Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 3

เทศบาลนครภูเก็ต

รายชื่อสมาชิก
นายปิ ยพัชร์ ประสารการ 6210110204
นายศุภกร ศันสนียพฤกษ์ 6210110461
1. ข้ อมูลทั่วไปและขอบเขตพืน้ ที่
1.1 ) ข้ อมูลทั่วไป
- ที่ต้งั และขนาด
เทศบาลนครภูเก็ต มีพ้ืนที่รับผิดชอบรวม 12 ตารางกิโลเมตร หรื อ 19,500 ไร่ มีเขตการ
ปกครอง 2 ตำบล คือ ตำบลตลาดเหนือ มีพ้ืนที่ 4 ตารางกิโลเมตร และตำบลตลาดใหญ่ มีพ้ืนที่ 8
ตารางกิโลเมตร มีที่ต้ งั และอาณาเขต ดังนี้

- ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลรัษฎา อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต
- ทิศตะวันออก ติดชายทะเล
- ทิศใต้และทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลวิชิต อำเภอเมืองภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต

- ลักษณะภูมิประเทศ
ภูมิประเทศในเขตเทศบาลนครภูเก็ตส่ วนใหญ่เป็ นที่ลุ่ม ทิศตะวันออกติดชายทะเล ด้านทิศ
เหนือ มีเนินเขาสองลูกคือ เขารังและเขาโต๊ะแซะ มีคลองบางใหญ่จากอ าเภอกะทูไ้ หลผ่านตัวเมือง
ออกสู่ ทะเลในเขต เทศบาลนครภูเก็ตซึ่ งเป็ นเมืองเก่าพื้นที่ส่วนในจะเป็ นบริ เวณที่มีประชากรหนา
แน่น เป็ นย่านธุรกิจการค้า โรงแรม และสถานบันเทิงต่างๆ ประมาณร้อยละ 90 ของถนนบริ เวณ
ศูนย์กลางเมืองจะมีร้านค้าตั้งอยูส่ องข้างทาง และถนนในเขตเทศบาลส่ วนใหญ่ค่อนข้างเล็กและ
แคบ ไม่สามารถขยายออกไปได้
1.2) ขอบเขตพืน้ ที่

2. แหล่ งน้ำดิบประปา
แหล่งน้ำดิบในเขตพื้นที่เทศบาลนครภูเก็ต มี 5 แห่งคือ
แหล่งน้ำดิบ ปริมาณความจุ (ลบ.ม.)
1.ขุมน้ำเทศบาล 1,014,608
2.ขุมน้ำสวนเฉลิมพระเกียรติฯ 1,2 307,235
3.ขุมน้ำหน้า ร.พ.วชิระภูเก็ต 182,536
4.ขุมน้ำหน้าซอยพะเนียง 250,000
5.อ่างเก็บน้ำบางวาด 10,280,463

รวมแหล่งน้ำดิบต้นทุนที่ใช้ในการผลิตน้ำประปา 2,454,379 ลบ.ม.

3. คุณภาพและปัญหาที่พบในแหล่งน้ำดิบ
เนื่องจากปัจจุบนั ความต้องการใช้น ้ำปริ มาณเพิ่มมากขึ้นเรื่ อยๆ ในขณะที่แหล่งน้ำมีอยูอ่ ย่างจำกัด
และแหล่งน้ำจำนวนมากกับถูกทำลาย หรื อทำให้สูญเสี ยไปอย่างไร้ประโยชน์ จากการปนเปื้ อนของสาร
พิษและน้ำของเสี ยจากครัวเรื อน นอกจากนี้ ปัญหาความแห้งแล้งซึ่ งเกิด ขึ้นอย่างต่อเนื่องจากสภาวะ
แวดล้อมของโลก พี่แปรเปลี่ยน ทำให้ปัญหาที่มีอยูท่ วีคูณความรุ นแรงยิง่ ขึ้น ปริ มาณน้ำดิบในแหล่งน้ำ
ลดลงทำให้เกิดปัญหา การขาดแคลนน้ำดิบเพื่อนำไปผลิตน้ำประปา บริ การประชาชนในเขตเทศบาล
นครภูเก็ตและพื้นที่ใกล้เคียงบางส่ วน เพื่อเป็ นการลดความเสี่ ยงของปริ มาณน้ำดิบที่ลดลง เทศบาลภูเก็ต
จึงจำเป็ นต้องซื้ อน้ำประปาจากการประปาส่ วนภูมิภาคและเอกชน เพื่อให้มีปริ มาณน้ำเพียงพอต่อความ
ต้องการของประชาชน ทำให้เทศบาลต้องรับภาระต้นทุนขายสู งขึ้น ส่ งผลกระทบต่อบริ การขั้นพื้นฐาน
ที่จะต้องรับรองความต้องการของประชาชนและนักท่องเที่ยวในช่วงฤดูเทศกาลท่องเที่ยว ซึ่ งมีความ
ต้องการใช้น ้ำเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี

4. ประชากรย้อนหลัง 10 ปี

ปี พ.ศ. ประชากร(คน)
2554 75,294
2555 75,536
2556 76,632
2557 77,610
2558 78,421
2559 78,923
2560 79,262
2561 79,755
2562 79,308
2563 77,778

You might also like