Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 5

Agricultural Sci. J. 51 : 1 (Suppl.) : 168-172 (2020) ว. วิทย. กษ.

51 : 1 (พิเศษ) : 168-172 (2563)


การศึกษาปริมาณการใช้น้าของผักกาดกวางตุง้
Study on Consumptive Use of Water of Chinese Cabbage (Brassica chinensis Just)

คงเดช พะสีนาม1 , ธันวมาส กาศสนุก1*, จักรกฤช ศรีละออ1, ชัชวินทร์ นวลศรี1 และปุณณดา ทะรังศรี1
Khongdet Phasinam1, Thanwamas Kassanuk1*, Chakkrit Sreera-or1, Chatchawin Nualsri1 and Punnada Tharangsri1

1คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก 65000


1 Facultyof Food and Agricultural Technology, Pibulsongkram Rajabhat University, Phitsanulok 65000
*Corresponding author: t.kassanuk@gmail.com

ABSTRACT
The aim of this research was to evaluate the irrigation consumption for the growth of Chinese
cabbage ( Brassica chinensis Just) . The system based on drip irrigation for crops. Drip irrigation system
consisted of a 16 liter water tank, a water supply facilities and water supply systems. The water tank was
raised 1 meter above the ground, connected by a 0.5 inch PVC pipe at the conversion head. Drip tape is
paying a hole measuring 1 0 cm. According to the characteristics of the plot, which had 2 2 5 wells and
provides 35 days of water throughout the growing life of Chinese cabbage. The research found that overage
water consumption of Chinese cabbage was 179.50 mm or 5.13 mm per day. The average height was 21.40
cm per plant. The average weight was 21.33 grams per plant. Number of leaves was 7 per plant and the
average yield of Chinese cabbage throughout the season was 850 grams (378 grams per square meter).

Keywords: Chinese cabbage, planting, irrigation, plant growth

บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาปริมาณการใช้น้าส้าหรับการปลูกผักกาดกวางตุ้งด้วยระบบน้้าหยด โดยระบบน้้าหยด
ใช้ถังน้้าขนาด 16 ลิตร เป็นแหล่งกักเก็บน้้าและจ่ายน้้าให้กับระบบน้้าหยด ซึ่งถังน้้าถูกยกให้สูงจากพื้น 1 เมตร เชื่อมต่อด้วย
ท่อ PVC ขนาด 0.5 นิ้ว บริเวณหัวแปลง และใช้เทปน้้าหยดมีระยะรูจ่ายน้้าขนาด 10 เซนติเมตร อัตราการจ่ายน้้าเท่ากับ 2.20
ลิตรต่อชั่วโมง จ้านวน 16 เส้น โดยแต่ละเส้นมีระยะห่างเท่ากับ 10 เซนติเมตร ตามลักษณะของแปลงปลูก ซึ่งมีจ้านวน 225
หลุม และให้น้าจ้านวน 35 วัน ตลอดอายุการเจริญเติบโตของผักกาดกวางตุ้ง จากการทดสอบพบว่า ปริมาณการใช้น้าของ
ผักกาดกวางตุ้งตลอดอายุพืชเฉลี่ยเท่ากับ 179.50 มิลลิเมตร หรือมีปริมาณการใช้น้าเฉลี่ย 5.13 มิลลิเมตรต่อวัน และความสูง
ของล้าต้นเฉลี่ยเท่ากับ 21.40 เซนติเมตรต่อต้น น้้าหนักเฉลี่ยเท่ากับ 21.33 กรัมต่อต้น จ้านวนใบเฉลี่ยเท่ากับ 7 ใบต่อต้น และ
ผลผลิตผักกาดกวางตุ้งตลอดอายุการเก็บเกี่ยวเท่ากับ 850 กรัม (378 กรัมต่อตารางเมตร)

ค้าส้าคัญ: ผักกาดกวางตุ้ง, การปลูกพืช, การให้น้า, การเจริญเติบโตของพื

168
การศึกษาปริมาณ ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) สิงหาคม – พฤศจิกายน 2563 ว.วิทยาศาสตร์เกษตร
บทน้า
ผักกาดกวางตุ้ง (Brassica chinensis Just) เป็นพืชที่เจริญเติบโตเร็ว อายุการเก็บเกี่ยวสั้นประมาณ 35–45 วัน
สามารถปลูกได้ทุกฤดูกาล เป็นผักที่มีคุณค่าทางอาหารสูง (Chakatrakarn and Jala, 2015) ประกอบด้วยโปรตีน 1.7–2.4
กรัม คาร์โบไฮเดรต 2.8–3.0 กรัม ไขมัน 0.1–0.3 กรัม แคลเซียม 64-162 มิลลิกรัม เหล็ก 1.3–3.1 มิลลิกรัม และมีวิตามิน
ชนิดต่างๆ หลายชนิด ที่เป็นประโยชน์ต่ อร่างกาย (Nooprom, 2017) ผักกาดกวางตุ้งสามารถขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิด แต่
เจริญเติบโตได้ดีในสภาพดินร่วนปนทราย มี อินทรียวัตถุสูง ความเป็นกรดเป็นด่าง (pH) อยู่ระหว่าง 6.0–6.5 (Department
of Agricultural Extension, 2008)
น้้าเป็นปัจจัยหลักส้าหรับการปลูกพืช เมื่อพืชได้รับน้้าอย่างเพียงพอและเหมาะสมตามระยะเวลาที่ต้องการ ธาตุ
อาหารพืชอุดมสมบูรณ์ และสภาพอากาศเหมาะสม พืชจะสามารถสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารไปใช้ในการเจริญเติบโต และ
เก็บสะสมสารอาหารได้อย่างเต็มที่ หากท้าการปลูกพืชที่อาศัยน้้าฝนตามฤดูกาลเพียงอย่างเดียว อาจมีโอกาสที่พืชจะขาดน้้าใน
ระยะใดระยะหนึ่งได้ (Yenyongsawad et al., 2000) กอปรกับระบบน้้าหยดเป็นระบบการให้น้ารูปแบบหนึ่งที่มีประสิทธิภาพ
สูง ใช้น้าน้อยและแรงดันน้้าในระบบต่้า สามารถใช้ได้ดีกับพืชและดินทุกชนิด (Kaikaew and Khongman, 2016) ดังนั้น
งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปริมาณการใช้น้าส้าหรับการเจริญโตของผักกาดกวางตุ้ง ซึ่งจะสามารถใช้เป็นข้อมูล
ส้าหรับเกษตรกรและผู้สนใจทั่วไป

อุปกรณ์และวิธีการ
อุปกรณ์
1) เมล็ดพันธุ์ผักกาดกวางตุ้ง
2) ถังน้้าพลาสติก ขนาด 16 ลิตร
3) กระบอกตวงน้้า ขนาด 1,200 มิลลิลิตร
4) พลาสติกใส
5) ท่อ PVC ขนาด 1/2 นิ้ว
6) เทปน้้าหยด ขนาด 2.20 ลิตรต่อชั่วโมง
วิธีการ
1) การวิเคราะห์ดิน
เก็บตัวอย่างดินจากบริเวณปลูกพืชทีร่ ะดับความลึก 0 5 10 15 20 และ 25 เซนติเมตร จากนั้นน้าตัวอย่างดินไป
วิเคราะห์คุณสมบัติของเนื้อดิน คุณสมบัติทางเคมีของดิน และธาตุอาหารพืชในดิน
2) การออกแบบแปลงปลูกและระบบให้น้า
แปลงปลูกผักกาดกวางตุ้งถูกออกแบบเป็นสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาดกว้าง 1.5 เมตร ยาว 1.5 เมตร โดยแปลงปลูกลึก 25
เซนติเมตร และปูด้วยแผ่นพลาสติกใสที่พื้นด้านล่างเพื่อรองรับน้้า ดังแสดงใน Figure 1 ซึ่งบริเวณท้ายแปลงติดตั้งท่อ PVC
ขนาด 1/2 นิ้ว เพื่อรองรับน้้าจากพื้นที่แปลงปลูกและล้าเลียงน้้าต่อไปยัง กระบอกตวงขนาด 1,200 มิลลิลิตร ซึ่งใช้วัดปริมาณ
น้้าที่เหลือจากแปลงปลูก จากนั้นท้าการยกแปลงปลูกให้มีความสูง 15 เซนติเมตร จากระดับพื้นที่เดิม การปลูกผักกาดกวางตุ้ง
ถูกท้าโดยวิธีการหยอดเมล็ดพันธุ์ลงหลุมและกลบเมล็ด จ้านวน 225 หลุม โดยแต่ละหลุมมีระยะห่างเท่ากับ 10 เซนติเมตร
การออกแบบระบบการให้น้าแก่พืชใช้ระบบน้้าหยด ซึ่งระบบจะให้น้าโดยใช้หลักการไหลของน้้าจากแรงโน้มถ่วงของโลก
(Gravity) โดยการออกแบบระบบน้้าหยดเลือกใช้ถังน้้าขนาด 16 ลิตร เป็นแหล่งพักน้้าและจ่ายน้้าให้กับแปลงผัก ซึ่งถังน้้าถูก
ยกให้สูงจากพื้น 1 เมตร เชื่อมต่อด้วยท่อ PVC ขนาด 1/2 นิ้ว บริเวณหัวแปลง และใช้เทปน้้าหยดมีระยะรูจ่ายน้้า 10
เซนติเมตร อัตราการจ่ายน้้าเท่ากับ 2.20 ลิตรต่อชั่วโมง จ้านวน 16 เส้น ซึ่งหาได้จากสมการที่ 1 โดยแต่ละเส้นมีระยะห่าง
เท่ากับ 10 เซนติเมตร ตามลักษณะของแปลงปลูก ดัง Figure 2
3) การหาปริมาณการใช้น้าของผักกาดกวางตุ้ง
เมื่อท้าการออกแบบแปลงปลูกผักกาดกวางตุ้ง และติดตั้งระบบให้น้าด้วยระบบน้้าหยด จากนั้นค้านวณหาปริมาณน้า้
ที่ต้องให้แก่ผักกาดกวางตุ้ง โดยเริ่มจากการหาพื้นที่เขตเปียกตามสมการที่ 2 จากนั้นก้าหนดค่าปริมาณความต้องการน้้าของ
ผักกาดกวางตุ้งเบื้องต้น ซึ่งมีค่าเท่ากับ 3 มิลลิเมตรต่อวัน โดยพืชผักจะใช้น้าประมาณ 3-5 มิลลิเมตรต่อวัน แล้วท้าการหา
อัตราการตกของน้้า (Precipitation Rate : PR) ดังสมการที่ 3 (Kaikaew and Khongman, 2016) และหาปริมาณน้้าที่
169
การศึกษาปริมาณ ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) สิงหาคม – พฤศจิกายน 2563 ว.วิทยาศาสตร์เกษตร
ต้องการให้แก่พืช ดังสมการที่ 4 ซึ่งเท่ากับ 147 มิลลิเมตรต่อวัน จากนั้นท้าการทดลองให้น้าแก่ผักกาดกวางตุ้งเพื่อหาปริมาณ
การใช้น้าของผักกาดกวางตุ้งในแต่ละวัน โดยบันทึกปริมาณน้้าส่วนเกินที่ไหลออกจากแปลงผักลงสู่กระบอกตวงบริเวณท้าย
แปลงปลูก เพื่อน้าไปค้านวณหาปริมาณการใช้น้าของผักกาดกวางตุ้ง
4) การเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดกวางตุ้ง
การศึกษาการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดกวางตุ้งตลอดช่วงอายุของการเจริญเติบโตเป็นระยะเวลา 35 วัน
โดยการเก็บข้อมูลและบันทึกผลทุกๆ 5 วัน ได้แก่ ความสูงของล้าต้น น้้าหนักต่อต้น จ้านวนใบต่อต้น และผลผลิต ของผักกาด
กวางตุ้งตลอดอายุการเก็บเกี่ยว

จ้านวนเทปน้้าหยด = (ความกว้างแปลง / ระยะการวางเทปน้้าหยด) + 1 (1)


พื้นทีเ่ ขตเปียก = ความยาวเทปน้้าหยด x ความกว้างเขตเปียก (2)
อัตราการตกของน้้า = ปริมาณน้้าจากถัง / พื้นที่รับน้้า (3)
ปริมาณการให้น้าแก่พืช = อัตราการใช้น้าของพืช / อัตราการตกของน้้า (4)

ผลการทดลองและวิจารณ์
การศึกษาปริมาณการใช้น้าของผักกาดกวางตุ้งด้วยระบบน้้าหยดแบ่งออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ดิน
พบว่า คุณสมบัติของเนื้อดินเป็นดินเหนียว 85.61 เปอร์เซ็นต์ ดินทราย 4.36 เปอร์เซ็นต์ และดินร่วน 10.03 เปอร์เซ็นต์
คุณสมบัติทางเคมีของดิน พบว่า ดินที่ใช้ในการทดสอบมีสภาวะเป็นกลาง และธาตุอาหารพืชในดิน พบว่า แอมโมเนียอยู่ใน
ระดับต่้า ฟอสฟอรัสอยู่ในระดับสูง และโพแทสเซียมอยู่ในระดับสูง 2) การออกแบบแปลงปลูกและระบบให้น้า โดยแปลงปลูก
พืชมีพื้นที่ 2.25 ตารางเมตร ระบบการให้น้าพืชเป็นแบบระบบน้้าหยด ซึ่งใช้ถังน้้าขนาด 16 ลิตร เป็นแหล่งพักน้้าและจ่ายน้้า
ให้กับระบบ โดยถังน้้าถูกยกให้สูงจากพื้น 1 เมตร เชื่อมต่อด้วยท่อ PVC ขนาด 1/2 นิ้ว บริเวณหัวแปลง และใช้เทปน้้าหยดมี
ระยะรูจ่ายน้้าขนาด 10 เซนติเมตร อัตราการจ่ายน้้าเท่ากับ 2.20 ลิตรต่อชั่วโมง จ้านวน 16 เส้น โดยแต่ละเส้นมีระยะห่าง
เท่ากับ 10 เซนติเมตร 3) การหาปริมาณการใช้น้าของผักกาดกวางตุ้ง พบว่า ปริมาณการใช้น้าส้าหรับการเจริญเติบโตของ
ผักกาดกวางตุ้งตลอดอายุการเก็บเกี่ยวเป็นเวลา 35 วัน มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 179.50 มิลลิเมตร หรือเฉลี่ย 5.13 มิลลิเมตรต่อวัน
ดัง Table 1 ซึ่งสอดคล้องกับ Phowpooton et al. (2015) ที่ศึกษาการใช้น้าของผักกาดกวางตุง (ผักกาดจอ) ตลอดอายุ 35
วัน มีค่า 181.46 มิลลิเมตร หรือปริมาณการใช้น้าเฉลี่ย 5.18 มิลลิเมตรต่อวัน และ 4) การเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาด
กวางตุ้ง พบว่า ผักกาดกวางตุ้งมีความสูงของล้าต้นเฉลี่ยเท่ากับ 21.40 เซนติเมตรต่อต้น น้้าหนักเฉลี่ย 21.33 กรัม ต่อต้น
จ้านวนใบเฉลี่ย 7 ใบต่อต้น และผลผลิตผักกาดกวางตุ้งตลอดอายุการเก็บเกี่ยวเท่ากับ 850 กรัม (378 กรัมต่อตารางเมตร) ดัง
แสดงใน Table 2 ซึ่งจะเห็นได้ว่าการจัดการน้้าส้าหรับพืชเป็นสิ่งส้าคัญที่จะส่งผลต่อปริมาณการใช้น้าของพืชและอัตราการ
ให้ผลผลิตของพืช (Averbeke and Netshithuthuni, 2010) ดังนั้นหากพืชได้รับปริมาณน้้าที่เหมาะสมตามระยะเวลาที่พืช
ต้องการ ธาตุอาหารอุดมสมบูรณ์ และสภาพอากาศเหมาะสม พืชจะสามารถสังเคราะห์แสงเพื่อสร้างอาหารไปใช้ในการ
เจริญเติบโต และเก็บสะสมสารอาหารได้อย่างเต็มที่ (Yenyongsawad et al., 2000)

สรุป
ปริมาณการใช้น้าส้าหรับการเจริญเติบโตของผักกาดกวางตุ้งด้วยระบบน้้าหยด พบว่า ปริมาณการใช้น้าตลอดอายุ
การเก็บเกี่ยว 35 วัน มีปริมาณการใช้น้าเฉลี่ยเท่ากับ 179.50 มิลลิเมตร หรือมีปริมาณการใช้น้าเฉลี่ย 5.13 มิลลิเมตรต่อวัน
โดยมีความสูงของล้าต้นเฉลี่ย 21.40 เซนติเมตรต่อต้น น้้าหนักเฉลี่ย 21.33 กรัม ต่อต้น จ้านวนใบเฉลี่ย 7 ใบต่อต้น และ
ผลผลิตผักกาดกวางตุ้งตลอดอายุการเก็บเกี่ยวเท่ากับ 850 กรัม หรือ 378 กรัมต่อตารางเมตร

170
การศึกษาปริมาณ ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) สิงหาคม – พฤศจิกายน 2563 ว.วิทยาศาสตร์เกษตร
กิตติกรรมประกาศ
งานวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย สัญญาทุน คทก-สญ-1 เลขที่ 4/2562 จากคณะเทคโนโลยีการเกษตรและ
อาหาร มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

เอกสารอ้างอิง
Department of Agricultural Extension. 2008. Cruciferous plants (Chinese kale, Chinese Cabbage). . Available source:
http://www.agriman.doae.go.th/home/t.n/t.n1/5vagetable_Requirement/02_Lettuce.pdf, October 20, 2019.
Chakatrakarn, S. and A. Jala. 2015. Seedling Growth of Flowering Chinese Cabbage on the Media Supplemented with
Vermicompost. Thai Journal of Science and Technology. 3: 237-243. (in Thai)
Nooprom, K. 2017. Effect of Shading Nets on Growth and Yield of Organic Pak Choi. The 9th Rajamangala University of
Technology National Conference and The 8th Rajamangala University of Technology International Conference,
August 8th-9th, 2017 at Impact Muang Thong Thani Exhibition and Convention. (in Thai)
Phowpooton, P., Kanthawong, S., Kaewlumyai, S., Prakunhungsit, S. and Charoonsak, S. 2012. Study on consumptive use of
Chinese Cabbage. Available source: http://kmcenter.rid.go.th/kmc01/doc/om1-02072003.pdf, July 25, 2020. (in
Thai)
Kaikaew, T. and K. Khongman. 2016. Drip irrigation system manual. Available from: https://www.alro.go.th/, October 20,
2019.
W. van Averbeke and C. Netshithuthuni. 2010. Effect of irrigation scheduling on leaf yield of non-heading Chinese cabbage
(Brassica rapa L. subsp. chinensis). South African Journal of Plant and Soil. 27(4):322-327.
Yenyongsawad, C., Sophanodora, P., Wanchit, W., Somsap, V. 2000. Water and Irrigation. Availble from:
http://natres.psu.ac.th/, October 20, 2019.

Figure 1 The plastic floor covering on the ground.

171
การศึกษาปริมาณ ปีที่ 51 ฉบับที่ 1 (พิเศษ) สิงหาคม – พฤศจิกายน 2563 ว.วิทยาศาสตร์เกษตร

Figure 2 The design of drip irrigation system.


Table 1 The consumptive use of water of Chinese cabbage.
Time Total Consumptive use per day Total of the consumptive use
(Day) (mm) (mm)
19–23 Nov. 2018 5 5.30 26.50
24–28 Nov. 2018 5 4.82 24.10
29 Nov. –3 Dec. 2018 5 5.48 27.40
4–8 Dec. 2018 5 5.56 27.80
9–13 Dec. 2018 5 4.74 23.70
14–18 Dec. 2018 5 5.56 27.80
19–23 Dec. 2018 5 4.44 22.20
Average 5.13 179.50

Table 2 Growth and yield of Chinese cabbage.


Indicator (associated variable) Value
The average height per plant (cm) 21.40
The average weight per plant (g) 21.33
The average number of leaf per plant (leaves) 7
Yield of weight (g) 850

172

You might also like