chapter 1 รังสีดวงอาทิตย์และการเปลี่ยนเป็นรูปพลังงานความร้อน

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 60

ี วงอาทิตย์

ร งั ส ด พง 532
การประยุ ก ต์ ใ ช้
และการเปลีย ่ นรูป เป็ น พลั ง งาน
พล ังงานความร้อ น ทางการเกษตร
อ.ดร.สุลักษณา มงคล
OUTLINE

1. การเปลีย
่ นรูปพลังงานแสงอาทิตย์
2. ดวงอาทิตย์และโลก
ี าทิตย์
3. รังสอ
ั ยภาพรังสอ
4. ศก ี าทิตย์ในประเทศไทย
5. เครือ ี าทิตย์
่ งมือวัดค่ารังสอ
1. การเปลีย
่ นรูปพลังงานแสงอาทิตย์

Solar Cell
• Electricity

Solar Collector
• Heat
้ งงาน
การประยุกต์ใชพลั
แสงอาทิตย์
(Solar Energy Application)

พลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบ พลังงานแสงอาทิตย์ในรูปแบบ
ไฟฟ้ า ความร ้อน
(Solar Electricity Application) (Solar Thermal Application)

ระบบผลิตไฟฟ้ าด ้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบ ผลิตน้ าร ้อน (Solar Hot Water)


อิสระ
(PV Stand Alone System) อบแห ้งผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร
(Solar Hot Water)
ระบบผลิตไฟฟ้ าด ้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบ
ต่อกับระบบจาหน่าย การผลิตไฟฟ้ า
(PV Grid Connected System) (Solar Thermal Electric Generation)

ระบบผลิตไฟฟ้ าด ้วยเซลล์แสงอาทิตย์แบบ อืน


่ ๆ
ผสมผสาน (PV Hybrid System)

4
n - type ซล ิ ค
ิ อน ซงึ่ อยูด
่ ้านหน ้าของ
เซลล์ คือ สารกึง่ ตัวนาทีไ่ ด ้การโดป
ปิ้ งด ้วยสารฟอสฟอรัส มีคณ ุ สมบัต ิ
เป็ นตัวให ้อิเล็กตรอนเมือ ่ รับพลังงาน
จากแสงอาทิตย์

p - type ซลิ คิ อน คือสารกึง่ ตัวนาที่


ได ้การโดปปิ้ งด ้วยสารโบรอน ทาให ้
โครงสร ้างของอะตอมสูญเสย ี
อิเล็กตรอน (โฮล) เมือ ่ รับพลังงาน
จากแสงอาทิตย์จะทาหน ้าทีเ่ ป็ นตัวรับ
อิเล็กตรอน

ซลิ ค
ิ อนทัง้ 2 ชนิด มา
ประกบต่อกันจะมีรอยต่อ
เรียกว่า p - n junction อยู่
n-type (Coating P) ในสภาวะสนามแม่เหล็ก
p-type (Coating Br)

5
แผงเซลล์อาทิตย์
ผลิตไฟฟ้ ากระแสตรง
แรงดันตา่

เครือ
่ งแปลงไฟจาก
กระแสตรงแรงดันตา่
เป็ นกระแสสลับ
แรงดันตา่

อุปกรณ์ชาร์ท
เพิม
่ แรงด ันก่อน ประจุไฟฟ้ าให ้กับ
นาไปใชง้ านผ่าน แบตเตอรี่
หม้อแปลงไฟฟ้า
อุปกรณ์เก็บประจุ
ไฟฟ้ า 6
SOLAR PUMP
SOLAR STREET LIGHT

Solar panel
LED lamp

Battery

8
9
Single Glazed

Single Glazed

Flat plate solar collector

Unglazed Unglazed
10
Evacuated solar collector

11
Thermal Solar Electricity
“Parabolic through”

12
ระบบท่ อ ความร อ
้ น เทอร์โ มไซฟอน
(THERMO SIPHON SYSTEMS)

13
การผลิต นา้ ร้อ นชนิด ใช ้ป๊ ั มนา้ หมุ น เวีย น
การผลิต นา้ ร้อ นชนิด ผสมผสาน-HEAT PUMP

15
้ ้า ร อ
การใช น ้ นพลั ง งานแสงอาทิต ย์ใ นบ่ อ เลี้ ย งปลา

16

การประยุ ก ต์ใ ช งานระบบท าความเย็ น ด ว้ ยพลั ง งาน
ความร อ้ นแสงอาทิต ย์

17
เครือ
่ งกล น
่ ั นา้

18
ระบบอบแห้ง แสงอาทิต ย์
20
GREENHOUSE DESIGN

21
22
GREENHOUSE COVER MATERIAL

Poly ethylene (PE) Ethylene – vinyl acetate Polyvinyl chloride


(EVA) (PVC)

Fiber Glass Saran Plastic 23


Acrylic
2. ดวงอาทิต ย์แ ละโลก

้ า นศู น ย์ ก ลาง 1.4 ล า้ นกิโ ลเมตรหรื อ ประมาณ


 ดวงอาทิต ย์ มี เ ส นผ่
้ า นศู น ย์ ก ลางของโลก และมี ม วลเท่ า กั บ
109 เท่ า ของเส นผ่
1.989 x 1030 กิโ ลกรั ม หรื อ ประมาณ 3 แสนเท่ า ของมวลโลก
 บนดวงอาทิต ย์เ กิด ปฏิก ิร ิย าฟิ วชั่ น ของก๊ า ซไฮโดรเจนหลอมเป็ น
ก๊ า ซฮ ีเ ลี ย ม ธาตุ ต่ า งๆ อยู่ ใ นสภาวะพลาสมาภายใต อ
้ ุ ณ หภู ม ิแ ละ
ความกดดั น สู ง มาก ปลดปล่ อ ยพลั ง งานในรู ป คลื่น แม่ เ หล็ ก ไฟ ฟ้ า
เช ่ น คลื่ น แสง และอนุ ภ าคพลั ง งานสู ง

 ดวงอาทิต ย์ ป ล่ อ ยคลื่น แสงมายั ง โลกใช เวลา 8 นาที ตกกระทบ
พื้ น โลกและถู ก สะท อ
้ นออกไปอวกาศ 30%
 โลกได ร้ ั บ พลั ง งานจากดวงอาทิต ย์ เ ฉลี่ย 23,000-68,000
kJ/m 2 /d 24
1 SUN GEOGRAPHY

อุณหภูม ิ 15 ล ้าน 2
เคลวิน เป็ นแหล่ง
เกิดปฏิกริ ย
ิ าเทอร์ ั ้ แสงสว่าง
ชน
โมนิวเคลียร์ อุณหภูม ิ 4,000-
6,000 oC

4 ชนั ้ บรรยากาศนอกสุด ั ้ บรรยากาศบางๆ


3 ชน

อุณหภูม ิ 1x106 – 2x106 oC อุณหภูม ิ 6,000-


20,000 oC
แผ่พลังงานได ้ 5 เท่าของ
ดวงอาทิตย์ มีแสงสว่างเรือง
แผ่ออกโดยรอบ
25
รังสอ ี าทิตย์สว่ นใหญ่อยู่ในรูปของแสงสว่างและรังสอ ี น
ิ ฟราเรด สาหรับรังส ี
อั ล ตราไวโอเลต ถึง แม จ้ ะมีสั ด ส่ ว นค่ อ นข ้างน อ ้ ยแต่ ม ี พ ลั ง งานโฟตอน
(photon energy) สูง ซงึ่ มีผลกระทบต่อเซลล์ของสงิ่ มีชวี ต ิ นอกจากรังส ี
ต่างๆ ดังกล่า วแล ้ว ดวงอาทิต ย์ยั งแผ่รั งส เี อ็ก ซ ์ และคลืน ่ วิทยุอ ก ี เล็ กน ้อย
ซงึ่ มีผลในด ้านพลังงานน ้อยมาก
EARTH GEOGRAPHY
้ ้ง = 0
เสนรุ


เสนแวง = 0

้ ้ง เสนรุ
Latitude หรือ เสนรุ ้ ้งมีคา่ ตัง้ แต่ 0-90 (0=69 mile) อ ้างจาก
เสน้ Equator ไปยังขัว้ โลก แบ่งเป็ นขัว้ โลกเหนือ (+) และขัว้ โลกใต ้ (-)


Longitude หรือ เสนแวง แบ่งจากเสน้ Prime meridian ไปทิศ
ตะวันออกและทิศตะวันตก ด ้านละ 180 (180 ตะวันออก และ 180
องศาตะวันตก) 27
แกนหมุนโลก
EARTH GEOGRAPHY

ระนาบศูนย์สต
ู รท ้องฟ้ า

แกนหลัก

โลกเอียงคือ แกนหมุนรอบต ัวเองของโลก ไม่ตรงก ับแกนหมุนของโลก


รอบดวงอาทิตย์ กาหนดให้แกนโลกทีต ่ งฉากก
ั้ ับวงโคจรโลกรอบดวง
อาทิตย์เป็นแกนหล ัก แกนหมุนรอบต ัวเองของโลกเป็นแกนรอง แกน
รองเอียงจากแกนหล ัก 23.5°
28
SUN-EARTH GEOMETRY
Equinox, Fall

Winter
Summer
solstice
solstice

Equinox,
Spring

โลกหมุนรอบตัวเอง 24 ชวั่ โมง/รอบ โลกหมุนรอบดวงอาทิตย์ใชเวลา


้ 365 วัน/ปี 29
Summer Solstice /ครีษมาย ัน เป็ นวันทีโ่ ลกจะหันขัว้ เหนือเข ้าหา
ดวงอาทิตย์มากทีส่ ด
ุ ดวงอาทิตย์จะโคจรไปถึงจุดหยุด (solstice) คือ
จุดสูงสุดทางทิศเหนือในราววันที่ 21 มิถน ุ ายน เป็ นจุดกลางวันยาวนาน
ทีส
่ ด ี โลกเหนือ อยูใ่ นชว่ งฤดูร ้อน
ุ ทางซก

 = +23.5 องศา

30
Fall Equinox/ศารทวิษุวต ั ิ แกนหมุนของโลกทีเ่ อียงจะเลือ
่ นมาอยู่
ระนาบทีต ่ งั ้ ฉากกับดวงอาทิตย์ เวลากลางวัน = เวลากลางคืน ตรงกับ
วันที่ 21 กันยายน

 = ? องศา

31
Winter Solstice/เหมาย ัน เป็ นวันทีโ่ ลกจะหันขัว้ ใต ้เข ้าหาดวง
อาทิตย์มากทีส
่ ดุ และดวงอาทิตย์โคจรไปถึงจุดต่าสุดทางใต ้ในราววันที่
22 ธันวาคม เป็ นจุดทีก
่ ลางคืนยาวนานทีส่ ด ี โลกเหนือ ซงึ่ ตรงกับ
ุ ในซก
ฤดูหนาว

 = -23.5 องศา

32
Spring Equinox/วสน ั ตวิษุวต
ั ิ แกนหมุนของโลกทีเ่ อียงจะเลือ
่ นมาอยู่
ระนาบทีต ่ งั ้ ฉากกับดวงอาทิตย์ เวลากลางวัน = เวลากลางคืน ตรงกับ
วันที่ 21 มีนาคม

33
ทางเดินของดวงอาทิตย์บนท ้องฟ้ า (Sun’s path)

34
ี าทิต ย์
3. รั ง ส อ

# การโคจรของโลกรอบดวงอาทิต ย์ไ ม่
เป็ นวงกลม ด งั น น ี ู ก ปล่อ ยออกมาจาก
ั้ ร งั ส ถ
ดวงอาทิต ย์แ ละตกกระทบเหนือ ช น ั้
บรรยากาศโลก ในเวลาต่ า งก น ั จึง มีค ่า ร งั ส ี
ทีไ
่ ม่ เ ท่า ก น

35
ี าทิตย์ทช
• ความเข ้มรังสอ ั ้ บรรยากาศ Spectrum ประกอบด ้วย อัลตราไวโอเลต
ี่ น
(<380 m), แสงสข ี าว (=380-700 m), อินฟราเรด (>700 m)
36
Global Energy Balance

37
ี าทิต ย์
ประเภทของร งั ส อ

38
(1) ร งั ส ีต รง (Direct or beam radiation: I b )
คื อ รั ง ส ี ท ี่ ม าจากดวงอาทิ ต ย์ โ ดยตรงและตกลงบนผิ ว รั บ รั ง ส ี ม ี
ทิ ศ ทางที่ แ น่ น อนเวลาใดเวลาหนึ่ ง ทิ ศ ทางอยู่ ใ นแนวลา แสง
ของดวงอาทิ ต ย์

(2)ร งั ส ีก ระจาย (Diffuse radiation: I d )


คื อ รั ง ส ี ส่ ว นที่ ส ะท อ
้ งจากบรรยากาศของโลกและวั ต ถุ ต่ า งๆ ที่
อยู่ ใ นทิ ศ ทางเดิ น ของแสงก่ อ นตกกระทบผิ ว รั บ รั ง ส ี แ ละ
กระจายมาจากทุ ก ทิ ศ ทุ ก ทางของท อ ้ งฟ้ า

(3)ร งั ส ีร วม (I)

Total radiation

Global radiation
ปริ ม าณของรั ง สี อ าทิ ต ย์

 รั ง ส ีท ี่ ข ณะเวลาหนึ่ ง (irradiance) หรื อ ความเข ม ้ รั ง ส ีอ าทิต ย์


หมายถึง พลั ง งานของรั ง ส ีอ าทิต ย์ท ี่ต กกระทบพื้ น ที่ 1 หน่ ว ย
ที่ ข ณะเวลาหนึ่ ง มี ห น่ ว ยเป็ น W/m 2 บางครั ้ง อาจจะเรี ย กว่ า
Intensity
 รั ง ส ีใ นช ่ ว งเวลา (irradiation) หมายถึง ปริม าณของพลั ง งาน
ของรั ง ส ีอ าทิต ย์ท่ีต กกระทบพื้ น ที่ใ นช ่ ว งเวลาที่ กาหนด
ตั ว อย่ า งเช ่ น ถ า้ เป็ นช ่ ว งเวลา 1 ชั่ ว โมงก็ จ ะเรี ย กว่ า รั ง ส ีร าย
ชั่ ว โมง (hourly irradiation) ซ ึ่ง มี ห น่ ว ยเป็ น J/m 2 h หรื อ
กรณี ท ี่ เ ป็ นช ่ว งเวลา 1 วั น ก็ จ ะเรี ย กว่ า รั ง ส ีร ายวั น (daily
irradiation)ซ ึ่ง มี ห น่ ว ยเป็ น J/m 2 day
ปริ ม าณของรั ง สี อ าทิ ต ย์

 รั ง ส ีใ นมุ ม ตั น (radiance) หรื อ เรเดี ย นรั ง ส ีอ าทิต ย์ หมายถึง


พลั ง งานที่ ไ ด ร้ ั บ จากรั ง ส ีอ าทิต ย์ท ี่ เ ดิน ทางเข า้ มาใน 1 หน่ ว ย
มุ ม ตั น ต่ อ 1 หน่ ว ยพื้ น ที่ ท ี่ตั ้ง ฉากกั บ มุ ม ตั น มี ห น่ ว ยเป็ น J/m 2 sr
(sr = steradian = สเตอเรเดีย น)
ค่ า คงที่รั ง ส ีอ าทิต ย์
(THE SOLAR CONSTANT, G SC )
 ค่ า คงตั ว รั ง ส ีอ าทิต ย์ (Solar Constant, G sc )

คื อ ค่ า ความเข ม้ ของรั ง ส ีอ าทิต ย์ ท ี่ ร ะยะห่ า งเฉลี่ ย ระหว่ า งโลกกั บ


ดวงอาทิต ย์ (ระยะทาง 1.495 x 10 11 m) หรื อ ค่ า รั ง ส ีอ าทิต ย์ ท ี่
มาถึง ชั น
้ บรรยากาศโลกและทามุ ม ตั ้ง ฉากกั บ ชั น
้ บรรยากาศ

 Solar Constant มีคา่ ประมาณ 1,367 W/m2 หรือ

1.960 cal/cm2-min หรือ 432 Btu/ft2-hr หรือ 4.921 MJ/m2-hr

 เพือ ้
่ ความสะดวกในการใชงานมี
การนิยามค่าคงทีท
่ เี่ รียกว่า “ค่าคงที่
ี าทิตย์ทพ
รังสอ ี่ น
ื้ ผิวโลก (Surface Solar Constat: SSC) เท่ากับ
1,000 W/m2 หรือ One Sun
42
พล งั งานร งั ส ีอ าทิต ย์ท ี่ต กกระทบเหนือ บรรยากาศโลก
EXTRATERRESTRIAL RADIATION : G ON
J F M A M J J A S O N D
Month
 การเปลี่ ย นแปลงของปริม าณ
รั ง ส ีอ าทิต ย์เ หนื อ บรรยากาศ
โลก (Extraterrestrial
Radiation : G on ) จะอยู่ ใ นช ่ ว ง
 3 เปอร์ เ ซ็ น ต์
 ความสั ม พั น ธ์ร ะหว่ า งรั ง ส ี
อาทิต ย์ ท ี่ ต กกระทบตั ้ง ฉากกั บ
พื้ น ที่ ห นึ่ ง หน่ ว ยเหนื อ
บรรยากาศโลก G on ที่ วั น ลาดั บ
ที่ ข องปี และค่ า คงตั ว รั ง ส ีอ าทิต ย์ การเปลีย่ นแปลงของพลังงานรังสอ ี าทิตย์
ได ด ้ ั ง สมการ ทีต่ กกระทบพืน
้ ทีห
่ นึง่ ตารางเมตร
เหนือบรรยากาศโลกในวันต่าง ๆ ตลอดปี
[Duffie & Beckman (1991)]
  360n 
Gon=Gsc 1+0.033cos  (1)
  365 
และ n คือ วันลาดับทีข
่ องปี (1 < n < 365)
4. ศั ก ยภาพรั ง ส อ
ี าทิต ย์ใ น
ประเทศไทย

# ฤดู ร อ
้ นและฤดู ห นาวมีค ่า ร งั ส ร ี วม
ี รงทีต
และร งั ส ต ่ กกระทบบนพืน ้ สู ง
เนือ
่ งจากท้อ งฟ้ าโปร่ง
ี วมน้อ ยแต่ค ่า ร งั ส ี
# ฤดู ฝ นมีค ่า ร งั ส ร
กระจายมาก เนือ ่ งจากมีเ มฆมาก

44
WORLD MAP SOLAR RADIATION
WORLD MAP SOLAR RADIATION
ประเทศไทยอยูใ่ นภูมภ ี ตะวันออก
ิ าคเอเชย
เฉียงใต ้อยูล
่ ะติจด ู ที่ 5 องศา 37 ลิปดา
เหนือ ถึง 20 องศา 27 ลิปดา เหนือ
และลองจิจด ู ที่ 97 องศา 21 ลิปดา ถึง
105 องศา 37 ลิปดา ตะวันออก

Chiang Mai: Bangkok:


Latitude 18 79 N Latitude 13 76 N
Longitude 98 99 E Longitude 100 50 E

47
• ข ้อมูลจากการตรวจวัด 37 สถานีทั่ว
ประเทศ จาก พพ.
• ค่าความเข ้มรังสด ี วงอาทิตย์เฉลีย่ ทัง้
ปี
19-20 MJ/m2-day
ี าทิตย์สงู สุด ได ้แก่
• บริเวณทีร่ ับรังสอ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและบางสว่ น
ของภาคกลาง คิดเป็ น 14.3% ของ
ประเทศ

เปอร์เซ็นต์ของพืน ้ ทีท ี วง
่ ไี่ ด้ร ับร ังสด 48
อาทิตย์ทรี่ ะด ับต่างๆ
49
ี วงอาทิตย์รายว ันเฉลีย
ค่าความเข้มร ังสด ่ ต่อเดือนโดยเฉลีย ้ ทีท
่ ทุกพืน ่ ว่ ั ประเทศ

ี วงอาทิตย์รายว ันเฉลีย
ความเข้มร ังสด ่ ของประเทศต่างๆ

Thailand
50
ข ้อมูลจากสถานีตรวจวัดจานวน 37 สถานีของกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและ
อนุรักษ์พลังงาน
5. เครื่อ งมือ วั ด ค่า รั ง ส ี
อาทิต ย์
#Instruments for measuring solar
radiation are of two basic types.
The accepted terms for these are as
follows: pyrheliometer and
pyranometer.

52
Thermoelectric Sensor/Thermopile
ตัวรับแสง(light detector or
โดมควอทวซ ์ receiver) ทีเ่ ป็ นเทอร์โม
หรือแก ้ว ไพล์(thermopile)หลายชุด
ต่ออนุกรมกัน

คือ เทอร์โมคัปเปิ้ ลทีต


่ อ
่ อนุกรม เป็ นลวดโลหะต่างชนิดกันต่อเป็ น
รอยต่อ (junction) ถ ้ารอยต่อของเทอร์โมคัปเปิ้ ลอยูท
่ อี่ ณ
ุ หภูมต
ิ า่ งกัน
(เรียก hot junction และ cold junction) จะเกิดความต่างศักย์ไฟฟ้ า
เรียกว่า thermoelectric 53
Thermoelectric Sensor/Thermopile

การวัดรังสรี วมบนพืน้ เอียงและรังสรี วมบน


พืน
้ ราบ
ี ระจาย
การวัดรังสก 54
PYRANOMETER

photoelectric sensor/Solar integrator


55
PYRHELIOMETER

ใชวั้ ดรังสต
ี รง หลักการทางานคล ้ายกับไพรานอมิเตอร์ แต่จากัดให ้
เฉพาะรังสต ี รง ตกกระทบผิวรับแสงโดยใชท่ ้ อทรงกระบอกเป็ นท่อนา
แสง (Collimator Tube) มีชด ุ ขับเคลือ
่ นตามดวงอาทิตย์ทาให ้ผิวรับ
แสงอาทิตย์ตงั ้ ฉากกับลาแสงตลอดเวลา 56
ลูกแก ้วทรงกลม ขัดผิว
SUNSHINE RECORDER เรียบ ขนานกับแกน
โลก

 เครือ ่ งบันทึกแดดใชช้ ว่ งเวลาของ


การวัดรังสต ี รง ชว่ งเวลาสน
ั ้ ทีส
่ ด

ั ได ้ คือ 0.1 ชวั่ โมง
ทีว่ ด
 สถานีตรวจอากาศต ้องมีเครือ ่ ง
บันทึกแดดชนิดแคมป์ เบลล์-
สโต ้กส ์ (Campbell – Stokes
sunshine recorder )

กระดาษพิเศษ มีสเกล
เวลาพิมพ์กากับ
57
SUNSHINE RECORDER

Winter card

Equinox card

Summer card

• ความยาวของรูไหม ้บนกระดาษจะสอดคล ้องกับชว่ งเวลาทีม ่ แ


ี ดด
หรือ Sunshine Duration
• กระดาษหนึง่ แผ่นใชบั้ นทึกแดดหนึง่ วัน
• ชนิดของกระดาษ(รูปร่างและความสน ั ้ ยาว) และตาแหน่งการวาง
กระดาษหลังทรงกลมแก ้วขึน ้ อยูก
่ บ
ั ฤดูกาล 58
SOLARIMETER
REFERENCES

 เสริม จั น ทร์ ฉ าย, รั ง ส ี อ าทิ ต ย์ , ตาราประกอบการสอนวิช า 514 523


รั ง ส ีอ าทิต ย์ , ภาควิช าฟิ ส ิก ส ์ คณะวิท ยาศาสตร์ มหาวิท ยาลั ย ศ ิล ปากร.

 John A. Duffie and William A. Beckman, Solar Engineering of


Thermal Processes.

 กรมพั ฒ นาพลั ง งานทดแทนและอนุ รั ก ษ์ พลั ง งาน (www.dede.go.th)

You might also like