Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 61

ความสัมพันธ์

และฟังก์ชนั
พื้นฐาน

6 Oct 2021
สารบัญ

คูอ่ นั ดับ ..................................................................................................................................................................................... 1


ผลคูณคาร์ทีเซียน ..................................................................................................................................................................... 3
ความสัมพันธ์............................................................................................................................................................................ 6
กราฟของความสัมพันธ์......................................................................................................................................................... 10
รูปกราฟที่ควรจา ................................................................................................................................................................... 14
กราฟของอสมการ ................................................................................................................................................................. 16
โดเมน และ เรนจ์ ................................................................................................................................................................... 21
โดเมนและเรนจ์ จากกราฟ .................................................................................................................................................... 27
ฟั งก์ชนั ................................................................................................................................................................................... 29
สัญลักษณ์แทนฟั งก์ชนั ......................................................................................................................................................... 34
ฟั งก์ชนั เชิงเส้น ....................................................................................................................................................................... 41
ฟั งก์ชนั กาลังสอง ................................................................................................................................................................... 42
ฟั งก์ชนั ขัน้ บันได .................................................................................................................................................................... 53
ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล ....................................................................................................................................................... 54
ฟังก์ชนั 1

คูอ่ นั ดับ

คูอ่ นั ดับ คือ การนาสองสิง่ มาเขียนเป็ นคูอ่ ย่างมีลาดับ เช่น (3, 2) , (−1, 0) , ( 32 , 𝑎) , (สมชาย, 5) เป็ นต้น
การสลับตาแหน่งของค่าในคูอ่ นั ดับ จะทาให้กลายเป็ นคนละอัน กล่าวคือ (3, 2) ≠ (2, 3)
กล่าวคือ คูอ่ นั ดับ 2 คู่ จะเท่ากันได้ ก็เมื่อ สมาชิกตัวหน้าเท่ากัน และ สมาชิกตัวหลังเท่ากัน

ตัวอย่าง จงหาค่า 𝑥 และ 𝑦 ที่ทาให้ (3, 𝑥 + 𝑦) = (𝑦 + 1, 5𝑦)


วิธีทา คูอ่ นั ดับจะเท่ากันได้ เมื่อสมาชิกตัวหน้าเท่ากัน และสมาชิกตัวหลังเท่ากัน
(3, 𝑥 + 𝑦) = (𝑦 + 1, 5𝑦)

3 = 𝑦+1 𝑥 + 𝑦 = 5𝑦
2 = 𝑦 𝑥 + 2 = 10
𝑥 = 8

ดังนัน้ คาตอบ คือ 𝑥=8 และ 𝑦=2 #

ตัวอย่าง จงหาค่า 𝑥 และ 𝑦 ที่ทาให้ (3𝑥, 2𝑦 + 1) = (8 − 2𝑦, 2𝑥 − 𝑦)


วิธีทา ข้อนีท้ าเหมือนเดิม เพียงแต่สมการยุง่ ขึน้
นั่นคือ จะได้ 3𝑥 = 8 − 2𝑦 และ 2𝑦 + 1 = 2𝑥 − 𝑦
3𝑥 = 8 − 2𝑦 จัดรูปได้เป็ น 3𝑥 + 2𝑦 = 8 (1)
2𝑦 + 1 = 2𝑥 − 𝑦 จัดรู ปใหม่ ได้เป็ น 2𝑥 − 3𝑦 = 1 (2)
2 × (1): 6𝑥 + 4𝑦 = 16 (3)
3 × (2): 6𝑥 − 9𝑦 = 3 (4)
(3) − (4): 13𝑦 = 13
𝑦 = 1
(1): 3𝑥 + 2 = 8
3𝑥 = 6
𝑥 = 2
ดังนัน้ คาตอบ คือ 𝑥=2 และ 𝑦=1 #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาค่า 𝑥 และ 𝑦 ที่ทาให้คอู่ นั ดับต่อไปนีเ้ ท่ากัน
1. (𝑥 , 𝑥 − 𝑦) = (2𝑥 − 3 , 𝑥 + 𝑦)
2 ฟั งก์ชนั

2. (2𝑥 − 𝑦 , 𝑥 + 2𝑦) = (−4 , 1 + 𝑦)

2. ถ้า 𝐴 = {(1, 1), (1, 2), (1, 3)} , 𝐵 = {(1, 1), (2, 1), (3, 1)} จงหา 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵)

3. ถ้า 𝐴 = {(1, (1, 1)), (1, (1, 2)), (2, (1, 1))} , 𝐵 = {((1, 1), 1), ((1, 2), 1), ((2, 1), 1)}
จงหา 𝑛(𝐴 ∪ 𝐵)
ฟังก์ชนั 3

ผลคูณคาร์ทีเซียน

“ผลคูณคาร์ทีเซียน” ระหว่าง เซต 𝐴 กับ เซต 𝐵 แทนได้ดว้ ยสัญลักษณ์ 𝐴 × 𝐵


หมายถึง “เซตของคูอ่ นั ดับ” ทัง้ หมดที่ “ตัวหน้ามาจาก 𝐴” และ “ตัวหลังมาจาก 𝐵”
เช่น {1, 2, 3} × {𝑎, 𝑏} = {(1, 𝑎), (1, 𝑏), (2, 𝑎), (2, 𝑏), (3, 𝑎), (3, 𝑏)}
{𝑎, 𝑏} × {𝑎, 𝑏} = {(𝑎, 𝑎), (𝑎, 𝑏), (𝑏, 𝑎), (𝑏, 𝑏)}
{𝑎, 𝑏} × {0, 1} = {(𝑎, 0), (𝑎, 1), (𝑏, 0), (𝑏, 1)}
{0, 1} × {𝑎, 𝑏} = {(0, 𝑎), (0, 𝑏), (1, 𝑎), (1, 𝑏)}
{1, 2} × {𝑎, {𝑎}} = {(1, 𝑎), (1, {𝑎}), (2, 𝑎), (2, {𝑎})}
{1, 2, 3} × { } = {}
{1, 2, 3} × { { } } = {(1, { }), (2, { }), (3, { })}

ปกติแล้ว 𝐴 × 𝐵 จะไม่เท่ากับ 𝐵 × 𝐴
เพราะลาดับก่อนหลังในคูอ่ นั ดับมีความสาคัญ กล่าวคือ (𝑏, 1) ≠ (1, 𝑏)
อย่างไรก็ตาม 𝐴 × 𝐵 อาจเท่ากับ 𝐵 × 𝐴 ได้ ในกรณีที่ 𝐴 = ∅ หรือ 𝐵 = ∅ หรือ 𝐴=𝐵

จะเห็นว่า 𝐴 × 𝐵 จะมีจานวนสมาชิก = จานวนสมาชิกใน 𝐴 × จานวนสมาชิกใน 𝐵


ซึง่ เขียนเป็ นสัญลักษณ์ได้วา่ 𝑛(𝐴 × 𝐵) = 𝑛(𝐴) ∙ 𝑛(𝐵)
เช่น ถ้า 𝐴 มีสมาชิก 4 ตัว และ 𝐵 มีสมาชิก 9 ตัว แล้ว 𝐴 × 𝐵 จะมีสมาชิก 4 × 9 = 36 ตัว เป็ นต้น

และสุดท้ายที่ควรรู ้ (แต่ไม่ตอ้ งจา) คือ ผลคูณคาร์ทีเซียน สามารถกระจายใน ∪ , ∩ และ − ได้ กล่าวคือ


𝐴 × (𝐵 ∪ 𝐶) = (𝐴 × 𝐵) ∪ (𝐴 × 𝐶)
𝐴 × (𝐵 ∩ 𝐶) = (𝐴 × 𝐵) ∩ (𝐴 × 𝐶)
𝐴 × (𝐵 − 𝐶) = (𝐴 × 𝐵) − (𝐴 × 𝐶)

ตัวอย่าง จงหาจานวนสมาชิกของ {{1, 3}, { }} × {1, {1}, {1, {2}}} พร้อมทัง้ เขียนผลลัพธ์
วิธีทา ก่อนอื่น ต้องรูก้ ่อนว่าเซตทีม่ าคูณกัน มีสมาชิกกี่ตวั อะไรบ้าง
{{1, 3}, { }} มีสมาชิก 2 ตัว คือ {1, 3} และ { }
{1, {1}, {1, {2}}} มีสมาชิก 3 ตัว คือ 1 และ {1} และ {1, {2}}
ดังนัน้ ผลคูณของสองเซตนี ้ จะต้องมีสมาชิก 2 × 3 = 6 ตัว
{1, 3} 1
ซึง่ จะวาดเป็ นแผนภาพการจับคูไ่ ด้เป็ น {1}
{} {1, {2}}

ดังนัน้ ผลคูณ = { ({1, 3}, 1) , ({1, 3}, {1}) , ({1, 3}, {1, {2}}) ,
( { } , 1) , ( { } , {1}) , ( { }, {1, {2}}) } #
4 ฟั งก์ชนั

แบบฝึ กหัด
1. จงหาจานวนสมาชิกในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. {𝑎, 𝑏, 𝑐} × {𝑎, 𝑐} 2. {1, 2, 3, … , 10} × {1, 2, 3, … , 10}

3. {1, 2} × {1, {2, 3}} 4. {1, {1}, {1, 2}} × {{1, 2}}

5. {สมชาย , สมปอง} × {สมหญิง , สมชาย} 6. {1, 2} × {1, (2, 3)}

2. จงหาผลคูณคาร์ทีเซียนต่อไปนี ้
1. {𝑎, 𝑏, 𝑐} × {𝑎, 𝑐} 2. {1, {2}} × {2, {1}}

3. {สมชาย , สมปอง} × {สมชาย} 4. {1, 2} × {1, (2, 3)}

3. ข้อใดถูกต้อง
1. (𝑎, 2) ∈ {𝑎, 𝑏, 𝑐} × {1, 2, 3} 2. (𝑎, 2) ∈ {𝑎, 2, 𝑐} × {1, 𝑏, 3}

3. (𝑎, 2) ∈ {1, 𝑏, 3} × {𝑎, 2, 𝑐} 4. (𝑎, 2) ∈ {𝑎, 2, 𝑐} × {𝑎, 2, 𝑐}


ฟังก์ชนั 5

4. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2} และ 𝐵 = {𝑎, 𝑏} คูอ่ นั ดับในข้อใดต่อไปนี ้ เป็ นสมาชิกของผลคูณคาร์ทีเซียน 𝐴 × 𝐵


[O-NET 52/12]
1. (2, 𝑏) 2. (𝑏, 𝑎) 3. (𝑎, 1) 4. (1, 2)
6 ฟั งก์ชนั

ความสัมพันธ์

ความสัมพันธ์ คือ ความเกี่ยวข้องกัน ระหว่างกลุม่ สองกลุม่


เช่น ความสัมพันธ์ “แอบชอบ” จาก กลุม่ ผูช้ าย ซึง่ ประกอบด้วย สมชาย สมหวัง สมปอง และ สมบัติ
ไปยัง กลุม่ ผูห้ ญิง ซึง่ ประกอบด้วย สมหญิง สมศรี และสมหมาย
โดย สมชาย แอบชอบ สมหญิง
สมหวัง แอบชอบ สมหญิง สมชาย
สมหญิง
สมหวัง
และ สมบัติ แอบชอบ สมศรีและสมหญิง สมศรี
สมปอง
เราจะสามารถเขียนแผนภาพความสัมพันธ์ “แอบชอบ” สมหมาย
สมบัติ
จากกลุม่ ผูช้ าย ไปยังกลุม่ ผูห้ ญิง ได้ดงั รูป

สิง่ ที่ตอ้ งระวังคือ ความสัมพันธ์สว่ นใหญ่ “สลับที่ไม่ได้”


นั่นคือ การที่ สมชาย แอบชอบ สมหญิง ไม่ได้แปลว่า สมหญิง แอบชอบ สมชาย

และในบางกรณี กลุม่ หน้า กับ กลุม่ หลัง อาจเป็ นกลุม่ เดียวกันได้ดว้ ย


สมชาย สมชาย
เช่น ในการแข่งขันชกมวยแบบแบทเทิลรอยัล ในกลุม่ ผูช้ าย
สมหวัง สมหวัง
พบว่า สมชาย ชกโดน สมหวังและสมบัติ สมปอง สมปอง
และ สมบัติ ชกโดนสมปอง สมบัติ สมบัติ
จะสามารถเขียนแผนภาพได้กลุม่ หน้ากับกลุม่ หลังเป็ นกลุม่ เดียวกัน ดังรูป
ในกรณีที่ กลุม่ หน้ากับกลุม่ หลังเป็ นกลุม่ เดียวกัน เราจะเรียกว่า ความสัมพันธ์ “ในกลุม่ ” หรือ “บนกลุม่ ”

ในเรือ่ งนี ้ เรานิยมใช้สญ


ั ลักษณ์ 𝑟 เป็ นตัวแปรแทนความสัมพันธ์
เช่น ความสัมพันธ์ “แอบชอบ” จะแทนด้วย 𝑟แอบชอบ
ความสัมพันธ์ “ชกโดน” จะแทนด้วย 𝑟ชกโดน

นอกจากการวาดเป็ นแผนภาพแล้ว เรายังสามารถใช้ “เซตของคูอ่ นั ดับ” มาช่วยเขียนความสัมพันธ์ได้ดว้ ย


โดย คูอ่ นั ดับ (𝑥, 𝑦) จะมีความหมายว่า 𝑥 สัมพันธ์กบั 𝑦
เช่น 𝑟แอบชอบ = {(สมชาย, สมหญิง), (สมหวัง, สมหญิง), (สมบัติ, สมหญิง), (สมบัติ, สมศรี)}
𝑟ชกโดน = {(สมชาย, สมหวัง), (สมชาย, สมบัติ), (สมบัต,ิ สมปอง)}

โดยเราสามารถเขียนเซตเหล่านี ้ “แบบบอกเงื่อนไข” ได้ดว้ ย


เช่น 𝑟แอบชอบ = {(𝑥, 𝑦) | 𝑥 แอบชอบ 𝑦}
𝑟ชกโดน = {(𝑥, 𝑦) | 𝑥 ชกโดน 𝑦}

และ เราสามารถใช้ผลคูณคาร์ทีเซียน เพื่อช่วยบอกขอบเขตของความสัมพันธ์ได้ดว้ ย


เช่น 𝑟แอบชอบ = {(𝑥, 𝑦) ∈ เซตของผูช้ าย × เซตของผูห้ ญิง | 𝑥 แอบชอบ 𝑦}
เอาเฉพาะ 𝑥 ในกลุม่ ผูช้ าย มาสัมพันธ์กบั 𝑦 ในกลุม่ ผูห้ ญิง
ฟังก์ชนั 7

𝑟ชกโดน = {(𝑥, 𝑦) ∈ เซตของผูช้ าย × เซตของผูช้ าย | 𝑥 ชกโดน 𝑦}


เอาเฉพาะ 𝑥 ในกลุม่ ผูช้ าย มาสัมพันธ์กบั 𝑦 ในกลุม่ ผูช้ าย

อย่างไรก็ตาม ความสัมพันธ์ทเี่ ราจะเจอในเรือ่ งนี ้ ส่วนใหญ่จะเป็ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลข


เช่น 𝑟ยกกาลังสอง จาก N ไปยัง R = { (𝑥, 𝑦) ∈ N × R | 𝑥 2 = 𝑦 }
= { (1, 1), (2, 4), (3, 9), … }
𝑟มากกว่า จาก I ไปยัง N = { (𝑥, 𝑦) ∈ I × N | 𝑥 > 𝑦 }
= { (2, 1), (3, 1), (3, 2), (4, 1), (4, 2), (4, 3), … }
𝑟หารลงตัว บน N = { (𝑥, 𝑦) ∈ N × N | 𝑥 หาร 𝑦 ลงตัว }
= { (1, 1), (1, 2), (1, 3), … , (2, 2), (2, 4), (2, 6), …, (3, 3), (3, 6), (3, 9), … }

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4, 5} , 𝐵 = {3, 4, 5, 6, 7} จงเขียนความสัมพันธ์ “บวกกันได้ 6” จาก 𝐵


ไปยัง 𝐴 ทัง้ แบบแจกแจงสมาชิก และแบบบอกเงื่อนไข
วิธีทา ข้อนี ้ ระวังให้ดี โจทย์ตอ้ งการความสัมพันธ์ จาก 𝐵 ไปยัง 𝐴 ดังนัน้ ต้องเอา 𝐵 ขึน้ ก่อน
1
จะเห็นว่า 3+3=6 3
2
4
4+2=6 5 3
6 4
และ 5+1=6 7 5

ดังนัน้ เขียนความสัมพันธ์แบบแจกแจงได้เป็ น 𝑟 = { (3, 3), (4, 2), (5,1) }


และ เขียนแบบบอกเงื่อนไขได้เป็ น 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ B × A | 𝑥 + 𝑦 = 6 } #

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ A = {1, 2, 3, … , 10} , 𝐵 = {2, 4, 6, … , 20} จงเขียนความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้ แบบแจกแจงสมาชิก
1. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑦 = 3𝑥} 2. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑦 = 3𝑥 − 1}

3. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 = 3𝑥} 4. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐵 | 𝑦 < 𝑥 − 15}


8 ฟั งก์ชนั

𝑥
5. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 > 2𝑥 + 5} 6. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐵 | 𝑦 = 3
+ 𝑥}

7. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑦 = |𝑥 − 5|} 8. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐴 | 𝑦 = 6𝑥 − 1}

9. 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐵 × 𝐴 | 𝑥 − 𝑦 = −1}

2. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3, 4, 5, 6}
𝐵 = {1, 2, 3, … , 11, 12}
𝑎
𝑆 = {(𝑎, 𝑏) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑏 = 2𝑎 + 2}
จานวนสมาชิกของ 𝑆 เท่ากับเท่าไร [O-NET 51/7]

3. ถ้า 𝐴 = {1, 2, 3, 4} และ 𝑟 = {(𝑚, 𝑛) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑚 ≤ 𝑛} แล้ว จานวนสมาชิกในความสัมพันธ์ 𝑟 เท่ากับ


เท่าไร [O-NET 50/9]
ฟังก์ชนั 9

4. กาหนดให้ 𝐴 = {1, 2, 3} และ 𝐵 = {2, 3, 5}


ถ้า 𝑟 = { (𝑎, 𝑏) ∈ 𝐴 × 𝐵 | 𝑎 ≥ 𝑏 − 1 } แล้ว 𝑟 มีจานวนสมาชิกกี่ตวั [O-NET 57/33]

5. กาหนดให้ 𝑛(𝐴) แทนจานวนสมาชิกของเซต 𝐴


ถ้า 𝑟1 = {(−1, − 2), (0, − 1), (1, 2), (2, − 3), (3, 4)}
และ 𝑟2 = {(𝑥, 𝑦) | |𝑦 + 1| = 𝑥} แล้ว 𝑛(𝑟1 ∩ 𝑟2 ) เท่ากับเท่าใด [O-NET 49/2-10]

6. ขบวนพาเหรดรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้าขบวนหนึง่ ประกอบด้วยผูเ้ ดินเป็ นแถว แถวละเท่าๆกัน (มากกว่า 1 แถว และแถวละ
มากกว่า 1 คน) โดยมีเฉพาะผูอ้ ยูร่ มิ ด้านนอกทัง้ สีด่ า้ นของขบวนเท่านัน้ ที่สวมชุดสีแดง ซึง่ มีทงั้ หมด 50 คน ถ้า 𝑥
คือจานวนแถวของขบวนพาเหรด และ 𝑁 คือจานวนคนที่อยูใ่ นขบวนพาเหรดแล้ว ข้อใดถูกต้อง [O-NET 53/15]
1. 31𝑥 − 𝑥 2 = 𝑁 2. 29𝑥 − 𝑥 2 = 𝑁
3. 27𝑥 − 𝑥 2 = 𝑁 4. 25𝑥 − 𝑥 2 = 𝑁

7. กัลยามีธุรกิจให้เช่าหนังสือ เธอพบว่า ถ้าคิดค่าเช่าหนังสือเล่มละ 10 บาท จะมีหนังสือถูกเช่าไป 100 เล่มต่อวัน แต่


ถ้าเพิม่ ค่าเช่าเป็ น 11 บาท จานวนหนังสือที่ถกู เช่าจะเป็ น 98 เล่มต่อวัน และถ้าเพิ่มค่าเช่าเป็ น 12 บาท จานวน
หนังสือที่ถกู เช่าจะเป็ น 96 เล่มต่อวัน กล่าวคือ จานวนหนังสือที่ถกู เช่าต่อวันจะลดลง 2 เล่มทุกๆ 1 บาทของค่าเช่าที่
เพิ่มขึน้ ถ้า 𝑥 คือจานวนเงินส่วนทีเ่ พิ่มขึน้ ของค่าเช่าต่อเล่ม และ 𝑦 คือรายได้จากค่าเช่าหนังสือต่อวัน (หน่วย : บาท)
แล้ว จงหาสมการแสดงรายได้ตอ่ วันจากธุรกิจนีข้ องกัลยา [O-NET 56/10]
10 ฟังก์ชนั

กราฟของความสัมพันธ์

ในหัวข้อที่ผา่ นมา เราได้เรียนวิธีในการเขียนความสัมพันธ์ ไป 3 วิธี


ซึง่ ได้แก่ แผนภาพการจับคู่ , เซตแจกแจงคูอ่ นั ดับ , และ เซตแบบบอกเงื่อนไข
ในกรณีที่เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลข เรายังเขียนความสัมพันธ์โดยใช้ “กราฟ” บนระนาบ X-Y ได้ดว้ ย
โดยถ้า 𝑎 สัมพันธ์กบั 𝑏 ก็จะมีจดุ (𝑎, 𝑏) อยูบ่ นกราฟของความสัมพันธ์

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝐴 = {−2, −1, 0, 1, 2} จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 = 𝑥 + 1}


วิธีทา ข้อนี ้ (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 ดังนัน้ 𝑥 ∈ 𝐴 และ 𝑦 ∈ 𝐴 โดย 𝑥 จะสัมพันธ์กบั 𝑦 เมื่อ 𝑦 = 𝑥 + 1
ดังนัน้ เขียน 𝑟 แบบแจกแจงสมาชิกได้เป็ น 𝑟 = {(−2, −1), (−1, 0), (0, 1), (1, 2)}
ซึง่ จะเขียนกราฟได้

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 𝑥 + 1}


วิธีทา ข้อนีส้ มการเหมือนกับข้อที่แล้ว คือ 𝑦 = 𝑥 + 1 ต่างกันตรงที่คราวนี ้ 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นอะไรก็ได้ใน R
นั่นคือ ข้อนี ้ 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นเศษส่วน ทศนิยม ติดรูท ได้หมด ขอแค่ 𝑦 = 𝑥 + 1
ดังนัน้ ข้อนีจ้ ะมีจดุ อื่นๆ ที่พิกดั 𝑥 , 𝑦 เป็ นทศนิยม แทรกอยูร่ ะหว่าง 4 จุดจากข้อที่แล้ว
เช่น (−2.9, −1.9) , (−2.8, −1.8) , (−2.75, −1.75) , (−2.722, −1.722), …

ถ้านาจุดเหล่านีไ้ ปพล็อตกราฟ
จะเห็นว่าจุดจะเรียงเป็ นตับ เกิดเป็ น “เส้น”

ซึง่ จะได้กราฟของความสัมพันธ์ ดังรูป #

ในกรณีที่เป็ นความสัมพันธ์ ใน R เราสามารถละ {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | … } ในฐานทีเ่ ข้าใจได้


เช่น ถ้าโจทย์พดู ถึง “ความสัมพันธ์ 𝑦 = 𝑥 + 1” โดยไม่บอกขอบเขตอะไรมาให้
ก็ตอ้ งรู ้ ว่าหมายถึงความสัมพันธ์ {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 𝑥 + 1}

และในกรณีที่เป็ นความสัมพันธ์ ใน R เรามักจะได้กราฟ “เป็ นเส้น”


วิธีวาดกราฟ คือ ให้หาคูอ่ นั ดับทีส่ อดคล้องกับความสัมพันธ์มาซักสามสีต่ วั เพื่อดูแนวโน้มของเส้นกราฟ
เมื่อได้แนวโน้มของกราฟแล้ว ค่อยลากเส้น
ฟังก์ชนั 11

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑦 = |𝑥|


วิธีทา ข้อนีไ้ ม่บอกขอบเขตอะไรมาให้ ดังนัน้ ขอบเขตคือ (𝑥, 𝑦) ∈ R × R และจะได้กราฟ “เป็ นเส้น”
เราจะหาคูอ่ นั ดับที่สอดคล้องกับความสัมพันธ์ดงั กล่าวมาซักสามสีต่ วั เพื่อดูแนวโน้ม ของกราฟ
จะได้ 𝑟 = { … , (−2, 2), (−1, 1), (0, 0),
(1, 1), (2, 2) , … }

เมื่อได้แนวโน้มของกราฟ จึงค่อยลากเส้น #

ทานองกลับกัน ถ้าโจทย์ให้กราฟของความสัมพันธ์มา เราต้องอ่านการจับคูข่ องความสัมพันธ์ได้


เช่น

𝑥= 2 จับคูก่ บั 𝑦 = −1 𝑥=0 จับคูก่ บั 𝑦 = 1 𝑥=0 จับคูก่ บั 𝑦 = 2 , −2


𝑥 = −1 จับคูก่ บ ั 𝑦= 2 𝑥 = 2 จับคูก่ บ ั 𝑦=0 𝑥 = 2 ไม่ได้จบ ั คูก่ บั 𝑦 ตัวไหนเลย

สังเกตว่า จุดที่กราฟอยูเ่ หนือ แกน X จะมีพิกดั 𝑦 > 0


จุดที่กราฟ อยูใ่ ต้ แกน X จะมีพิกดั 𝑦 < 0
จุดที่กราฟ ตัด แกน X จะมีพิกดั 𝑦 = 0 จุดที่กราฟตัดแกน Y จะมีพิกดั 𝑥 = 0

ตัวอย่าง จงหาจุดที่กราฟ 𝑦 = 2 + 𝑥 − 𝑥 2 ตัดแกน X พร้อมทัง้ หาค่า 𝑥 ที่กราฟอยูเ่ หนือแกน X


วิธีทา จุดที่กราฟตัดแกน X จะมีคา่ 𝑦 = 0 จุดที่กราฟอยูเ่ หนือแกน X จะมีคา่ 𝑦 > 0
0 < 2 + 𝑥 − 𝑥2
0 = 2 + 𝑥 − 𝑥2
𝑥2 − 𝑥 − 2 <0
𝑥2 − 𝑥 − 2 =0
(𝑥 − 2)(𝑥 + 1) < 0
(𝑥 − 2)(𝑥 + 1) = 0
𝑥 = 2 , −1
+ − +
𝑥 ∈ (−1, 2)
−1 2

ดังนี ้ กราฟจะตัดแกน X ที่ (2, 0) , (−1, 0) และจะอยูเ่ หนือแกน X เมื่อ 𝑥 ∈ (−1, 2) #

แบบฝึ กหัด
1. จงพิจารณาว่า กราฟในข้อใด ผ่านจุด (−1, 1)
1. 3𝑦 = 1 − 2𝑥 2. 𝑦 = 𝑥2 + 1
12 ฟังก์ชนั

3. 𝑥2 + 𝑦2 = 2 4. 𝑦 = 2𝑥 − 3

2. จงหาจุดตัดแกน X และ จุดตัดแกน Y ของกราฟต่อไปนี ้


1. 𝑥3 + 𝑦2 = 1 2. 𝑦 = 2𝑥 + 1

3. 𝑦 + 2 = |𝑥 + 1| 4. |𝑦| − 2 = |𝑥 − 1|

5. 𝑦 = 𝑥2 − 1 6. 𝑦2 = 𝑥 − 1

3. จงหาค่า 𝑥 ที่กราฟอยูเ่ หนือแกน X


1. 𝑦 = 2𝑥 + 1 2. 𝑦 = 2𝑥 2 − 𝑥 − 3

4. จงหาค่า 𝑥 ที่กราฟอยูใ่ ต้แกน X


1. 𝑦 = 4𝑥 2 + 7𝑥 − 2 2. 2𝑥 + 3𝑦 = 6
ฟังก์ชนั 13

5. ค่าของ 𝑎 ที่ทาให้กราฟของฟังก์ชนั 𝑦 = 𝑎(2𝑥 ) ผ่านจุด (3, 16) คือเท่าไร [O-NET 52/16]

6. กราฟของฟังก์ชนั ในข้อใดต่อไปนี ้ ตัดแกน X มากกว่า 1 จุด [O-NET 50/24]


1. 𝑦 = 1 + 𝑥 2 2. 𝑦 = |𝑥| − 2
1 𝑥
3. 𝑦 = |𝑥 − 1| 4. 𝑦 = (2)

7. ทุก 𝑥 ในช่วงใดต่อไปนีท้ ี่กราฟของสมการ 𝑦 = −4𝑥 2 − 5𝑥 + 6 อยูเ่ หนือแกน X [O-NET 51/8]


1. (− 23 , − 13) 2. (− 52 , − 32)
3. (14 , 67) 4. (12 , 32)

8. เมื่อเขียนกราฟของ 𝑦 = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 โดยที่ 𝑎 ≠ 0 เพื่อหาตาตอบของสมการ 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 = 0 กราฟใน


ข้อใดต่อไปนีแ้ สดงว่าสมการไม่มคี าตอบทีเ่ ป็ นจานวนจริง [O-NET 52/22]
5 5
1. 2.
−5 5 −5 5
−5 −5

3. 5 4. 5

−5 5 −5 5
−5 −5
14 ฟังก์ชนั

รูปกราฟที่ควรจา

กราฟเส้นตรง
𝑦 = 𝑚𝑥 + 𝑘 𝑥=𝑎 𝑦=𝑏
ชัน = 𝑚
𝑏
𝑘
𝑎

กราฟพาราโบลา
𝑦 = 𝑥2 𝑦 = −𝑥 2 𝑥 = 𝑦2 𝑥 = −𝑦 2

กราฟรูท
𝑦 = √𝑥 𝑦 = −√𝑥 𝑥 = √𝑦 𝑥 = − √𝑦

กราฟค่าสัมบูรณ์
𝑦 = |𝑥| 𝑦 = −|𝑥| 𝑥 = |𝑦| 𝑥 = −|𝑦|

กราฟอื่นๆ
𝑥 2 + 𝑦2 = 𝑘2 |𝑥| + |𝑦| = 𝑘 𝑥𝑦 = 𝑘 𝑥𝑦 = −𝑘

𝑘 𝑘
ฟังก์ชนั 15

แบบฝึ กหัด
1. จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑥 = −2 2. 𝑦 = |𝑥|

3. 𝑦 = 𝑥2 4. 𝑦 = √𝑥

5. 𝑥2 + 𝑦2 = 4 6. |𝑥| + |𝑦| = 4
16 ฟังก์ชนั

กราฟของอสมการ

หัวข้อนี ้ จะพูดถึงกรณีทมี่ ีเครือ่ งหมาย > หรือ < ในเงื่อนไขของความสัมพันธ์

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝐴 = {−2, −1, 0, 1, 2} จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 ≥ 𝑥 + 1}


วิธีทา เขียน 𝑟 แบบแจกแจงสมาชิก ได้ 𝑟 = { (−2, −1), (−2, 0), (−2, 1), (−2, 2), (−1, 0), (−1, 1),
(−1, 2), (0, 1), (0, 2), (1, 2) }

ซึง่ จะนามาเขียนกราฟได้ดงั รูป

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 ≥ 𝑥 + 1}


วิธีทา ข้อนี ้ อสมการเหมือนกับข้อที่แล้ว คือ 𝑦 ≥ 𝑥 + 1 ต่างกันตรงทีค่ ราวนี ้ 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นอะไรก็ได้ใน R
นั่นคือ ข้อนี ้ 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นเศษส่วน ทศนิยม ติดรูท ได้หมด ขอแค่ 𝑦 ≥ 𝑥 + 1
ดังนัน้ ข้อนีจ้ ะมีจดุ อื่นๆ ที่พิกดั 𝑥 , 𝑦 เป็ นทศนิยม แทรกอยูร่ ะหว่างจุดจากข้อทีแ่ ล้ว
เช่น (−1.9, −1.2) , (−0.8, 0.5) , (1.75, 2.53) , (2.722, 4.722), …
ถ้านาจุดเหล่านีไ้ ปพล็อตกราฟ
จะเห็นว่าจุดจะเรียงเป็ นตับ เกิดเป็ น “พืน้ ที่”

ซึง่ จะได้กราฟของความสัมพันธ์ ดังรูป #

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑟 = {(𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 > 𝑥 + 1}


วิธีทา ข้อนีค้ ล้ายข้อที่แล้ว เพียงแต่คราวนี ้ เปลีย่ น ≥ เป็ น >
กราฟที่ได้ ก็จะคล้ายข้อทีแ่ ล้ว แต่หกั จุดที่ 𝑦 = 𝑥 + 1 ออก
ซึง่ จุดที่ทาให้ 𝑦 = 𝑥 + 1 ก็คือจุดตรงบริเวณเส้นแบ่งเขตนั่นเอง

เราจะใช้ “เส้นประ” เพื่อบ่งบอกว่า “ไม่เอา” จุดบริเวณเส้นแบ่งเขต ดังรูป #

วิธีวาดกราฟของความสัมพันธ์ทมี่ ีเงื่อนไขเป็ น “อสมการ” จะมีหลักดังนี ้


1. วาดเส้นกราฟด้วยวิธีเดิมแบบสมการ ออกมาก่อน
 ถ้าเป็ น > หรือ < ให้วาดเส้นกราฟด้วยเส้นประ
 ถ้าเป็ น ≥ หรือ ≤ ให้วาดเส้นกราฟด้วยเส้นทึบ
ฟังก์ชนั 17

2. กราฟที่ได้ จะแบ่งระนาบ X-Y ออกเป็ นส่วนๆ สุม่ จุดไหนก็ได้มาแทนในอสมการ


ถ้าจุดจากส่วนไหนแทนแล้วอสมการเป็ นจริง ให้แรเงาส่วนนัน้

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ 𝑦 < 𝑥 2


วิธีทา ขัน้ แรก เขียนกราฟ 𝑦 = 𝑥 2 ก่อน
เนื่องจากข้อนีเ้ ป็ นเครือ่ งหมาย < จึงต้องเขียนด้วยเส้นประ

จะเห็นว่า กราฟแบ่งพืน้ ที่ออกเป็ น 2 ส่วน คือ กับ


ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2
จากนัน้ สุม่ จุดไหนก็ได้จากแต่ละส่วน มาแทน
ส่วนที่ 1: สุม่ จุด (0, 1) มาแทนในอสมการ ได้ 1 < 02 ซึง่ เป็ นเท็จ ดังนัน้ ไม่แรเงา ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2: สุม่ จุด (1, 0) มาแทนในอสมการ ได้ 0<1 2
ซึง่ เป็ นจริง ดังนัน้ แรเงา ส่วนที่ 2

ดังนัน้ กราฟของความสัมพันธ์ 𝑦 < 𝑥2 คือ #

ตัวอย่าง จงเขียนกราฟของความสัมพันธ์ −1 ≤ 𝑥 < 2


วิธีทา ข้อนี ้ เป็ นอสมการแบบ 3 ท่อน เราจะซอยมันเป็ นอสมการย่อย 2 อัน คือ −1 ≤ 𝑥 กับ 𝑥<2

−1 ≤ 𝑥 ต้องเขียนด้วยเส้นทึบ
𝑥 < 2 ต้องเขียนด้วยเส้นประ

จะเห็นว่า กราฟแบ่งพืน้ ที่ออกเป็ น 3 ส่วน คือ


ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 ส่วนที่ 3
จากนัน้ สุม่ จุดไหนก็ได้จากแต่ละส่วน มาแทน
ส่วนที่ 1: สุม่ จุด (−2, 0) มาแทนในอสมการ ได้ −1 ≤ −2 < 2 ซึง่ ไม่จริง ดังนัน้ ไม่เอา ส่วนที่ 1
ส่วนที่ 2: สุม่ จุด (0, 0) มาแทนในอสมการ ได้ −1 ≤ 0 < 2 ซึง่ จริง ดังนัน้ เอา ส่วนที่ 2
ส่วนที่ 3: สุม่ จุด (3, 0) มาแทนในอสมการ ได้ −1 ≤ 3 < 2 ซึง่ ไม่จริง ดังนัน้ ไม่เอา ส่วนที่ 3

ดังนัน้ กราฟของความสัมพันธ์ −1 ≤ 𝑥 < 2 คือ #


18 ฟังก์ชนั

แบบฝึ กหัด
1. จงวาดกราฟของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑦 > 𝑥 2. 𝑥+𝑦 ≤ 2

3. 𝑦 ≥ 𝑥2 4. 𝑥2 + 𝑦2 < 4

5. 𝑦 > |𝑥| 6. |𝑦| ≤ 𝑥

7. −1 < 𝑥 < 2 8. 1 < 𝑦 ≤2


ฟังก์ชนั 19

9. −2 ≤ 𝑥 + 𝑦 ≤ 2

2. ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นความสัมพันธ์ทมี่ ีกราฟเป็ นบริเวณที่แรเงา [O-NET 54/9]

𝑦=𝑥

0 1

𝑦 = −𝑥

1. { (𝑥, 𝑦) | |𝑦| ≥ 𝑥 } 2. { (𝑥, 𝑦) | |𝑦| ≤ 𝑥 }


3. { (𝑥, 𝑦) | 𝑦 ≥ |𝑥| } 4. { (𝑥, 𝑦) | 𝑦 ≤ |𝑥| }

3. ถ้า 𝐴 = { (𝑥, 𝑦)| |𝑥 + 1| ≤ 𝑦 และ y≤2} แล้ว พืน้ ที่ของบริเวณ 𝐴 เท่ากับกี่ตารางหน่วย


[O-NET 57/34]
20 ฟังก์ชนั

4. บริเวณที่แรเงาเป็ นกราฟของความสัมพันธ์ในข้อใด [O-NET 57/12]


𝑦
1. { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 2 − 𝑦 < 0 และ 𝑦 ≤ 1 } 𝑦 = 𝑥2
2. { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 2 − 𝑦 < 0 และ 𝑦 ≥ 1 } 𝑦=1
3. { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 2 − 𝑦 ≥ 0 และ 𝑦 < 1 } 𝑥
4. { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 2 − 𝑦 ≥ 0 และ 𝑦 > 1 }
5. { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 2 − 𝑦 > 0 และ 𝑦 ≤ 1 }

5. บริเวณที่แรเงาในข้อใดเป็ นกราฟของความสัมพันธ์ { (𝑥, 𝑦) | 𝑥 ≤ 𝑦 2 , 0 ≤ 𝑦 ≤ 1 } [O-NET 56/13]


𝑦 𝑦 𝑦
1 1 1
1. 𝑥 2. 0 𝑥 3. 𝑥
0 0

𝑦 𝑦
1 1
4. 𝑥
5. 𝑥
0 0
ฟังก์ชนั 21

โดเมน และ เรนจ์

“โดเมน” ของความสัมพันธ์ 𝑟 แทนด้วยสัญลักษณ์ D𝑟 หมายถึง เซตกลุม่ ตัวหน้า “เฉพาะตัวที่ได้โยง”


“เรนจ์” ของความสัมพันธ์ 𝑟 แทนด้วยสัญลักษณ์ R 𝑟 หมายถึง เซตกลุม่ ตัวหลัง “เฉพาะตัวที่ถกู โยง”
เช่น ถ้าย้อนกลับไปดูความสัมพันธ์ 𝑟แอบชอบ กับ 𝑟ชกโดน ในหัวข้อก่อนหน้า จะได้โดเมน และ เรนจ์ ดังนี ้

สมชาย สมชาย สมชาย


สมหญิง
สมหวัง สมหวัง สมหวัง
สมศรี
สมปอง สมปอง สมปอง
สมหมาย
สมบัติ สมบัติ สมบัติ

D𝑟 = { สมชาย , สมหวัง , สมบัติ } D𝑟 = { สมชาย , สมบัติ }


R 𝑟 = { สมหญิง , สมศรี } R 𝑟 = { สมหวัง , สมปอง , สมบัติ }

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝐴 = {−2, −1, 0, 1, 2} และ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ 𝐴 × 𝐴 | 𝑦 = |𝑥| } จงหา D𝑟 และ R 𝑟


วิธีทา จะเขียน 𝑟 เป็ นแผนภาพก็ได้ หรือจะเขียนแบบแจกแจงสมาชิกก็ด ้
ถ้าเขียนความสัมพันธ์ 𝑟 แบบแจกแจงสมาชิก จะได้ 𝑟 = { (−2, 2), (−1, 1), (0, 0), (1, 1), (2, 2) }
ดังนัน้ D𝑟 = {−2, −1, 0, 1, 2} = 𝐴
R 𝑟 = { 0, 1, 2} #

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ N × N | 𝑦 = 3𝑥 + 2 } จงหา D𝑟 และ R 𝑟


วิธีทา ก่อนอื่น ต้องรูว้ า่ N คือ จานวนนับ (ซึง่ ก็คือ จานวนเต็มบวกนั่นเอง)
เขียนความสัมพันธ์ 𝑟 แบบแจกแจงสมาชิก จะได้ 𝑟 = { (1, 5), (2, 8), (3, 11), … }
ดังนัน้ D𝑟 = {1, 2, 3, …} = N
R 𝑟 = {5, 8, 11, …} #

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 2𝑥 } จงหา D𝑟 และ R 𝑟


วิธีทา R คือ จานวนจริง ดังนัน้ 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นได้หมด ไม่วา่ จะเป็ น เศษส่วน ทศนิยม ติดรูท
ตัวอย่างคูอ่ นั ดับที่อยูใ่ น 𝑟 เช่น (0, 0) , (2,4) , (√3, 2√3) , ( 32 , 3) , (− 72 , −7)
จะเห็นว่า 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นอะไรก็ได้ เราหาคูใ่ ห้ทกุ ตัว ได้เสมอ
ดังนัน้ D𝑟 = R และ R 𝑟 = R #

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑟 = { (𝑥, 𝑦) ∈ R × R | 𝑦 = 𝑥 2 } จงหา D𝑟 และ R 𝑟


วิธีทา ตัวอย่างคูอ่ นั ดับที่อยูใ่ น 𝑟 เช่น (1, 1) , (−3, 9) , (√2, 2) , (−√3, 3)
จะเห็นว่า 𝑥 เป็ นอะไรก็ได้ เราเอา 𝑥 มายกกาลังสองก็จะได้คา่ 𝑦 ที่เป็ นคูใ่ ห้มนั โยงได้
แต่ 𝑦 เป็ นเลขติดลบไม่ได้ เพราะ ไม่มี 𝑥 ไหนเลย ที่จะยกกาลังสองแล้วติดลบ
ดังนัน้ D𝑟 = R และ R 𝑟 = R+ ∪ {0} #
22 ฟังก์ชนั

ในกรณีที่ขอบเขตเป็ น R × R เรามีขนั้ ตอนในการหาโดเมน และ เรนจ์ ดังนี ้


ขัน้ ที่ 1: จัดรูปสมการ ถ้าจะหาโดเมน ต้องจัดรูปสมการ แยก 𝑦 ทิง้ ไปอีกฝั่ง
ถ้าจะหาเรนจ์ ต้องจัดรูปสมการ แยก 𝑥 ทิง้ ไปอีกฝั่ง
สมการส่วนใหญ่ที่โจทย์ให้ จะมี 𝑦 แยกทิง้ ไปอีกฝั่งอยูแ่ ล้ว ถ้าจะหาโดเมนก็ไม่ตอ้ งจัดรูป
เช่น 𝑦 = 𝑥 + 1 , 𝑦 = 2𝑥+1 𝑥−2
, 𝑦 = √𝑥 + 2 จะเป็ นรู ปที่หาโดเมนได้เลย
แต่ถา้ จะหาเรนจ์ เรามักต้องออกแรงแยก 𝑥 ทิง้ ไปอีกฝั่ง
เช่น 𝑦 = 𝑥 + 1 𝑦 =
2𝑥+1
𝑦 = √𝑥 + 2
𝑥−2
𝑦−1 = 𝑥 𝑦2 = 𝑥+2 ;𝑦≥0
𝑥𝑦 − 2𝑦 = 2𝑥 + 1
𝑥𝑦 − 2𝑥 = 2𝑦 + 1 𝑦2 − 2 = 𝑥

𝑥(𝑦 − 2) = 2𝑦 + 1
2𝑦+1
𝑥 =
𝑦−2

เวลาจัดรูป ให้ระวังเครือ่ งหมายบวกลบให้ดี เนื่องจาก √ ติดลบไม่ได้


โดยเฉพาะตอนที่ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง หรือ ถอดรูททัง้ สองข้าง เช่น

ยกกาลังสองทัง้ สองข้าง ถอดรูททัง้ สองข้าง


𝑦 = √𝑥 2 + 1 𝑥 2 = 𝑦2 − 1
𝑦2 = 𝑥 2 + 1 ;𝑦 ≥ 0 𝑥 = ±√𝑦 2 − 1

ต้องเขียน เพราะก่อนยก ต้องมี ± เพราะก่อนถอด


𝑦 เป็ นลบไม่ได้ 𝑥 เป็ นได้ทงั้ บวกและลบ

ขัน้ ที่ 2: หาว่า 𝑥 กับ 𝑦 เป็ นอะไรได้บา้ ง → ส่วน หรือ ตัวหาร ห้ามเป็ นศูนย์
→ ข้างใน √ ห้ามติดลบ
5𝑥
เช่น 𝑦 = 𝑥−3 → 𝑥−3 ≠0
𝑥 ≠ 3 → D𝑟 = R − {3}
𝑥 = √𝑦 + 2 → 𝑦+2 ≥0
𝑦 ≥ −2 → R 𝑟 = [−2, ∞)
3𝑦
𝑥= → 𝑦+2 >0
√𝑦+2
𝑦 > −2 → R 𝑟 = (−2, ∞)

การตอบคาถามในเรือ่ งโดเมนและเรนจ์ มักจะต้องใช้สญั ลักษณ์จากเรือ่ งเซต และช่วง อยูบ่ อ่ ยๆ


เช่น R − {2, 3} → จานวนจริงทุกตัว ยกเว้น 2 กับ 3
R+ ∪ {0} → จานวนจริงบวกทุกตัว รวม 0 ด้วย
[2, 5] → ทุกจานวน ตัง้ แต่ 2 ถึง 5 (รวม 2 กับ 5 ด้วย)
[2, 5) → ทุกจานวน ตัง้ แต่ 2 ถึง 5 (รวม 2 แต่ไม่รวม 5)
(2, 5] → ทุกจานวน ตัง้ แต่ 2 ถึง 5 (ไม่รวม 2 แต่รวม 5)
ฟังก์ชนั 23

(2, 5) ทุกจานวน ระหว่าง 2 กับ 5 (ไม่รวม 2 ไม่รวม 5)



(−∞, 1] → ทุกจานวน ที่ ≤ 1 [1, ∞) → ทุกจานวน ที่ ≥1
(−∞, 1) → ทุกจานวน ที่ < 1 (1, ∞) → ทุกจานวน ที่ >1
(−∞, 2) ∪ [5, ∞) → ทุกจานวน ที่ < 2 หรือ ≥ 5

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑦 = 3𝑥+1 2𝑥−1


วิธีทา สมการที่ให้มา แยก 𝑦 ทิง้ ไปอีกฝั่งอยูแ่ ล้ว ดังนัน้ หาโดเมนได้เลย
เนื่องจากตัวหารห้ามเป็ นศูนย์ ดังนัน้ 2𝑥 − 1 ≠ 0
1 1
𝑥 ≠
2
จะได้ D𝑟 = R−{ }
2

3𝑥+1
หาเรนจ์ ต้องจัดรูปสมการ แยก 𝑥 ทิง้ ไปอีกฝั่งก่อน 𝑦 =
2𝑥−1
2𝑥𝑦 − 𝑦 = 3𝑥 + 1
2𝑥𝑦 − 3𝑥 = 𝑦 + 1
𝑥(2𝑦 − 3) = 𝑦 + 1
𝑦+1
𝑥 =
2𝑦−3

เนื่องจากตัวส่วนห้ามเป็ นศูนย์ ดังนัน้ 2𝑦 − 3 ≠ 0


3 3
𝑦 ≠ 2
จะได้ R 𝑟 = R − {2} #

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑥 = √𝑦 2 − 4


วิธีทา สมการที่โจทย์ให้ อยูใ่ นรูปที่หา เรนจ์ ได้เลย
เนือ่ งจากข้างใน √ ห้ามติดลบ ดังนัน้ 𝑦2 − 4 ≥ 0
(𝑦 − 2)(𝑦 + 2) ≥ 0

+ − +
−2 2
จะได้ R 𝑟 = (−∞, −2] ∪ [2, ∞)
ถัดมา หาโดเมน ต้องจัดรูปใหม่ แยก 𝑦 ทิง้ ไปอีกฝั่ง 𝑥 = √𝑦 2 − 4
𝑥2 = 𝑦2 − 4 ;𝑥≥0
2
𝑥 +4 = 𝑦2
±√𝑥 2 + 4 = 𝑦

ใน √ ห้ามติดลบ ดังนัน้ 𝑥2 + 4 ≥ 0 และ 𝑥 ≥ 0


(จริงเสมอ)
𝑥∈R

จะได้ D𝑟 = [0, ∞) #

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑦 = 𝑥 2 − 6𝑥 + 5


วิธีทา สมการที่โจทย์ให้ อยูใ่ นรูปที่หาโดเมนได้เลย
จะเห็นว่าข้อนี ้ 𝑥 ไม่เป็ นตัวหาร และ ไม่อยูใ่ น √ ดังนัน้ 𝑥 เป็ นได้ทกุ อย่าง จะได้ D𝑟 = R
24 ฟังก์ชนั

ถัดมา หาเรนจ์ ต้องจัดรูป แยก 𝑥 ทิง้ ไปอีกฝั่ง


ข้อนี ้ จัดรูปยากหน่อย เพราะมีทงั้ 𝑥 กาลังสอง และ 𝑥 กาลังหนึง่
เราต้องใช้กาลังสองสมบูรณ์ มารวบ 𝑥 2 กับ 4𝑥 เข้าด้วยกัน ให้เหลือ 𝑥 เดียวก่อน ดังนี ้
น2 ± 2นล + ล2 = (น ± ล)2 𝑦 = 𝑥 2 − 6𝑥 + 5
𝑦 = 𝑥 2 − 2(𝑥)(3) + 32 − 32 + 5
𝑦 = (𝑥 − 3)2 − 4

จากนัน้ จึงจัดรูป แยก 𝑥 ทิง้ ไปอีกฝั่ง ดังนี ้ 𝑦 + 4 = (𝑥 − 3)2


±√𝑦 + 4 = 𝑥 − 3
±√𝑦 + 4 + 3 = 𝑥

เนื่องจากใน √ ห้ามติดลบ ดังนัน้ 𝑦+4 ≥ 0


𝑦 ≥ −4 จะได้ R 𝑟 = [−4, ∞) #

แบบฝึ กหัด
1. จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 𝑦 = 𝑥+1
𝑥
2. 2𝑥+1
𝑦 = 3𝑥−2

2𝑦+3
3. 𝑥= 2−𝑦
4. 𝑥(𝑦 − 1) = 2
ฟังก์ชนั 25

5. 𝑥𝑦 − 3𝑥 + 𝑦 + 2 = 0 6. 𝑦 = 𝑥2 + 3

7. 𝑦 = 𝑥 2 + 4𝑥 − 6 8. 𝑦 = √𝑥 + 1

9. 𝑦 = √𝑥 2 − 4 10. 𝑦 = √1 − 𝑥 2
26 ฟังก์ชนั

11. 𝑦 = −√𝑥 12. 𝑦 = −√4 − 𝑥 2

13. 𝑦 = √4 − 𝑥 2 + 1 14. 𝑦 = 2 − √𝑥 2 − 1

2. จงหาโดเมนของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
𝑥+2
1. 𝑦 = √𝑥 2 − 3𝑥 + 2 2. 𝑦=√ 𝑥

(𝑥+1)(2−𝑥)
3. 𝑦=√ (𝑥+3)
ฟังก์ชนั 27

โดเมนและเรนจ์ จากกราฟ

ในกรณีที่โจทย์ให้ความสัมพันธ์มาในรูปกราฟ เราจะมีวธิ ีหาโดเมนและเรนจ์ได้งา่ ยๆ


โดยดูวา่ กราฟทีใ่ ห้ คลุมแกน X (โดเมน) และ แกน Y (เรนจ์) ในช่วงบริเวณใดบ้าง

ถ้าบนเส้นกราฟมีวงกลมโบ๋ๆ ( ) หมายความว่า “ไม่ม”ี จุดนัน้ อยูบ่ นกราฟ


แต่ถา้ บนกราฟมีวงกลมทึบๆ ( ) หมายความว่า “มี” จุดนัน้ อยูบ่ นกราฟ

D𝑟 = [−3, 3] D𝑟 = [−3, 3] D𝑟 = R − {0} D𝑟 = R


R 𝑟 = [−2, 2] R 𝑟 = [−3, 3] R 𝑟 = R − {0} R 𝑟 = [0, ∞)

D𝑟 = [0, ∞) D𝑟 = R D𝑟 = R − {0} D𝑟 = (−∞,−2] ∪ [2, ∞)


R 𝑟 = [0, ∞) R 𝑟 = [−2, 2] R 𝑟 = {−2, 1} R𝑟 = R

D𝑟 = (−3, 2) D𝑟 = [0, ∞) D𝑟 = R D𝑟 = [−1, 3)


R 𝑟 = [−2, 2) R𝑟 = R R𝑟 = R R 𝑟 = (1, 3]

D𝑟 = R D𝑟 = R D𝑟 = R − {0} D𝑟 = R
R𝑟 = R R 𝑟 = (0, ∞) R 𝑟 = R − {2} R𝑟 = R
28 ฟังก์ชนั

แบบฝึ กหัด
1. จงหาโดเมนและเรนจ์ ของความสัมพันธ์ตอ่ ไปนี ้
1. 2.

3. 4.

5. 6.

7. 8.
ฟังก์ชนั 29

ฟั งก์ชนั

ฟั งก์ชนั คือ ความสัมพันธ์ที่ “ 𝑥 แต่ละตัว ห้าม จับคูก่ บั 𝑦 เกิน 1 ตัว “


เช่น 𝑟 = {(1, 2), (2, 4), (2, 6), (3, 8)} → ไม่เป็ นฟั งก์ชนั
𝑟 = {(1, 2), (2, 4), (3, 6), (4, 7)} → เป็ นฟั งก์ชน ั
𝑟 = {(1, 2), (2, 2), (3, 2), (4, 2)} → เป็ นฟั งก์ชน ั

ตัวอย่าง จงพิจารณาว่า ความสัมพันธ์ 𝑦 2 = 𝑥 เป็ นฟั งก์ชนั หรือไม่


วิธีทา ต้องคิด ว่ามี 𝑥 ตัวไหนที่จบั คูก่ บั 𝑦 หลายตัวไหม
จะเห็นว่า มี 𝑦 2 อยูใ่ นสมการความสัมพันธ์ ดังนัน้ 𝑦 เป็ นบวก กับ 𝑦 เป็ นลบ จะยกกาลังสองได้เท่ากัน
เช่น 𝑦 = 1 กับ 𝑦 = −1 จะคานวณค่า 𝑥 ได้ 1
นั่นคือ มี 𝑥 = 1 ที่จบั คูก่ บั 𝑦 = 1, −1 ดังนัน้ ความสัมพันธ์ 𝑦 2 = 𝑥 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั #

ปกติแล้ว ในสมการความสัมพันธ์ ถ้า 𝑦 ถูกยกกาลังคู่ หรือ อยูใ่ นเครือ่ งหมายค่าสัมบูรณ์ มักจะไม่ใช่ฟังก์ชนั


เพราะ 𝑦 เป็ นบวก กับ 𝑦 เป็ นลบ จะคานวณออกมาได้คา่ เท่ากัน ทาให้มี 𝑥 หนึง่ ค่า ที่คกู่ บั 𝑦 ได้สองตัว
เช่น 𝑥 = (𝑦 + 1)2 → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั เพราะ มี (1, 0) กับ (1, −2) ในความสัมพันธ์
𝑦 = 𝑥 2 + 2𝑥 + 5 → เป็ นฟั งก์ชน

𝑥2 + 𝑦2 = 4 → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั เพราะ มี (0, 2) กับ (0, −2) ในความสัมพันธ์
4𝑥 = |𝑦 + 1| → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั เพราะ มี (1, 3) กับ (1, −5) ในความสัมพันธ์
𝑥𝑦 = 1 → เป็ นฟั งก์ชน ั
𝑦=𝑥 3
→ เป็ นฟั งก์ชน ั
𝑥 = 2𝑦 + 5 → เป็ นฟั งก์ชน ั
|𝑥| + |𝑦| = 1 → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั เพราะ มี (0, 1) กับ (0, −1) ในความสัมพันธ์
(𝑥 − 𝑦)(𝑥 + 𝑦) = 1 → ไม่เป็ นฟั งก์ชน ั เพราะจัดรูปได้เป็ น 𝑥 2 − 𝑦 2 = 1
มี (2, √3) กับ (2, −√3) ในความสัมพันธ์

ในกรณีที่โจทย์ให้กราฟของความสัมพันธ์มา แล้วถามว่าความสัมพันธ์ดงั กล่าว เป็ นฟังก์ชนั หรือไม่


วิธีดงู า่ ยๆคือ ถ้าสามารถลากเส้นดิ่ง ตัดกราฟได้มากกว่า 1 จุด แปลว่าไม่ใช่ฟังก์ชนั
เพราะเส้นดิง่ ที่ตดั กราฟหลายจุด แปลว่า มี 𝑥 หนึง่ ตัว ที่คกู่ บั 𝑦 หลายตัว
เช่น

ไม่เป็ นฟั งก์ชนั เป็ นฟั งก์ชนั เป็ นฟั งก์ชนั ไม่เป็ นฟั งก์ชนั
30 ฟังก์ชนั

เป็ นฟั งก์ชนั ไม่เป็ นฟั งก์ชนั ไม่เป็ นฟั งก์ชนั

และเราสามารถใช้คาว่า “จาก … ไปยัง …” เพื่อบอกเซตของ 𝑥 และ 𝑦 คล้ายกับที่เคยทาในเรือ่ งความสัมพันธ์ได้ดว้ ย


โดยคาว่า “ฟังก์ชนั จาก 𝐴 ไปยัง 𝐵” จะมีขอ้ บังคับเพิม่ ว่า 𝑥 ทุกตัวใน 𝐴 ต้องได้โยงทัง้ หมด
(แต่ 𝑦 ใน 𝐵 ไม่จาเป็ นต้องได้โยงทุกตัว)
นั่นคือ ฟั งก์ชนั จาก 𝐴 ไปยัง 𝐵 แปลว่า โดเมน = 𝐴 และ เรนจ์ ⊂ 𝐵
(แต่ ความสัมพันธ์ จาก 𝐴 ไปยัง 𝐵 แปลว่า โดเมน ⊂ 𝐴 และ เรนจ์ ⊂ 𝐵 )

แบบฝึ กหัด
1. ความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั
1. {(1, 2), (2, 3), (3, 4), (4, 1)} 2. {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (4, 4)}

3. {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4)} 4. {(1, 1), (2, 1), (3, 1), (4, 1)}

5. {(1, 0), (2, 4), (3, 1), (3, 3)}

2. สมการความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั


1. 𝑦 = 2𝑥 + 3 2. 𝑦 = 2𝑥 2 + 3

3. |𝑥| + |𝑦| = 1 4. 𝑦 = √𝑥

5. 𝑥 = 𝑦 2 − 2𝑦 + 3 6. 𝑥 = 𝑦2

7. 𝑥 = 𝑦2 และ 𝑦≥0 8. 𝑥2 + 𝑦2 = 1
ฟังก์ชนั 31

9. 𝑥2 + 𝑦2 = 1 และ 𝑥≥0 10. 𝑥2 + 𝑦2 = 1 และ 𝑦≥0

11. 𝑥2 + 𝑦2 = 1 และ 𝑥𝑦 > 0

3. กราฟความสัมพันธ์ในข้อใดต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั


1. 2. 3. 4.

5. 6. 7. 8.

9.

4. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็ นฟั งก์ชนั [O-NET 54/8]


1. { (0, 1), (0, 2), (2, 1), (1, 3) } 2. { (0, 2), (1, 1), (2, 2), (3, 0) }
3. { (1, 1), (2, 0), (2, 3), (3, 1) } 4. { (1, 2), (0, 3), (1, 3), (2, 2) }

5. ความสัมพันธ์ในข้อใดเป็ นฟั งก์ชนั [O-NET 53/11]


1. {(1, 2), (2, 3), (3, 2), (2, 4)} 2. {(1, 2), (2, 3), (3, 1), (3, 3)}
3. {(1, 3), (1, 2), (1, 1), (1, 4)} 4. {(1, 3), (2, 1), (3, 3), (4, 1)}
32 ฟังก์ชนั

6. กาหนดให้ 𝐴 = {𝑎, 𝑏, 𝑐} และ 𝐵 = {0, 1} ฟั งก์ชน


ั ในข้อใดต่อไปนี ้ เป็ นฟั งก์ชนั จาก 𝐵 ไป 𝐴
[O-NET 49/1-4]
1. {(𝑎, 1), (𝑏, 0), (𝑐, 1)} 2. {(0, 𝑏), (1, 𝑎), (1, 𝑐)}
3. {(𝑏, 1), (𝑐, 0)} 4. {(0, 𝑐), (1, 𝑏)}

7. แผนภาพของความสัมพันธ์ในข้อใดเป็ นฟังก์ชนั ทีม่ ี {1, 2, 3, 4, 5} เป็ นโดเมน และ {1, 2, 3, 4} เป็ นเรนจ์
[O-NET 56/12]

1 1 1 1 1 1
2 2 2 2 2 2
1. 3 3 2. 3 3 3. 3 3
4 4 4 4 4 4
5 5 5

1 1 1 1
2 2 2 2
4. 3 3
5. 3 3
4 4 4 4
5 5

8. ให้ 𝐴 = {1, 99} ความสัมพันธ์ใน 𝐴 ในข้อใดไม่เป็ นฟั งก์ชนั [O-NET 52/13]


1. เท่ากับ 2. ไม่เท่ากับ 3. หารลงตัว 4. หารไม่ลงตัว

9. กาหนดให้ 𝑟 = {(𝑎, 𝑏) | 𝑎 ∈ 𝐴, 𝑏 ∈ 𝐵 และ 𝑏 หารด้วย 𝑎 ลงตัว} ถ้า 𝐴 = {2, 3, 5} แล้ว ความสัมพันธ์ 𝑟 จะ


เป็ นฟั งก์ชนั เมื่อ 𝐵 เท่ากับเซตใดต่อไปนี ้ [O-NET 50/22]
1. {3, 4, 10} 2. {2, 3, 15} 3. {0, 3, 10} 4. {4, 5, 9}
ฟังก์ชนั 33

10. จากความสัมพันธ์ 𝑟 ที่แสดงด้วยกราฟดังรูป


3
2
1

−3 −2 −1 1 2 3
−1
−2
−3

ข้อใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 52/14]


1. 𝑟 เป็ นฟั งก์ชนั เพราะ (1, 1), (2, 2) และ (3, 3) อยูใ่ นแนวเส้นตรงเดียวกัน
2. 𝑟 เป็ นฟั งก์ชนั เพราะมีจานวนจุดเป็ นจานวนจากัด
3. 𝑟 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั เพราะมีจดุ (3, 3) และ (3, −1) อยูบ่ นกราฟ
4. 𝑟 ไม่เป็ นฟั งก์ชนั เพราะมีจดุ (1, 1) และ (−1, 1) อยูบ่ นกราฟ

11. กราฟในข้อใดแสดงว่า 𝑦 เป็ นฟั งก์ชนั ของ 𝑥 [O-NET 57/13]


𝑦 𝑦 𝑦
1. 2. 3.
𝑥 𝑥 𝑥

𝑦 𝑦

4. 5.
𝑥 𝑥
34 ฟังก์ชนั

สัญลักษณ์แทนฟั งก์ชนั

ปกติ เรานิยมใช้ตวั แปร 𝑟 แทนความสัมพันธ์


แต่ถา้ ความสัมพันธ์ไหน เป็ นฟั งก์ชนั เราจะนิยมใช้ตวั แปร 𝑓 , 𝑔 , ℎ แทน
เช่น 𝑓 = {(1, 2), (2, 4), (3, 6)} , 𝑔 = {(1, 3), (2, 3), (3, 4)} , ℎ = {(2, 3), (5, 6)}

นอกจากนี ้ เรายังใช้สญ
ั ลักษณ์ 𝑓(𝑥) , 𝑔(𝑥) , ℎ(𝑥) แทน 𝑦 ได้ดว้ ย
เช่น ฟั งก์ชนั 𝑦 = 2𝑥 2 + 1 จะเขียนอีกแบบได้เป็ น 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 + 1
และ 𝑓(𝑘) จะหมายถึง ค่า 𝑦 เมื่อ 𝑥 = 𝑘 เช่น 𝑓(1) = ค่า 𝑦 เมื่อ 𝑥 = 1
𝑓(0) = ค่า 𝑦 เมื่อ 𝑥 = 0
𝑓(−2) = ค่า 𝑦 เมื่อ 𝑥 = −2 เป็ นต้น
เช่น ถ้า 𝑓 = { (−1, 2) , (0, 5) , (1, 4) , (2, −1) , (3, 6) , (4, 3) }
จะได้ 𝑓(3) = 6 , 𝑓(0) = 5 และ 𝑓(−1) = 2 เป็ นต้น
และในกรณีที่โจทย์ให้สมการของ 𝑓(𝑥) มา เราสามารถหา 𝑓(𝑘) ได้โดยแทนค่า 𝑥 = 𝑘 ลงไปในสมการ 𝑓(𝑥)
เช่น ถ้า 𝑓(𝑥) = 2𝑥 − 1 จะได้ 𝑓(3) = 2(3) − 1 = 5
𝑓(1) = 2(1) − 1 = 1

ถ้า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1 จะได้ 𝑓(3) = 32 + 1 = 10 𝑓(0) = 02 + 1 = 1


𝑓(−1) = (−1)2 + 1 = 2 𝑓(𝑎) = 𝑎2 + 1

นอกจากนี ้ ยังแทนค่า 𝑥 เป็ นอะไรอย่างอื่นอย่างอื่นแบบแปลกๆก็ได้ เช่น


𝑓(−𝑥) = (−𝑥)2 + 1 𝑓(3𝑏) = (3𝑏)2 + 1
= 𝑥2 + 1 = 9𝑏 2 + 1
2
𝑓(1 − 𝑥) 2
= (1 − 𝑥) + 1 𝑓(√𝑥 + 1) = √𝑥 + 1 + 1
= 12 − 2𝑥 + 𝑥 2 + 1 = 𝑥 + 2 ; 𝑥 ≥ −1
= 𝑥 2 − 2𝑥 + 2 2
𝑓(𝑔(𝑥)) = (𝑔(𝑥)) + 1

ทานองกลับกัน ถ้าโจทย์ให้ 𝑓(𝑥) แบบที่แทนค่า 𝑥 แบบแปลกๆไปเรียบร้อยแล้ว


เราต้องสามารถ “แปลงกลับ” ให้เป็ น 𝑓(𝑥) แบบปกติ ก่อนแทน ได้
เพื่อป้องกันการสับสนระหว่าง 𝑥 ก่อนแทน กับ 𝑥 หลังแทน เรามักใช้ตวั แปร 𝑘 เข้ามาคั่น แล้วแปลงกลับเป็ น 𝑥 ตอนจบ

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(1 − 𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 2 จงหา 𝑓(𝑥)


วิธีทา ข้อนี ้ เราต้องเปลีย่ น 𝑓(1 − 𝑥) ให้กลายเป็ น 𝑓(𝑥) โดยจะเปลีย่ น 𝑓(1 − 𝑥) เป็ น 𝑓(𝑘) ก่อน
ให้ 1 − 𝑥 = 𝑘 ดังนัน้ 𝑓(1 − 𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 + 2
−𝑥 = 𝑘−1 𝑓(𝑘) = (−𝑘 + 1)2 − 2(−𝑘 + 1) + 2
𝑥 = −𝑘 + 1 = 𝑘 2 − 2𝑘 + 1 + 2𝑘 − 2 + 2
= 𝑘2 + 1
จะได้ 𝑓(𝑘) = 𝑘 2 + 1 เปลีย่ นตัวแปร 𝑘 เป็ น 𝑥 ก่อนตอบ จะได้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1 #
ฟังก์ชนั 35

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓 (𝑥−1 2


) = 𝑥 2 − 1 จงหา 𝑓(𝑥)
วิธีทา ข้อนี ้ เราต้องเปลีย่ น 𝑓 (𝑥−1
2
) ให้กลายเป็ น 𝑓(𝑥) โดยจะเปลีย่ น 𝑓(
𝑥−1
2
) เป็ น 𝑓(𝑘) ก่อน
𝑥−1
ให้ 𝑥−1
= 𝑘 ดังนัน้ 𝑓(
2
) = 𝑥2 − 1
2
𝑥 − 1 = 2𝑘 𝑓(𝑘) = (2𝑘 + 1)2 − 1
𝑥 = 2𝑘 + 1 𝑓(𝑘) = 4𝑘 2 + 4𝑘 + 1 − 1
= 4𝑘 2 + 4𝑘

จะได้ 𝑓(𝑘) = 4𝑘 2 + 4𝑘 เปลีย่ นตัวแปร 𝑘 เป็ น 𝑥 จะได้ 𝑓(𝑥) = 4𝑥 2 + 4𝑥 #

ตัวอย่าง กาหนดให้ 𝑓(√𝑥 + 1) = 𝑥 2 + 1 จงหา 𝑓(2)


วิธีทา ข้อนี ้ จะทาแบบข้อที่แล้ว คือหา 𝑓(𝑥) ออกมาก่อน แล้วค่อยแทน 𝑥 = 2 ก็ได้
แต่วิธีทงี่ ่ายกว่า คือ หา 𝑓(2) โดยตรงเลย ดังนี ้
โจทย์กาหนดให้ 𝑓(√𝑥 + 1) = 𝑥 2 + 1
เราจะหา 𝑓( 2 )
ดังนัน้ ต้องเทียบ √𝑥 + 1 = 2
𝑥+1 = 4 แทนใน 𝑥 2 + 1 ได้ 32 + 1 → 10
𝑥 = 3
ดังนัน้ 𝑓(2) = 10 #

เนื่องจากฟังก์ชนั เป็ นความสัมพันธ์ชนิดหนึง่ ดังนัน้ โจทย์ในเรือ่ งความสัมพันธ์ ก็จะนามาถามกับฟั งก์ชนั ได้

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 1


วิธีทา ข้อนี ้ ทาเหมือนกับหาโดเมน และเรนจ์ ของความสัมพันธ์ 𝑦 = 𝑥 2 + 1
จะเห็นว่าสมการที่โจทย์ให้ อยูใ่ นรูปที่หาโดเมนได้เลย
เนื่องจาก 𝑥 ไม่เป็ นตัวหาร และ ไม่อยูใ่ น √ ดังนัน้ D𝑓 = R
ถัดมา หาเรนจ์ เนื่องจาก มี 𝑥 2 อยูใ่ นสมการความสัมพันธ์ ดังนัน้ เราจะใช้วิธีพิจารณาช่วงค่าทีเ่ ป็ นไปได้
𝑥2 ≥ 0
2
𝑥 +1 ≥ 1
𝑦 ≥ 1 ดังนัน้ R𝑓 = [1, ∞) #

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑓 = {(1, 2), (2, 4), (3, 2), (4, 1)} จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1. 𝑓(1) 2. 𝑓(2) + 1

3. 𝑓(2 + 1) 4. 𝑓(22 )

2
5. (𝑓(2)) 6. 𝑓(𝑓(1))
36 ฟังก์ชนั

2. กาหนดกราฟของฟังก์ชนั 𝑓 ดังรูป
จงหาค่าในแต่ละข้อต่อไปนี ้

1. 𝑓(0) 2. 𝑓(−1)

3. 𝑓(𝑓(3)) 4. 𝑓(−10)

3. จงหา D𝑓 และ R𝑓
1. 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 1 2. 𝑓(𝑥) = √𝑥 − 4 + 1

3. 𝑓(𝑥) = |𝑥 + 1| 4. 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 6𝑥 + 1

4. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 1 − 2𝑥 − 𝑥 2 จงหา


1. 𝑓(2) 2. 𝑓(−𝑥)

3. 𝑓(𝑥 2 ) 4. 𝑓(1 − 𝑥)
ฟังก์ชนั 37

5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 1 จงหา 𝑓(𝑓(𝑥))

6. กาหนดให้ 𝑓(2𝑥 + 1) = 4𝑥 + 3 จงหา 𝑓(𝑥)

7. กาหนดให้ 𝑓(𝑥 − 1) = 2𝑥 จงหา 𝑓(𝑥 + 1)

8. กาหนดให้ 𝑓(√𝑥 2 + 1) = 𝑥 2 − 1 จงหา 𝑓(2)

𝑥 1
9. กาหนดให้ 𝑓 (𝑥−1) = 𝑥 เมื่อ 𝑥≠0 และ 𝑥≠1 จงหา 𝑓(𝑥)
38 ฟังก์ชนั

10. ให้ 𝑓 เป็ นฟั งก์ชนั ซึง่ มีโดเมนและเรนจ์เป็ นสับเซตของเซตของจานวนจริง โดยที่ 𝑓(2𝑥 + 1) = 4𝑥 2 + 14𝑥
จงหา 𝑓(𝑥)

11. ถ้า 𝑓 = {(1, 0), (2, 1), (3, 5), (4, 3), (5, 2)} แล้ว 𝑓(2) + 𝑓(3) มีคา่ เท่าใด [O-NET 49/2-1]

12. กาหนดให้กราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 เป็ นดังนี ้

ค่าของ 11𝑓(−11) − 3𝑓(−3)𝑓(3) คือเท่าไร [O-NET 53/13]


ฟังก์ชนั 39

13. ฟั งก์ชนั 𝑦 = 𝑓(𝑥) ในข้อใดมีกราฟดังรูปต่อไปนี ้ [O-NET 49/1-7]


Y

𝑦 = 𝑓(𝑥)

(0, 1)
X
−1 0 1

1. 𝑓(𝑥) = 1 − |𝑥| 2. 𝑓(𝑥) = 1 + |𝑥|


3. 𝑓(𝑥) = |1 − 𝑥| 4. 𝑓(𝑥) = |1 + 𝑥|

14. ถ้า 𝑓(𝑥 − 2) = 2𝑥 − 1 แล้ว 𝑓(𝑥 2 ) มีคา่ เท่ากับเท่าไร [O-NET 54/11]

𝑥 2𝑥−1
15. จานวนในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นสมาชิกของโดเมนของฟังก์ชนั 𝑦 = 𝑥2+3𝑥+2 + 𝑥 2 −1 [O-NET 52/15]
1. −2 2. −1 3. 0 4. 1

16. ถ้า 𝑓(𝑥) = 3 − √4 − 𝑥 2 แล้ว จงหา D𝑓 และ R𝑓 [O-NET 54/10]


40 ฟังก์ชนั

17. ถ้า 𝑓(𝑥) = √3 − 𝑥 และ 𝑔(𝑥) = −2 + |𝑥 − 4| แล้ว D𝑓 ∪ R𝑔 คือข้อใด [O-NET 53/12]


1. (−∞, 3] 2. [−2, ∞) 3. [−2, 3] 4. (−∞, ∞)

1
18. ถ้า 𝑓(𝑥) = |𝑥|−1 แล้ว เรนจ์ของ 𝑓 คือเซตในข้อใด [O-NET 56/14]
1. { 𝑦 | −1 < 𝑦 ≤ 0 } 2. { 𝑦 | −1 ≤ 𝑦 < 0 } 3. { 𝑦 | 𝑦 < −1 หรือ 𝑦 > 0 }
4. { 𝑦 | 𝑦 < −1 หรือ 𝑦 ≥ 0 } 5. { 𝑦 | 𝑦 ≤ −1 หรือ 𝑦 > 0 }
ฟังก์ชนั 41

ฟั งก์ชนั เชิงเส้น

ฟั งก์ชนั เชิงเส้น คือ ฟั งก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 + 𝑏


เช่น 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 3 → 𝑎=2, 𝑏=3
𝑓(𝑥) = 5 − 3𝑥 → 𝑎 = −3 , 𝑏 = 5
𝑓(𝑥) = 4 → 𝑎=0, 𝑏=4
หมายเหตุ : ในกรณีที่ 𝑎 = 0 (เช่น 𝑓(𝑥) = 4) จะเรียกฟั งก์ชน
ั นัน้ ว่า “ฟั งก์ชนั ค่าคงตัว”

การวาดกราฟฟั งก์ชนั เชิงเส้น ให้หาจุด (𝑥, 𝑦) อะไรก็ได้มา 2 จุด ที่แทนในสมการ 𝑦 = 𝑓(𝑥) แล้วเป็ นจริง
(ส่วนใหญ่ มักนิยมหาจุดตัดแกน X กับจุดตัดแกน Y โดยการแทน 𝑥 = 0 แล้วหา 𝑦 กับ แทน 𝑦 = 0 แล้วหา 𝑥)
จากนัน้ พล็อตจุดทัง้ สอง แล้วลากเส้นตรงให้ผา่ นทัง้ สองจุด

ตัวอย่าง จงวาดกราฟ 𝑓(𝑥) = 2𝑥 + 4


วิธีทา หาจุดอะไรก็ได้มา 2 จุด ที่แทนใน 𝑦 = 2𝑥 + 4 แล้วเป็ นจริง
4
ถ้า 𝑥 = 0 จะได้ 𝑦 = 2(0) + 4 = 4 ได้จดุ (0, 4)
ถ้า 𝑦 = 0 จะได้ 𝑥 = − 42 = −2 ได้จดุ (−2, 0) −2

จากนัน้ พล็อต (0, 4) และ (−2, 0) แล้วลากเส้นตรงผ่าน จะได้กราฟดังรูป #

ตัวอย่าง ชบาแก้ว เป็ นครูสอนพิเศษที่คดิ ค่าสอนชั่วโมงละ 250 บาท โดยมีตน้ ทุนคือค่าเดินทาง 200 บาท และค่าเช่า
ห้องชั่วโมงละ 100 บาท จงเขียนฟั งก์ชนั แสดงกาไรที่ชบาแก้วได้จากการสอนพิเศษนี ้
วิธีทา สมมติให้ 𝑥 แทนจานวนชั่วโมงที่ชบาแก้วสอนพิเศษ → ได้คา่ สอน 250𝑥 บาท
→ ต้องจ่ายค่าเช่าห้อง 100𝑥 บาท
ค่าเดินทาง 200 บาท เป็ นค่าใช้จ่ายคงที่ ไม่ขนึ ้ กับจานวนชั่วโมง จึงไม่ตอ้ งคูณ 𝑥
ดังนัน้ รายรับ = 250𝑥 บาท และรายจ่าย = 100𝑥 + 200
จะได้ฟังก์ชนั แสดงกาไร คือ 𝑓(𝑥) = 250𝑥 − (100𝑥 + 200)
= 250𝑥 − 100𝑥 − 200
= 150𝑥 − 200 #
42 ฟังก์ชนั

ฟั งก์ชนั กาลังสอง

ฟั งก์ชนั กาลังสอง คือ ฟั งก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 เมื่อ 𝑎, 𝑏, 𝑐 เป็ นตัวเลขอะไรก็ได้ ที่ 𝑎 ≠ 0
เช่น 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 𝑥 + 5 → 𝑎 = 2 , 𝑏 = −1 , 𝑐 = 5
𝑓(𝑥) = 3 + 2𝑥 − 𝑥 2 → 𝑎 = −1 , 𝑏 = 2 , 𝑐=3
𝑓(𝑥) = 𝑥 2 → 𝑎= 1, 𝑏= 0, 𝑐=0

ถ้านาฟังก์ชนั กาลังสอง ไปวาดกราฟ จะได้กราฟทีเ่ รียกว่า “พาราโบลา” ซึง่ จะมีลกั ษณะเป็ นเส้นโค้งที่มีการวกกลับ
 ถ้า 𝑎 เป็ นบวก จะได้พาราโบลา “หงาย”
ถ้า 𝑎 เป็ นลบ จะได้พาราโบลา “คว่า” หงาย ควา่
𝑏 4𝑎𝑐−𝑏2
 จุดที่พาราโบลา วกกลับ เรียกว่า “จุดยอด” สูตรหาพิกดั ของจุดยอด คือ (− 2𝑎 , 4𝑎
)
หงาย คว่า

จุดยอด = จุดต่าสุด จุดยอด = จุดสูงสุด


ไม่มีจดุ สูงสุด ไม่มีจดุ ต่าสุด
เพราะสูงได้เรือ่ ยๆ เพราะต่าได้เรือ่ ยๆ

 เรียกแนวเส้นตรงที่ผา่ กลางพาราโบลาว่า “แกนสมมาตร”


𝑏
เวลาตอบแกนสมมาตร ให้ตอบเป็ นสมการ 𝑥 = − 2𝑎
= พิกดั ตัวหน้าของจุดยอด

ตัวอย่าง จงวาดกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 − 5 พร้อมทัง้ บอกสมการแกนสมมาตร


วิธีทา จะได้ 𝑎 = 1 , 𝑏 = 2 , 𝑐 = −5
เนื่องจาก 𝑎 = 1 เป็ นบวก ดังนัน้ เป็ นกราฟหงาย
𝑏 4𝑎𝑐−𝑏2
จุดยอด เป็ นจุดต่าสุด และมีพกิ ดั = (−
2𝑎
,
4𝑎
)
2 4(1)(−5)−22
= (− , )
2(1) 4(1)
−24
= (−1 , 4 )
= (−1 , −6) (−1, −6)
สมการแกนสมมาตร คือ 𝑥 = −1 #

ตัวอย่าง จงวาดกราฟของฟังก์ชนั 𝑔(𝑥) = 4 − 𝑥 2 พร้อมทัง้ บอกสมการแกนสมมาตร


วิธีทา จะได้ 𝑎 = −1 , 𝑏 = 0 , 𝑐 = 4
เนื่องจาก 𝑎 = −1 เป็ นลบ ดังนัน้ เป็ นกราฟคว่า
𝑏 4𝑎𝑐−𝑏2
จุดยอด เป็ นจุดสูงสุด และมีพิกดั = (− 2𝑎 , 4𝑎
)
0 4(−1)(4)−02
(0, 4)
= (− 2(−1) , 4(−1) )
= (0, 4)
สมการแกนสมมาตร คือ 𝑥=0 #
ฟังก์ชนั 43

อีกรูปหนึง่ ของฟังก์ชนั กาลังสองที่นิยมใช้ คือ 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘


เช่น 𝑓(𝑥) = 2(𝑥 − 1)2 + 5 → 𝑎= 2, ℎ= 1, 𝑘= 5
𝑓(𝑥) = −(𝑥 + 2)2 → 𝑎 = −1 , ℎ = −2 , 𝑘= 0
𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 5 → 𝑎= 2, ℎ= 0, 𝑘 = −5
𝑓(𝑥) = 3 − (𝑥 + 2)2 → 𝑎 = −1 , ℎ = −2 , 𝑘= 3

ถ้าโจทย์ให้สมการในรูปนี ้ จะมีวิธีวาดกราฟดังนี ้
 ถ้า 𝑎 เป็ นบวก จะได้พาราโบลาหงาย ถ้า 𝑎 เป็ นลบ จะได้พาราโบลาคว่า
 จุดยอด มีพิกด ั คือ (ℎ, 𝑘)
 สมการแกนสมมาตร คือ 𝑥 = ℎ

ตัวอย่าง จงวาดกราฟของฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = −(𝑥 + 1)2 + 2 พร้อมทัง้ บอกสมการแกนสมมาตร


วิธีทา จะได้ 𝑎 = −1 , ℎ = −1 , 𝑘 = 2
(−1, 2)
เนื่องจาก 𝑎 = −1 เป็ นลบ ดังนัน้ เป็ นกราฟคว่า
จุดยอด เป็ นจุดสูงสุด และมีพิกดั = (ℎ, 𝑘) = (−1, 2)
สมการแกนสมมาตร คือ 𝑥 = −1 #

ตัวอย่าง จงหาโดเมน และ เรนจ์ ของฟั งก์ชนั 𝑔(𝑥) = 𝑥 2 − 5 จากกราฟ


วิธีทา ข้อนี ้ บังคับว่าให้หาโดเมนและเรนจ์ จากกราฟ ดังนัน้ ต้องวาดกราฟให้ได้ก่อน
ข้อนีจ้ ะมองในรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 ก็ได้ → 𝑎 = 1 , ℎ = 0 , 𝑘 = −5
 เป็ นกราฟหงาย , จุดยอด = (0, −5)

หรือจะมองในรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎𝑥 2 + 𝑏𝑥 + 𝑐 ก็ได้ → 𝑎 = 1 , 𝑏 = 0 , 𝑐 = −5


0 4(1)(−5)−02
 เป็ นกราฟหงาย , จุดยอด = (− 2(1) , 4(1)
)
= (0, −5)
(0, −5)
จากกราฟ จะได้ D𝑓 = R
R𝑓 = [−5, ∞) #

อีกอย่างที่โจทย์จะถามได้ คือ “จุดตัดแกน” ซึง่ มีอยู่ 2 ประเภท คือ จุดตัดแกน X กับ จุดตัดแกน Y
 จุดตัดแกน X คือจุดที่ พาราโบลา ตัดกับแกน X ปกติจะตัด 2 จุด แต่บางทีก็ตดั จุดเดียว หรือไม่ตดั เลย
 จุดตัดแกน Y คือจุดที่ พาราโบลา ตัดกับแกน Y พาราโบลาทุกรูป จะตัดแกน Y หนึง่ จุดเสมอ

ตัดแกน X สองจุด ตัดแกน X หนึ่งจุด (สัมผัสแกน X) ไม่ตดั แกน X


ตัดแกน Y หนึ่งจุด ตัดแกน Y หนึ่งจุด ตัดแกน Y หนึ่งจุด
44 ฟังก์ชนั

เรามีวิธีหาพิกดั ของจุดตัดแกน ดังนี ้


 หาจุดตัดแกน X ให้แทน 𝑦 = 0 แล้วหา 𝑥 (เพราะจุดตัดแกน X จะมีพกิ ด
ั Y เป็ นศูนย์เสมอ)
 หาจุดตัดแกน Y ให้แทน 𝑥 = 0 แล้วหา 𝑦 (เพราะจุดตัดแกน Y จะมีพกิ ดั X เป็ นศูนย์เสมอ)

ตัวอย่าง จงหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 3𝑥 − 4


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ต้องแทน 𝑦 = 0
𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 3𝑥 − 4
0 = 𝑥 2 − 3𝑥 − 4
0 = (𝑥 − 4)(𝑥 + 1)
𝑥 = 4 , −1 ดังนัน้ จุดตัดแกน X คือ (4, 0) และ (−1, 0)
หาจุดตัดแกน Y ต้องแทน 𝑥=0
2
𝑓(𝑥) = 𝑥 − 3𝑥 − 4
𝑦 = 02 − 3(0) − 4
𝑦 = −4 ดังนัน้ จุดตัดแกน Y คือ (0, −4) #

จะเห็นว่า จุดตัดแกน Y จะหาง่ายกว่า เพราะแค่แทนค่า คิดเลข


จุดตัดแกน X มักจะต้องแก้สมการกาลังสอง และมักต้องแยกตัวประกอบ
2
ในกรณีที่แยกตัวประกอบไม่ได้ อาจต้องใช้สตู ร 𝑥 = −𝑏±√𝑏2𝑎 −4𝑎𝑐
และถ้าใน √ ติดลบ แปลว่าสมการไม่มีคาตอบ ซึง่ แปลได้วา่ กราฟไม่ตดั แกน X นั่นเอง

ตัวอย่าง จงหาจุดตัดแกน X และจุดตัดแกน Y ของ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 4𝑥 − 3


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ต้องแทน 𝑦 = 0
𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 4𝑥 − 3
0 = 𝑥 2 + 4𝑥 − 3
−4±√42 −4(1)(−3)
𝑥 = 2
= −2 ± √7 ดังนัน้ จุดตัดแกน X คือ (−2 + √7 , 0) และ (−2 − √7 , 0)
หาจุดตัดแกน Y ต้องแทน
𝑥=0
2
𝑓(𝑥) = 𝑥 + 4𝑥 − 3
𝑦 = 02 − 4(0) − 3
𝑦 = −3 ดังนัน้ จุดตัดแกน Y คือ (0, −3) #

ตัวอย่าง จงหาว่า 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 3 ตัดแกน X กี่จดุ


วิธีทา หาจุดตัดแกน X ต้องแทน 𝑦 = 0
𝑓(𝑥) = 𝑥 2 + 2𝑥 + 3
0 = 𝑥 2 + 2𝑥 + 3
−2±√22 −4(1)(3)
𝑥 = 2
−2±√−8
=
2 จะเห็นว่าในรูทติดลบ ดังนัน้ กราฟไม่ตดั แกน X #
ฟังก์ชนั 45

นอกจากนี ้ เรายังต้องอ่านและวิเคราะห์กราฟพาราโบลา ให้เป็ นด้วย


ส่วนใหญ่ เราจะต้องการดูวา่ ค่า 𝑦 ที่บริเวณต่างๆในกราฟเป็ นอย่างไร

ตัวอย่าง กาหนด 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 3 จงพิจารณาว่าข้อใดผิด


1. กราฟของ 𝑓 อยูใ่ ต้แกน X สาหรับทุก 𝑥 ที่อยูใ่ นช่วง (0, 2)
2. 𝑓(𝑥) ≥ −5 สาหรับทุกจานวนจริง 𝑥
3. 𝑓(1 + √2) = 𝑓(1 − √2)
4. 𝑓(2 + √2) < 𝑓(2 − √2)
วิธีทา จากสมการกราฟที่โจทย์ให้ จะได้ 𝑎 = 1 , 𝑏 = −2 , 𝑐 = −3 → เป็ นกราฟหงาย
−2 4(1)(−3)−(−2)2
จุดยอด = (− 2(1) ,
4(1)
) = (1, −4)

หาจุดตัดแกน X: 0 = 𝑥 2 − 2𝑥 − 3
0 = (𝑥 − 3)(𝑥 + 1)
𝑥 = 3 , −1

ข้อ 1 จะเห็นว่า บริเวณ 𝑥 ∈ (0, 2) กราฟอยูใ่ ต้แกน X ดังนัน้ ข้อ 1 ถูก


ข้อ 2 จากกราฟ ค่า 𝑦 ที่ต่าที่สดุ คือ −4 ซึง่ > −5 ดังนัน้ ข้อ 2 ถูก
ข้อ 3 เนื่องจากจุดยอด มีพิกดั 𝑥 = 1 ดังนัน้ กราฟจะสมมาตรรอบๆ 𝑥 = 1
นั่นคือ ที่ 𝑥 = 1 + 𝑘 กับที่ 𝑥 = 1 − 𝑘 กราฟจะมีคา่ 𝑦 เท่ากัน
ดังนัน้ ค่า 𝑦 ตรง 𝑥 = 1 + √2 ก็จะต้องเท่ากับ ค่า 𝑦 ตรง 𝑥 = 1 − √2
𝑥=1 ดังนัน้ ข้อ 3 จริง
ข้อ 4 จากกราฟ จะเห็นว่า ตรง 𝑥 = 2 กราฟเป็ นช่วงขาขึน้
หมายความว่า ที่ 𝑥 = 2 + 𝑘 กราฟจะสูงขึน้ แต่ที่ 𝑥 = 2 − 𝑘 กราฟจะต่าลง
ดังนัน้ ค่า 𝑦 ตรง 𝑥 = 2 + √2 ก็จะต้องสูงกว่า ค่า 𝑦 ตรง 𝑥 = 2 − √2
𝑥=2 ดังนัน้ ข้อ 4 จึงผิด #

แบบฝึ กหัด
1. จงหา ลักษณะกราฟ (คว่า/หงาย), จุดยอด, แกนสมมาตร, จุดตัดแกน X, จุดตัดแกน Y, จุดสูงสุด/ต่าสุด, ค่าสูงสุด/
ต่าสุด ของพาราโบลาต่อไปนี ้ พร้อมทัง้ วาดรูปกราฟอย่างคร่าวๆ และหาโดเมน, เรนจ์ จากกราฟ
1. 𝑦 = 𝑥 2 − 4𝑥 + 3
ลักษณะกราฟ: จุดยอด:
แกนสมมาตร:
จุดตัดแกน X: จุดตัดแกน Y:
จุดสูงสุด: จุดต่าสุด:
ค่าสูงสุด: ค่าต่าสุด:
โดเมน: เรนจ์:
46 ฟังก์ชนั

2. 𝑦 + 2 = −(𝑥 + 1)2
ลักษณะกราฟ: จุดยอด:
แกนสมมาตร:
จุดตัดแกน X: จุดตัดแกน Y:
จุดสูงสุด: จุดต่าสุด:
ค่าสูงสุด: ค่าต่าสุด:
โดเมน: เรนจ์:

2. พาราโบลารูปหนึง่ เป็ นกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓(𝑥) = 2𝑥 2 − 4𝑥 − 6 ข้อใดถูกต้อง [O-NET 54/12]


1. พาราโบลารูปนีม้ ีแกนสมมาตรคือเส้นตรง 𝑥 = −1
2. พาราโบลารูปนีม้ ีจดุ วกกลับอยูใ่ นจตุภาคที่สี่

3. ถ้า P เป็ นจุดวกกลับของพาราโบลา 𝑦 = −𝑥 2 + 12𝑥 − 38 และ O เป็ นจุดกาเนิด แล้ว ระยะห่างระหว่างจุด P


และจุด O เท่ากับเท่าไร [O-NET 49/1-6]

4. ถ้ากราฟของ 𝑦 = 𝑥 2 − 2𝑥 − 8 ตัดแกน X ที่จดุ A, B และมี C เป็ นจุดวกกลับ แล้ว รูปสามเหลีย่ ม ABC มีพนื ้ ที่
เท่ากับเท่าไร [O-NET 50/25]
ฟังก์ชนั 47

อีกหัวข้อในเรือ่ งพาราโบลาที่นิยมทาไปออกข้อสอบ คือ เรือ่ งค่ามากสุด - น้อยสุด


วิธีหา คือ ให้หาจุดสูงสุด หรือ จุดต่าสุด แล้วเอาค่า 𝑦 ไปตอบ
 ในกราฟหงาย จะไม่มีจด ุ สูงสุด จุดยอดจะเป็ นจุดต่าสุด โดยค่า 𝑦 ตรงจุดยอด คือ ค่าน้อยสุด
 ในกราฟคว่า จะไม่มีจด ุ ต่าสุด จุดยอดจะเป็ นจุดสูงสุด โดยค่า 𝑦 ตรงจุดยอด คือ ค่ามากสุด
หมายเหตุ: เวลาที่โจทย์พดู คาว่า “ค่า” เฉยๆ ให้หมายถึง ค่า 𝑦

ตัวอย่าง จงหาค่ามากสุด หรือ ค่าน้อยสุด ของ 𝑔(𝑥) = 2(𝑥 − 1)2 − 3


วิธีทา ข้อนีม้ าในรูป 𝑎(𝑥 − ℎ)2 + 𝑘 โดยที่ 𝑎 = 2 , ℎ = 1 , 𝑘 = −3
เนื่องจาก 𝑎 เป็ นบวก ดังนัน้ เป็ นกราฟหงาย จะได้จดุ ยอดเป็ นจุดต่าสุด และมีพิกดั คือ (1, −3)
ดังนัน้ ค่าน้อยสุด คือ −3 แต่คา่ มากสุด หาไม่ได้ #

แบบฝึ กหัด
5. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = −𝑥 2 + 4𝑥 − 10 ข้อความใดต่อไปนีถ้ กู ต้อง [O-NET 49/1-5]
1. 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ −6 2. 𝑓 ไม่มีคา่ สูงสุด
9
3. 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 6 4. 𝑓 (√2) < −6

6. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = (𝑥 − 3)2 − 4 ข้อใดถูกต้องบ้าง [O-NET 57/14]


1. กราฟของ 𝑓 เป็ นพาราโบลาหงาย
2. ถ้า 𝑥 ∈ (1, 4] แล้ว 𝑓(𝑥) < 0
3. ถ้ากราฟของ 𝑓 ตัดแกน 𝑦 ที่จดุ (0, 𝑎) และค่าต่าสุดของ 𝑓 คือ 𝑏 แล้ว 𝑎 + 𝑏 = 1

7. ถ้าเส้นตรง 𝑥 = 3 เป็ นเส้นสมมาตรของกราฟของฟังก์ชนั 𝑓(𝑥) = −𝑥 2 + (𝑘 + 5)𝑥 + (𝑘 2 − 10) เมื่อ 𝑘 เป็ น


จานวนจริง แล้ว 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับเท่าไร [O-NET 51/10]
48 ฟังก์ชนั

8. ถ้า 𝑓(𝑥) = −𝑥 2 + 𝑥 + 2 แล้ว ข้อสรุปใดถูกต้อง [O-NET 53/10]


1. 𝑓(𝑥) ≥ 0 เมื่อ −1 ≤ 𝑥 ≤ 2
2. จุดวกกลับของกราฟของฟั งก์ชนั 𝑓 อยูใ่ นจตุภาคที่สอง
3. ฟั งก์ชนั 𝑓 มีคา่ สูงสุดเท่ากับ 2
4. ฟั งก์ชนั 𝑓 มีคา่ ต่าสุดเท่ากับ 2

9. กาหนดให้ 𝑓(𝑥) = 𝑥 2 − 2𝑥 − 15 ข้อใดต่อไปนีผ้ ิด [O-NET 51/30]


1. 𝑓(𝑥) ≥ −17 ทุกจานวนจริง 𝑥
2. 𝑓(−3 − √2 − √3) > 0
3. 𝑓(1 + √3 + √5) = 𝑓(1 − √3 − √5)
4. 𝑓(−1 + √3 + √5) > 𝑓(−1 − √3 − √5)

10. พาราโบลารูปหนึง่ มีเส้นสมมาตรขนานกับแกน Y และมีจดุ สูงสุดอยูท่ ี่จดุ (𝑎, 𝑏)


ถ้าพาราโบลานีต้ ดั แกน X ที่จดุ (– 1, 0) และ (5, 0) แล้ว 𝑎 มีคา่ เท่ากับเท่าไร [O-NET 50/10]
ฟังก์ชนั 49

นอกจากนี ้ เรือ่ งค่ามาสุดน้อยสุด ยังสามารถออกเป็ นโจทย์ปัญหาแบบที่เด็กส่วนใหญ่ไม่คอ่ ยชอบได้


โดยโจทย์มกั จะสร้างเรือ่ งราวสลับซับซ้อนมาให้ แล้วสุดท้ายให้หา พืน้ ที่มากสุด ต้นทุนน้อยสุด กาไรมากสุด ฯลฯ
วิธีทาโจทย์ประเภทนี ้ คือ
1. ให้ 𝑦 เป็ นสิง่ ที่โจทย์ตอ้ งการหาค่ามากสุดน้อยสุด
2. สมมติให้ 𝑥 แทนปริมาณซักตัว ที่มีผลต่อค่า 𝑦
3. เขียนปริมาณอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ให้อยูใ่ นเทอมของ 𝑥
4. เขียนสมการของ 𝑦 ให้เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสองของ 𝑥
5. สุดท้าย ใช้ความรูเ้ รือ่ งจุดยอดของพาราโบลาเพื่อหาค่ามากสุดน้อยสุด

ตัวอย่าง มีลวดยาว 20 เมตร ต้องการล้อมทีด่ ินริมแม่นา้ ให้เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก โดยล้อมแค่ 3 ด้าน เว้นด้านทีต่ ิดริม
แม่นา้ ไม่ตอ้ งล้อม จงหาว่าจะล้อมได้พนื ้ ที่มากที่สดุ เท่าไร
วิธีทา ข้อนีต้ อ้ งการพืน้ ที่มากสุด ดังนัน้ ให้ 𝑦 แทนพืน้ ที่ และ ให้ 𝑥 แทนปริมาณซักอย่าง ที่มีผลต่อพืน้ ที่
ในข้อนี ้ เราจะให้ 𝑥 แทนด้านกว้าง 20 − 2𝑥

เนื่องจากมีลวดยาว 20 เมตร 𝑥 𝑥

ดังนัน้ เหลือลวดสาหรับด้านยาว = 20 − 2𝑥
เนื่องจาก พืน้ ที่ = กว้าง × ยาว ดังนัน้ จะได้สมการ คือ 𝑦 = 𝑥(20 − 2𝑥)
= 20𝑥 − 2𝑥 2
= −2𝑥 2 + 20𝑥
จะเห็นว่า 𝑦 เป็ นฟั งก์ชนั กาลังสอง ซึง่ มี 𝑎 = −2 , 𝑏 = 20 , 𝑐 = 0 → เป็ นกราฟคว่า
20 4(−2)(0)−20 2
จะได้จดุ ยอดเป็ นจุดสูงสุด ซึง่ มีพกิ ดั = (− 2(−2) , 4(−2)
) = (5, 50)
ดังนัน้ 𝑦 มีคา่ มากสุด คือ 50 เมื่อ 𝑥 = 5
นั่นคือ จะได้พนื ้ ที่มากสุด 50 ตารางเมตร
โดยต้องล้อมให้กว้าง 5 เมตร และยาว 20 − 2(5) = 10 เมตร #

แบบฝึ กหัด
11. โยนลูกบอลขึน้ ในแนวดิง่ ถ้าความสูงของลูกบอล (ฟุต) ที่โยนขึน้ 𝑓(𝑡) = −𝑡 2 + 6𝑡 เมื่อ 𝑡 แทนเวลา (วินาที)
1. ที่วินาทีที่ 2 ลูกบอลอยูส่ งู จากพืน้ ที่ได 2. นานเท่าใดลูกบอลจึงจะอยูส่ งู จากพืน้ 5 ฟุต

3. ในขณะที่ลกู บอลอยูท่ ี่จดุ สูงสุดจากพืน้ ใช้เวลานานเท่าได


50 ฟังก์ชนั

4. ลูกบอลขึน้ สูงสุด กี่ฟตุ

5. นานเท่าไรลูกบอลจึงจะตกสูพ่ นื ้

12. เจ้าของโรงงานผลิตตุก๊ ตา พบว่าผลกาไร 𝑓(𝑥) มีความสัมพันธ์กบั จานวนตุ๊กตา 𝑥 ดังนี ้


𝑓(𝑥) = −20𝑥 2 + 400𝑥 จงหา
1. จานวนตุ๊กตาที่ทาให้โรงงานมีผลกาไร

2. จานวนตุ๊กตาที่ทาให้โรงงานมีกาไรสูงสุด

3. ผลกาไรมากที่สดุ

13. ถ้าต้นทุนในการผลิตของเล่น 𝑥 ชิน้ เท่ากับ 13 𝑥 2 − 20𝑥 − 200 บาท โดยขายของเล่นในราคาชิน้ ละ 180 บาท
ถ้าต้องการผลิตกาไรสูงสุด บริษัทต้องผลิตของเล่นกี่ชิน้
ฟังก์ชนั 51

14. กาหนดให้ 𝑥 เป็ นจานวนนับ เมื่อรวมกับอีกจานวนหนึง่ เท่ากับ 10 จงหาค่าสูงสุดของผลคูณระหว่างจานวนนับสอง


จานวนดังกล่าว

15. ลวดเส้นหนึง่ ยาว 20 ซ.ม. นามาดัดเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉาก จงหาพืน้ ที่มากสุดที่เป็ นไปได้ ของสีเ่ หลีย่ มนี ้

16. เมธาวีตอ้ งการล้อมรัว้ ที่ดินรูปสีเ่ หลีย่ มมุมฉากเพื่อเลีย้ งเป็ ด โดยที่ดินด้านหนึง่ ติดแม่นา้ ไม่ตอ้ งล้อมรัว้ ถ้าเธอมีลวด
ยาว 60 เมตร และเป็ ดตัวหนึง่ ต้องใช้พนื ้ ที่ 5 ตารางเมตร จงหาว่า เมธาวีจะเลีย้ งเป็ ดได้มากที่สดุ กี่ตวั

17. ถ้าคะแนนสอบของนัชชาและวันวิสาข์ รวมกันได้ 10 คะแนน อยากทราบว่าผลบวกของกาลังสองของคะแนนสอบ


ของทัง้ สองคน มีคา่ น้อยสุดเท่าไร
52 ฟังก์ชนั

18. ฟาร์มแห่งหนึง่ กัน้ รัว้ เป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า โดยด้านทิศใต้ติดริมนา้ ไม่ตอ้ งกัน้ รัว้ และรัว้ ด้านทิศเหนือ ต้องเปิ ดเป็ น
ช่องกว้าง 10 เมตร ถ้ามีไม้สาหรับทารัว้ ยาว 110 เมตร จะสามารถเลีย้ งวัวได้มากที่สดุ กี่ตวั เมื่อวัว 1 ตัว ต้องใช้พนื ้ ที่
อย่างน้อย 20 ตารางเมตร

19. ถ้า 𝑦2 − 𝑥 = 1 แล้ว 𝑥𝑦 2 มีคา่ น้อยที่สดุ เท่ากับเท่าใด [O-NET 56/15]


ฟังก์ชนั 53

ฟั งก์ชนั ขัน้ บันได

คือฟั งก์ชนั ที่แบ่งค่า 𝑥 ออกเป็ นหลายช่วง โดยที่แต่ละช่วง มีคา่ 𝑦 เป็ นค่าคงที่


−2 ;0 ≤ 𝑥 < 1
10 ; 0 ≤ 𝑥 < 1
1 ;1 ≤ 𝑥 < 2
เช่น 𝑓(𝑥) = { 20 ; 1 ≤ 𝑥 < 3 𝑓(𝑥) = {
2 ;2 ≤ 𝑥 ≤ 3
25 ; 3 ≤ 𝑥 < 5
3 ;𝑥 > 3

เมื่อเขียนกราฟของฟังก์ชนั จะได้รูปกราฟที่มีลกั ษณะคล้ายขัน้ บันได

ในชีวติ จริง เรามักพบฟั งก์ชนั ขัน้ บันไดในการกาหนดราคาสินค้าหรือบริการ ตามอายุ นา้ หนัก หรือเวลาในการใช้บริการ

ตัวอย่าง จงเขียนฟั งก์ชนั แสดงค่าใช้บริการโทรศัพท์มือถือ โดยคิดค่าบริการ 5 นาทีแรกเหมาจ่าย 10 บาท และนาทีถดั ไป


นาทีละ 1 บาท โดยเศาของนาทีคิดเป็ น 1 นาที
วิธีทา จากข้อมูลที่โจทย์กาหนด ถ้าโทรไม่เกิน 5 นาที จะเสียค่าบริการ 10 บาท
ถ้าโทรเกิน 5 นาที แต่ไม่เกิน 6 นาที จะเสียค่าบริการเพิม่ 1 บาท รวมเป็ น 11 บาท
ถ้าโทรเกิน 6 นาที แต่ไม่เกิน 7 นาที จะเสียค่าบริการเพิม่ 1 บาท รวมเป็ น 12 บาท

10 ;0 < 𝑥 ≤5
11 ;5 < 𝑥 ≤6
ดังนัน้ จะได้ฟังก์ชนั คือ 𝑓(𝑥) = 12 ;6 < 𝑥 ≤7 #
13 ;7 < 𝑥 ≤8
{ ⋮
54 ฟังก์ชนั

ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล

ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล คือฟั งก์ชนั ที่อยูใ่ นรูป 𝑓(𝑥) = 𝑎 𝑥 เมื่อ 𝑎 เป็ นตัวเลขอะไรก็ได้ ที่มากกว่า 0 และไม่เท่ากับ 1
ที่ผา่ นมา 𝑥 จะเป็ นฐานของการยกกาลังซะส่วนใหญ่ แต่ในเรือ่ งนี ้ 𝑥 จะถูกใช้เป็ น “เลขชีก้ าลัง”

ก่อนอื่น ต้องรูว้ า่ ยิ่งยกกาลังมาก ไม่ได้แปลว่าจะได้ผลลัพธ์มากขึน้ เสมอไป


เช่น 22 = 4 (0.1)2 = 0.01
23 = 8 มากขึน้ (0.1)3 = 0.001 น้อยลง

ดังนัน้ ใน 𝑓(𝑥) = 𝑎 𝑥 จะเห็นว่า


 ถ้า 𝑎 > 1 ยิ่งยกกาลังมาก ก็จะยิง่ ได้คา่ มาก
 ถ้า 𝑎 < 1 ยิ่งยกกาลังมาก กลับจะได้คา่ น้อยลง

เนื่องจากในเรือ่ งนีจ้ ะสนใจเฉพาะ 𝑎 ที่มากกว่า 0 และไม่เท่ากับ 1


ดังนัน้ จะแยกพิจารณาได้เป็ น 2 กรณี คือ กรณี 𝑎 > 1 กับ กรณี 0 < 𝑎 < 1

กรณี 𝑎 > 1 เช่น 𝑦 = 2𝑥 กรณี 0 < 𝑎 < 1 เช่น 𝑦 = 0.1𝑥


𝑥 ยิ่งมาก จะได้ 𝑦 ที่มากขึน้ 𝑥 ยิ่งมาก กลับจะได้ 𝑦 ที่นอ้ ยลง

𝑥 เพิ่ม → 𝑦 เพิ่ม ↑ 𝑥 เพิ่ม → 𝑦 ลด ↓

(0, 1) (0, 1)

 เมื่อ 𝑥 เป็ นบวกมากๆ ค่า 𝑦 จะเพิ่มสุดๆ  เมื่อ 𝑥 เป็ นลบมากๆ ค่า 𝑦 จะเพิ่มสุดๆ
 เมื่อ 𝑥 เป็ นศูนย์ จะได้ 𝑦 = 1  เมื่อ 𝑥 เป็ นศูนย์ จะได้ 𝑦 = 1
 เมื่อ 𝑥 เป็ นลบมากๆ ค่า 𝑦 จะเกือบเป็ น 0  เมื่อ 𝑥 เป็ นบวกมากๆ ค่า 𝑦 จะเกือบเป็ น 0

ไม่วา่ จะเป็ นกรณีไหนก็ตาม จะเห็นว่า เมือ่ 𝑥 = 0 จะได้คา่ 𝑦 = 𝑎0 = 1 เสมอ นั่นคือ กราฟจะผ่านจุด (0, 1) เสมอ
และจากกราฟของทัง้ สองกรณี จะได้ D𝑓 = R และ R𝑓 = R+
ฟังก์ชนั 55

แบบฝึ กหัด
1. กาหนดให้ 𝑎 และ 𝑏 เป็ นจานวนจริงบวก ถ้ากราฟของฟั งก์ชนั 𝑦1 = 1 + 𝑎 𝑥 และ 𝑦2 = 1 + 𝑏 𝑥 มีลกั ษณะแสดง
ในภาพต่อไปนีแ้ ล้ว
Y
𝑥
𝑦2 = 1 + 𝑏 𝑦1 = 1 + 𝑎 𝑥

1
X

ข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [O-NET 51/9]


1. 1 < 𝑎 < 𝑏 2. 𝑎<1<𝑏
3. 𝑏 < 1 < 𝑎 4. 𝑏<𝑎<1

2. ถ้า 𝑥 = sin 65° แล้ว อสมการในข้อใดต่อไปนีเ้ ป็ นจริง [O-NET 49/1-19]


𝑥 𝑥 𝑥2
1. 𝑥 < 𝑥 2 < 1+𝑥 2. 𝑥 < 1+𝑥 < 1+𝑥2
𝑥2 𝑥2
3. 𝑥2 < 𝑥 <
1+𝑥 2
4. 1+𝑥 2
< 𝑥2 < 𝑥
56 ฟังก์ชนั

คูอ่ นั ดับ

1. 1. 𝑥=3, 𝑦=0 2. 𝑥 = −1 , 𝑦 = 2
2. 5 3. 6

ผลคูณคาร์ทีเซียน

1. 1. 6 2. 100 3. 4 4. 3
5. 4 6. 4
2. 1. {(𝑎, 𝑎), (𝑎, 𝑐), (𝑏, 𝑎), (𝑏, 𝑐), (𝑐, 𝑎), (𝑐, 𝑐)} 2. {(1, 2), (1, {1}), ({2}, 2), ({2}, {1})}
3. {(สมชาย , สมชาย), (สมปอง , สมชาย)} 4. {(1, 1), (1, (2, 3)), (2, 1), (2, (2, 3))}
3. 1, 4 4. 1

ความสัมพันธ์

1. 1. {(2, 6), (4, 12), (6, 18)} 2. {(1, 2), (3, 8), (5, 14), (7, 20)}
3. {(1, 3), (2, 6), (3, 9)} 4. {(20, 2), (20, 4), (18, 2)}
5. {(1, 8), (1, 9), (1, 10), (2, 10)} 6. {(6, 8), (12, 16)}
7. {(1, 4), (3, 2), (7, 2), (9, 4)} 8. {}
9. {(2, 3), (4, 5), (6, 7), (8, 9)}
2. 2 3. 10 4. 5 5. 2
6. 3 7. 𝑦 = 1000 + 80𝑥 − 2𝑥 2

กราฟของความสัมพันธ์

1. 1, 3
1
2. 1. X : (3, 0) 2. X : (− 2 , 0) 3. X : (1, 0), (−3, 0) 4. X : ไม่ตดั
Y : (0, 2) Y : (0, 1) Y : (0, −1) Y : (0, 3), (0, −3)
5. X : (1, 0), (−1, 0) 6. X : (1, 0)
Y : (0, −1) Y : ไม่ตดั
1 3
3. 1. (− 2 , ∞) 2. (−∞ , −1) ∪ ( 2 , ∞)
1
4. 1. (−2, 4 ) 2. (3, ∞)
5. 2 6. 2 7. 1 8. 4
ฟังก์ชนั 57

รูปกราฟที่ควรจา

1. 1. 2. 3. 4.

−2

5. 6.

2 4

กราฟของอสมการ

1. 1. 2. 3. 4.

5. 6. 7. 8.

9.

2. 1 3. 4 4. 1 5. 3

โดเมน และ เรนจ์


2 2
1. 1. R − {0} , R − {1} 2. R − {3} , R − {3}
3. R − {−2} , R − {2} 4. R − {0} , R − {1}
5. R − {−1} , R − {3} 6. R , [3, ∞)
7. R , [−10, ∞) 8. [0, ∞) , [1, ∞)
9. (−∞, −2] ∪ [2, ∞) , [0, ∞) 10. [−1, 1] , [0, 1]
11. [0, ∞) , (−∞, 0] 12. [−2, 2] , [−2, 0]
13. [−2, 2] , [1, 3] 14. (−∞, −1] ∪ [1, ∞) , (−∞, 2]
2. 1. (−∞, 1] ∪ [2, ∞) 2. (−∞, −2] ∪ (0, ∞)
3. (−∞, −3) ∪ [−1, 2]
58 ฟังก์ชนั

โดเมนและเรนจ์ จากกราฟ

1. 1. [0, 2] , [−1, 3] 2. (−∞, 0] , R


3. R , (−∞, −2] ∪ [2, ∞) 4. (−3, 3) , (−3, 3)
5. (−2, 2] , (−2, 3) 6. R , [0, ∞)
7. R , (1, ∞) 8. R, R

ฟั งก์ชนั

1. 1, 2, 4 2. 1, 2, 4, 7, 10, 11 3. 2, 4, 5, 6, 7 4. 2
5. 4 6. 4 7. 1 8. 3
9. 4 10. 3 11. 2

สัญลักษณ์แทนฟั งก์ชนั

1. 1. 2 2. 5 3. 2 4. 1
5. 16 6. 4
2. 1. 1 2. 2 3. 1 4. 11
3. 1. R , R 2. [4, ∞) , [1, ∞) 3. R , [0, ∞) 4. R , [−8, ∞)
4. 1. −7 2. 1 + 2𝑥 − 𝑥 2 3. 1 − 2𝑥 2 − 𝑥 4 4. −2 + 4𝑥 − 𝑥 2
5. 4𝑥 + 3 6. 2𝑥 + 1 7. 2𝑥 + 4 8. 2
9. 1 − 𝑥1 10. 𝑥 2 + 5𝑥 − 6 11. 6 12. 86
13. 2 14. 2𝑥 2 + 3 15. 3 16. [−2, 2] , [1, 3]
17. 4 18. 5

ฟั งก์ชนั กาลังสอง

1. 1. ลักษณะกราฟ: หงาย จุดยอด: (2, −1)


แกนสมมาตร: 𝑥 = 2
จุดตัดแกน X: (1, 0), (3, 0) จุดตัดแกน Y: (0, 3)
จุดสูงสุด: ไม่มี จุดต่าสุด: (2, −1)
(2, −1)
ค่าสูงสุด: ไม่มี ค่าต่าสุด: −1
โดเมน: R เรนจ์: [−1, ∞)
ฟังก์ชนั 59

2. ลักษณะกราฟ: คว่า จุดยอด: (−1, −2)


แกนสมมาตร: 𝑥 = −1
จุดตัดแกน X: ไม่มี จุดตัดแกน Y: (0, −3)
(−1, −2)
จุดสูงสุด: (−1, −2) จุดต่าสุด: ไม่มี
ค่าสูงสุด: −2 ค่าต่าสุด: ไม่มี
โดเมน: R เรนจ์: (−∞, −2]
2. 2 3. 2√10 4. 27 5. 4
6. 1, 2, 3 7. 0 8. 1 9. 4
10. 2
11. 1. 8 2. 1, 5 3. 3 4. 9
5. 0, 6
12. 1. 1,2, … , 19 2. 10 3. 2000
13. 300 14. 25 15. 25 16. 90
1
17. 50 18. 90 19. −
4

ฟั งก์ชนั เอกซ์โพเนนเชียล

1. 3 2. 4

You might also like