Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 65

คู่มือประกอบสื่อการสอน วิชาคณิตศาสตร์

ตอนที่ 58

แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 1)

โดย

อาจารย์ ดร.รตินันท์ บุญเคลือบ

สื่อการสอนชุดนี้ เป็นความร่วมมือระหว่าง
คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กับ
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
กระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ 2555
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน


สื่อการสอน เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน มีจานวนตอนทั้งหมดรวม 13 ตอน ซึ่ง
ประกอบด้วย

1. บทนา เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน


2. เนื้อหาตอนที่ 1 ความสัมพันธ์
- แผนภาพรวมเรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
- ผลคูณคาร์ทีเซียน
- ความสัมพันธ์
- การวาดกราฟของความสัมพันธ์
3. เนื้อหาตอนที่ 2 โดเมนและเรนจ์
- โดเมนและเรนจ์
- การหาโดเมนและเรนจ์โดยการแก้สมการ
- การหาโดเมนและเรนจ์โดยการวาดกราฟ
4. เนื้อหาตอนที่ 3 อินเวอร์สของความสัมพันธ์ และบทนิยามของฟังก์ชัน
- อินเวอร์สของความสัมพันธ์
- บทนิยามของฟังก์ชัน
5. เนื้อหาตอนที่ 4 ฟังก์ชันเบื้องตัน
- ฟังก์ชันจากเซต A ไปเซต B
- ฟังก์ชันทั่วถึง
- ฟังก์ชันหนึ่งต่อหนึ่ง
6. เนื้อหาตอนที่ 5 พีชคณิตของฟังก์ชัน
- พีชคณิตของฟังก์ชัน
- ตัวอย่างประเภทของฟังก์ชันพื้นฐาน
7. เนื้อหาตอนที่ 6 อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
- อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
- กราฟของฟังก์ชันอินเวอร์ส
8. เนื้อหาตอนที่ 7 ฟังก์ชันประกอบ
- ฟังก์ชันประกอบ
- โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันประกอบ
- สมบัติของฟังก์ชันประกอบ

1
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9. แบบฝึกหัดตอนที่ 1 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 1)


- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
10. แบบฝึกหัดตอนที่ 2 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 2)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
11. แบบฝึกหัดตอนที่ 3 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 3)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
12. แบบฝึกหัดตอนที่ 4 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 4)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ
13. แบบฝึกหัดตอนที่ 5 แบบฝึกหัดเรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน (ตอนที่ 5)
- แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
- แบบฝึกหัดขั้นสูง
- แบบทดสอบ

คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สื่อการสอนชุดนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
สาหรับครู และนักเรียนทุกโรงเรียนที่ใช้สื่อชุดนี้ร่วมกับการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง
ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน นอกจากนี้หากท่านสนใจสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ในเรื่องอื่นๆ ที่
คณะผู้จัดทาได้ดาเนินการไปแล้ว ท่า นสามารถดูชื่อเรื่อง และชื่อตอนได้จากรายชื่อสื่อการสอนวิชา
คณิตศาสตร์ทั้งหมดในตอนท้ายของคู่มือฉบับนี้

2
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เรื่อง ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
หมวด แบบฝึกหัด
ตอนที่ 1 (1/5)

หัวข้อย่อย 1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน
2. แบบฝึกหัดขั้นสูง
3. แบบทดสอบ

จุดประสงค์การเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียน
1. แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเท่ากันของคู่อันดับได้
2. นับจานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตได้
3. ตรวจสอบว่าคู่อันดับที่กาหนดให้เป็นสมาชิกของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้หรือไม่
4. นับจานวนสมาชิกของความสัมพันธ์ที่เป็นเซตจากัดได้
5. วาดกราฟของความสัมพันธ์พื้นฐานได้
6. หาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้

3
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1. แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน

แบบฝึกหัดขั้นพื้นฐาน ใช้เพื่อวัดความรู้ความสามารถขั้นพื้นฐานของผู้เรียน ประกอบด้วยข้อ


คาถามแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่
กาหนด โดยผู้จัดทาได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็นแบบฝึกหัดที่มีความ
แตกต่างกันได้มากถึง 310 แบบ

4
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : การเท่ากันของคู่อันดับ


จุดประสงค์ ของโจทย์ข้ อ 1 คือต้องการทดสอบว่ า นักเรียนสามารถนาการเท่ากันของคู่
อันดับมาแก้ปัญหาที่กาหนดให้ได้หรือไม่
1.1 กาหนดให้ (2x 1, 4) (11 3x, 5 y) ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. x y 1 2. x y 9
x
3. xy 2 4. 2
y
เฉลย 1
จากโจทย์จะได้ว่า 2x 1 11 3x และ 4 5 y ทาให้ได้ว่า x 2 และ y 1 ดังนั้น
x
x y 1, x y 3, xy 2 และ 2
y

1.2 กาหนดให้ (1 4x, 3y 5) (4, 6 y) ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


7
1. x y 2 2. x y
2
33 x 3
3. xy 4.
4 y 11
เฉลย 1
3 11
จากโจทย์จะได้ว่า 1 4x 4 และ 3y 5 6 y ทาให้ได้ว่า x และ y ดังนั้น
4 4
7 33 x 3
x y 2, x y , xy และ
2 16 y 11

1.3 กาหนดให้ (x 2, 3y 1) (2 x, 3 y) ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. x y 1 2. x y 1
x
3. xy 1 4. 1
y
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า x 2 2 x และ 3y 1 3 y ทาให้ได้ว่า x 2 และ y 1 ดังนั้น
x
x y 3, x y 1, xy 2 และ 2
y

5
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : ผลคูณคาร์ทีเซียนและจานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 2 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนเข้าใจบทนิยามของผลคูณคาร์ที
เซียนหรือไม่ ตลอดจนสามารถคานวณจานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียนระหว่างเซตจากัดสอง
เซตได้หรือไม่

2.1 กาหนดให้ A {1, 2, 3} และ B {a, b, c} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. n(A B) 9 2. {(1,a), (2,b)} A B
3. A B B A 4. n(A A) n(B B)
เฉลย 3
1. เป็นจริง เนื่องจาก n(A B) n(A)n(B ) 9
2. เป็นจริง เนื่องจาก 1, 2 A และ a, b B ดังนั้น {(1,a), (2,b)} A B
3. เป็นเท็จ เนื่องจาก (1, a ) A B แต่ (1, a ) B A
4. เป็นจริง เนื่องจาก n(A A) n(A)n(A) 9 n(B )n(B ) n(B B)

2.2 กาหนดให้ A {1, 2, 3} และ B {a, b, c} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. n(A B ) n(B A) 2. (A B ) (B A)
3. {(1,a), (a,a)} A B 4. n(A B ) n(A A)
เฉลย 3
1. เป็นจริง เนื่องจาก n(A B ) n(A)n(B ) 9 n(B )n(A) n(B A)
2. เป็นจริง เนื่องจาก A B ทาให้ได้ว่า (A B ) (B A)
3. เป็นเท็จ เนื่องจาก a A ดังนั้น (a, a ) A B ทาให้ {(1,a), (a,a)} A B
4. เป็นจริง เนื่องจาก n(A B) n(A)n(B ) 9 n(A)n(A) n(A A)

2.3 กาหนดให้ A {1, 2, 3} และ B {2, 3, 4} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. n(A B ) 5 2. (A B ) (B A)
3. n[(A B ) (B A)] n(A B ) n(B A) 4. A B B A
เฉลย 3
1. เป็นเท็จ เนื่องจาก n(A B ) n(A)n(B ) 9
2. เป็นเท็จ เนื่องจาก 2 A B ดังนั้น (2,2) (A B) (B A) ทาให้ (A B ) (B A)
3. เป็นจริง เนื่องจาก n(A B ) 2 ดังนั้น n[(A B ) (B A)] 4 ทาให้

6
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

n[(A B ) (B A)] n(A B ) n(B A) n[(A B ) (B A)]


9 9 4 14 9 9 n(A B) n(B A)
4. เป็นเท็จ เนื่องจาก (1,2) A B แต่ (1,2) A B

7
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 3 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธ์จาก
เงื่อนไขที่กาหนดให้ได้หรือไม่ ตลอดจนระบุโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ได้หรือไม่

3.1 ให้ A {1, 2, 3} และ r {(x , y ) A A|x y} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr A 2. Rr A 3. n(r ) 3 4. n(Dr ) n(Rr )
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า r {(1,2), (1, 3), (2, 3)} ทาให้ได้ว่า Dr {1, 2} A, Rr {2, 3} A,

n(r ) 3 และ n(Dr ) 2 n(Rr )

3.2 ให้ A {1, 2, 3} และ r {(x , y ) A A|x y} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr A 2. Rr A 3. n(r ) 3 4. n(Dr ) n(Rr )
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า r {(2,1), (3,2), (3,1)} ทาให้ได้ว่า Dr {2, 3} A, Rr {1, 2} A,

n(r ) 3 และ n(Dr ) 2 n(Rr )

3.3 ให้ A {1, 2, 3} และ r {(x , y ) A A|x y 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. Dr A 2. 3 Rr 3. n(r ) 3 4. Dr Rr
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า r {(1,1), (1,2), (1, 3), (2,2), (2, 3), (3, 3)} ทาให้ได้ว่า
Dr {1, 2, 3} A, Rr {1, 2, 3}, n(r ) 6 และ Dr Rr

8
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : ความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 4 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนมีความสามารถแยกแยะได้หรือไม่ว่าคู่
อันดับใดเท่ากัน คู่อันดับใดต่างกัน

4.1 ให้ r {(1,2), (3, 4), (5,6)} และ s {(1,2), (2,1), (3, 4), (4, 3), (6,5)} แล้ว s r เท่ากับเซตใน
ข้อใดต่อไปนี้
1. {(1, 0), (2,1), (3, 0), (4, 3), (6,5)} 2. {(2,1), (4, 3), (6,5)}
3. {(0, 0), (2,1), (4, 3), (6,5)} 4. {(5, 6)}
เฉลย 2
เนื่องจาก {(1,2), (3, 4)} r s ดังนั้น s r {(2,1), (4, 3), (6,5)}

4.2 ให้ r {(0,1), (1, 0), (1,1), (2, 3), (3,2)} และ s {(0,1), (1,1), (2,1), (3, 3)} แล้ว r s เท่ากับ
เซตในข้อใดต่อไปนี้
1. {(0, 0), (1, 0), (2,2), (3, 1)} 2. {(1, 0), (2, 3), (3,2)}
3. {(0, 0), (1, 0), (2, 3), (3,2)} 4. {(2, 3), (3,2)}
เฉลย 2
เนื่องจาก {(0,1), (1,1)} r s ดังนั้น r s {(1, 0), (2, 3), (3,2)}

4.3 ให้ r {( 1, 0), (0, 1), (1,2), (3, 4)} และ s {( 1, 3), (0,1), (1,2), (4, 3)} แล้ว r s เท่ากับ
เซตในข้อใดต่อไปนี้
1. 2. {( 1, 0), (0, 1), (3, 4)}
3. {( 1, 3), (0, 2), (1, 0)} 4. {( 1,1), (0, 3), (0, 2), (0, 0)}
เฉลย 2
เนื่องจาก {(1,2)} r s ดังนั้น r s {( 1, 0), (0, 1), (3, 4)}

9
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน


จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 5 คื อ ต้ อ งการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นสามารถร่ า งกราฟของ
ความสัมพันธ์พื้นฐานได้หรือไม่

5.1 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x, y ) | y x}


1. 4
Y
2. 1.4
Y

1.2

3 1

0.8
2
0.6

0.4
1
0.2

X X
-2 -1
0 1 2 -2 -1.5 -1 -0.5 0

Y
3. 4.
Y
4 1.4

1.2
3
1

2 0.8

0.6
1
0.4

0.2
X
-2 -1 0 1 2
X
0 0.5 1 1.5 2

เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า y 0 และ y 2 x จึงได้กราฟในข้อ 4

5.2 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x , y ) | x y}


1. Y
X
2. Y

-2 -1 0 1 2
1.4

1.2
-1
1

-2 0.8

0.6
-3 0.4

0.2
-4
X
0 0.5 1 1.5 2

3. Y 4. 4
Y

X
0 0.5 1 1.5 2
-0.2
3
-0.4

-0.6 2

-0.8
1
-1

-1.2
X
-1.4
-2 -1 0 1 2

10
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า x 0 และ x 2 y จึงได้กราฟในข้อ 4

5.3 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x, y ) | y x}


1. Y
X
2. 0
Y
X
-2 -1 0 1 2 -2 -1.5 -1 -0.5
-0.2
-1 -0.4

-0.6
-2
-0.8

-3 -1

-1.2
-4
-1.4

3. Y 4. 1.4
Y

4
1.2

3 1

0.8
2
0.6

0.4
1
0.2

X X
-2 -1 0 1 2 -2 -1.5 -1 -0.5 0

เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า y 0 และ y 2 x จึงได้กราฟในข้อ 4

11
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน


จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 6 คื อ ต้ อ งการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นสามารถร่ า งกราฟของ
ความสัมพันธ์ที่มีเงื่อนไขในรูปอสมการได้หรือไม่

6.1 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x , y ) | y 2x 1}

1. Y 2. 2
Y
2

1.5 1.5

1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1.5 -1 -0.5 0.5 1 -2 -1.5 -1 -0.5 0.5 1

-0.5 -0.5

-1 -1

3. 4.
Y Y
2 2

1.5 1.5

1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1.5 -1 -0.5 0.5 1 -2 -1.5 -1 -0.5 0.5 1
-0.5 -0.5

-1 -1

เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า 1 2(0) 1 ดังนั้น (0,1) r จึงได้กราฟในข้อ 2

6.2 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x , y ) | y 3 x}

1. 4
Y
2. 4
Y

3 3

2 2

1 1

X X
-1 1 2 3 4 -1 1 2 3 4

-1 -1

12
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. 4
Y
4. 4
Y

3 3

2 2

1 1

X X
-1 1 2 3 4 -1 1 2 3 4

-1 -1

เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า 3 3 0 ดังนั้น (0, 3) r จึงได้กราฟในข้อ 2

6.3 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r {(x , y ) | y 1 2x }


1. Y 2. Y
1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1 1 2 -2 -1 1 2

-0.5 -0.5

-1 -1

3. 4.
Y Y
1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1 1 2 -2 -1 1 2

-0.5 -0.5

-1 -1

เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า 0 1 2(0) ดังนั้น (0, 0) r แต่ (0,1) r จึงได้กราฟในข้อ 2

13
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 7 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถระบุโดเมนและเรนจ์
จากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่

7.1 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป


Y
22

1.5

0.5

X
-2 -1 0 1 2

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. 0 Dr Rr 2. Dr Rr 3. Dr Rr [0,2] 4. Dr Rr {2}
เฉลย 1
จากกราฟจะได้ว่า Dr { 2} [0,2) และ Rr [0,2] ดังนั้น 0 Dr Rr แต่ Dr Rr ,
Dr Rr { 2} [0,2] และ Dr Rr { 2}

7.2 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป


Y
3

X
-3 -2 -1 0 1 2 3

-1

2-2

-3

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. 2 Dr Rr 2. Rr Dr
3. Dr Rr ( 2, 0) (0, 3] 4. Dr Rr [0, 3]
เฉลย 1
จากกราฟจะได้ว่า Dr [0, 3] และ Rr ( 2, 0] {2} ดังนั้น 2 Dr Rr แต่ Rr Dr ,
Dr Rr ( 2, 3] และ Dr Rr [0,2) (2, 3]

14
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

7.3 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์ที่มีกราฟดังรูป


Y
2
1.75
1.5
1.25
1
0.75
0.5
0.25
X
-2 -1 0 1 2

ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. 0 Rr 2. 1 Dr Rr 3. Rr Dr 4. Dr Rr [0, )
เฉลย 1
จากกราฟจะได้ว่า Dr { 1} (0, ) และ Rr [0, ) ดังนั้น 0 Rr แต่ 1 Dr Rr
Rr Dr และ Dr Rr { 1} [0, )

15
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 8 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถระบุโดเมนและเรนจ์
จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่

2|x | 1
8.1 กาหนดให้ r (x, y ) y
|x | 2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. Rr Dr ข. Dr Rr {2}
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
2|x | 1
การหาโดเมน เนื่องจาก y ดังนั้น | x | 2 0 นั่นคือ x 2 และ x 2 ทาให้
|x | 2
Dr { 2, 2}
2|x | 1
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y ดังนั้น y | x | 2y 2|x | 1 หรือ | x | (y 2) 2y 1
|x | 2
2y 1 2y 1 1
นั่นคือ | x | ทาให้ได้ว่า 0 ทาให้ y หรือ y 2 จึงสรุปได้ว่า
y 2 y 2 2
1
Rr (2, )
2
ข้อ ก ผิด เนื่องจาก 2 Rr แต่ 2 Dr ทาให้ Rr Dr
ข้อ ข ถูก เนื่องจาก Dr Rr {2}

4x 2 1
8.2 กาหนดให้ r (x , y ) y
x2 2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
ก. Rr Dr ข. Dr Rr { 2}
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 3
4x 2 1
การหาโดเมน เนื่องจาก y ดังนั้น x 2 2 0 นั่นคือ x 2 และ x 2 ทาให้
x2 2
Dr { 2, 2}

16
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4x 2 1
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y 2
ดังนั้น yx 2 2y 4x 2 1 หรือ x 2 (y 4) 2y 1 นั่นคือ
x 2
2y 1 2y 1 1
x2 ทาให้ได้ว่า 0 ทาให้ y หรือ y 4 จึงสรุปได้ว่า
y 4 y 4 2
1
Rr (4, )
2
ข้อ ก ผิด เนื่องจาก Rr Dr
ข้อ ข ถูก เนื่องจาก Dr Rr { 2}

1 2 x
8.3 กาหนดให้ r (x, y ) y
x 2
พิจารณาข้อความต่อไปนี้
1
ก. Dr Rr , ข. Rr Dr ( 2)
2
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
1 2 x
การหาโดเมน เนื่องจาก y ดังนั้น x 0 และ x 2 0 นั่นคือ x 0 และ x 4 ทา
x 2
ให้ Dr [0, 4) (4, )
1 2 x
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y ดังนั้น y x 2y 1 2 x หรือ x (y 2) 1 2y
2 x
1 2y
นั่นคือ x ทาให้ได้ว่า 1 2y 0 ทาให้ y 2 หรือ y 1
จึงสรุปได้ว่า
y 2 y 2 2
1
Rr ( , 2) ,
2
ข้อ ก ผิด เนื่องจาก Dr Rr [0, 4) (4, )
ข้อ ข ผิด เนื่องจาก Rr Dr ( 2) {4}

17
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์


จุดประสงค์ของโจทย์ข้อ 9 คือต้องการทดสอบว่า นักเรียนสามารถระบุโดเมนและเรนจ์
จากเงื่อนไขของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้ได้หรือไม่

9.1 กาหนดให้ r {(x, y) | y 1 x 2} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr Rr Dr 2. Dr Rr Rr 3. Dr Rr [1,2) 4. Rr Dr [1,2)
เฉลย 4
การหาโดเมน เนื่องจาก y 1 x 2 ดังนั้น x 2 ทาให้ Dr [2, )
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y 1 x 2 ดังนั้น y 1 ทาให้ Rr [1, )
ดังนั้น Dr Rr [1, ) Dr , Dr Rr [2, ) Rr , Dr Rr และ Rr Dr [1,2)

9.2 กาหนดให้ r {(x, y ) | x 3 y 4} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr Rr Dr 2. Dr Rr Rr 3. Dr Rr 4. Rr Dr
เฉลย 3
การหาโดเมน เนื่องจาก x 3 y 4 ดังนั้น x 3 ทาให้ Dr [3, )
การหาเรนจ์ เนื่องจาก x 3 y 4 ดังนั้น y 4 ทาให้ Rr [ 4, )
ดังนั้น Dr Rr [ 4, ) Dr , Dr Rr [3, ) Rr , Dr Rr และ
Rr Dr [ 4, 3)

9.3 กาหนดให้ r {(x, y) | y |x | 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr Rr [0, ) 2. Dr Rr [0, ) 3. Dr Rr 4. Rr Dr
เฉลย 4
การหาโดเมน เนื่องจาก y | x | 1 ดังนั้น Dr
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y |x | 1 นั่นคือ | x | y 1 ดังนั้น y 1 ทาให้ Rr [1, )
ดังนั้น Dr Rr , Dr Rr [1, ), Dr Rr ( ,1) และ Rr Dr

18
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน และ โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์


จุ ด ประสงค์ ข องโจทย์ ข้ อ 10 คื อ ต้ อ งการทดสอบว่ า นั ก เรี ย นสามารถร่ า งกราฟจาก
ความสัมพันธ์พื้นฐานที่กาหนดให้ได้หรือไม่ และ จากกราฟที่ได้สามารถระบุโดเมนและเรนจ์ของ
ความสัมพันธ์นั้นๆ ได้หรือไม่

10.1 กาหนดให้ r {(x, y ) | y x 2 1 และ x 2} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
Y
6

-3 -2 -1 0 1 2 3
X

-1

ข. Rr [5, )
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
ข้อ ก ถูก
ข้อ ข ผิด จากกราฟของความสัมพันธ์ r ในข้อ ก จะได้ว่า Rr [1, )

19
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.2 กาหนดให้ r {(x, y ) | x y 2 1 และ y 2} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
Y
Y

X
0 1 2 3 4 5 6

-1

-2 -2

ข. Dr [5, )
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 4
ข้อ ก ผิด เนื่องจากกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดให้คือ
Y
Y

X
0 1 2 3 4 5 6

-1

-2 -2

ข้อ ข ผิด จากกราฟของความสัมพันธ์ r ในข้อ ก จะได้ว่า Dr [1, )

20
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.3 กาหนดให้ r {(x, y ) | y 1 x2 และ x 1} พิจารณาข้อความต่อไปนี้


ก. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
Y
1

X
-2 --11 0 1 2

-1

-2

-3

ข. Rr ( , 0]
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และ ข ผิด
เฉลย 2
ข้อ ก ถูก
ข้อ ข ผิด จากกราฟของความสัมพันธ์ r ในข้อ ก จะได้ว่า Rr ( ,1]

21
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2. แบบฝึกหัดขั้นสูง

แบบฝึกหัดขั้นสูง ใช้เพื่อวัดความรู้ความสามารถขั้นสูงของผู้เรียน ครอบคลุมตามจุดประสงค์การ


เรียนรู้ที่กาหนด ประกอบด้วยข้อคาถามแบบปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 13 ข้อ พร้อมเฉลยที่ผู้ใช้สื่อ
สามารถเลือกดูคาอธิบายได้จากสื่อการสอน

22
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ มีจุดประสงค์ให้นักเรียนใช้บทนิยามของการเท่ากันของคู่อันดับมาแก้ปัญหาที่
กาหนดให้ กล่าวคือ ถ้า (a,b) (c, d ) แล้ว จะได้ว่า a b และ c d นอกจากนี้ยังได้ฝึกฝนการแก้
สมการอีกด้วย

23
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ คือตรวจสอบว่านักเรียนสามารถนับจานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ที
เซียนของเซตจากัดสองเซตได้ อีกทั้งเข้าใจบทนิยามของผลคูณคาร์ทีเซียนของเซตสองเซตจนนาไปประยุกต์
แก้ปัญหาได้ กล่าวคือ
ถ้า a, b A B แล้ว (a,a), (a,b), (b, a), (b,b) (A B) (B A)
เพื่อนาไปสู่ผลสรุปว่า n((A B) (B A)) (n(A B ))2

24
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ คือ ตรวจสอบว่านักเรียนสามารถเขียนความสัมพันธ์ หรือนับจานวน


สมาชิกของความสัมพันธ์จากเงื่อนไขที่กาหนดให้ได้หรือไม่ นอกจากนี้ยังตรวจสอบว่านักเรียนเข้าใจบท
นิยามของความสัมพันธ์บนเซต A หรือไม่ กล่าวคือ ถ้า r เป็นความสัมพันธ์บนเซต A แล้ว r A A
เพื่อนาไปสู่ข้อสรุปที่ว่า n((A A) r ) n(r )

25
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัต ถุป ระสงค์ ข องโจทย์ นี้ คื อ ต้อ งการตรวจสอบว่า นัก เรีย นระบุ ไ ด้ หรื อไม่ ว่า ความสัม พั น ธ์ ที่
กาหนดให้คู่ใดเป็นความสัมพันธ์เดียวกัน ทั้งนี้การจะระบุได้หรือไม่นั้นต้องอาศัยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับ
จานวนจริง เช่น | x |2 x 2 ทุกจานวนจริง x เป็นต้น

26
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้ อนี้ มี จุดประสงค์ ที่ จะทดสอบนัก เรีย นเรื่องการหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพั นธ์ที่


กาหนดเงื่อนไขมาให้ อย่างไรก็ดีโจทย์ข้อนี้ต้องใช้ความรู้พื้นฐานในเรื่องเซต เช่น เป็นเซตที่ไม่มีสมาชิก
และเป็นสับเซตของทุกๆ เซต ตลอดจน ถ้า B P(A) แล้ว B A เป็นต้น

27
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุดประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ ต้องการฝึกฝนผู้เรียนในการนับจานวนสมาชิกของความสัมพันธ์ที่
กาหนดเงื่อนไขมาให้ นอกจากนี้การแก้ปัญหาโจทย์ข้อนี้ยังต้องอาศัยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับหลักการบวก
ซึ่งอยู่ในหลักการนับเบื้องต้น

28
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ ข้ อ นี้ ต้ อ งการทดสอบความรู้ นัก เรี ย นในเรื่ อ งการร่ า งกราฟของความสั ม พั นธ์ พื้ นฐานที่
กาหนดให้ นอกจากนี้ในการแก้ปัญหายังต้องใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการแก้ระบบสมการเพื่อหาจุดตัดของ
กราฟต่างๆ อีกด้วย

29
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จุดประสงค์ของโจทย์ข้อนี้ ต้องการฝึกฝนผู้เรียนในการร่างกราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน ในการ


x; x 0
แก้ปัญหโจทย์าข้อนี้จาเป็นต้องใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจานวนจริง กล่าวคือ | x | และต้อง
x; x 0

ใช้ความรู้เกี่ยวกับกราฟของฟังก์ชันกาลังสองหรือกราฟพาราโบลานั่นเอง

30
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ ข้ อ นี้ ผู้ เ รี ย นจะต้ อ งค านวณหาโดเมนของความสัม พั น ธ์ ที่ ก าหนดเงื่ อนไขมาให้ ในการ


แก้ ปั ญหาโจทย์ ข้ อนี้จาเป็ นต้องใช้ ค วามรู้พื้ น ฐานเกี่ ย วกั บจานวนจริง เช่น ถ้า a b แล้ ว a, b 0

ตลอดจนการแก้อสมการในรูปแบบต่างๆ

31
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้คือ ต้องการให้ผู้เรียนคานวณหาโดเมนและเรนจ์จากความสัมพันธ์ที่
กาหนดเงื่อนไขมาให้ สาหรับการแก้ปัญหาโจทย์ข้อนี้ต้องใช้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องจานวนจริง
กล่าวคือ ถ้า a 2 b2 0 แล้ว a 0 b และการจัดกาลังสองสมบูรณ์

32
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ผู้เรียนสามารถหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์ที่กาหนดเงื่อนไขมาให้ โดยใช้ความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับการแก้อสมการต่างๆ และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจานวนจริง เช่น ถ้า a 2 b แล้ว b 0 และ ถ้า
a
เป็นจานวนจริง แล้ว b 0
b

33
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

วัตถุประสงค์ของโจทย์ข้อนี้คือ ต้องการให้ผู้เรียนร่างกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดเงื่อนไขมา
ในรูปอสมการ และระบุโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่ร่างไว้ได้ สาหรับการแก้ปัญหาโจทย์
ข้อนี้ต้องอาศัยความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกราฟของพาราโบลา และ การแก้ระบบสมการเพื่อหาจุดตัดของกราฟ

34
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อนี้ มีจุดประสงค์ ให้ผู้เรียนร่างกราฟของความสัมพันธ์ที่กาหนดเงื่อนไขมาในรูปอสมการ


และระบุโดเมนและเรนจ์จากกราฟของความสัมพันธ์ที่ร่างไว้ได้ สาหรับการแก้ปัญหาโจทย์ข้อนี้ต้องอาศัย
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกราฟของพาราโบลา และ การแก้ระบบสมการเพื่อหาจุดตัดของกราฟ

35
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. แบบทดสอบ

แบบทดสอบ ใช้เพื่อทดสอบความรู้ความสามารถขั้นสูงของผู้เรียน ประกอบด้วยข้อคาถามแบบ


ปรนัยแบบ 4 ตัวเลือก จานวน 10 ข้อ พร้อมเฉลย ครอบคลุมตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่กาหนด โดย
ผู้จัดทาได้ออกแบบให้โปรแกรมสามารถสุ่มข้อคาถาม เพื่อสร้างเป็นแบบฝึกหัดที่มีความแตกต่างกัน
ได้มากถึง 310 แบบ

36
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 1 เนื้อหาหลัก : การเท่ากันของคู่อันดับ

x x 10
1.1 กาหนดให้ 3, y 1 , 2x แล้ว x y เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
2 4
1. 25 2. 12 3. 3 4. 1
เฉลย 4
x x 10
จากโจทย์จะได้ว่า 3 และ y 1 2x สมการแรกทาให้ได้ว่า 2x 12 x 10 นั่น
2 4
คือ x 2 ทาให้ y 1 2(2) 4 ดังนั้น y 3 ทาให้ได้ว่า x y 1

1.2 กาหนดให้ (y 10,2x ) (2x, y 2) ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. 3x 2y 1 2. x 4y 13
3. 4x 3y 0 4. 2x 3y 18
เฉลย 4
จากโจทย์จะได้ว่า y 10 2x และ 2x y 2 นั่นคือ 2x y 10 และ 2x y 2 จะได้ว่า
10 y
2y 8 ดังนั้น y 4 และ x 3 ดังนั้นจะได้ว่า
2
3x 2y 17 1, x 4y 13 13 , 4x 3y 24 0 และ 2x 3y 18

y 1 x 26
1.3 กาหนดให้ 2x, ,3 x แล้ว xy เท่ากับค่าในข้อใดต่อไปนี้
3 7
1. 28 2. 4 3. 4 4. 28
เฉลย 2
x
จากโจทย์จะได้ว่า 2x 26
และ y 1
3 x ดังนั้นจากสมการแรกจะได้ว่า x 2 และ
7 3
สมการที่สองจะกลายเป็น y 1
1 ดังนั้น y 2 ทาให้ xy 4
3

37
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 2 เนื้อหาหลัก : ผลคูณคาร์ทีเซียน

2.1 กาหนดให้ A {1, 2, {1}, {1, 2}} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
1. ({1},{1, {1, 2}}) P(A) A 2. {({1},{1, 2})} P(A A)
3. ( ,{{1, 2}}) P(A) P(A) 4. ({1},{1, {1}}) A P(A)
เฉลย 1
1. เท็จ เพราะว่า {1, {1, 2}} A
2. จริง เพราะว่า ({1},{1, 2}) A A
3. จริง เพราะว่า A และ {{1, 2}} A
4. จริง เพราะว่า {1} A และ {1, {1}} A

2.2 กาหนดให้ A {1, {1}, {1, {1}}} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
1. ({1, {1, {1}}},{1}) A P(A) 2. ({1}, ) P (A) P (A)

3. {({1, {1}},1)} P(A A) 4. ({1, {1}},{1}) P(A) A


เฉลย 1
1. เท็จ เพราะว่า {1, {1, {1}}} A
2. จริง เพราะว่า {1} P(A) และ P (A)
3. จริง เพราะว่า ({1, {1}},1) A A
4. จริง เพราะว่า {1, {1}} P(A) และ {1} A

2.3 กาหนดให้ A {1, {1}, {{1}}} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A ข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. ({1},{1, {{1}}}) P(A) A 2. {(1,{1})} P (A A)

3. ({{1}}, ) P (A) P (A) 4. ({1},{1, {1}}) A P(A)


เฉลย 1
1. เท็จ เพราะว่า {1, {{1}}} A
2. จริง เพราะว่า (1,{1}) A A
3. จริง เพราะว่า {1} A และ P (A)
4. จริง เพราะว่า {1} A และ {1, {1}} A

38
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 3 เนื้อหาหลัก : จานวนสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน

3.1 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตซึ่ง n(A) 3 n(B ) และ n(A B) 2 ข้อใดต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ


n[(A B ) (B A)]
1. 0 2. 5 3. 7 4. 9
เฉลย 2
เนื่องจาก n(A B) 2 สมมติว่า a, b A B จะได้ว่า
(A B) (B A) {(a, a), (a,b), (b, a), (b,b)} ดังนั้น
n[(A B ) (B A)] n(A B ) n[(A B ) (B A)]
n(A)n(B ) 4 9 4 5

3.2 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตซึ่ง n(A B ) 2 และ n(A B) 1 n(B A) ข้อใดต่อไปนี้มีค่า


เท่ากับ n[(A B ) (B A)]
1. 0 2. 5 3. 7 4. 9
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า n(A) 3 n(B ) เนื่องจาก n(A B ) 2 สมมติว่า a, b A B จะได้ว่า
(A B) (B A) {(a, a), (a,b), (b, a), (b,b)} ดังนั้น
n[(A B ) (B A)] n(A B ) n[(A B ) (B A)]
n(A)n(B ) 4 9 4 5

3.3 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตที่มีจานวนสมาชิกเท่ากัน ถ้า n(A B) 2 และ n(A B) 9 ข้อใด


ต่อไปนี้มีค่าเท่ากับ n[(A B ) (B A)]
1. 0 2. 5 3. 7 4. 9
เฉลย 2
จากโจทย์ n(A B ) 2 สมมติว่า a, b A B จะได้ว่า
(A B) (B A) {(a, a), (a,b), (b, a), (b,b)}
ดังนั้น n[(A B) (B A)] n(A B ) n[(A B ) (B A)] 9 4 5

39
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 4 เนื้อหาหลัก : จานวนสมาชิกของความสัมพันธ์

4.1 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตใดๆ


ก. ถ้า A และ B เป็นเซตจากัดแล้วความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ทุกความสัมพันธ์เป็นเซตจากัด
ข. ถ้า A และ B เป็นเซตอนันต์แล้วความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ทุกความสัมพันธ์เป็นเซตอนันต์
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และข ผิด
เฉลย 2
ก. ถูก เนื่องจาก ความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ทุกความสัมพันธ์เป็นสับเซตของ A B ซึ่งถ้า
A และ B เป็นเซตจากัดแล้ว A B เป็นเซตจากัดด้วย
ข. ผิด เนื่องจาก เป็นสับเซตของ A B ดังนั้น เป็นความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ที่เป็น
เซตจากัด แม้ว่า A และ B จะเป็นเซตอนันต์

4.2 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตใดๆ โดยที่ A, B


ก. ถ้า A เป็นเซตจากัด และ B เป็นเซตอนันต์แล้วจะมีความสัมพันธ์จากเซต A ไปเซต B ที่ เป็นเซต
อนันต์
ข. ถ้า A เป็นเซตจากัด และ B เป็นเซตอนันต์แล้วทุกความสัมพันธ์จากเซต B ไปเซต A เป็นเซตอนันต์
เสมอ
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และข ผิด
เฉลย 2
ก. ถูก เนื่องจาก ให้ a A ความสัมพันธ์ r {(a,b) | b B} เป็นเซตอนันต์
ข. ผิด เนื่องจาก เป็นสับเซตของ B A ดังนั้น เป็นความสัมพันธ์จาก B ไป A ที่เป็นเซต
จากัด แม้ว่า A และ B จะเป็นเซตอนันต์

4.3 กาหนดให้ A และ B เป็นเซตใดๆ


ก. ถ้า A และ B เป็นเซตจากัดแล้วจะมีความสัมพันธ์ r จากเซต A ไปเซต B ทีเ่ ป็นเซตอนันต์
ข. ถ้า A และ B เป็นเซตอนันต์แล้วจะมีความสัมพันธ์ r จากเซต A ไปเซต B ทีเ่ ป็นเซตจากัด
ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
1. ก และ ข ถูก 2. ก ถูก และ ข ผิด 3. ก ผิด และ ข ถูก 4. ก และข ผิด
เฉลย 3
40
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ก. ผิด เนื่องจาก r A B ซึ่ง A B มีจานวนสมาชิกเพียง n(A)n(B ) ตัว ดังนั้น r มีจานวน


สมาชิกได้มากที่สุดเพียง 2n (A)n (B ) ตัว นั่นคือความสัมพันธ์ r จากเซต A ไปเซต B เป็นเซตจากัด
ข. ถูก เนื่องจาก เป็นสับเซตของ A B ดังนั้น ที่เป็นเซตจากัดและเป็นความสัมพันธ์จาก A
ไป B แม้ว่า A และ B จะเป็นเซตอนันต์

41
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 5 เนื้อหาหลัก : ความสัมพันธ์

5.1 กาหนดให้ A {1, {1}} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A ถ้า r {(x , X ) A P (A) | x X}

และ s {(x, X ) A P(A) | x X } แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ


1. r s 2. n(r ) n(A P (A)) n(s )
3. n(r ) n(s ) 4. r s A P (A)
เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า P(A) { , {1}, {{1}}, {1, {1}}} และ A P (A) {(1, ), (1,{1}),

(1,{{1}}), (1,{1, {1}}), ({1}, ), ({1},{1}), ({1},{{1}}), ({1},{1, {1}})} ดังนั้น


r {(1, ), (1,{{1}}), ({1}, ), ({1},{1})} และ s {(1,{1}), (1,{1, {1}}), ({1},{{1}}),

({1},{1, {1}})} ทาให้ได้ว่า


1. จริง เนื่องจาก r s
2. จริง เนื่องจาก n(r ) 4 8 4 n(A P (A)) n(s )
3. เท็จ เนื่องจาก n(r ) n(s )
4. จริง เนื่องจาก r s A P (A)

5.2 กาหนดให้ A {1, 2, 3, ..., 10} ถ้า r {(x , y ) A A|2 หาร x y ลงตัว } และ
s {(x , y ) A A|2 หาร x y ไม่ลงตัว } แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นเท็จ
1. r s 2. n(r ) n(A A) n(s )
3. n(r ) n(s ) 4. r s A A
เฉลย 3
1. จริง เนื่องจากถ้า (x, y ) r แล้ว 2 หาร x y ลงตัว ดังนั้น (x , y ) s
2. จริง จากนิยามของ r จะได้ว่า คู่อันดับที่จะเป็นสมาชิกของ r จะต้องมาจาก A A และเป็น
จานวนเต็มคู่ทั้งคู่ หรือ เป็นจานวนเต็มคี่ทั้งคู่ ซึ่งจะมีวิธีในการสร้างคู่อันดับในลักษณะดังกล่าว
ทั้งหมด (5 5) (5 5) 50 วิธี นั่นคือ n(r ) 50 ต่อมาคู่อันดับที่จะเป็นสมาชิกของ s
จะต้องมาจาก A A และเป็นจานวนเต็มคู่ กับ จานวนเต็มคี่ หรือ เป็นจานวนเต็มคี่ กับ จานวนเต็ม
คู่ ซึ่งจะมีวิธีในการสร้างคู่อันดับในลักษณะดังกล่าวทั้งหมด (5 5) (5 5) 50 วิธี นั่นคือ
n(s ) 50 ดังนั้น n(r ) 50 10 10 50 n(A A) n(s )
3. เท็จ เนื่องจาก n(r ) n(s )
4. จริง เนื่องจากข้อ 2 เห็นได้ชัดว่า r s A A

42
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

5.3 กาหนดให้ A {1, 2, 3, ..., 100} ถ้า r {(x , y ) A A|x หาร y ลงตัว } และ
s {(x , y ) A A|y หาร x ลงตัว } แล้วข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง
1. r s 2. r s
3. n(r ) n(s ) 4. r s A A
เฉลย 3
1. เท็จ เนื่องจาก 1 หาร 1 ลงตัว ดังนั้น (1,1) r s
2. เท็จ เนื่องจาก 1 หาร 2 ลงตัว แต่ 2 หาร 1 ไม่ลงตัว ดังนั้น (1,2) r แต่ (1,2) s
3. จริง ถ้า (x, y ) r แสดงว่า x หาร y ลงตัว ดังนั้น (y, x ) s ทาให้ได้ว่า n(r ) n(s )
4. เท็จ เนื่องจาก 2 หาร 3 ไม่ลงตัว และ 3 หาร 2 ไม่ลงตัว ดังนั้น (2, 3) r และ (2, 3) s แต่
(2, 3) A A

43
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 6 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน

6.1 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก ไป โดยที่สาหรับแต่ละสมาชิกใน r ระยะห่างระหว่างสมาชิกตัวหน้า


ของคู่อันดับใน r กับ 1 เท่ากับ ระยะห่างระหว่างสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r กับ 2 ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟ
ของความสัมพันธ์ r
Y

1. 3 2. 4
Y

3
2

2
1
1

X X
-1 1 2 3
-2 -1 1 2
-1
-1
-2

Y
3. 4 4. 4

3
3
2

1
2

X
-4 -2 2 4
1 -1

-2
1 1 2 3 4
-3

1 -4

เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า r {(x, y) || x 1| |y 2 |} ดังนั้น จากเงื่อนไขในความสัมพันธ์ทาให้
ได้ว่า (x 1)2 |x 1|2 |y 2 |2 (y 2)2 นั่นคือ
((y 2) (x 1))((y 2) (x 1)) 0 ดังนั้น y x 1 หรือ y x 3 ซึ่งเขียนเป็น
กราฟเส้นตรงสองเส้นได้ดังที่เห็นในข้อ 3

6.2 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก ไป โดยที่สาหรับแต่ละสมาชิกใน r กาลังสองของสมาชิกตัวหน้า


ของคู่ อั น ดั บ ใน r เท่ า กั บ ก าลั ง สองของสมาชิ ก ตั ว หลั ง ของคู่ อั น ดั บ ใน r ข้ อ ใดต่ อ ไปนี้ คื อ กราฟของ
ความสัมพันธ์ r

1. 2.
4
1.0

3 0.5

0.5 1.0 1.5 2.0


2

0.5

1.0

2 1 1 2

44
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. 4.
2 1.0

1 0.5

2 1 1 2 1.0 0.5 0.5 1.0

1 0.5

2 1.0

เฉลย 3
จากโจทย์จะได้ว่า r {(x, y) | x2 y2} ดังนั้น จากเงื่อนไขในความสัมพันธ์ทาให้ได้ว่า
0 x2 y2 (x y )(x y ) นั่นคือ y x หรือ y x ซึ่งเขียนเป็นกราฟเส้นตรงสองเส้นได้
ดังที่เห็นในข้อ 3

6.3 กาหนดให้ r เป็นความสัมพันธ์จาก ไป โดยที่สาหรับแต่ละสมาชิกใน r กาลังสองของผลบวกของ


สมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของคู่อันดับใน r เท่ากับ ผลบวกของสมาชิกตัวหน้าและสมาชิกตัวหลังของคู่
อันดับใน r ข้อใดต่อไปนี้คือกราฟของความสัมพันธ์ r

1. 2.
4

1.0
3

0.5

0.5 1.0 1.5 2.0

1
0.5

1.0
2 1 1 2

3. 4.
3 2.0

1.5
2

1.0
1

0.5

2 1 1 2

1.0 0.5 0.5 1.0 1.5 2.0

0.5

2
1.0

เฉลย 3

45
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

จากโจทย์จะได้ว่า r {(x, y) | (x y)2 x y} ดังนั้น จากเงื่อนไขในความสัมพันธ์ทาให้


ได้ว่า 0 (x y)2 (x y) (x y)(x y 1) นั่นคือ y x หรือ y 1 x ซึ่งเขียนเป็น
กราฟเส้นตรงสองเส้นได้ดังที่เห็นในข้อ 3

46
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 7 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน และโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์

7.1 กาหนดให้ r {(x, y) | y x 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ 2. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
Y
Y
Y
1.4
5
1.2

1 4
0.8

0.6 3

0.4
2
0.2

X
0 1.5 2 2.5 3
-2 -1 1 2
X

3. Dr Rr [0, ) 4. Dr Rr [0,1)
เฉลย 4
จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้กราฟเป็น
Y
2.5

1.5

0.5

X
0.5 1 1.5 2

ทาให้ได้ว่า 1 และ 2 เป็นเท็จ และยังได้ด้วยว่า Dr [0, ) และ Rr [1, ) ทาให้ Dr Rr [1, )


และ Dr Rr [0,1) นั่นคือ 3 เป็นเท็จ แต่ 4 เป็นจริง

7.2 กาหนดให้ r {(x, y ) | x y 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ 2. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
4
2.0

3
1.5

2
1.0

0.5 1

1 1 2 3 0.0 0.5 1.0 1.5 2.0

47
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. Dr Rr 4. Rr Dr
เฉลย 4
จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้กราฟเป็น
15

10

1 1 2 3

ทาให้ได้ว่า 1 และ 2 เป็นเท็จ และยังได้ด้วยว่า Dr [ 1, ) และ Rr [0, ) ทาให้


Dr Rr [0, ) และ Rr Dr นั่นคือ 3 เป็นเท็จ แต่ 4 เป็นจริง

7.3 กาหนดให้ r {(x, y) | y 1 x} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ 2. กราฟของความสัมพันธ์ r คือ
3.0
0.5 1.0 1.5 2.0 2.5 3.0

2.5

2.0

1.5 2

1.0

0.5

4
3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0

3. Dr Rr ( ,1] 4. Dr Rr ( , 0)
เฉลย 4
จากความสัมพันธ์ที่กาหนดให้จะได้กราฟเป็น

48
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2.0

1.5

1.0

0.5

3 2 1 1

ทาให้ได้ว่า 1 และ 2 เป็นเท็จ และยังได้ด้วยว่า Dr ( ,1] และ Rr [0, ) ทาให้


Dr Rr [0,1] และ Dr Rr ( , 0) นั่นคือ 3 เป็นเท็จ แต่ 4 เป็นจริง

49
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 8 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์

8.1 กาหนดให้ r {(x, y ) | y x 2 64} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr Rr ( 8] [0, ) 2. Dr Rr ( 8] [8, )
3. Dr Rr [0, 8) 4. Rr Dr ( 8, 8)
เฉลย 1
การหาโดเมน เนื่องจาก y x 2 64 ดังนั้น x 2 64 0 ทาให้ได้ว่า Dr ( 8] [8, )
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y x 2 64 ดังนั้น y 0 และ y 2 x 2 64 นั่นคือ y 0 และ
x 2 y 2 64 ทาให้ได้ว่า Rr [0, ) จึงสรุปได้ว่า
1. จริง เนื่องจาก Dr Rr ( 8] [0, )
2. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr [8, )
3. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr ( , 8]
4. เท็จ เนื่องจาก Rr Dr [0, 8)

8.2 กาหนดให้ r {(x, y ) | y 64 x 2 } ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1. Dr Rr [ 8, 8] 2. Dr Rr [ 8, 8]
3. Dr Rr 4. Rr Dr
เฉลย 1
การหาโดเมน เนื่องจาก y 64 x 2 ดังนั้น 64 x 2 0 ทาให้ได้ว่า Dr [ 8, 8]

การหาเรนจ์ เนื่องจาก y 64 x 2 ดังนั้น y 0 และ y 2 64 x 2 นั่นคือ y 0 และ


x 2 64 y 2 ทาให้ได้ว่า Rr [0, 8] จึงสรุปได้ว่า
1. จริง เนื่องจาก Dr Rr [ 8, 8]
2. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr [0, 8]
3. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr [ 8, 0)
4. เท็จ เนื่องจาก Rr Dr

8.3 กาหนดให้ r {(x , y ) | y 4x 2 1} ข้อใดต่อไปนี้เป็นจริง


1 1
1. Dr Rr , [0, ) 2. Dr Rr 0,
2 2
3. Dr Rr ( , 0) 4. Rr Dr
เฉลย 1

50
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

1 1
การหาโดเมน เนื่องจาก y 4x 2 1 ดังนั้น 4x 2 1 0 ทาให้ได้ว่า Dr , ,
2 2
การหาเรนจ์ เนื่องจาก y 4x 2 1 ดังนั้น y 0 และ y 2 4x 2 1 นั่นคือ y 0 และ
4x 2 y 2 1 ทาให้ได้ว่า Rr [0, ) จึงสรุปได้ว่า
1
1. จริง เนื่องจาก Dr Rr , [0, )
2
1
2. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr ,
2
1
3. เท็จ เนื่องจาก Dr Rr ,
2
1
4. เท็จ เนื่องจาก Rr Dr 0,
2

51
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 9 เนื้อหาหลัก : โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์

9.1 กาหนดให้ A {1, 2, 3, 4} และ B {1, 2, 3, ..., 100} ถ้า r {(a, b) A B |a หาร b แล้ว
เหลือเศษ 3} ข้อใดต่อนี้เป็นจริง
1. Dr A 2. n(r ) 25 3. 3 Rr 4. 4 Dr Rr
เฉลย 2
จากโจทย์จะได้ว่า r {(4, 3), (4,7), (4,11), ..., (4,99)} ดังนั้น
1. เท็จ เนื่องจาก Dr {4}
2. จริง เนื่องจาก 3 4(1) 1 และ 99 4(25) 1 ดังนั้น n(r ) 25
3. เท็จ เนื่องจาก 3 Rr
4. เท็จ เนื่องจาก 4 Dr Rr

9.2 กาหนดให้ A {1, 2, 3, 4} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A


ถ้า r {(x, X ) A P (A) | x X } ข้อใดต่อนี้เป็นเท็จ
1. Dr A 2. Rr P(A) 3. Rr 4. n(r ) 2n (A)
เฉลย 2
1. จริง เนื่องจาก ให้ a A จะมี P (A) ซึ่ง (a, ) r
2. เท็จ เนื่องจาก A P(A) และ 1, 2, 3, 4 A ดังนั้น A Rr
3. จริง จากข้อ 1 จะได้ Rr
4. จริง เนื่องจาก ถ้า x 1 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r มาจากสับเซตทั้งหลายของ
{2, 3, 4} ซึ่งมีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 2 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r มาจากสับเซตทั้งหลายของ {1, 3, 4} ซึ่ง
มีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 3 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r มาจากสับเซตทั้งหลายของ {1, 2, 4} ซึ่ง
มีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 4 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r มาจากสับเซตทั้งหลายของ {1, 2, 3} ซึ่ง
มีทั้งหมด 23 เซต
ดังนั้น n(r ) 4(23 ) 32 16 24 2n (A)

52
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

9.3 กาหนดให้ A {1, 2, 3, 4} และ P(A) คือพาวเวอร์เซตของ A


ถ้า r {(x, X ) A P (A) | x X } ข้อใดต่อนี้เป็นเท็จ
1. Dr A 2. Rr P(A) 3. A Rr 4. n(r ) 2n (A)
เฉลย 2
1. จริง เนื่องจาก ให้ a A จะมี {a} P (A) ซึ่ง (a,{a }) r
2. เท็จ เนื่องจาก P (A) ที่ a ทุก a A ดังนั้น Rr
3. จริง เนื่องจาก a A ทุก a A ดังนั้น A Rr
4. จริง เนื่องจาก ถ้า x 1 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r คือ X {1} สับเซต
ทั้งหลายของ {2, 3, 4} ซึ่งมีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 2 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r คือ X {2} สับเซตทั้งหลายของ
{1, 3, 4} ซึ่งมีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 3 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r คือ X {3} สับเซตทั้งหลายของ
{1, 2, 4} ซึ่งมีทั้งหมด 23 เซต
ถ้า x 4 จะได้ว่า X P (A) ที่จะทาให้ (x , X ) r คือ X {4} สับเซตทั้งหลายของ
{1, 2, 3} ซึ่งมีทั้งหมด 23 เซต
ดังนั้น n(r ) 4(23 ) 32 16 24 2n (A)

53
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

โจทย์ข้อ 10 เนื้อหาหลัก : กราฟของความสัมพันธ์พื้นฐาน

10.1 ข้อใดต่อไปนี้เป็นกราฟของความสัมพันธ์ r {(x, y) || y | | x | 1 และ xy 0}


Y

1. 2.
Y
2 2

1.5 1.5

1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1 1 2 -2 -1 1 2

-0.5 -0.5

-1 -1

-1.5 -1.5

-2 -2

Y
Y

3. 4.
2
2

1.5
1.5

1
1

0.5
0.5

X
X
-2 -1 1 2
-2 -1 1 2
-0.5
-0.5

-1
-1

-1.5
-1.5

-2
-2

เฉลย 4
| x | 1; y 0
เนื่องจาก | x | | y | 1 แยกได้เป็น y เมื่อรวมกับเงื่อนไข xy 0 จะได้กราฟ
| x | 1; y 0

ในข้อ 4

10.2 ข้อใดต่อไปนี้เป็นกราฟของความสัมพันธ์ r {(x , y ) | y x2 2 และ xy 0}


1. 2.
8

6
6

4
4

2
2

3.0 2.5 2.0 1.5 1.0 0.5 0.0 3 2 1 0 1

54
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

3. 2
4. 6

3 2 1 1 2 3 4

2
2

3 2 1 1 2 3

6
2

เฉลย 4
เนื่องจาก y x2 2 มีกราฟเป็น
6

3 2 1 1 2 3

เมื่อรวมกับเงื่อนไข xy 0 จะได้กราฟในข้อ 4

10.3 ข้อใดต่อไปนี้เป็นกราฟของความสัมพันธ์ r {(x, y) || y | |x | 1 และ xy 0}


Y

1. 2.
Y
2 2

1.5 1.5

1 1

0.5 0.5

X X
-2 -1 1 2 -2 -1 1 2

-0.5 -0.5

-1 -1

-1.5 -1.5

-2 -2

Y
Y

3. 4.
2
2

1.5
1.5

1
1

0.5
0.5

X
X
-2 -1 1 2
-2 -1 1 2
-0.5
-0.5

-1
-1

-1.5
-1.5

-2
-2

เฉลย 4

55
คู่มือสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร์ โดยความร่วมมือระหว่าง
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

| x | 1; y 0
เนื่องจาก | x | |y | 1 แยกได้เป็น y เมื่อรวมกับเงื่อนไข xy 0 จะได้กราฟ
| x | 1; y 0

ในข้อ 4

56
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
ประจําปงบประมาณ 2555

ผ-1
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 77 ตอน
(ประจําปงบประมาณ 2555)

เรื่อง ตอน
คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ บทนําเรื่องคณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง เซต (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
ทฤษฎีจํานวน แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
จํานวนจริง แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง จํานวนจริง (ตอนที่ 6)
เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย บทนําเรื่องเรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จุดและสวนของเสนตรง
ความชันและเสนตรง
ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
วงกลม
พาราโบลา
วงรี
ไฮเพอรโบลา
การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย
ความสัมพันธและฟงกชัน แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5)
เมทริกซ บทนําเรื่องเมทริกซ
ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซขนาด 2x2
ดีเทอรมิแนนต
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน

ผ-2
เรื่อง ตอน
เวกเตอร บทนําเรื่องเวกเตอร
เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร
จํานวนเชิงซอน บทนําเรื่องจํานวนเชิงซอน
จํานวนเชิงซอน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน
พิกัดเชิงขั้ว
รากของจํานวนเชิงซอน
ตรีโกณมิติ แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
แบบฝกหัดเรื่อง ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน ภาษีและเครดิต
ดอกเบี้ยและคางวด
ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน
ลําดับและอนุกรม แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4)
แบบฝกหัดเรื่อง ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5)
แคลคูลสั บทนําเรื่องแคลคูลัส
ลิมิต
ความตอเนื่อง
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ
อนุพันธ
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด
ปริพันธ 1
ปริพันธ 2
หลักคณิตศาสตร หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร
แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

ผ-3
เรื่อง ตอน
สถิติ แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 1)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 3)
แบบฝกหัดเรื่อง สถิติ (ตอนที่ 4)

ผ-4
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน
ปงบประมาณ 2554-2555

ผ-5
รายชื่อสื่อการสอนวิชาคณิตศาสตร จํานวน 169 ตอน

คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง
บทนํา คณิตศาสตรกับการพัฒนาประเทศ แบบฝกหัด ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 1)
ขอสอบวัดความรูคณิตศาสตรระดับสูง (ตอนที่ 2)
เซต
บทนํา เซต การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เนื้อหา ความหมายของเซต บทนํา การใหเหตุผลและตรรกศาสตร
เซตกําลังและการดําเนินการบนเซต เนื้อหา การใหเหตุผล
เอกลักษณของการดําเนินการบนเซตและ ประพจนและการสมมูล
แผนภาพเวนน-ออยเลอร สัจนิรันดรและการอางเหตุผล
แบบฝกหัด เซต (ตอนที่ 1) ประโยคเปดและวลีบงปริมาณ
เซต (ตอนที่ 2) แบบฝกหัด การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 1)
สื่อปฏิสัมพันธ แผนภาพเวนน-ออยเลอร การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 2)
การใหเหตุผลและตรรกศาสตร (ตอนที่ 3)
จํานวนจริง สื่อปฏิสัมพันธ หอคอยฮานอย
บทนํา จํานวนจริง ตารางคาความจริง
เนื้อหา สมบัติของจํานวนจริง
การแยกตัวประกอบ ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
ทฤษฎีบทตัวประกอบ บทนํา ทฤษฎีจํานวนเบื้องตน
สมการพหุนาม เนื้อหา การหารลงตัวและจํานวนเฉพาะ
อสมการ ตัวหารรวมมากและตัวคูณรวมนอย
เทคนิคการแกอสมการ แบบฝกหัด ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 1)
คาสัมบูรณ ทฤษฎีจํานวน (ตอนที่ 2)
การแกอสมการคาสัมบูรณ
กราฟคาสัมบูรณ เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
แบบฝกหัด จํานวนจริง (ตอนที่ 1) บทนํา เรขาคณิตวิเคราะหและภาคตัดกรวย
จํานวนจริง (ตอนที่ 2) เนื้อห จุดและสวนของเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 3) ความขันและเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 4) ระยะทางระหวางจุดกับเสนตรง
จํานวนจริง (ตอนที่ 5) วงกลม
จํานวนจริง (ตอนที่ 6) พาราโบลา
สื่อปฏิสัมพันธ ชวงบนเสนจํานวน วงรี
สมการและอสมการพหุนาม ไฮเพอรโบลา
กราฟคาสัมบูรณ การตรวจสอบสมการภาคตัดกรวย

ผ-6
ความสัมพันธและฟงกชัน ฟงกชันเลขชี้กาํ ลังและฟงกชันลอการิทึม
บทนํา ความสัมพันธและฟงกชัน บทนํา ฟงกชันเลขชี้กําลังและฟงกชันลอการิทึม
เนื้อหา ความสัมพันธ เนื้อหา เลขยกกําลัง
โดเมนและเรนจ ฟงกชันเลขชี้กําลัง
อินเวอรสของความสัมพันธและบทนิยามของ ฟงกชันลอการิทึม
ฟงกชัน อสมการเลขชี้กาํ ลัง
ฟงกชันเบื้องตน อสมการลอการิทึม
พีชคณิตของฟงกชัน
อินเวอรสของฟงกชันและฟงกชันอินเวอรส ตรีโกณมิติ
ฟงกชันประกอบ บทนํา ตรีโกณมิติ
แบบฝกหัด ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 1) เนื้อหา อัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 2) เอกลักษณของอัตราสวนตรีโกณมิติ
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 3) และวงกลมหนึ่งหนวย
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 4) ฟงกชันตรีโกณมิติ 1
ความสัมพันธและฟงกชัน (ตอนที่ 5) ฟงกชันตรีโกณมิติ 2
ฟงกชันตรีโกณมิติ 3
เมทริกซ กฎของไซนและโคไซน
บทนํา เมทริกซ กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา ระบบสมการเชิงเสนและเมทริกซ ฟงกชันตรีโกณมิติผกผัน
การคูณและอินเวอรสการคูณของเมทริกซ แบบฝกหัด ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 1)
ขนาด 2×2 ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 2)
ดีเทอรมิแนนต ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 3)
อินเวอรสการคูณและการดําเนินการตามแถว ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 4)
การใชเมทริกซแกระบบสมการเชิงเสน ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 5)
ตรีโกณมิติ (ตอนที่ 6)
เวกเตอร สื่อปฏิสัมพันธ มุมบนวงกลมหนึ่งหนวย
บทนํา เวกเตอร กราฟของฟงกชันตรีโกณมิติ
เนื้อหา เวกเตอรในเชิงเรขาคณิต กฎของไซนและกฎของโคไซน
เวกเตอรในระบบพิกัดฉาก
การคูณเวกเตอรเชิงสเกลาร กําหนดการเชิงเสน
การคูณเวกเตอรเชิงเวกเตอร บทนํา กําหนดการเชิงเสน
เนื้อหา การสรางแบบจําลองทางคณิตศาสตร
จํานวนเชิงซอน การหาคาสุดขีด
บทนํา จํานวนเชิงซอน
เนื้อหา จํานวนเชิงซอน คณิตศาสตรกับการเงินในชีวิตประจําวัน
สังยุคและคาสัมบูรณของจํานวนเชิงซอน สารคดี ภาษีและเครดิต
พิกัดเชิงขั้ว ดอกเบี้ยและคางวด
รากของจํานวนเชิงซอน ผลตอบแทนและความเสี่ยงในการลงทุน

ผ-7
ลําดับและอนุกรม สถิติและการวิเคราะหขอมูล
บทนํา ลําดับและอนุกรม บทนํา สถิติและการวิเคราะหขอมูล
เนื้อหา ลําดับ เนื้อหา บทนํา เนื้อหา
การประยุกตลําดับเลขคณิตและเรขาคณิต แนวโนมเขาสูสวนกลาง 1
ลิมิตของลําดับ แนวโนมเขาสูสวนกลาง 2
ผลบวกยอย แนวโนมเขาสูสวนกลาง 3
อนุกรม การกระจายของขอมูล
ทฤษฎีบทการลูเขาของอนุกรม การกระจายสัมบูรณ 1
แบบฝกหัด ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 1) การกระจายสัมบูรณ 2
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 2) การกระจายสัมบูรณ 3
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 3) การกระจายสัมพัทธ
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 4) คะแนนมาตรฐาน
ลําดับและอนุกรม (ตอนที่ 5) ความสัมพันธระหวางขอมูล 1
ความสัมพันธระหวางขอมูล 2
แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 1
บทนํา แคลคูลสั โปรแกรมการคํานวณทางสถิติ 2
เนื้อหา ลิมิต แบบฝกหัด สถิติ (ตอนที่ 1)
ความตอเนื่อง สถิติ (ตอนที่ 2)
อัตราการเปลี่ยนแปลงและบทนิยามของอนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 3)
อนุพันธ สถิติ (ตอนที่ 4)
คาสุดขีดสัมพัทธและคาสุดขีดสัมบูรณ
การประยุกตคาสุดขีด แบบจําลองทางคณิตศาสตร
ปริพันธ 1 สารคดี แบบจําลองทางคณิตศาสตรเบื้องตน
ปริพันธ 2 ความสัมพันธเวียนเกิดและการประยุกต

การนับและความนาจะเปน โครงงานทางคณิตศาสตร
บทนํา การนับและความนาจะเปน วิจัย การลงทุน SET50 โดยวิธีการลงทุนแบบถัวเฉลี่ย
เนื้อหา การนับเบื้องตน ปญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
การเรียงสับเปลี่ยน การถอดรากที่สาม
การจัดหมู เสนตรงลอมเสนโคง
ทฤษฎีบททวีนาม กระเบื้องที่ยืดหดได
การทดลองสุม
ความนาจะเปน 1
ความนาจะเปน 2

หลักคณิตศาสตร
เนื้อหา หลักการพิสูจนเบื้องตน
หลักอุปนัยเชิงคณิตศาสตร

ผ-8

You might also like