Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 168

การก่ อสร้ างโครงสร้ างสะพานแบบกล่ อง

(Hollow Box Girder) โดยวิธี คานยื่นสมดุล


(Balanced Cantilever Method)
Hollow Box Girder คือ คานสะพานรู ปกล่ อง แบบกลวง มีขนาดหน้ า
ตัด ความกว้ าง ความลึก และความยาว ต่ างๆกันขึน้ อยู่กบั การออกแบบ เพื่อใช้
งาน ในแต่ ละสะพาน มีท้งั แบบหล่ อสาเร็จจากโรงงานส่ วนใหญ่ จะมีขนาด
สั้ นๆ หลายชิ้นแล้ วนามาต่ อกันที่หน้ างาน หรื อ แบบที่หล่ อหน้ างาน ซึ่ง
สามารถหล่ อได้ เต็มความยาวช่ วงสะพานได้
แบบหล่ อสาเร็จจากโรงงานแล้ วมา

ประกอบที่หน้ างาน
ชนิดหล่อทั้งช่ วงสะพาน
แล้ว ยกมาติดตั้ง

ชนิดหล่ อที่หน้ างานทั้งช่ วงสะพาน


Balanced Cantilever Method เป็ นวิธี การก่อสร้ างสะพาน วิธีหนึ่ง ที่
เริ่ม เป็ นที่นิยมนามาใช้ ในประเทศไทยมากขึน้ เนื่องจาก การก่อสร้ าง
โดยวิธีนีส้ ามารถก่อสร้ างได้ โดยไม่ ต้องมีคา้ ยันจากพื้น และสามารถ
ก่อสร้ างในสะพานที่มีระยะห่ างระหว่ างเสาตอม่ อยาวๆ เช่ น สะพาน
ข้ ามแม่ นา้ ,สะพานข้ ามหุบเขาลึก,สะพานข้ ามทะเล,สะพานข้ ามทาง
แยกใหญ่ ๆในเมือง เป็ นต้ น
สะพานที่ก่อสร้ างโดยวิธีนี้ เช่ น
สะพานมิตรภาพไทย-ลาว จ.นครพนม
สะพานมิตรภาพ ไทย-เมียนมาร์ อ.แม่ สอด จ.ตาก
สะพานโครงการรถไฟฟ้ าสายสี เขียว ช่ วงห้ าแยกลาดพร้ าว
(ข้ ามดอนเมืองโทลเวย์ )
สะพาน มิตรภาพ ไทย-ลาว จ.นครพนม
สะพานมิตรภาพ ไทย-เมียนมาร์ อ.แม่ สอด จ.ตาก
สะพานโครงการรถไฟฟ้ าสายสี เขียว ช่ วงห้ าแยกลาดพร้ าว
(ข้ ามดอนเมืองโทลเวย์ )
วิธีการก่ อสร้ างแบบ Balanced Cantilever

การก่อสร้ าง แบบ Balanced Cantilever มีลกั ษณะการก่ อสร้ าง โดยใช้


Form Work แบบเคลื่อนที่ได้ ด้วยตนเอง ที่เรียกว่ า Form Traveller
ยึดติดบนหัวเสา ( Pier Head) ทั้งสองด้ าน แล้วทาการก่อสร้ างในเวลา
ใกล้ เคียงกันตั้งแต่ ผูกเหล็ก –เข้ าแบบ-เทคอนกรีต จนถึงขั้นตอน
สุ ดท้ ายคือ การดึงลวดอัดแรง เมื่อเสร็จขั้นตอนนีท้ ้งั สองด้ านแล้วจึงทา
การเลื่อน Form Traveller ทั้งสองด้ าน ออกไปเพื่อทาการก่ อสร้ างช่ วง
ต่ อไป ในลักษณะสมดุลกัน
ทาเช่ นนีไ้ ปจนเชื่ อมต่ อกับงานก่อสร้ างของเสาตอม่ อตัวใกล้เคียงกัน
และเมื่อการก่อสร้ างได้ เชื่ อมถึงกันทั้งหมดแล้ ว จะมีการดึงลวดอัดแรง
ช่ วงกลางสะพานเพื่อทาให้ สะพานมีพฤติกรรมเป็ นโครงสร้ างที่
ต่ อเนื่องกัน รูปร่ างหน้ าตัดของสะพานชนิดนี้ จะมีรูปร่ างเป็ นกล่อง
กลวง (Hollow Box Girder) มีขนาดความลึก (Depth) มาก
ทีส่ ุ ดทีบ่ ริเวณ โคนเสาและจะลดขนาดความลึกไปเรื่ อยๆจนถึงช่ วง
กลางสะพาน
ระบบคอนกรีตอัดแรง ( Post-Tension ) ของงานก่อสร้ าง สะพาน

Post- Tension เป็ นระบบคอนกรีตอัดแรงที่ทาการดึงลวดเหล็กภายหลังจาก


ทาการเทคอนกรีตหุ้มเหล็ก เสริมแล้ ว
Post-Tensioning สามารถแบ่ งย่ อยออกเป็ น 2 ระบบ ได้ แก่
- Bonded System เป็ นระบบ Post-Tensioned ประเภทที่ลวดเกลียวอัดแรงจะ
มีแรงยึดเหนี่ยวกับคอนกรีต โดยการ อัดนา้ ปูนเข้ าไปในท่ อ(DUCT) หลัง
จากได้ ทาการดึงลวดอัดแรงแล้ วเสร็จ ซึ่งเป็ นวิธีที่มีความ ปลอดภัยสู ง งาน
โครงสร้ างใหญ่ ๆ จะใช้ วธิ ีนี้
- Unbonded System เป็ นระบบ Post-Tensioned ประเภทที่ไม่ มีแรงยึด
เหนี่ยวระหว่ างลวดเกลียวอัดแรง กับคอนกรีตตลอดอายุการใช้ งานของ
โครงสร้ าง การถ่ ายแรงเข้ าสู่ คอนกรีตจะถ่ ายแรงผ่ านสมอยึดลวด เท่ านั้น
ความปลอดภัยค่ อนข้ างต่าเหมาะสาหรับโครงสร้ างขนาดเล็ก
การติดตั้งลวดคอนกรีตอัดแรงในสะพาน

ติดตั้งอยู่ 2แนว คือ


1.แนว Transverse หรื อแนวตั้งฉากกับ ตัวสะพาน จะติดตั้งบนพืน้ ด้ านบน วางอยู่
ในท่ อ (Duct) จานวนลวดในแต่ ละท่ อ และระยะห่ างระหว่ างท่ อ ขึน้ อยู่กบั การ
ออกแบบ ความยาวของลวดอัดแรงจะเท่ ากับความกว้ างของสะพาน
2. แนว Longitudinal หรื อตามแนวยาวของสะพาน ซึ่งเป็ นลวดที่ใช้ สาหรับรับ นน.ของ
สะพาน ทาให้ ต้ องใช้ ลวดที่ ขนาดใหญ่ และจานวนเส้ น มากขึน้ การติดตั้งจะวางในท่ อ
(Duct) เช่ นเดียวกัน วางที่พืน้ บนสะพาน และในบริเวณกาแพง (Web)
หรื ออีกหนึ่งรู ปแบบ คือการวางลวดอัดแรงอยู่ในช่ องว่ างของ Box Girder เรียกกันว่ า แบบ
External Stressing ส่ วนแบบที่วางในเนื้อคอนกรีตเรียก Internal Stressing
ท่ อ (Duct)
Transverse
Longitudinal (Internal)
Longitudinal (External)
การทางาน และการเคลื่อนตัว ของ Form Traveller

A’
A
B’
A’

A
B
C’
B’
A’

A
B
C
B’ A’ A B
E’ D’ C’ B’ A’ A B C D E
F’ E’ D’ C’ B’ A’ A B C D E F
H’ G’ F’ E’ D’ C’ B’ A’ A B C D E F G H
K’ J’ I’ H’ G’ F’ E’ D’ C’ B’ A’ A B C D E F G H I J K
งาน Closure Pour เป็ น Segment ขนาดเล็กตรงกลาง
ระหว่ าง แต่ ละ Span

I’ H’ G’
F’
E’
D’
C’
B’
A’
A B C D E
F G H
I
J
งาน Closure Pour

CLOSURE
POUR

D’ C’ B’ A’ A B C D E F G H I J K L M L’ K’ J’ I’ H’ G’ F’ E’ D’ C’ B’ A’
ข้ อดี ของการก่ อสร้ างโดยวิธีนี้
- ไม่ ต้องใช้ นั่งร้ านหรื อคา้ ยันจากพืน้ ด้ านล่าง
- การก่ อสร้ างแบบคานยื่นเป็ นการก่อสร้ างที่ค่อยๆสร้ างเพิม่ ทีละชิ้น
(Block) เล็กๆจึงใช้ เครื่ องมือและ อุปกรณ์ ในการก่ อสร้ างไม่ มาก เหมาะ
สาหรับสะพานที่มีความยาวมาก
- ในการก่ อสร้ างแต่ ละชิ้น (2-5 เมตร) สามารถเปลีย่ นแปลง ความหนา และ
ความสูงของหน้ าตัด สะพานได้ ทาให้ นา้ หนัก คงที่ของสะพานลดลง และ
เปลีย่ นขนาดของหน้ าตัดให้ เหมาะสมกับแรงที่ เกิดขึน้ ภายในหน้ าตัดได้
- การทางานบน Form Traveller สามารถติดตั้งหลังคาหรื อ
อุปกรณ์ กันแดด -กันฝนได้ ทาให้ สามารถทางานได้ ทุกสภาพอากาศ
มีผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อมน้ อย
- เนื่องจากเป็ นการทางานทีม่ ขี ้นั ตอน และรูปแบบทีซ่ ้าๆกัน คือการเข้ า
แบบ ผูกเหล็ก เทคอนกรีต ถอดแบบ ดึงลวดอัดแรง และเลื่อน
Form Traveller ทาให้ คนงานมีประสบการณ์ ในการทางาน
เกิดความคุ้นเคยกับ ขั้นตอนการทางาน ทาให้ สามารถทางานได้ เร็ว
และเกิดการสูญเสี ยน้ อยลง
- สามารถปรับใช้ ให้ เหมาะสมกับสภาพภูมปิ ระเทศ และยังใช้ ร่วมกับ
วิธีการก่ อสร้ างแบบอื่นได้
ส่ วนประกอบของ สะพานทีก่ ่ อสร้ าง
โดยวิธี Balanced Cantilever
ในที่นีจ้ ะกล่ าวถึงเฉพาะในกรณีที่มีการก่อสร้ าง ฐานราก (Footing)
และเสา (Column) เสร็จแล้ว

1. Pier Head หรื อ หัวเสาจะมีรูปร่ างหน้ าตาเหมือน Segment ทั่วไปแต่ มี


ขนาดความลึกที่ มากกว่ า ส่ วนความกว้ างจะเท่ ากัน สาหรับความยาวนั้นต้ อง
มีมากพอที่จะให้ Form Traveller ขึน้ ไป ติดตั้งได้
Pier Head
2. Segment
คือชิ้นส่ วนในการก่อสร้ างแต่ ละครั้ง ที่ยื่นออกจากหัวเสา จะมีความยาว
ประมาณ 2-5 ม.
3.Middle Span คือ สะพานช่ วงกลาง ใน สะพาน ตัวอาจจะมีหลาย Middle
Span
4.Side Span คือ สะพาน ช่ วงหัวและท้ าย
5.End Span คือ Segment ส่ วนที่ตดิ กับตอม่ อริมฝั่ง ช่ วง Side Span ที่จะ
มาต่ อเชื่ อมกับ Segment ที่ ก่อสร้ างโดยวิธี Balanced Cantilever ส่ วน
ใหญ่ จะก่ อสร้ างโดยการตั้งนั่งร้ านชั่วคราวขึน้ มารับทั้งช่ วงความยาว
6.Closure Pour คือชิ้นส่ วนคอนกรีตที่ตาแหน่ งต่ อเชื่ อมกันระหว่ าง Form
Traveller 2ตัว หรื อ ระหว่ าง FormTraveller กับ End Span
Closure Pour Closure Pour End Span
End Span Closure Pour

Side Span Middle Span Side Span


End Span
Closure Pour
ชนิดของ สะพานทีก่ ่ อสร้ างโดยวิธีคานยื่นสมดุล
1.แบบ สมมาตร (Symmetrical Method)
จะทาการก่ อสร้ างยื่นออกทั้ง 2 ข้ างพร้ อมๆกัน ซึ่งหมายความว่ า จะต้ องมี
ขนาดของ Pier Head ที่ ยาวพอที่จะติดตั้ง Form Traveller ทั้ง 2 ตัว พร้ อม
กันได้ วิธีนีจ้ ะง่ ายในขั้นตอนออกแบบ แต่ ในการ ทางานจะค่ อนข้ างลาบาก
เนื่องจากต้ องจัดการกาลังคนและอุปกรณ์ ในเวลาเดียวกัน นั่นคือทางานทั้งสอง
ข้ างไปพร้ อมกันและทีส่ าคัญต้ องคานึงถึงสมดุลของโครงสร้ างด้ วย ในการ
ทางานแบบนี้ เวลาเทคอนกรีตจะต้ องมีข้นั ตอน ลาดับการเท ทั้ง 2 ด้ าน ให้
ถูกต้ องเพื่อไม่ ให้ นา้ หนักคอนกรีตระหว่ างการทางาน กระทบต่ อสมดุลของ
โครงสร้ าง
2.แบบ อสมมาตร (Asymmetrical Method)
จะทาการก่อสร้ างยื่นออกไปทีละข้ างเพื่อลดพืน้ ที่การทางานบนหัวเสา
(Pier Head) และกระจายการ ทางานออกไปไม่ พร้ อมกัน สามารถ
กระจายการใช้ วัสดุอุปกรณ์ กาลังคนลง การเทคอนกรีต เทได้ อสิ ระต่ อ
กัน และที่สาคัญ วิธีนีจ้ ะมี ขนาด Pier Head ที่เล็กลง สามารถติดตั้ง
Form Traveller ทีละข้ างได้ เมื่อทางานเสร็จก็เลื่อน ออกไป เพื่อติดตั้ง
ตัวที่สอง
Symmetrical & Asymmetrical Method
Asymmetrical

Symmetrical
การก่อสร้ าง Pier Head
การเตรียมงาน
1.งาน นั่งร้ าน
นั่งร้ านที่ใช้ รับนา้ หนักของ Form Work และของ Pier Head ที่มนี า้ หนัก
มาก จะต้ องผ่ านการคานวณโดยละเอียด ในแต่ ละวิธีที่ เลือกใช้ โดยทั่วไป
จะนิยมใช้ อยู่ 2 แบบ
1.1 นั่งร้ านติดตั้งบนพืน้ (TOWER) เป็ นนั่งร้ านที่ง่ายๆและธรรมดาทีส่ ุ ด
หลักการคือ ถ่ ายนา้ หนักจาก Pier Head ผ่ านนั่งร้ าน ลงดิน จะประกอบด้ วย
ตัวนั่งร้ านที่เป็ นชั้นๆ ต่ อเข้ าด้ วยกัน (Tower) จานวนชั้นขึน้ อยู่กบั ความสูง
ของ Column เหมาะสาหรับ Column ทีม่ คี วามสูงไม่ มากนัก
Pier Head
TOWER
1.2 นั่งร้ านแบบแขวนกับ Column (BRACKET)
เป็ นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้ ในกรณีที่ Column มีความสูงมากๆ หรื อพืน้ ที่
ใต้ Column มีจากัด หรื อ Pier Head ยื่นออกไปนอกพืน้ ทีก่ ่อสร้ าง
เช่ นพืน้ ที่ตามสี่ แยกต่ างๆ มีการจราจรหนาแน่ น หรื อ ข้ างล่ างเป็ น
คลอง
BRACKET
2.Form Work
Form Work หรื อแบบที่ใช้ สาหรับก่อสร้ าง Pier Head จะเป็ นแบบทั้งที่
ประกอบขึน้ เอง หรื อเป็ นแบบสาเร็จรูปตอนนีม้ หี ลายบริษทั รับประกอบ
สามารถนามาติดตั้งได้ เลย
Form Work สาเร็จรู ป
Form Work สาเร็จรู ป
Form Work แบบประกอบเอง
Form Work แบบประกอบเอง
3. เครื่ องจักร
เครื่ องจักรที่ใช้ เป็ น Crane ทั้งชนิด Mobile Crane หรื อ Tower Crane ที่มี
ความเหมาะสม สามารถยกนา้ หนัก ชิ้นส่ วนที่ต้องการได้ และมีความยาวของช่ วงยก
ทีส่ ามารถยื่นไปหาจุดทีต่ ดิ ตั้งได้

4.บันได เนื่องจากการทางานทั้งหมดเป็ นการทางานบนทีส่ ู ง จาเป็ นต้ องมี


บันไดใช้ สาหรับขึน้ -ลง ในทุกวัน การติดตั้งบันไดจะเริ่มใช้ ต้งั แต่ งานทา Pier
Head จนถึงงาน Balanced Cantilever ซึ่งใช้ เวลาหลายเดือน
เนื่องจาก Pier Head ส่ วนใหญ่ จะมีขนาดใหญ่ มาก แต่ มีพืน้ ที่ในการทางาน
น้ อย จึงนิยมแบ่ งการทางานออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ช่ วง พืน้ ล่ าง (Bottom) ช่ วง
กาแพง (Web) และช่ วงพืน้ บน (Top Slab)
ขั้นตอนการก่ อสร้ าง Pier Head
•ติดตั้ง นั่งร้ าน ตรวจสอบค่ าระยะและค่ าระดับ ให้ ถูกต้ อง ยึดแต่ ละ
ชิ้นส่ วนให้ แน่ นหนา
• ประกอบ Form Work แบบด้ านนอก บนนั่งร้ าน โยงยึดให้ มั่นคงแข็งแรง
ปรับค่ าระดับให้ ถูกต้ อง ตามรู ปแบบ
• ประกอบเหล็กเสริม งานพืน้ ล่ าง กั้นแบบด้ านหน้ าและด้ านหลัง
เทคอนกรีต พืน้ ล่ าง
ติดตั้งนั่งร้ าน ผูกเหล็ก ประกอบแบบ พืน้ ล่ าง
เทคอนกรีต พืน้ ล่ าง
•ประกอบเหล็กเสริม กาแพง ทั้งสองด้ าน และบริเวณกลาง Pier Head
• ประกอบ Form Work แบบใน ของกาแพง คา้ ยันให้ แน่ นหนา กั้นแบบด้ านหน้ า
และด้ านหลัง
• เทคอนกรีต กาแพง จนถึงใต้ พืน้ บน
• ถอดแบบในของกาแพงออก ประกอบ Form Work พืน้ บน
• ประกอบเหล็กเสริมพืน้ บน ติดตั้งท่ อร้ อยลวดสลิง ทางขวาง (Transverse
Tendon)และทางยาว(Longitudinal Tendon) รวมทั้ง หัว Anchorage ตามทีร่ ะบุ
ในรู ปแบบรายการ ,ติดตั้งท่ อ Sleeve ของงาน Form Traveller และงานต่ อเนื่อง
ของงานขั้นต่ อไป เช่ นเหล็ก Dowel ของงาน รางรถไฟ งานราวสะพาน งานระบบ
ระบายนา้ เป็ นต้ น กั้นแบบด้ านหน้ าและด้ านหลัง
• เทคอนกรีต พืน้ บน ปาดแต่ งหน้ าคอนกรีตให้ เรียบร้ อย
ผูกเหล็ก ติดตั้งแบบ กาแพง
ผูกเหล็ก ติดตั้งแบบ กาแพง
เทคอนกรีต กาแพง
ประกอบแบบ พืน้ บน
เทคอนกรีตพืน้ บน
•ทดสอบแรงอัดคอนกรีต ที่ 24 ชั่วโมง
•ร้ อยลวดสลิง และดึงลวดสลิง หลังจากนั้น เกร้ าต์ ท่อสลิงที่ดงึ ลวดแล้ ว
•รื้อแบบForm Work และรื้อนั่งร้ าน
• เตรียมความพร้ อมสาหรับงาน Balanced Cantilever
- ทาความสะอาด ติดตั้งราวกันตก
- ตรวจสอบ ท่ อ Sleeve ที่ฝังไว้
ควบคุมคุณภาพ คอนกรีต
เตรียมความพร้ อม งานติดตั้ง Form Traveller
การตรวจสอบคุณภาพ และการควบคุมงาน
การตรวจสอบคุณภาพ และควบคุมงานจะเป็ นการทางานเหมือนกับ
การตรวจสอบการเทคอนกรีตทัว่ ๆไป เพียงแต่ ทางานบนทีส่ ู งเท่ านั้น จะมี
ความยากลาบากบ้ างในเรื่ อง การกาหนดตาแหน่ ง ,การให้ ค่าระดับในงาน
Survey การตรวจสอบหลักๆที่ควรให้ ความสาคัญคือการยึดแบบ การคา้ ยัน
เพราะถ้ ายึดไม่ ดตี อนเทคอนกรีต และเกิดปัญหาแบบแตกหรื อรั่วจะกลายเป็ น
ปัญหาใหญ่ เนื่องจากอยู่บนทีส่ ู ง เศษปูนหรื อเศษวัสดุทรี่ ่ วงลงมามีอนั ตราย
มาก
ข้ อควรระวังในการทางาน Pier Head
การก่ อสร้ าง Pier Head นั้นขอให้ คานึงไว้ เสมอว่ าเป็ นการทางานกับชิ้นส่ วน
อุปกรณ์ ทีม่ ขี นาดใหญ่ นา้ หนักมาก และทีส่ าคัญเป็ นการทางานอยู่บนทีส่ ู ง
บางขณะในช่ วงเริ่มติดตั้งอาจจะไม่ มีแม้ แต่ ที่ยืนทางานต้ องเกาะอยู่กบั ชิ้นงาน
เพราะฉะนั้นการเตรียมการที่ดี การซักซ้ อมกันก่ อนลงมือทาเป็ นสิ่ งสาคัญ
และต้ องให้ ความสาคัญของความปลอดภัยมาก่ อนเสมอ ทีมงานที่ไม่ มีความ
พร้ อมทั้งร่ างกายและจิตใจไม่ ควรให้ ขนึ้ ทางาน
การก่ อสร้ าง สะพานโดยวิธี คานยื่นสมดุล (Balanced Cantilever
Method ) โดยใช้ Form Traveller

1 การเตรียมงาน Form Traveller


Form Traveller คือชื่ อเรียกของ อุปกรณ์ หรื อเครื่ องมือ ทีเ่ ป็ นตัวหลักในการ
ก่อสร้ าง Segment มีหน้ าที่รับนา้ หนักของ Form Work เหล็กเสริม ,คอนกรีต
และอื่นๆที่ประกอบเป็ น Segment และถ่ ายนา้ หนักทั้งหมดลงบนตัวสะพาน
2. ส่ วนประกอบของ Form Traveller
Form Traveller ประกอบด้ วยชิ้นส่ วนต่ างๆดังนี้
2.1 Main Frame เป็ นชิ้นส่ วนหลัก เพื่อรับนา้ หนักทั้งหมด มี 2 ตัวคู่ขนานกันด้ านบน
2.2 Rail Beam มี 2 ตัวอยู่ใต้ Main Frame ใช้ สาหรับเลื่อน เดินหน้ า หรื อ ถอยหลัง
2.3 Front Transverse Truss ยึดระหว่ าง Main Frame ด้ านหน้ า
2.4 Rare Transverse Truss ยึดระหว่ าง Main Frame ช่ วงกลาง
2.5 Outer Form แบบด้ านนอกของ Segment
2.6 Inner Form แบบด้ านในของ Segment
2.7 Bottom Form แบบด้ านล่ างของ Segment
2.8 Equipment ต่ างๆ
Main Frame

Rare Transverse Truss Front Transverse Truss


Main Frame
Rail Beam
Outer Form Inner Form

Bottom
Equipment
Equipment
3.การติดตั้ง Form Traveller
การติดตั้ง Form Traveller จะเริ่มติดตั้งได้ หลังจากงานก่ อสร้ าง Pier Head
แล้ วเสร็จ และได้ มีการติดตั้ง ท่ อ Sleeve เพื่อที่จะเกาะกับ Pier Head ด้ วย
Stress Bar
3.1 ประกอบ Rail Beam แล้ วยกขึน้ ติดตั้ง ทั้ง 2 ตัว ยึดติดกับ Pier Head
3.2 ประกอบ Main Frame แล้ วยกขึน้ ติดตั้ง ทั้ง 2 ตัว วางบน Rail Beam ยึด
ติดกับ Pier Head
3.3 ประกอบ Truss 2 ตัว ยกขึน้ ติดตั้งกับ Main Frame
3.4 ประกอบ Bottom Form ยกขึน้ ติดตั้งกับ Truss
3.5 ประกอบ Outer Form ยกขึน้ ติดตั้งกับ Truss
3.6 ประกอบ Inner Form ยกขึน้ ติดตั้งกับ Truss
ประกอบอุปกรณ์ ส่วนย่ อยทีเ่ หลือ ติดตั้งจุดยึดให้ ครบ

Sleeve Layout
ขั้นตอนการก่อสร้ าง สะพานโดยวิธี คานยื่นสมดุล (Balanced
Cantilever Method )
ขั้นตอนการเตรียมการและวางแผนก่ อนการก่ อสร้ าง
1.วัสดุที่ใช้ ในการก่ อสร้ าง
- เหล็กเสริม ตามมาตรฐานทีก่ าหนดในแบบ ขนาดรู ปร่ างตามรายการ (Bars List)
- คอนกรีต ส่ วนใหญ่ จะใช้ คอนกรีตกาลังอัดสู ง และได้ กาลังอัดเร็วภายใน 24 ชม.
- ลวดอัดแรงแบบตีเกลียว และอุปกรณ์ ประกอบ
2. เครื่ องจักรที่ใช้ ในการก่ อสร้ าง
- Mobile Crane หรื อ TowerCrane
- Concrete Pump
Segment
งานก่ อสร้ าง Segment
• ตรวจสอบ และศึกษาแบบก่ อสร้ างโดยละเอียด
• ตรวจสอบการยึดเกาะของ Form Traveller (Outer Form & Bottom Form) กรุไม้
อัดดา เก็บรายละเอียดรอยต่ อให้ เรียบร้ อย
• ช่ างสารวจให้ Line และระดับของพืน้ ด้ านล่ าง
• ปรับระดับ และ Line ของ Form Traveller ให้ ได้ ตาม งานสารวจ
• วางเหล็กเสริม ที่พืน้ ด้ านล่ าง และกาแพงทั้ง 2 ด้ าน ตามรายละเอียดในแบบแปลน
• ติดตั้ง Inner Form พร้ อมคา้ ยันอย่ างแน่ นหนาแข็งแรง
• ช่ างสารวจให้ Line และระดับของพืน้ ด้ านบน
• วางเหล็กเสริมของพืน้ ด้ านบน และเหล็กเสริมพิเศษ ของงาน Post Tension
•วางท่ อหุ้มลวดอัดแรงตามตาแหน่ งทีร่ ะบุในแบบและต่ อกันด้ วยข้ อต่ อ ทั้งแนว
ขวางและแนวยาว ( Transverse & Longitudinal Duct)
• ติดตั้งชุดยึดสมอ (Anchorage ) และ ติดตั้งท่ อสาหรับอัดฉีดนา้ ปูน (Grouting)
•ติดตั้งอุปกรณ์ เสริมพิเศษ เช่ น ท่ อระบายนา้ (Gully),Earthing , ท่ อ Sleeve
สาหรับยึดเกาะ Form Traveller และอื่นๆตามแบบแปลน
•ปิ ดรอยต่ อด้ านหน้ า และด้ านข้ าง ของ Segment
•ตรวจสอบค่ าระดับและ Line ซ้าอีกครั้ง
•ตรวจสอบการยึดของ Tie Rod ของแบบข้ าง ทั้งด้ านนอก ด้ านใน ,คา้ ยันของ
แบบล่ างด้ านในต้ อง แข็งแรงพอ
ขั้นตอนการเทคอนกรีต
•ก่ อนการเทคอนกรีต ต้ องทาการตรวจสอบคา้ ยัน จุดล็อคแบบ ให้ แน่ ใจก่ อนที่จะเท
คอนกรีตทุกครั้ง การเทโดยใช้ เครน หรื อ ปั้มคอนกรีต ก็ได้ แต่ ต้องเทครั้งเดียวให้
แล้ วเสร็จ ไม่ มีการ แบ่ งเทโดยเด็ดขาด การจีค้ อนกรีตทาอย่ างสม่าเสมอ ขั้นตอนการ
เทคอนกรีต จะเทพืน้ ล่ างให้ เต็มก่ อน แล้ วทิง้ ไว้ ประมาณ 1 ชม.หรื อให้ คอนกรีตเริ่มเ
Set ตัว จึงเริ่มเทผนังและพืน้ บนจนเสร็จ เนื่องจาก ถ้ าคอนกรีตที่พืน้ ล่ างยังไม่ เซ็ทตัว
แล้วมีการเทผนัง จะทาให้ คอนกรีตทะลักขึน้ มาที่พืน้ ล่ างเนื่องจากไม่ มีแรงต้ าน
ขั้นตอนการตรวจสอบหน้ างาน หลังเทคอนกรีต เพื่อเตรียมการ ดีงลวดอัดแรง
หลังเทคอนกรีตเสร็จต้ องตรวจสอบ หัวดึงลวดสลิง ว่ ามีโพรงหรื อรอยแตกหรื อไม่ ถ้ า
มีต้องรีบซ่ อมแซมทันที และตรวจสอบท่ อ Sleeve ที่ฝังไว้ สาหรับงาน Form Traveller
ต้ องไม่ ตันและตรงดิง่ เสมอ
ขั้นตอนการดึงลวดอัดแรง
โดยใช้ Hydraulic Jack หลังจากเทคอนกรีต แล้ วและ ผลทดสอบลูกปูนได้ ค่าตามที่
กาหนด โดยทั่วไปจะใช้ คอนกรีต กาลังอัด 400- Ksc (Cylinder) และสามารถดึง
ลวดสลิงได้ เมื่อกาลังอัดได้ 70-80 % หลังจากดึงลวดสลิงทั้ง แนวขวาง และตามยาว
แล้ ว จะทาการตัดปลายลวดและปิ ดหัวสลิง พร้ อมทาการเกร้ าท์ ท่อต่ อไป
ผลทดสอบคอนกรีต ที่ 24 ชม.
การดึงลวดสลิง
ขั้นตอนการเลื่อน Form Traveller
หลังจาการดึงลวดสลิงแล้ว พฤติกรรมการรับนา้ หนักของโครงสร้ างจะเปลีย่ น จากที่ Form
Traveller รับนา้ หนักของ Segment แล้ วถ่ ายนา้ หนักลงบนสะพาน จะกลายเป็ น Segment นั้น
เป็ นเนื้อเดียวกับสะพานและเป็ นฝ่ ายรับ นา้ หนักของ Form Traveller แทน ทาให้ สามารถ
เลื่อนออกไปได้ เลยตามขั้นตอนคร่ าวๆดังนี้
• ปรับลด Outer Form และ Inner Form ลง
• ปลด Bar ที่ยดึ ระหว่ าง Rail Beam กับ Segment ออก
• เลื่อน Rail Beam โดยใช้ Launching Jack จน Rail Beam มาถึงจุดทีก่ าหนดบน Segment
ต่ อไป
• ล็อค Rail Beam ปลด Jack หน้ า หลังลง ให้ Main Frame วางอยู่บน Rail Beam
• เลื่อน Main Frame ไปตาแหน่ งของ Segment ต่ อไป ล็อคMain Frame ขึน้ Jack หน้ า-หลัง
ข้ อควรระวังในการทางาน Form Traveller
การทางานของ Form Traveller เป็ นการทางานกับอุปกรณ์ ชิ้นส่ วนที่
ค่ อนข้ างมาก และแต่ ละส่ วนมีความสาคัญเท่ ากัน ดังนั้น การทางานจะต้ อง
คานึงถึง Sequence เป็ นหลักจะข้ ามขั้นตอนไม่ ได้ จุดยึดทุกจุดต้ อง ยึดอย่ าง
ถูกต้ อง ,โซ่ และ Bar ที่ใช้ ควร จะมี การตรวจสอบอย่ างสม่าเสมอ หากมีการ
ชารุดต้ องเปลีย่ นทันที
การติดตามและควบคุมงานก่ อสร้ าง

1 แผนงาน Time - Space Diagram เป็ น Bar


Chart ชนิดหนึง่ โดยให้ แนวตังเป็
้ น เวลา- แนวนอนเป็ น
กิจกรรม ซึง่ สามารถเห็นภาพ หน้ างานได้ ชดั เจนขึ ้น ใช้ ในการ
ติดตาม ควบคุม และปรับการทางาน เพื่อให้ บรรลุตาม
เป้าหมายที่ตงไว้
ั้
2.Casting Curve Control
เป็ นค่ าระดับที่ได้ ออกแบบไว้ และนามาเปรียบเทียบ ปรับใช้ กบั ค่าระดับที่เกิดขึน้ จริงใน
สนาม ซึ่งค่ าที่เกิดขึน้ จริงนั้นได้ มาจากการตรวจสอบค่ าระดับ ก่ อน-หลัง เทคอนกรีต
Segment ทีจ่ ุดเดียวกัน ในเวลาเดียวกัน
ปัจจัยที่ทาให้ เวลาในการทางานเพิม่ ขึน้
(โดยทั่วไปอัตราการทางาน ต่ อ 1 Segment จะอยู่ทปี่ ระมาณ 7-10 วัน)

งาน Form Traveller จะมีผลกระทบในขั้นตอนการ เลื่อน ,การโยงยึด , และ


การปรับแต่ ระดับ
- อุปกรณ์ Hydraulic มีปัญหา
- ท่ อ Sleeve วางไม่ ตรงตาแหน่ ง ,ท่ อตัน,ไม่ ได้ ดงิ่
- การยึดแบบในไม่ ดแี บบแตก ทาให้ เลื่อน Form Traveller ยาก ต้ องสกัดช่ วย
งานคอนกรีต มักจะเกิดขึน้ หลังจากเทคอนกรีตแล้ ว
- Strength Concrete ไม่ ได้ ตามกาหนด ดึงลวดไม่ ได้ เลื่อน Form Traveller
ไม่ ได้
- หัว Anchorage เป็ นโพรง ต้ องรอซ่ อม
- เทคอนกรีตไม่ ดี มีรอยแตกที่ต้องซ่ อมแซม
งานเหล็กเสริม ทั้งในขั้นตอนการ ตัด,ดัด และการประกอบ
- Shop drawing ไม่ ชัดเจนทาให้ ตัดและดัดเหล็กผิด
- มีงานเพิม่ เติม เช่ น Block Out ,Diaphram, Deviater ทาให้ มีการกีดขวางกันของเหล็ก
เสริม
- โรงเหล็กทาเหล็กไม่ ได้ ขนาด ตามต้ องการ ติดตั้งไม่ ได้ หรื อติดตั้งลาบากต้ องแก้ไขหน้ างาน
- ช่ างเหล็กไม่ ชานาญ ประกอบเหล็กช้ า
งาน Post Tension
- ติดตั้งท่ อ Duct ไม่ ได้ เนื่องจากติดงาน เหล็กเสริม
- ท่ อ Duct รั่วมีคอนกรีตเข้ าไป ต้ องสกัดซ่ อมก่อน ร้ อยลวดสลิง
- อุปกรณ์ การดึงลวด ไม่ มีการเตรียมไว้
- สถานที่ดงึ ลวด ไม่ มีความปลอดภัย
การจัดการขั้นตอนการทางาน Balanced Cantilever
การเตรียมงานที่ดี คือส่ วนสาคัญที่จะทาให้ งาน Balanced Cantilever มี
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลสู งสุ ด
1 .เตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่ องจักร เครื่ องมือต่ าง ให้ พร้ อม
•งานเหล็กเสริม จัดทา, แยกขนาด, ชนิด ชัดเจน ต้ องเตรียมล่ วงหน้ า อย่ างน้ อย
1-2 Segment
•เครื่ องจักร Crane, Pump , Hiab ต้ องพร้ อมให้ บริการตลอดเวลา
•คอนกรีต ต้ องมีการทดสอบคุณภาพ ก่ อนการใช้ งาน
• อุปกรณ์ อื่นๆ หรื องานทีต่ ้ องไปกับ Segment เช่ น อุปกรณ์ Grout ,ระบบนา้
• ท่ อ Duct ต่ างๆ
2. ทีมงานพร้ อม ปกติการทางาน Balanced Cantilever จะมีทีมงานประจา อย่ าง
น้ อย 2 ชุด
2.1 ทีมงาน Form Traveller ดูแลการติดตั้ง,ปรับระดับ ,การยึดเกาะกับ
โครงสร้ าง,การเลื่อน ไปเข้ า Segment ต่ อไป
2.2 ทีมงานโครงสร้ าง ดูแล งานเหล็ก ไม้ แบบ คอนกรีต
ในส่ วน ทีมงาน Post Tension และอุปกรณ์ เครื่ องมือ ต่ างๆ จะเข้ ามาสนับสนุนใน
ขั้นตอนการ ติดตั้ง ท่ อร้ อยลวดสลิง ในขั้นตอนก่ อน เท คอนกรีต และจะเข้ ามา
อีกครั้ง หลังจากเทคอนกรีตแล้ ว เพื่อร้ อยลวดสลิง ,ดึงลวดสลิง, และ Grouting
ทุกทีมงาน ควรจะต้ องมี ความชานาญ ในการทางาน ความเข้ าใจในรู ปแบบ
รายละเอียด เป็ นอย่ างดี
ความปลอดภัยในการทางาน
การทางานบน Form Traveller เป็ นการทางานบนทีส่ ู ง ซึ่งจะเป็ นอันตรายสาหรับผู้
ทีไ่ ม่ มีความพร้ อม หรื อเป็ นโรคกลัวความสู ง

ดังนั้น ผู้ทจี่ ะทางานต้ องมีความพร้ อมทั้งทางร่ างกายและจิตใจ และควรทาความ


เข้ าใจกับระบบความปลอดภัยก่ อน
1.สร้ างความเข้ าใจและตระหนักถึงอันตรายทีจ่ ะเกิดขึน้ ทุกคนต้ องตระหนักถึง
อันตรายในการทางานบนทีส่ ู ง
2. จัดเตรียมอุปกรณ์ ป้ องกัน ส่ วนตัว เมื่อขึน้ ไปทางานบน Form Traveller หรื อ
Pier Head ต้ องระมัดระวังการยืนในบริเวณที่เสี่ ยงต่ อการตก
3. ติดตั้งอุปกรณ์ ป้องกัน การตก ด้ านบนทุกด้ านให้ มีการติดตั้งราวกันตกเป็ นราว
เหล็ก ยึดติดกับพืน้
ให้ แน่ นหนา มีขอบพืน้ กันของร่ วง ( Toe Board) ทาด้ วยไม้ อดั ยึดกับราวกันตก
และรอบนอกของราวกันตก ให้ ติดตั้ง Safety Net ส่ วนการทางานถ้ าหากมีการ
เชื่ อมหรื อตัด ทีม่ ปี ระกายไฟ ต้ องมีผ้าใบกันไฟป้ องกันทุกครั้ง และมีถังดับเพลิง
เตรียมไว้ ที่หน้ างานตลอดเวลา
4. ติดตั้งอุปกรณ์ ป้องกันที่ Form Traveller และ ด้ านล่ างของ Form
Traveller หรื อ Bottom ให้ ติดโครง เหล็กกรุด้วยไม้ อดั ให้ แน่ นหนา ไม่ ให้ มี
เศษ วัสดุร่วงลงไปได้ ด้ านข้ างให้ มรี าวกันตกกรุด้วยไม้ อดั อย่ างหนาทุกด้ านห่ อหุ้ม
ด้ วย Safety Net และตาข่ ายอวนอีกชั้นหนึ่ง ด้ านล่ างของ Bottom
หุ้มด้ วย Safety Net และตาข่ ายอวน เช่ นกัน
5.จัดเตรียม อุปกรณ์ ตดิ ตั้ง กระเช้ าและราวกันตก ของงาน Post Tension ติดตั้ง
กระเช้ าเพื่อการดึง ลวดสลิง มีราวกันตกและ Safety Net
6. ทา House Keeping , 5 ส . ทุกครั้งทีม่ กี ารทางานบนทีส่ ู ง ให้ แต่ ละทีมทาการ
เก็บกวาด ทาความสะอาดพืน้ ที่ทางานของตนเองก่ อนที่จะเลิกงานทุก ครั้ง เพื่อลด
โอกาสทีข่ องจะหล่ นลงมา ให้ น้อยทีส่ ุ ด รวมทั้งมีการใช้ มาตรการ 5 ส อย่ างสม่าเสมอ
7. ปิ ดกั้นพืน้ ที่ขณะทางานยกของ ในการทางานบางครั้งต้ องมีการยกของขึน้ ทีส่ ู ง
โดยเฉพาะในพืน้ ทีช่ ุมชน ทีการจราจรคับคัง่ ต้ องทาการปิ ดกั้นพืน้ ทีไ่ ม่ ให้ ผู้ที่ไม่
เกีย่ วข้ องเข้ ามาได้
8. จัดบุคลากร ในการรับผิดชอบ ดูแลพืน้ ที่ โดยแบ่ งหน้ าทีใ่ นการดูแลพืน้ ที่ให้
แต่ ละทีมมีส่วนรับผิดชอบ และมีผู้เข้ าไปตรวจสอบความเรียบร้ อยอย่ างสม่าเสมอ
9. หลีกเลีย่ ง การทางานในสภาพเสี่ ยง เช่ น ฝนตก ลมแรง ให้ หัวหน้ าทีมพิจารณา ถ้ า
เห็นว่ าเป็ นการเสี่ ยงสามารถแจ้ งให้ ลูกทีมลงมาด้ านล่ างได้
10. จากัดสิ่ งของ ที่อาจก่ ออันตราย หรื อจะก่ อให้ เกิดขยะ โดยห้ ามนาขึน้ ไปข้ างบน
เช่ น บุหรี่ ,ขวดเครื่ องดื่มชู กาลัง ,นมกล่ อง เป็ นต้ น
11.จัดทา ระบบการบริการความปลอดภัยในการก่อสร้ าง (Safety Management )
-อันตรายในการก่ อสร้ างและแนวทางป้ องกัน (วิเคราะห์ ปัญหาและแนวทาง)
-ระบบการจัดการความปลอดภัย (ขอบเขต,นโยบาย,องค์ กร-หน้ าที่,กฏระเบียบ)
- การจัดทาแผนปฏิบัติงานความปลอดภัย (คู่มือ,บอร์ ดนโยบาย,อบรม)
- การตรวจสอบและติดตามผล
- การรายงานผลการดาเนินการ
ระบบความปลอดภัย
โครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียวเหนือ
ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต
รฟม
โครงการรถไฟฟ้ าสายสีเขียวเหนือ
ช่วงหมอชิต-สะพานใหม่-คูคต
ั ญาที่ 1 งานโยธาชว่ งหมอชต
สญ ิ -สะพานใหม่

แผนงานก่อสร้างทางวิง่ รถไฟฟ้า
บริเวณห้าแยกลาดพร้าว

บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จากัด (มหาชน)


General Information

ข้อมูลทว่ ั ไปของโครงสร้างทางวิง่ รถไฟฟ้าข้ามดอนเมืองโทล์เวย์ บริเวณห้าแยกลาดพร้าว

 ความยาวรวม : 401 เมตร


 จานวนช่วงเสา : 6 ช่วงเสา (span)
 โครงสร้าง : สะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก เสริมลวดอัดแรง ก่อสร้างด้วยวิธีคานยื่นสมดุล
(Balanced Cantilever)

รูป
การก่อสร้างด้วยวิธี
คานยืน
่ สมดุล (Balanced Cantilever)
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Construct Piers
Don Muang Toll way

Stage 1

Cast Pier Segment and


stress cantilever tendon

Don Muang Toll way

Stage 2
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

• Erect Traveler Form


• cast segment
• Stress Tendon

Don Muang Toll way

Stage 3 • Erect Traveler Form


• cast segment
• Stress Tendon

Don Muang Toll way

Stage 4
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Don Muang Toll way

Launch Traveler Form both


Stage 5 direction and cast next segment
Stress Tendon

Don Muang Toll way

Launch Traveler Form both


direction and cast next segment
Stage 6 Stress Tendon
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Don Muang Toll way

Launch Traveler Form both


Stage 7 direction and cast next segment
Stress Tendon

Don Muang Toll way

Launch Traveler Form both


direction and cast next segment
Stage 8 Stress Tendon
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Install Suspension Falsework


Cast Key Segment
Stress Tendon

Don Muang Toll way

Stage 9

Don Muang Toll way

Launch Falsework
Stage 10 Cast next segment
Stress Tendon
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

่ งข้าม ดอนเมืองโทลเวย์
ชุด Form traveler ขณะทางานชว
P-14

P-15
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

่ งข้าม ดอนเมืองโทลเวย์
มาตราการป้องก ันขณะทางานชว
การป้ องกันวัสดุตกหล่นและน้ าปูน

- ด ้านล่าง ปูไม ้อัดเต็ม และผ ้าใบ & Safety net


- ด ้านข ้างโดยรอบกันด ้วย ผ ้าใบและ Safety net
- การสง่ ของหรืออุปกรณ์สง่ ขึน ้ ทีต
่ าแหน่งของ เสา
- เก็บวัสดุ และอุปกรณ์ทท ี่ างานไม่ให ้ปลิวออกมา

การตรวจสอบขณะทางาน

- การเลือ
่ นชุด Form traveler ตรวจสอบชุด Lock และจัดให ้มี Engineer
และ Safety คอยดูแลอย่างใกล ้ชด ิ
- หลังการเลือ
่ นชุด Form traveler แล ้วทาการ Lock Form traveler และ
ตรวจสอบทุกครัง้ โดย เจ ้าหน ้าที่ Safety
- ตรวจสอบการทางานของชุดป้ องกันให ้อยูใ่ นสภาพดี
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

ชุด Form Traveler


ชุด Lock Form Traveler

ราง &
ชุด Lock ราง ชุด Form Work

Safety net &


ผ้าใบก ันนา้ ปูน
Safety net & แผ่นทึบ
รอบทุกด้าน
ก ัน ด้านข้าง
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Safety net & แผ่นทึบ


Safety net & แผ่นทึบ ก ัน ด้านข้าง
ก ัน ด้านข้าง

ปูไม้อ ัด
้ ที่
เต็มพืน
Safety net &
ผ้าใบก ันนา้ ปูน

Safety net &


ผ้าใบก ันนา้ ปูน
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Safety net & แผ่นทึบ Safety net & แผ่นทึบ


ก ัน ด้านข้าง ก ัน ด้านข้าง

ปูไม้อ ัด
้ ที่
เต็มพืน

Safety net &


ผ้าใบก ันนา้ ปูน
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Safety net & แผ่นทึบ


Safety net & แผ่นทึบ
ก ัน ด้านข้าง
ก ัน ด้านข้าง

Segment
ทีไ่ ด้เทแล้ว

Safety net &


ผ้าใบก ันนา้ ปูน
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Safety net & แผ่นทึบ


ชุด Lock Form Traveler ก ัน ด้านข้าง

ชุด Lock ราง

Segment
ทีไ่ ด้เทแล้ว

Safety net & แผ่นทึบ


ก ัน ด้านข้าง
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

ชุด Lock
Form Traveler

ชุด Lock ราง

Safety net & แผ่นทึบ


ก ัน ด้านข้าง
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

ชุด Lock Form Traveler


ชุด Lock ราง
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

ชุด Lock Form traveler และชุด Lock ราง


การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

้ ทีด
ปูไม้อ ัดเต็ม พืน ่ า้ นล่าง
Safety net & ปูไม้อ ัดเต็มด้านใต้ ผ้าใบก ันนา้ ปูน
การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Segment ทีไ่ ด้เทไปแล้ว


การก่อสร้างด้วยวิธค
ี านยืน
่ สมดุล (Balance Cantilever)

Segment ทีไ่ ด้เทไปแล้ว


แสดงจุดนาวัสดุ ขึ ้น-ลงขณะก่อสร้ าง Pier Head และ Balance Cantilever ณ จุดข้ ามทางยกระดับดอนเมือง

MRT Pier 15 รถส่งคอนกรี ต


รถบรรทุก จุดขนส่งวัสดุขึ ้น-ลง
จุดขนส่งวัสดุขึ ้น-ลง
รัว้ ก่อสร้ าง
Balance Cantilever
ถ.วิภาวดี ขาออก ขอบทางยกระดับ

ทางยกระดับ ดอนเมืองโทลล์เวย์ ขาออก


ทางยกระดับ ดอนเมืองโทลล์เวย์ ขาเข้ า
ขอบทางยกระดับ
ถ.วิภาวดี ขาเข้ า
Balance Cantilever MRT Pier 14
จุดขนส่งวัสดุขึ ้น-ลง จุดขนส่งวัสดุขึ ้น-ลง
รถบรรทุก รถส่งคอนกรี ต

รัว้ ก่อสร้ าง
แสดงการลาเลียงคอนกรีต นา้ กระแสไฟฟ้ า

Toll way Toll way


Out bound In bound

Pump
Italian -
Thai

You might also like