Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 9

การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยการใช้การเล่า

เรื่องด้วยสื่อดิจิทัลของ
นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
Using Digital Storytelling to Enhance Speaking
Skills of Mathayom 2 Students

วิจย

ของ
จรัญญา บุตรด้วง 61010513007
ณัฐการ นาคะไชย 61010513012
อินทร์ศร วงศ์อาจ 61010513030
ออมสิน มั่งมี 61010513040
ภัทริน ใจลาด
61010513048
ส่งครัง้ ที่ 1 วันที่ 27 มกราคม 2565

นิสต
ิ ชัน
้ ปี ที่ 4 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศึกษาศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

การวิจัยนีม
้ ีความมุ่งหมายเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษา
อังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อ
ดิจิทัลของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบรบือวิทยาคาร
อำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม จำนวน 1 ห้องเรียน ใช้เวลา
ทดลอง 12 คาบ คาบละ 50 นาที จำนวน 10 ชั่วโมง กลุ่มผู้วิจัยได้
เสนอผลการ วิเคราะห์ตามลำดับ ดังต่อไปนี ้
1. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
2. ลำดับขัน
้ ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

สัญลักษณ์ที่ใช้ในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อให้เกิดความเข้าใจในการใช้ส่ อ
ื ความหมายข้อมูล ผู้วิจัย
ได้กำหนดความหมายของสัญลักษณ์ในการนำเสนอผลวิเคราะห์
ข้อมูลดังนี ้
N แทน จำนวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่าง
𝑥̅ แทน คะแนนเฉลี่ย
S.D. แทน ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard
Deviation)
E1 แทน ประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนรู้
E2 แทน ประสิทธิภาพของผลลัพธ์
E. I. แทน ดัชนีประสิทธิผล
𝑡 แทน ค่าสถิติที่จะใช้เปรียบเทียบกับค่าวิกฤตเพื่อ
ทราบความมีนัยสำคัญ
Sig. แทน ค่าระดับนัยสำคัญ

ลำดับขัน
้ ตอนในการเสนอผลการวิเคราะห์ขอ
้ มูล
ผู้ศึกษาค้นคว้าได้ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูลตามลำดับขัน

ตอน ดังนี ้
ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้
โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัล ของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70
ตอนที่ 2 วิเคราะห์หาดัชนีประสิทธิผลของแผนการจัดการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้
โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลของนักเรียนชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2
69

ตอนที่ 3 วิเคราะห์และเปรียบเทียบทักษะการพูดก่อนเรียน
และหลังเรียนเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลของนักเรียน ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 2 โรงเรียนบรบือวิทยาคาร

ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
ตอนที่ 1 วิเคราะห์หาประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียน
รู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัล ของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 ที่มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70

ตาราง 14 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ร้อยละของคะแนนจาก


การประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะ
การพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่า
เรื่องด้วยสื่อดิจิทัล

ลำดับ คะแนนที่
คะแนน
ของ ได้
เต็ม 𝑥̅ S.D. ร้อยละ
แผนการ คะแนน
(N=33)
สอน รวม
1: While
10 192 5.82 0.85 58.2
2
1: Post 10 209 6.33 0.96 63.3
2: While
10 208 6.30 0.92 63
2
70

2: Post 10 231 7 1.15 70


3: While
10 209 6.33 1.02 63.3
2
3: Post 10 238 7.21 0.96 72.1
4: While
10 231 7 1.17 70
2
4: Post 10 255 7.73 1.18 77.3
รวม 80 1773 53.73 1.17 67.2
ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1) เท่ากับ 67.2

จากตาราง 14 พบว่า ค่าเฉลี่ยจากการประเมินผลระหว่าง


การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการ
จัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัล การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 53.73 คะแนน จากคะแนน
เต็ม 80 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 67.2 นั่นคือประสิทธิภาพ
กระบวนการหรือ E1 มีค่าเท่ากับ 67.2%

ตาราง 15 ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และประสิทธิภาพของ


ผลลัพธ์ (E2) ของกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษา
อังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อ
ดิจิทัลของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2

คะแนนทดสอบหลัง จำนวนผู้เรียน
คะแนนรวม
เรียน (10) จำแนกตามที่สอบได้
9 2 18
71

8 5 40
7 7 49
6 14 84
5 2 10
4 2 8
3 1 3
รวม 33 212
คะแนนเฉลี่ย 6.42
ส่วนเบี่ยงเบน 1.35
มาตรฐาน
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 64.2

จากตาราง 15 พบว่า คะแนนจากการทำแบบทดสอบหลัง


เรียนของผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 มีคา่ เฉลีย
่ เท่ากับ 6.42 คิดเป็ น
ร้อยละ 1.35 แสดงว่า ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) มีคา่ เท่ากับ
64.2

ตาราง 16 ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1)


และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) ของกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2

คะแนน คะแนน 𝑥̅ S.D. ร้อยละ


เต็ม
ประสิทธิภาพของ 80 53.73 1.17 67.2
72

กระบวนการ (E1)
ประสิทธิภาพของผลลัพธ์ 10 6.42 1.35 64.2
(E2)
ประสิทธิภาพของแผนการจัดการเรียนรู้ (E1/E2) เท่ากับ
67.2/64.2

จากตาราง 16 พบว่า ประสิทธิภาพของกระบวนการ (E1)


เท่ากับ 67.2 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ (E2) เท่ากับ 64.2 ดัง
นัน
้ แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษา
อังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อ
ดิจิทัลของนักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 จึงมีประสิทธิภาพ (E1/E2)
เท่ากับ 67.2/64.2 ซึง่ ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนด

ตอนที่ 2 วิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อ
พัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลสำหรับผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2

ตาราง 17 ผลการวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลสำหรับผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2

จำนวนผู้ ผลรวมของคะแนน ดัชนี ร้อยละ


เรียน (คะแนนเต็ม 10) ประสิทธิผ
73

ทดสอบก่อน ทดสอบหลัง
ล (E.I.)
เรียน เรียน

33 157 212 0.32 32

จากตาราง 17 พบว่าดัชนีประสิทธิผลของกิจกรรมการเรียน
รู้เพื่อพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษผ่านการจัดการเรียนรู้โดยใช้
กิจกรรมการเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัลสำหรับผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 มีค่าเท่ากับ 0.32 คิดเป็ นร้อยละ 32

ตอนที่ 3 วิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน
ของผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2

ตาราง 18 ผลการวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียน และ


หลังเรียนของผู้เรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
คะแนน N 𝑥̅ S.D. 𝑡 Sig.
ก่อน 33 4.82 1.70
เรียน 3.935 .00*
หลังเรียน 33 6.42 1.35

* มีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 (เปิ ดตาราง t ที่ df = 32, α = .05


ได้ 𝑡 = 3.935)
จากตาราง 18 พบว่า นักเรียนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ที่เรียน
ผ่านกิจกรรมการพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษโดยใช้กิจกรรม
การเล่าเรื่องด้วยสื่อดิจิทัล มีผลการทดสอบหลังเรียนสูงกว่าก่อน
เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
74

You might also like