับฟังได้เลยตามทีโจทก์อา้ ง

- ถ้าให้การปฏิเสธชัดแจ้ง แต่ไม่มีเหตุแห่งการปฏิเสธ = เกิดประเด็น


ข้อพิพาท แต่จาํ เลยไม่มีสิทธิสืบพยานตามข้อนันๆ

๒. เป็ นข้อพิจาณาในการแก้ไขเพิ มเติมคําฟ้ อง


- หากคําฟ้ องเดิมไม่ชอบ = โจทก์จะแก้ไขเพิ มเติมฟ้ องไม่ได้
- มาตรา ๑๗๙ วรรคท้าย คําฟ้ องทีแก้ไขเพิ มเติมต้องเกียวข้องกับคําฟ้ องเดิม
พอทีจะพิจารณาและชีขาดรวมกันได้ ไม่ใช่ ตังข้อหาใหม่ เพิ ม/เปลียนตัวโจทก์/
เพิ ม/เปลียนตัวจําเลย หรื อตังทุนทรัพย์ใหม่

๓. ศาลอาศัยคําฟ้ องและคําให้การทีชัดแจ้งในการกําหนดประเด็นข้อพิพาท

๔. คู่ความนําสืบสืบพยานตามประเด็นข้อพิพาท มาตรา ๘๔

3
๕. ศาลตัดสินคดีถกู ต้องตามประเด็นข้อพิพาท ไม่พิพากษาเกินไปกว่าหรื อนอกจาก
ทีปรากฏในคําฟ้ อง มาตรา ๑๔๒ วรรคหนึง

๖. ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา พิจารณาได้ว่าข้อเท็จจริ งหรื อข้อกฎหมาย


ทีอุทธรณ์มานัน เป็ นข้อทีได้ยกขึนว่ามาแล้วในศาลชันต้นหรื อไม่ หากไม่ใช่
ต้องไม่รับวินิจฉัยในข้อดังกล่าว
มาตรา ๒๒๕ และ มาตรา ๒๕๒

๗. คําฟ้ องทีชัดแจ้งทําให้เห็นได้ว่า คดีเป็ นการต้องห้ามตามกฎหมายในเรื องดังนี


หรื อไม่
- ฟ้ องซํา มาตรา ๑๔๘
- ฟ้ องซ้อน มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง(๑)
- ดําเนินกระบวนพิจารณาซํา มาตรา ๑๔๔ วรรคหนึง
- คําพิพากษาผูกพันคู่ความ ตามมาตรา ๑๔๕ หรื อไม่

๘. หากจําเลยฟ้ องแย้ง ศาลต้องพิจารณาว่า ฟ้ องแย้งเกียวข้องกับฟ้ องเดิม


พอทีจะพิจารณาพิพากษาเข้าด้วยกันตามมาตรา ๑๗๗ วรรคสาม
และมาตรา ๑๗๙ วรรคท้ายหรื อไม่
.....................................................

4
สรุป คําฟ้ องทีไม่ ชัดแจ้ ง/ฟ้ องเคลือบคลุม

๑. ปัญหาว่าฟ้ องเคลือบคลุมหรื อไม่ เป็ นปัญหาข้อกฎหมาย


แต่ไม่ เกียวกับความสงบเรียบร้ อยของประชาชน ศาลหยิบยกขึนวินิจฉัย
เองตามมาตรา ๑๔๒(๕) ไม่ได้
๒. จําเลยต้องให้การต่อสู้ และศาลได้ตงเป็ ั นประเด็นข้อพิพาทไว้ มิฉะนัน
ถือเป็ นข้ อทีมิได้ ยกขึนว่ากันมาแล้วโดยชอบในศาลชันต้น
อุทธรณ์/ฎีกาไม่ได้ ศาลอุทธรณ์/ศาลฎีกาไม่รับวินิจฉัย
๓. หากศาลยกฟ้ องเพราะเหตุฟ้องเคลือบคลุม โจทก์นาํ มาฟ้ องใหม่ได้
ภายในอายุความ ไม่ เป็ นฟ้องซํา ตามมาตรา ๑๔๘ เพราะยังมิได้วินิจฉัย
ในเนือหาซึ งเป็ นข้อพิพาทแห่งคดี
๔. ศาลยกฟ้ องเพราะเหตุฟ้องเคลือบคลุม ศาลไม่ คนื ค่าขึนศาลให้ แก่ โจทก์

5
คําให้ การ
มาตรา 1 (4) “คํา ให้ ก าร” หมายความว่ า กระบวนพิ จ ารณาใด ๆ ซึง
คู่ค วามฝ่ ายหนึ งยกข้ อต่ อสู้ เป็ นข้ อแก้ คํ า ฟ้ องตามที บั ญ ญั ติ ไ ว้ ในประมวล
กฎหมายนี นอกจากคําแถลงการณ์

มาตรา 173 เมือศาลได้ รับคํา ฟ้องแล้ ว ให้ ศาลออกหมายส่ง สําเนาคํ า


ฟ้องให้ แ ก่ จํา เลยเพื อแก้ คดี และภายในกํา หนดเจ็ ดวัน นับ แต่ วัน ยื นคํ า ฟ้ อง ให้
โจทก์ร้องขอต่อพนักงานเจ้ าหน้ าทีเพือให้ สง่ หมาย
มาตรา 177 เมือได้ สง่ หมายเรียกและคําฟ้องให้ จําเลยแล้ ว ให้ จําเลยทํา
คําให้ การเป็ นหนังสือยืนต่อศาลภายในสิบห้ าวัน
ให้ จําเลยแสดงโดยชัดแจ้ งในคําให้ การว่า จําเลยยอมรั บ
หรือปฏิเสธข้ ออ้ างของโจทก์ทงสิ ั นหรือแต่บางส่วน รวมทังเหตุแห่งการนัน

คําให้การทีชอบด้วยมาตรา ๑๗๗ วรรคสอง

 ก่อให้ เกิดประเด็นข้ อพิพาท


 ประเด็นข้ อพิพาทซึงเป็ นข้ อแพ้ ชนะของคดี ศาลต้ องวินิจฉัยชีขาดตาม
ประเด็นดังกล่าวเท่านัน จะหยิบยกข้ อเท็จจริงนอกประเด็นมาวินิจฉัย
ให้ จําเลยชนะคดีไม่ได้
 ประเด็นข้ อพิพาททีเกิดจากคําให้ การถือเป็ นข้ อทีได้ ยกขึนว่ากล่าวกัน
มาแล้ วโดยชอบในศาลชันต้ น
 ปั ญหาเกียวด้ วยความสงบเรียบร้ อยฯ ทีคูค่ วามมีสิทธิอทุ ธรณ์ฎีกาแม้
มิได้ ยกขึนว่ากล่าวกันมาแล้ วโดยชอบในศาลชันต้ น ต้ องไม่ใช่ข้อเท็จจริง
นอกฟ้องนอกคําให้ การ

1
คําให้การยอมรับฟ้ องข้อใด = ไม่เกิ ดประเด็นข้อพิพาท = โจทก์
ไม่ตอ้ งนําสื บพยาน (มาตรา ๘๗) = ศาลรับฟั งข้อเท็จจริ งเป็ นยุติ
ตามฟ้ องข้อนัน

คําให้การปฏิเสธโดยชัดแจ้ง พร้อมเหตุแห่งการปฏิเสธ =
เกิดประเด็นข้อพิพาท = โจทก์ตอ้ งนําสื บพยาน =
จําเลยมีสิทธินาํ พยานเข้าสื บ

• มาตรา 183 ในวันชี สองสถาน ให้ คู่ความมาศาล และให้ ศาลตรวจคํ า


คู่ความและคําแถลงของคู่ความ แล้ วนํ าข้ ออ้ าง ข้ อเถี ยง ที ปรากฏในคํ า
คูค่ วามและคําแถลงของคูค่ วามเทียบกันดู และสอบถามคูค่ วามทุกฝ่ ายถึง
ข้ ออ้ าง ข้ อเถียง และพยานหลักฐานทีจะยืนต่อศาลว่าฝ่ ายใดยอมรั บหรื อ
โต้ แย้ งข้ ออ้ าง ข้ อเถียงนันอย่างไร ข้ อเท็ จจริ งใดที คู่ความยอมรั บกันก็ เป็ น
อันยุติไปตามนัน ส่วนข้ อกฎหมายหรื อข้ อเท็จจริ งทีคูค่ วามฝ่ ายหนึงยกขึน
อ้ างแต่คําคูค่ วามฝ่ ายอืนไม่รับและเกียวเนืองโดยตรงกับประเด็นข้ อพิพาท
ตามคํา คู่ความให้ ศาลกํ าหนดไว้ เป็ นประเด็ นข้ อ พิพาท และกํ า หนดให้
คูค่ วามฝ่ ายใดนําพยานหลักฐานมาสืบในประเด็นข้ อใดก่อนหรื อหลังก็ได้
ในการสอบถามคู่ความตามวรรคหนึ ง คู่ความแต่ละฝ่ าย
ต้ อ งตอบคําถามที ศาลถามเองหรื อถามตามคํา ขอของคู่ความฝ่ ายอื น
เกี ยวกับ ข้ อ เท็ จ จริ ง ที คู่ค วามฝ่ ายอื นยกขึ นเป็ นข้ อ อ้ าง ข้ อ เถี ย ง และ
พยานหลักฐานต่า ง ๆ ทีคู่ความจะยืนต่อ ศาล ถ้ าคู่ความฝ่ ายใดไม่ตอบ
คําถามเกียวกับข้ อเท็จจริ งใด หรื อปฏิเสธข้ อเท็ จจริ งใดโดยไม่มีเหตุผลอัน
สมควร ให้ ถือว่ายอมรับข้ อเท็จจริ งนันแล้ ว เว้ นแต่คู่ความฝ่ ายนันไม่อยู่ใน
วิสยั ทีจะตอบหรื อแสดงเหตุผลแห่งการปฏิเสธได้ ในขณะนัน

2
มาตรา 84/1 คูค่ วามฝ่ ายใดกล่าวอ้ างข้ อเท็จจริงเพือสนับสนุนคํา
คูค่ วามของตน ให้ คคู่ วามฝ่ ายนันมีภาระการพิสจู น์ข้อเท็จจริ งนัน แต่ถ้า
มีข้ อ สัน นิ ษ ฐานไว้ ใ นกฎหมายหรื อ มี ข้ อสัน นิ ษ ฐานที ควรจะเป็ นซึ ง
ปรากฏจากสภาพปกติธรรมดาของเหตุการณ์เป็ นคุณแก่ค่คู วามฝ่ ายใด
คูค่ วามฝ่ ายนันต้ องพิสจู น์เพียงว่าตนได้ ปฏิบตั ิตามเงือนไขแห่งการทีตน
จะได้ รับประโยชน์จากข้ อสันนิษฐานนันครบถ้ วนแล้ ว

คําให้ การยอมรับ
 คําให้ การยอมรับโดยชัดแจ้ ง
คําให้ การทีถือว่ าเป็ นการยอมรับ
 ไม่ ปฏิเสธฟ้องข้ อใด ถือว่ ายอมรับฟ้องข้ อนัน
คําให้ การทีไม่ ชัดแจ้ งว่ าปฏิเสธ
- “นอกจากจะให้การรับโดยชัดแจ้งแล้ว จําเลยขอให้การปฏิเสธใน
ส่ วนทีเหลือทังสิน”
- “จําเลยไม่ ทราบ ไม่ รับรอง ไม่ แน่ ใจ”
- ปฏิเสธลอยๆ ไม่ แสดงตุแห่ งการปฏิเสธ
 คําให้ การทีขัดแย้ งกันเอง

3
คําให้ การปฏิเสธ
 คําให้ การปฏิเสธโดยชัดแจ้ ง และแสดงเหตุผลประกอบชัดแจ้ ง ชอบด้ วย
มาตรา ๑๗๗ วรรคสอง เกิ ดประเด็น ข้ อพิ พาท โจทก์ต้ อง
สืบพยาน จําเลยมีสิทธินําพยานหลักฐานเข้ าสืบ

 คํ า ให้ การที ปฏิ เ สธฟ้ องโดยชัด แจ้ ง แต่ ไ ม่อ้ างเหตุแ ห่ ง การปฏิ เ สธ /
ปฏิเสธลอย แนวฎีกาถือว่าปฏิเสธ เกิดประเด็นข้ อพิพาท
โจทก์ต้องสืบพยาน แต่จําเลยไม่มีสิทธิสืบพยานตาม
ข้ อปฏิเสธ ได้ แต่เพียงสืบพยานหักล้ างพยานโจทก์ / ใช้ สิทธิถาม
ค้ านพยานโจทก์ เ พื อทํ าลายนํ าหนัก ความน่าเชื อถื อ เท่านัน หากศาลให้
จําเลยสืบพยานไป ก็เป็ นเรืองนอกประเด็น ต้ องห้ ามมิรับฟั งตาม มาตรา ๘๗

 คําให้ การทีปฏิเสธชัดแจ้ ง แต่เหตุผลเคลือบคลุม / ขัดแย้ งกันเอง ไม่


แน่ชดั ว่าเป็ นเหตุใดแน่ เกิดประเด็นข้ อพิพาท
โจทก์ต้องสืบพยาน แต่จําเลยไม่มีสิทธิสืบพยานตามข้ อ
ปฏิเสธ ได้ แต่เพียงสืบพยานหักล้ างพยานโจทก์ / ใช้ สิทธิ
ถามค้ านพยานโจทก์เพือทําลายนําหนักความน่าเชือถือเท่านัน หาก
ศาลให้ จําเลยสืบพยานไป ก็เป็ นเรืองนอกประเด็น ต้ องห้ ามมิรับฟั งตาม
มาตรา ๘๗
 คําให้ การยอมรับและยกข้ อต่อสู้ขนใหม่ึ เกิดประเด็นข้ อ
พิพาทตามข้ อต่ อสู้ใหม่ นนั จําเลยมีหน้ าทีนําสืบ ตามมาตรา
๘๔/๑ โดยโจทก์ไม่มีหน้ าทีต้ องฟ้องเพิมเติม/ปฏิเสธข้ ออ้ างใหม่
ของจําเลย แต่มีสิทธิสืบพยานหักล้ าง ศาลต้ องวินิจฉัย

1
ฟ้องแย้ ง
มาตรา 177 เมื อได้ ส่ง หมายเรี ยกและคํ า ฟ้องให้ จํา เลยแล้ ว ให้
จําเลยทําคําให้ การเป็ นหนังสือยืนต่อศาลภายในสิบห้ าวัน
ให้ จํา เลยแสดงโดยชัดแจ้ ง ในคํ า ให้ การว่า จํ า เลย
ยอมรับหรื อปฏิ เสธข้ ออ้ างของโจทก์ทงสิ ั นหรื อแต่บางส่วน รวมทังเหตุแห่ง
การนัน
จําเลยจะฟ้ องแย้ ง มาในคํา ให้ ก ารก็ ไ ด้ แต่ ถ้ า
ฟ้ องแย้ ง นั นเป็ นเรื องอื นไม่ เ กี ยวกั บ คําฟ้ องเดิ ม แล้ ว ให้ ศาลสั งให้
จําเลยฟ้องเป็ นคดีต่างหาก
ให้ ศาลตรวจดูคําให้ การนันแล้ วสังให้ รับไว้ หรื อให้
คืนไปหรื อสังไม่รับตามทีบัญญัติไว้ ในมาตรา 18
บ ท บั ญ ญั ติ แ ห่ ง ม า ต ร า นี ใ ห้ ใ ช้ บั ง คั บ แ ก่
บุคคลภายนอกทีถูกเรี ยกเข้ ามาเป็ นผู้ร้องสอดตามมาตรา 57 (3) โดยอนุโลม

มาตรา ๑๗๙ วรรคท้ าย


ห้ ามมิใ ห้ ค่คู วามฝ่ ายใดเสนอคําฟ้องใดต่อศาล ไม่ว่าโดยวิธีฟ้อง
เพิมเติมหรือฟ้องแย้ ง ภายหลังทีได้ ยืนคําฟ้องเดิมต่อศาลแล้ ว เว้ นแต่
คําฟ้องเดิมและคําฟ้องภายหลังนี จะเกียวข้ องกั นพอที จะรวมการ
พิจารณาและชีขาดตัดสินเข้ าด้ วยกันได้

2
ฟ้องแย้ งต้ องเกียวกับฟ้องเดิม
 ต้ องเป็ นฟ้องที อาศัยฟ้องเดิม เป็ น มูลแห่ งหนี
 มู ล หนี ตามฟ้ องเดิ มกับ ฟ้ องแย้ ง มาจากสั ญ ญาฉบั บ เดี ย วกั น / สื บ
เนืองมาจากสัญญาหรือข้ อตกลงเดิม
ฎีกาที ๔๔๒/๒๕๑๑
ฎีกาที ๑๔๕๔/๒๕๓๐
ฎีกาที ๑๙๑๗/๒๕๑๙
ฎีกาที ๘๕๗/๒๕๑๘
ฎีกาที ๓๐๓๕/๒๕๒๗
ฎีกาที ๔๘๒/๒๕๒๕

ฟ้องแย้ งไม่ เกียวกับฟ้องเดิม


 ฟ้องแย้ งที ไม่ อาศัยฟ้องเดิมเป็ นมูลหนี
 ฟ้องแย้ งทีอาศัยสภาพแห่ งข้ อหา หรือข้ ออ้ างทีอาศัยเป็ นหลักแห่ งข้ อหา
แตกต่างจากฟ้องเดิม
 ฟ้องแย้ งทีจําเลยยกข้ อกล่ าวอ้ างขึนใหม่ ไม่เกียวกับสัญญา/เหตุตาม
ฟ้องเดิม
 ฟ้องแย้ งเกียวกับ ทีดินคนละแปลง กับทีดินพิพาทตามทีโจทก์ฟ้อง
 คํามันหลังจากสัญญาเช่าตามฟ้องโจทก์สินสุดไปแล้ ว ฎีกาที ๓๖๐๑/
๒๕๒๖, ๓๕๑๒/๒๕๔๕, ๒๖๘๖/๒๕๔๕

1
 สัญญาตามฟ้องและฟ้องแย้ งต่ างฉบับกัน ต่ างวัตถุประสงค์ หรื อทําขึน
ต่ างวันต่ างวาระกัน ฎีกาที ๒๘๖๔/๒๕๔๑
 ทีดินตามฟ้องเดิมและฟ้องแย้ งต่างแปลงกัน ฎีกาที ๑๐๖๘/๒๕๒๗, ๓๗๘/
๒๕๒๕, ๑๑๐๙/๒๕๓๙
 ฟ้องแย้ งเกียวกับทีดินเกินจากคําร้ องขอกรรมสิทธิ ส่ วนทีเกินไม่เกียวกับ
ฟ้องเดิม ฎีกาที ๑๘๒๓๐/๒๕๕๕
 การละเมิดตามคําฟ้องเดิมและฟ้องแย้ งต่ างเหตุการณ์ กัน ไม่เกียวกับ
ฟ้องเดิม ฎีกา ๑๓๙๕/๒๕๒๗, ๙๒๘๖/๒๕๔๔
 ฎีกา ๑๘๕๔/๒๕๖๐
 ฟ้องแย้ งเป็ นการตังประเด็นข้ อพิพาทขึนใหม่ ฎีกาที ๘๗๕-๘๗๙/
๒๕๕๙, ๘๑๒๒/๒๕๕๙, ๗๑๗๐/๒๕๕๗, ๔๕๒๗/๒๕๕๗

 จํ าเลยจะใช้ สิทธิเ รี ย กร้ องของผู้อืน มาฟ้องแย้ ง ไม่ ได้ ฎี ก า ๘๐๒/


๒๕๑๕
 ฟ้องแย้ ง เรี ยกค่ าเสีย หาย จากการถูกบังคับตามวิธีก ารชัวคราวก่ อน
พิพากษา ถือว่ าความเสียหายนันเกิดขึนภายหลัง ต่างหากจากฟ้อง
เดิม ฎีกาที ๑๐๐๒/๒๕๒๙
 ฟ้ องแย้ งขอให้ บั งคั บบุ คคล ภายนอก คํ า พิ พากษาไม่ ผุ ก พั น
บุคคลภายนอก ตามป.วิ.พ. มาตรา ๑๔๕ จะฟ้องแย้ งให้ มีผลกระทบถึง
สิท ธิของบุคคลภายนอกไม่ได้ ฎีก าที ๑๗๗๗/๒๕๐๙, ๔๓๑๙/๒๕๓๖,
๓๑๖๐/๒๕๕๗, ๒๑๑๗๕/๒๕๕๖
 จําเลยต้ องมีข้อโต้ แย้ งสิทธิตามกฎหมายอยู่แล้ วในขณะทีฟ้องแย้ ง ฎีกา
ที ๑๕๓/๒๕๑๒

2
ฟ้ องซ้ อน
มาตรา ๑๗๓ เมือศาลได้ รับคําฟ้องแล้ ว ให้ ศาลออกหมายส่งสําเนาคําฟ้อง
ให้ แก่จําเลยเพือแก้ คดี และภายในกําหนดเจ็ดวันนับแต่วนั ยืนคําฟ้อง ให้ โจทก์
ร้ องขอต่อพนักงานเจ้ าหน้ าทีเพือให้ สง่ หมายนัน
นับ แต่เ วลาที ได้ ยื นคํา ฟ้ องแล้ ว คดี นั นอยู่ ในระหว่ า ง
พิจารณา และผลแห่งการนี (1) ห้ ามไม่ ให้ โจทก์ ยืนคําฟ้อง เรื องเดียวกัน
นันต่อศาลเดียวกันหรือต่อศาลอืน และ ........

ฟ้องซํา
มาตรา ๑๔๘ คดีที ได้ มีคําพิ พากษาหรื อคําสังถึงทีสุด แล้ ว ห้ ามมิให้
คู่ความเดี ย วกั น รื อร้ องฟ้องกั นอีก ในประเด็นทีได้ วินิจฉั ย โดย
อาศัยเหตุอย่ างเดียวกัน เว้ นแต่ในกรณีตอ่ ไปนี ......

ดําเนินกระบวนพิจารณาซํา

มาตรา ๑๔๔ เมือศาลใดมีคาํ พิพากษา หรือคําสังวินิจฉัยชีขาดคดี หรือ


ในประเด็นข้ อใดแห่งคดีแล้ ว ห้ ามมิให้ ดําเนินกระบวนพิจารณาในศาลนัน
อันเกียวกับคดีหรือประเด็นทีได้ วนิ ิจฉัยชีขาดแล้ วนัน เว้ นแต่กรณีจะอยู่
ภายใต้ บงั คับบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนีว่าด้ วย ........

1
หลักเกณฑ์ ของฟ้ องซ้ อน
๑. คดีแรกอยู่ในระหว่ างการพิจารณาของศาล
 ต่ างจากฟ้องซําทีคดีแรกมีคาํ พิพากษาถึงทีสุดแล้ ว
 ต่ างดําเนินกระบวนพิจารณาซํา ทีคดีแรกมีคาํ
พิพากษาหรือคําวินิจฉัยชีขาดประเด็นแห่ งคดี ไม่
ว่ าจะถึงทีสุดหรือไม่ ก็ตาม
 “คดีอยู่ในระหว่ างการพิจาณาของศาล” ให้ นับแต่
ยืนฟ้อง ไม่ ว่าศาลจะสังรับคําฟ้องหรือไม่ ก็ตาม

 คดีเสร็จจากศาลได้ ในกรณีที
 ศาลไม่รับฟ้อง ป.วิ.พ. มาตรา ๑๘
 ศาลสังจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ มาตรา
๑๓๒ เพราะ คูค่ วามมรณะ มาตรา ๔๒ / ทิงฟ้อง
มาตรา ๑๗๔ / ถอนฟ้อง มาตรา ๑๗๕/ ขาดนัดยืน
คําให้ การ มาตรา ๑๙๘ / ขาดนัดพิจารณา มาตรา
๒๐๑ มาตรา ๒๐๒
 ศาลได้ มีคําพิพากษา

๒. โจทก์ เป็ นบุคคลคนเดียวกัน และจําเลยเป็ นบุคคลคน


เดียวกัน
 คู่ความสลับกันฟ้อง ไม่ เป็ นฟ้องซ้ อน แต่ อาจ
เป็ นฟ้องซํา / ดําเนินกระบวนพิจารณาซํา

2
๓. ฟ้องคดีหลังเป็ นเรืองเดียวกันกับคดีแรก
 เช่ นเดียวกับฟ้องซํา หรือ ดําเนินกระบวนพิจารณาซํา
ทีคดีหลังต้ องเป็ นเรืองเดียวกันกับคดีแรก ต่ างกันที
ฟ้องซ้ อนไม่ ต้องมีการวินิจฉัยประเด็นแห่ งคดี
 คดีแรกทีศาลสังจําหน่ ายคดี ป.วิ.พ. มาตรา ๑๓๒ / สัง
ไม่ รับฟ้อง มาตรา ๑๘ / สังยกฟ้องเพราะฟ้องผิดศาล /
ยกฟ้องเพราะฟ้องเคลือบคลุม / ยกฟ้องเพราะโจทก์
ไม่ ลงลายมือชือในฟ้อง =
ไม่ มีการวินิจฉัยประเด็นแห่ งคดี = ไม่ อาจเป็ นฟ้องซํา
หรือดําเนินกระบวนพิจารณาซํา = แต่ อาจเป็ นฟ้อง
ซ้ อน

 คดีอาญา การกระทําความผิด กรรมเดียว เป็ นความผิด


ต่อกฎหมายหลายบท หากแยกฟ้องคดีหลังในความผิดอีก
บทหนึง ฟ้องคดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อน
 คดีแพ่ ง ถ้ าเหตุแห่ งการโต้ แย้ งสิทธิในฟ้องคดีแรกกับ
ฟ้องคดี ห ลัง เป็ นเหตุเ ดีย วกัน / กรณี ที สามารถฟ้องละ
ขอให้ ศาลบังคับรวมกันมาในคดีแรกอยู่แล้ ว แต่กลับแยก
ฟ้องมา ฟ้องคดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อน เช่น เป็ นละเมิดเหตุ
เดียวกัน / ผิดสัญญาฉบับเดียวกัน / ฟ้องเกียวกับทรัพย์
รายเดียวกัน

3
ข้ อสังเกตอืนๆ
 โจทก์ ฟ้องจําเลยหลายคน ต้ องแยกพิจารณาจําเลย
แต่ ละคน (ทีโจทก์ ถอนฟ้อง / ทิงฟ้อง / ศาลจํา หน่ า ย
คดี) ว่ าฟ้องคดีหลังจะเป็ นฟ้องซ้ อนหรือไม่
 กรณีทีศาลในคดีแรกสังจําหน่ ายคดีชัวคราว เช่ น รอ
ฟั งผลคดีอาญา ถือว่ าคดียังอยู่ในระหว่ างการพิจารณา
ของศาล ฟ้องโจทก์ คดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อนได้
 คดีแรกอยู่ในระหว่ างการอุทธรณ์ คําพิพากษา ตาม
ป.วิ.พ. มาตรา ๒๒๓ /อุทธรณ์ คําสั งระหว่ า งพิจารณา
ตามมาตรา ๒๒๖ / อุทธรณ์ คําสังทีไม่ ใช่ คําสั งระหว่ าง
พิจารณา ตามมาตรา ๒๒๗, ๒๒๘ ย่ อมถือว่ าคดีอยู่ใน
ระหว่ างการพิจารณา ฟ้องโจทก์ คดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อน
ได้

 คดีแรกอยู่ภายในระยะเวลายื นอุทธรณ์ /ฎีกา แล้ วโจทก์ ยื น


ฟ้องคดีห ลัง การพิ จารณาว่าฟ้องคดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อนหรื อไม่
ต้ องรอดูว่ามีก ารยื นอุทธรณ์ /ฎีก าคดีแรก ภายในกํ าหนดเวลา
ตามกฎหมาย หรือไม่
 ศาลสูงพิพากษายก ย้ อนสํานวนไปให้ ศาลล่างพิจารณาและ
พิพากษาคดีใหม่ = คดีอยู่ในระหว่างการพิจารณา ฟ้องคดีหลัง
เป็ นฟ้องซ้ อน
 “คําฟ้อง” มาตรา ๑(๓) คือ กระบวนพิจารณาทีโจทก์เสนอข้ อ
กล่าวหาต่อศาล ไม่วา่ ด้ วยวาจา / เป็ นหนังสือ ไม่ว่าจะได้ เสนอ
ในขณะที เริ มคดี โดยคํา ฟ้อง หรื อ คํา ร้ องขอ หรื อ เสนอใน
ภายหลังโดยคําฟ้องเพิมเติมหรื อแก้ ไข หรื อ ฟ้องแย้ ง หรื อ
โดยสอดเข้ ามาในคดีไม่ ว่าด้ วยสมัครใจ หรือถูกบังคับ หรื อ
โดยมีคาํ ขอให้ พจิ ารณาใหม่

4
 อัยการฟ้องคดีอาญาและมีคําขอในส่วนแพ่งเข้ ามาด้ วย ตาม
มาตรา ๔๓ แห่ งป.วิ.อ. ในระหว่างนัน หากผู้เสียหายยืนคํา
ฟ้องคดีแพ่งต่อศาลแพ่งในเหตุเดียวกัน คดีของผู้เสียหายเป็ นฟ้อง
ซ้ อนได้
 โจทก์ คนเดี ย วกั น รวมถึงกรณี ที มี ก ารใช้ สิทธิแทนกั นได้
ตามกฎหมาย ได้ แก่
• เจ้ าของรวม เพี ยงคนหนึงฟ้องเรี ยกทรัพย์จ ากผู้ที
ยึดถือโดยไม่มีสิทธิ ตาม ป.พ.พ. มาตรา ๑๓๕๙ ถือ
ว่าฟ้องแทนเจ้ าของรวมทุกคน
• ผู้ จั ด การมรดก ถื อ ว่ า ฟ้ องแทนทายาททุก คน
เกียวกับการจัดการมรดก ตามมาตรา ๑๗๓๖

• ทายาทคนหนึงฟ้องคดีเกียวกับทรัพย์มรดกทียังไม่ได้ แบ่ง
ถือว่าฟ้องแทนทายาททุกคน
• คู่สมรสคนหนึงใช้ สิทธิฟ้องคดีเกียวกับสินสมรส ถือว่าฟ้อง
แทนคูส่ มรสอีกคนหนึงด้ วย
• ผู้เป็ นหุ้นส่วนในห้ างหุ้นส่วนสามัญไม่จดทะเบียน
• ผู้แทนโดยชอบธรรมฟ้องคดีแทนผู้เยาว์
• ผู้อนุบาลฟ้องคดีแทนคนไร้ ความสามารถ
• อัยการฟ้องคดีแทนผู้เสียหาย
• เจ้ าหน้ าทีคุ้มครองผู้บริโภคฟ้องคดีแทนผู้บริ โภค

5
 ทายาทคนหนึงฟ้องเรียก ค่ าปลงศพ จากผู้กระทําละเมิดให้
บิดาถึงแก่ความตาย ถื อเป็ นการฟ้องแทนทายาทคนอืนด้ วย
เพราะค่าปลงศพเป็ นสิทธิเกียวกับทรัพย์สิน
 แต่ ค่ าขาดไร้ อุปการะ เป็ นสิทธิส่วนตัวเพราะเกี ยวเนือง
กับสภาพบุคคล ทายาทคนหนึงฟ้อง ไม่ถือว่าฟ้องแทนทายาท
คนอืนด้ วย
 บางกรณีทีโจทก์ฟ้องจําเลยคนหนึงเป็ นคดีแรก แล้ วมาฟ้องผู้
สืบสิทธิของจําเลยเป็ นคดีหลัง เช่น คดีแรกฟ้องขับไล่ จําเลย
คดีหลังฟ้องผู้สืบสิทธิครอบครองทีดินของจําเลย ถือว่าเป็ นการ
ฟ้องจําเลยคนเดียวกัน คดีหลังเป็ นฟ้องซ้ อนได้

คําพิพากษาฎีกาทีน่าสนใจ
 ๑๙๙๓๘/๒๕๕๕
 ๔๘๔/๒๕๕๓
 ๒๗๕๘/๒๕๕๓
 ๗๖๓๕/๒๕๕๔ (ประชุมใหญ่)
 ๖๔๗๕/๒๕๕๖
 ๗๗๕๑/๒๕๕๖

6
ขอ ๑. คําถาม
คดีแรก นายหนึ่งฟองนายสองอางวา นายหนึ่งเปนเจาของบานเลขที่ ๓ ซึ่งปลูก
สรางบนที่ดินโฉนดเลขที่ ๔ นายสองบุกรุกเขาไปรบกวนการครอบครองบานหลังดังกลาว
ขอใหขับไลนายสองและเรียกคาเสียหาย นายสองใหการวา นายสองเปนเจาของบาน นาย
หนึ่งจึงไมมีอํานาจฟอง ศาลชั้นตนพิจารณาแลวพิพากษาวา บานตามคําฟองเปนของนาย
สอง ใหยกฟอง นายหนึ่งอุทธรณ แตศาลชั้นตนมีคําสั่งไมรับอุทธรณ นายหนึ่งจึงอุทธรณ
คําสั่งขอใหรับอุทธรณ ระหวางนั้นนายหนึ่งฟองนายสองเปนคดีหลังอางวา นายหนึ่งเปน
เจาของกรรมสิทธิ์ที่ดินโฉนดเลขที่ ๔ ขอใหบังคับนายสองรื้อถอนบานเลขที่ ๓ ของนาย
สองที่ปลูกสรางในที่ดินดังกลาวโดยละเมิดและเรียกคาเสียหาย

ใหวินิจฉัยวา คําฟองคดีหลังของนายหนึ่งเปนฟองซอนที่ตองหามตามกฎหมายหรือไม

ธงคําตอบ

กรณีตามปญหามีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ คือ
ป.วิ.พ. มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑)
กําหนดว่า นับแต่เวลาทีได้ยนคํ
ื าฟ้ องแล้ว คดีนันอยู่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่ง
การนี ห้ามไม่ให้โจทก์ยืนคําฟ้องเรืองเดียวกันนันต่อศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอืน

1
คําฟ้องคดีแรกของนายหนึงเป็ นการอ้างว่า นายหนึงเป็ นเจ้าของบ้านเลขที ๓ ซึงเป็ นสิง
ปลูกสร้างบนทีดิน และเรียกค่าเสียหายจากนายสองทีกระทําละเมิดต่อนายหนึง ขอให้ขับไล่นาย
สองและเรียกค่าเสียหาย ส่วนคดีหลังเป็ นการกล่าวอ้างว่า นายหนึงเป็ นเจ้าของกรรมสิทธิทีดิน
โฉนดเลขที ๔ ขอให้บงั คับนายสองรือถอนบ้านเลขที ๓ ออกไปจากทีดิน และเรียกค่าเสียหายที
นายสองกระทําละเมิดต่อนายหนึง ดังนัน ทรัพย์ทอ้ี างเพือเรียกร้องสิทธิแห่งตนเป็ นคนละอย่าง
ต่างกัน เพราะคดีแรกโต้เถียงกันว่าฝ่ ายใดเป็ นเจ้าของบ้านซึงเป็ นสิงปลูกสร้างบนทีดินและเรียก
ค่าเสียหายจากการถูกกรบกวนการครอบครองบ้านหลังดังกล่าว ส่วนคดีหลังนายหนึงรับว่า
บ้านเลขที ๓ เป็ นของนายสอง แต่ทดิี นโฉนดเลขที ๔ เป็ นของนายหนึง ขอให้บงั คับนายสองรือ
ถอนบ้านออกไปและเรียกค่าเสียหายทียังคงอยูบ่ นทีดิน คดีทงสองจึ
ั งมีประเด็นข้อพิพาทไม่
เหมือนกัน ไม่เป็ นการยืนคําฟ้ องเรืองเดียวกัน (คําพิพากษาฎีกาที ๕๒๑๕/๒๕๕๔) ดังนัน แม้
นายหนึงจะฟ้องคดีหลังในขณะคดีแรกอยู่ในระหว่างพิจารณาของศาลอุทธรณ์ คําฟ้องคดีหลังของ
นายหนึงก็ไม่เป็ นฟ้ องซ้อนทีต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓
วรรคสอง (๑)

ข้อ ๒. คําถาม
โจทก์ฟ้องขอให้จาํ เลยทังสองรับผิดต่อโจทก์ฐานผิดสัญญาเช่าซือรถยนต์และสัญญา
คําประกัน จําเลยทังสองต่างยืนคําให้การต่อสูค้ ดี ศาลชันต้นนัดสืบพยานในวันที ๒๐
กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยไม่มีการชีสองสถาน ในวันที ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จําเลยทัง
สองต่างมายืนคําร้องขอแก้ไขคําให้การ โดย
(ก) จําเลยที ๑ ยืนคําร้องขอแก้ไขคําให้การเป็ นว่า ในขณะทําสัญญาเช่าซือและสัญญาคํา
ประกัน โจทก์มิได้เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิรถยนต์พิพาทโจทก์ จึงไม่มีอาํ นาจฟ้อง
(ข) จําเลยที ๒ ยืนคําร้องขอแก้ไขคําให้การเป็ นว่า สัญญาคําประกันทีโจทก์นาํ มาฟ้องเป็ น
สัญญาทีเกิดจากการแสดงเจตนาลวง จึงไม่มีมลู หนีและตกเป็ นโมฆะ โจทก์จงึ ไม่มี
อํานาจฟ้อง
ให้วินิจฉัยว่า ศาลจะสังอนุญาตให้จาํ เลยทังสองแก้ไขคําให้การดังกล่าวนีได้หรือไม่

2
ธงคําตอบ
กรณีตามปั ญหามีหลักกฎหมายทีเกียวข้อง คือ ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความ
แพ่ง มาตรา ๑๘๐ บัญญัติให้ จําเลยทีขอแก้ไขคําให้การจะต้องยืนคําร้องต่อศาลก่อนวันชี
สองสถานหรือก่อนวันสืบพยานไม่น้อยกว่า ๗ วัน ในกรณีทีไม่มีการชีสองสถาน เว้นแต่
มีเหตุอันสมควรทีไม่อาจยืนคําร้องได้ก่อนนัน หรือ เป็ นการขอแก้ไขในเรืองทีเกียวกับ
ความสงบเรียบร้อยของประชาชน หรือ เป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาดเล็กน้อยหรือข้อผิด
หลงเล็กน้อย

ศาลนัดสืบพยานในวันที ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๓ โดยไม่มีการชีสองสถาน จําเลยทังสอง


จะยืนคําร้องขอแก้ไขคําให้การ จึงอาจทําได้ภายในวันที ๑๒ กรกฎาคม ๒๕๕๓ เมือจําเลย
ทังสองยืนคําร้องขอแก้ไขคําให้การในวันที ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๓ จึงเป็ นการยืนคําร้องขอแก้ไข
คําให้การเมือพ้นระยะเวลาทีกฎหมายกําหนด ศาลจะอนุญาตให้จาํ เลยแก้ไขคําให้การได้
จึงต้องเป็ นกรณีทเข้
ี าข้อยกเว้นตามทีกฎหมายกําหนดเท่านัน
(ก) ทีจําเลยที ๑ ขอแก้ไขคําให้การเป็ นว่าในขณะทําสัญญาเช่าซือและสัญญาคํา
ประกัน โจทก์มิได้เป็ นเจ้าของกรรมสิทธิรถยนต์พิพาท โจทก์จงึ ไม่มีอาํ นาจฟ้องนัน การทีโจทก์
จะเป็ นเจ้าของรถยนต์พิพาทหรือไม่ เป็ นเพียงข้อเท็จจริง มิได้มีผลกระทบถึงความสมบูรณ์
ของสัญญาเช่าซือ จึงมิใช่เรืองทีเกียวกับความสงบเรียบร้อยของประชาชน ทังไม่
ปรากฏว่ามีเหตุอนั สมควรทีไม่อาจยืนคําร้องได้ก่อนนัน และมิใช่เป็ นการแก้ไขข้อผิดพลาด
เล็กน้อยหรือข้อผิดหลงเล็กน้อย ศาลจึงชอบทีจะสังไม่อนุญาตโดยยกคําร้องของจําเลยที ๑
(คําพิพากษาฎีกา ๓๕๗๙/๒๕๔๕)

3
(ข) ทีจําเลยที ๒ ขอแก้ไขคําให้การเป็ นว่า สัญญาคําประกันทีโจทก์นาํ มาฟ้องเป็ น
สัญญาทีเกิดจากการแสดงเจตนาลวง จึงไม่มีมลู หนีและตกเป็ นโมฆะ โจทก์จงึ ไม่มี
อํานาจฟ้องนัน ปั ญหาทีว่านิติกรรมใดเป็ นโมฆะหรือไม่ ถือเป็ นเรืองทีเกียวกับความสงบ
เรียบร้อยของประชาชน ศาลจึงชอบทีจะสังอนุญาตให้จาํ เลยที ๒ แก้ไขคําให้การดังกล่าว
ได้ (คําพิพากษาฎีกา ๗๔๖๕/๒๕๕๒)

ข้อ 3. คําถาม
โจทก์ฟ้องว่า โจทก์เป็ นเจ้าของทีดินโฉนดเลขที ๑ ซึงจดทะเบียนภาระจํายอมทีดินทัง
แปลงให้ตกเป็ นภาระจํายอมเรืองทางเดินแก่ทีดินโฉนดเลขที ๒ จําเลยเป็ นเจ้าของทีดินโฉนด
เลขที ๓ พร้อมอาคารพาณิชย์ซงตั ึ งอยู่ติดกับทีดินโฉนดเลขที ๒ จําเลยได้ก่อสร้างต่อเติม
อาคารและวางขายสินค้ารุ กลําเข้าไปทีดินโฉนดเลขที ๑ บางส่วน เป็ นการละเมิดทํา
ให้โจทก์เสียหายไม่สามารถใช้ประโยชน์ในทีดินของตนได้ ขอให้บงั คับจําเลยรือถอนสิงปลูก
สร้างและขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากทีดินโฉนดเลขที ๑
จําเลยให้การและฟ้ องแย้งว่า จําเลยไม่ได้เป็ นผูก้ ่อสร้างต่อเติมอาคารพาณิชย์
เพราะขณะจําเลยรับโอนทีดินโฉนดเลขที ๓ พร้อมอาคารพาณิชย์มาจากเจ้าของเดิม มีการต่อ
เติมบริเวณด้านหน้าเพือประโยชน์ในการค้าขายอยู่แล้ว เจ้าของเดิมในทีดินและอาคาร
พาณิชย์ดงั กล่าวและจําเลยใช้ทางในทีดินโฉนดเลขที ๑ เข้าออกไปสู่ถนนสาธารณะ
ต่อเนืองกันรวมเป็ นเวลา ๒๐ ปี โดยไม่มีผใู้ ดคัดค้าน ขอให้ยกฟ้องและบังคับให้โจทก์จด
ทะเบียนทีดินโฉนดเลขที ๑ ตกเป็ นภาระจํายอมแก่ทดิี นโฉนดเลขที ๓ ของจําเลย

4
ศาลชันต้นมีคาํ สังไม่รับฟ้ องแย้ง จําเลยจึงฟ้ องโจทก์ต่อศาลชันต้นอืน
ด้วยเรืองเดียวกันกับฟ้ องแย้ง ขอให้จดทะเบียนทีดินโฉนดเลขที ๑ ตกเป็ นภาระจํา
ยอมแก่ทีดินโฉนดเลขที ๓ โดยปรากฏว่าภายหลังยืนคําฟ้ องแล้ว จําเลยได้อุทธรณ์
คําสังไม่รับฟ้ องแย้งภายในกําหนดเวลาอุทธรณ์ แต่ต่อมาศาลได้อนุญาตให้
จําเลยถอนอุทธรณ์คาํ สังและจําหน่ายคดีออกจากสารบบความ
ให้วินิจฉัยว่า ๑) คําสังของศาลชันต้นทีไม่รบั ฟ้องแย้งของจําเลยชอบด้วย
กฎหมายหรือไม่ และ
๒) การยืนคําฟ้องของจําเลยต่อศาลชันต้นอืนเป็ นฟ้องซ้อน
ต้องห้ามตามกฎหมายหรือไม่

ธงคําตอบ
สําหรับปญหาขอ ๑) ที่วาคําสั่งของศาลชั้นตนที่ไมรับฟองแยงของจําเลยชอบดวย
กฎหมายหรือไม มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ คือ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ
แพง มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม กําหนดวา จําเลยจะฟองแยงมาในคําใหการก็ได แตถาฟอง
แยงนั้นเปนเรื่องอื่นไมเกี่ยวกับคําฟองเดิมแลว ใหศาลสั่งใหจําเลยฟองเปนคดีตางหาก
และ มาตรา ๑๗๙ วรรคสาม กําหนดหามมิใหคูความฝายใดเสนอคําฟองใดตอศาล ไมวา
โดยวิธีฟองเพิ่มเติมหรือฟองแยง ภายหลังที่ไดยื่นคําฟองเดิมตอศาลแลว เวนแตคําฟองเดิม
และคําฟองภายหลังนี้จะเกี่ยวของกันพอที่จะรวมการพิจารณาและชี้ขาดตัดสินเขา
ดวยกันได

5
ตามคําฟ้ องของโจทก์กล่าวหาว่า จําเลยกระทําละเมิดด้วยการต่อเติมอาคาร
และวางสินค้ารุ กลําทีดินโฉนดเลขที ๑ ของโจทก์ทีได้จดทะเบียนภาระจํายอมให้แก่
เจ้าของทีดินรายอืน มิได้หา้ มจําเลยใช้ทางซึงตังอยู่ในทีดินดังกล่าว ส่วนจําเลยฟ้ องแย้งว่า
ทีดินดังกล่าวของโจทก์ตกเป็ นภาระจํายอมแก่ทีดินของจําเลย ขอให้บังคับโจทก์จด
ทะเบียนภาระจํายอมให้ทีดินของโจทก์ตกเป็ นภาระจํายอมแก่ทีดินของจําเลย เป็ นการตัง
ประเด็นข้อพิพาทขึนใหม่ เนืองจากจําเลยมิได้ถกู โต้แย้งสิทธิเรืองการใช้ทีดินโฉนดเลขที ๑
ของโจทก์ ฟ้องแย้งของจําเลยจึงเป็ นเรืองอืนซึงมิได้เกียวข้องกับข้ออ้างทีอาศัยเป็ นหลัก
แห่งข้อหาตามคําฟ้ องเดิมซึงเป็ นเรืองละเมิด ขับไล่ จึงไม่อาจรวมการพิจารณาและชีขาด
ตัดสินเข้าด้วยกันได้ตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม
ประกอบมาตรา ๑๗๙ วรรคสาม เป็ นฟ้องแย้งทีไม่อาจรับไว้พิจารณารวมกับฟ้องเดิมของ
โจทก์ได้ คําสังของศาลชันต้นทีไม่รบั ฟ้องแย้งของจําเลยจึงชอบแล้ว (เทียบคําพิพากษาฎีกาที
๘๕๗-๘๕๙/๒๕๕๙)

สําหรับปั ญหาข้อ ๒) ทีว่าการยืนคําฟ้องของจําเลยต่อศาลชันต้นอืนเป็ นฟ้องซ้อน


ต้องห้ามตามกฎหมายหรือไม่ มีหลักกฎหมายทีเกียวข้อง คือ ประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณา
ความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) กําหนดว่า นับแต่เวลาทีได้ยนคํ ื าฟ้ องแล้ว คดี
นันอยู่ในระหว่างพิจารณา และผลแห่งการนี ห้ามไม่ให้โจทก์ยืนคําฟ้องเรืองเดียวกันนันต่อ
ศาลเดียวกัน หรือต่อศาลอืน
การยืนคําฟ้องของจําเลย แม้จาํ เลยจะยืนคําฟ้ องก่อนทีจําเลยจะอุทธรณ์คาํ สังไม่รับฟ้ อง
แย้ง แต่ต่อมาจําเลยได้ยืนอุทธรณ์คาํ สังภายในกําหนดต้องถือว่าคดีก่อนของจําเลยอยู่ใน
ระหว่างพิจารณา การทีจําเลยยืนคําฟ้ องเรืองเดียวกันแม้ต่อศาลชันต้นอืน ย่อมเป็ นฟ้ อง
ซ้อนต้องฟ้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑)
นับตังแต่วนั ยืนคําฟ้อง โดยไม่ต้องคํานึงถึงเหตุว่าต่อมาศาลจะอนุญาตให้จาํ เลยถอน
อุทธรณ์คาํ สังก็ไม่ทาํ ให้การยืนคําฟ้องของจําเลยไม่เป็ นฟ้องซ้อนแต่อย่างใด
(เทียบคําพิพากษาฎีกาที ๒๕๕๕/๒๕๓๘,๑๔๒๙/๒๕๓๖ และ ๓๑๓๒/๒๕๔๙)

6
ข้อ 4. คําถาม
คดีแรก นายขาวยืนฟ้องนายดําว่า นายดํายืมเครืองเรือนไม้จากนายขาวแล้วไม่ยอมคืน ขอให้
บังคับนายดําคืนเครืองเรือนไม้ให้แก่นายขาวหรือใช้ราคา นายดํายืนคําให้การปฏิเสธว่า นายดําไม่เคย
ยืนเครืองเรือนไม้จากนายขาว กับให้การต่อไปว่า นายดําว่าจ้างนายขาวให้ทาํ ตูไ้ ม้แล้วนายขาวผิดสัญญา
โดยไม่ทาํ ให้เสร็จภายในเวลาทีกําหนด นายดําได้บอกเลิกสัญญาต่อนายขาวแล้ว นายขาวไม่ยอมคืนเงิน
มัดจําให้ นายดําจึงฟ้ องแย้งขอให้บังคับนายขาวคืนเงินมัดจําทีรับไป ศาลชันต้นสังรับคําให้การและ
ฟ้องแย้งของนายดํา
ขณะทีคดีดังกล่าวอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาลชันต้น นายขาวยืนฟ้องนายดําเป็ นคดี
หลังว่า นายดําว่าจ้างนายขาวให้ทาํ ตูไ้ ม้ นายขาวได้ทาํ ตามทีรับจ้างจนเสร็จและส่งมอบตูไ้ ม้ให้แก่นายดํา
แล้ว แต่นายดํายังค้างชําระค่าสินจ้าง ขอให้บังคับนายดําชําระค่าสินจ้างทีค้าง นายดําให้การต่อสูว้ ่า
ฟ้องคดีหลังของนายขาวเป็ นฟ้ องซ้อนกับฟ้องแย้งในคดีแรก
ให้วินิจฉัยว่า
(ก) ทีศาลชันต้นในคดีแรกมีคาํ สังให้รับฟ้ องแย้งของนายดําไว้พิจารณานัน เป็ นคําสังทีชอบ
ด้วย
กฎหมายหรือไม่
(ข) ฟ้องของนายขาวในคดีหลังเป็ นฟ้ องซ้อนกับฟ้ องเดิมและฟ้ องแย้งในคดีแรกหรือไม่

ธงคําตอบ
กรณีตามปญหาขอ (ก) มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ คือ ประมวลกฎหมาย
วิธพี ิจารณาความแพง มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม กําหนดวา จําเลยจะฟองแยงมา
ในคําใหการก็ได แตถาฟองแยงนัน้ เปนเรื่องอื่นไมเกี่ยวกับคําฟองเดิมแลว ให
ศาลสั่งใหจําเลยฟองเปนคดีตางหาก
และ กรณีตามปญหาขอ (ข) มีหลักกฎหมายที่เกี่ยวของ คือ ประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) กําหนดวา นับแตเวลาที่ไดย่นื
คําฟองแลว คดีน้นั อยูในระหวางพิจารณา และผลแหงการนี้ หามไมใหโจทก
ยื่นคําฟองเรื่องเดียวกันนั้นตอศาลเดียวกัน หรือตอศาลอื่น

7
(ก) ในคดีแรกนายขาวฟ้องว่า นายดํายืมเครืองเรือนไม้จากนายขาวแล้วไม่ยอม
คืน ขอให้บงั คับนาขาวคืนหรือใช้ราคา นายดําให้การว่าไม่เคยยืมเครืองเรือนไม้จากนายขาว
ประเด็นข้อพิพาทมีว่า นายดํายืมเครืองเรือนไม้จากนายขาวหรือไม่ ซึงเป็ นการพิพาทใน
เรืองสัญญายืม ส่วนทีนายดําฟ้ องแย้งว่า นายดําว่าจ้างนายขาวทําตูไ้ ม้ นายขาวไม่ทาํ
ตามสัญญา และนายดําบอกเลิกสัญญาแล้วขอให้บงั คับนายขาวคืนเงินมัดจําทีรับไป เป็ น
การพิพาทในเรืองสัญญาจ้างทําของ ฟ้องแย้งของนายดําจึงเป็ นฟ้ องแย้งทีอาศัยเรืองที
ฟ้ องแตกต่างกับฟ้ องเดิม ไม่เกียวข้องกันพอทีจะรวมการพิจารณาและชีขาดตัดสิน
เข้าด้วยกันได้ ไม่เป็ นฟ้องแย้งทีศาลพึงจะรับไว้พจิ ารณาได้ตามประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๗ วรรคสาม (คําพิพากษาฎีกาที ๔๕๒๗/๒๕๕๗) ทีศาล
ชันต้นมีคาํ สังให้รับฟ้ องแย้งของนายดําไว้พิจารณาจึงไม่ชอบด้วยกฎหมาย

(ข) คดีแรกในส่วนของฟ้องเดิม นายขาวฟ้องนายดําให้คืนเครืองเรือนไม้ตาม


สัญญายืม ส่วนคดีหลัง นายขาวฟ้องนายดําให้ชาํ ระค่าสินจ้างทําตูไ้ ม้ตามสัญญาจ้างทํา
ของ เรืองทีฟ้องในคดีหลังกับคดีแรกมีสภาพแห่งข้อหาต่างกันจึงมิใช่คาํ ฟ้ องเรือง
เดียวกัน ฟ้องของนายขาวคดีหลังไม่เป็ นฟ้ องซ้อนกับฟ้องของนายขาวในคดีแรกและไม่
ต้องห้ามตามประมวลกฎหมายวิธีพจิ ารณาความแพ่ง มาตรา ๑๗๓ วรรคสอง (๑) (เทียบ
คําพิพากษาฎีกาที ๓๖๕/๒๕๓๙)
คดีแรกในส่วนฟ้องแย้งของนายดําซึงนายดําฟ้องขอให้บงั คับนายขาวคืนเงินมัดจํา
ค่าทําตูไ้ ม้ เป็ นคดีทีมีนายดําเป็ นโจทก์ ส่วนคดีหลังซึงนายขาวฟ้องขอให้บงั คับนายดํา
ชําระค่าสินจ้างทําตูไ้ ม้ เป็ นคดีทีมีนายขาวเป็ นโจทก์ โจทก์ในคดีหลังกับโจทก์ในคดีแรก
ไม่ใช่โจทก์คนเดียวกัน ฟ้องของนายขาวคดีหลังจึงไม่เป็ นฟ้ องซ้อนกับฟ้องแย้งของนาย
ดําในคดีแรกเช่นกัน (เทียบคําพิพากษาฎีกาที ๘๑๗/๒๕๑๙)

8
คําพิพากษาฎีกาใหม่ทน่ี าสนใจ

ฟ้ องแย้ง - 6211/2561, 1221/2560, 5136/2558, 2955/2558,


13706/2557, 12177/2557

ฟ้ องซ้อน -91/2562, 2222/2562, 975/2561, 6941/2560,


774/2559, 879/2559, 2672/2559, 10431/2559,
9704/2558, 3843/2560, 1850/2560, 6486/2558,
12437/2558

แก้ไขคําฟ้ อง/คําให้การ - 15722/2558, 12437/2558

เทคนิคการทําข้อสอบ
**** ใช้ ได้ กับทุกวิชา ไม่ว่าสารบัญญัติ หรือวิธีสบัญญัติ
 อ่านแบบ skim คําถามให้หมดทุกข้อก่อนลงมือเขียน
 วงกลมข้อทีคิดว่าทําไม่ได้เอาไว้
 ลงมือเขียนคําตอบข้อทีคิดว่าทําได้ก่อน แต่ทุกข้อต้องเฉลียใช้เวลาในการเขียน
พอๆ กัน อย่าใช้เวลาเขียนกับข้อทีคิดว่าทําได้มากกว่าข้ออืน เพราะหากมัวตอบข้อ
ทีทําได้จนไปกินเวลาข้ ออืน เป็ นเหตุให้เขียนตอบข้อหนึงข้อใดไม่ ทัน มีโอกาสสอบ
ตกสู ง (ข้ อ ที ทํา ได้ ใช่ ว่ า จะได้ คะแนนเต็ ม แต่ ข้ อ ที ไม่ ต อบ จะเป็ นศู น ย์แ น่ น อน
ดังนัน คะแนนเฉลียทุกข้อรวมกันแล้วอาจไม่ถงึ ร้อยละ ๕๐)
 ข้อทีทําไม่ได้ อย่างไรเสียให้เขียนหลักกฎหมายทีเกียวข้อง แม้ธงคําตอบผิด ก็
ยังได้คะแนนจากข้อกฎหมาย
 ลายมือต้องอ่านง่าย ขอให้ทุกคนโชคดีในการสอบนะคะ

You might also like