Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 75

KM

Solar Rooftop

1
แผง PV มีกี่ชนิด มีอะไรบ้าง
แตกต่างกันอย่างไร

2
ชนิดเซลล์แสงอาทิตย์
 เซลล์ที่ทาจากซิลิคอนชนิดผลึกเดี่ยว
(Single crystalline / Monocrystalline PV)

ประสิทธิภาพสูง จะมองเห็นสีเดียวตลอดทัง้ แผ่ น 3


ชนิดเซลล์แสงอาทิตย์

 เซลล์ที่ทาจากซิลิคอนชนิดผลึกรวม
(Polycrystalline PV)

ประสิทธิภาพต่ากว่ าชนิดผลึกเดี่ยว จะมองเห็นหลากสี


4
ชนิดเซลล์แสงอาทิตย์
 เซลล์ที่ทาจากอะมอร์ฟัสซิลิคอน
(Amorphous silicon / Thinfilm PV)

บาง งอได้ ราคาไม่สงู ประสิทธิภาพตา่ 5


เปรียบเทียบประสิทธิภาพโดยเฉลี่ย

ชนิดผลึก ประสิทธิภาพใน ประสิทธิภาพการ


ห้ อง Lab, % ผลิต, %
ผลึกเดี่ยว 24 14-17
ผลึกรวม 18 13-15
อะมอร์ ฟัส 13 5-7

6
ปริมาณไฟฟ้ าที่แผง PV ผลิตได้
ดูจากไหน?

7
1. ดูจาก catalogue ผูข้ าย

8
2. ดูจาก Name Plate ของแผง

9
สิ่งที่ควรตระหนัก จาก Name Plate!!!
ข้อมูลจาก Name Plate ได้จากการทดสอบตามเงื่อนไข
มาตรฐาน (STC) :

ความเข้มแสง 1,000 W/m2


อุณหภูมิ 25 ± 2 degree C

ค่าจาก Name Plate!!! มักไม่ใช่ค่าที่ผลิตได้จริง


10
ทาไมต้องต้องวางแผง PV เอียง?
ต้องวางเอียงในแนวไหน ด้วยมุมเท่าไร

11
เส้นทางเดินของดวงอาทิตย์
12
มุมตกกระทบรังสีแสงอาทิตย์

ทิศตะวันออก
เอียงเพื่อให้ ตัง้ ฉาก
กับดวงอาทิตย์

ทิศเหนือ ทิศใต้

ทิศตะวันตก

13
มุมตกกระทบรังสีแสงอาทิตย์

มุมทีด่ ที สี่ ุ ด ในแต่ละฤดูจะแตกต่างกัน


14
การติดตัง้ แผง PV บนหลังคา
ทายังไง?

16
การติดตัง้ แผง PV บนหลังคา
ชนิดของหลังคา
 หลังคาแผ่นโลหะ (Metal Sheet)
 หลังคากระเบือ้ งลอนคู่
 หลังคากระเบือ้ งซีเมนต์

ชนิดของการติดตัง้
 แบบเจาะหลังคา
 แบบไม่เจาะหลังคา
17
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)
• ต้องมีการเจาะหลังคา
• มีชดุ สกรูเจาะหลังคา
• ควรเจาะเข้ากับตาแหน่ งของแปหลังคา
• ควรอาจติดตัง้ ยางรองเพื่อกันน้า
• มีชดุ ยึดแผง PV (ขายึดหลังคา รางยึดแผง อุปกรณ์ ลอ็ ค
สกรู ฯลฯ)
• อุปกรณ์ อาจแตกต่างกันไป ในหลายบริษทั
• อุปกรณ์ ควรกันสนิม (ส่วนใหญ่ชบุ กัลวาไนซ์)
18
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

19
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

20
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

21
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

22
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

23
การติดตัง้ แบบเจาะ บนหลังคา (Metal Sheet & ลอนคู่)

24
25
การติดตัง้ แบบคลิปล็อค บนหลังคา Metal Sheet

• ไม่มีการเจาะหลังคา
• ใช้ชดุ บีบยึดสันหลังคา Metal Sheet
• ไม่มีการรัวซึ
่ มจากการเจาะ
• มีชดุ ยึดแผง PV (ขายึดหลังคา รางยึดแผง ตัวคลิปล็อค
ฯลฯ)
• อุปกรณ์ อาจแตกต่างกันไป ในหลายบริษทั
• อุปกรณ์ ควรกันสนิม (ส่วนใหญ่ชบุ กัลวาไนซ์)
26
การติดตัง้ แบบคลิปล็อค บนหลังคา Metal Sheet

27
การติดตัง้ แบบคลิปล็อค บนหลังคา Metal Sheet

28
การติดตัง้ แบบคลิปล็อค บนหลังคา Metal Sheet

29
30
การติดตัง้ แบบยึดโดยไม่เจาะบนหลังคากระเบือ้ ง

• ไม่มีการเจาะหลังคา
• ใช้ข้องอในการสอดล็อคใต้หลังคา
• ไม่มีการรัวซึ
่ มจากการเจาะ
• มีชดุ ยึดแผง PV (ขายึดหลังคา รางยึดแผง อุปกรณ์ ลอ็ ค
ต่าง ฯลฯ)
• อุปกรณ์ อาจแตกต่างกันไป ในหลายบริษทั
• อุปกรณ์ ควรกันสนิม (ส่วนใหญ่ชบุ กัลวาไนซ์)
31
การติดตัง้ แบบยึดโดยไม่เจาะบนหลังคากระเบือ้ ง

32
การติดตัง้ แบบยึดโดยไม่เจาะบนหลังคากระเบือ้ ง

33
การติดตัง้ แบบยึดโดยไม่เจาะบนหลังคากระเบือ้ ง

34
การติดตัง้ แบบยึดโดยไม่เจาะบนหลังคากระเบือ้ ง

35
36
จบแล้วจ้า

37
ขั้นตอนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทาจากซิลิคอนชนิดผลึกเดี่ยว
(Single Crystal) หรือ Monocrystalline
• นำซิลิคอนที่ถลุงได้มำหลอมเป็นของเหลวที่อุณหภูมิประมำณ 1400 C
• ดึงผลึกออกจำกของเหลว โดยลดอุณหภูมิลงอย่ำงช้ำๆ จนได้แท่งผลึก
ซิลิคอนเป็นของแข็ง
• นำมำตัดเป็นแว่นๆ
• นำผลึกซิลิคอนที่เป็นแว่น มำแพร่ซึมด้วยสำรเจือปนต่ำงๆ เพื่อสร้ำง
รอยต่อพีเอ็นภำยในเตำแพร่ซึมที่มีอุณหภูมิประมำณ 900-1000 °C
• ทำชั้นต้ำนกำรสะท้อนแสงด้วยเตำออกซิเดชั่นที่มีอุณหภูมิสูง
• ทำขั้วไฟฟ้ำสองด้ำนด้วยกำรฉำบไอโลหะภำยใต้สุญญำกำศ
• นำไปทดสอบประสิทธิภำพด้วยแสงอำทิตย์เทียม และวัดหำคุณสมบัติ
ทำงไฟฟ้ำ 38
ขั้นตอนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทาจากซิลิคอนชนิดผลึกรวม
(Polycrystalline)
• นำซิลิคอนที่ถลุงและหลอมละลำยเป็นของเหลวแล้วมำเทลงในแบบ
พิมพ์
• เมื่อซิลิคอนแข็งตัว จะได้เป็นแท่งซิลิคอนเป็นแบบผลึกรวม
• นำมำตัดเป็นแว่นๆ
• นำมำแพร่ซึมด้วยสำรเจือปนต่ำงๆ และทำขั้วไฟฟ้ำสองด้ำนด้วยวิธีกำร
เช่นเดียวกับที่สร้ำงเซลล์แสงอำทิตย์ที่ทำ จำกซิลิคอนชนิดผลึกเดี่ยว

39
ขั้นตอนการผลิตเซลล์แสงอาทิตย์ที่ทาจากที่ทาจากอะมอร์ฟัสซิลิคอน
• สร้ำงซิลิคอนในรูปก๊ำซไซเลน
• ทำกำรแยกสลำยก๊ำซไซเลน (Silane Gas) ให้เป็นอะมอร์ฟัสซิลิคอน (โดยใช้
อุปกรณ์ที่เรียกว่ำ เครื่อง Plasma CVD (Chemical Vapor Deposition)
เป็นกำรผ่ำนก๊ำซไซเลนเข้ำไปในครอบแก้วที่มีขั้วไฟฟ้ำควำมถี่สูง จะทำให้ก๊ำซ
แยกสลำยเกิดเป็นพลำสมำ และอะตอมของซิลิคอนจะตกลงบนฐำนหรือสแตน
เลสสตีลที่วำงอยู่ในครอบแก้ว เกิดเป็นฟิล์มบำงขนำดไม่เกิน 1 ไมครอน
(0.001 มม.))
• ขณะที่แยกสลำยก๊ำซไซเลน จะผสมก๊ำซฟอสฟีนและไดโบเรนเข้ำไปเป็น
สำรเจือปน เพื่อสร้ำงรอยต่อพีเอ็นสำหรับใช้เป็นโครงสร้ำงของเซลล์
แสงอำทิตย์
• กำรทำขั้วไฟฟ้ำ
• ทำกำรทดสอบ 40
การผลิตกระแสไฟฟ้ าของ Solar Cells

41
ข้อแนะนาเกี่ยวกับโครงสร้าง Solar Rooftop
• โครงสร้างควรเป็ นเหล็กเคลือบสังกะสีจ่มุ ร้อน (Hot Dip)
• อุปกรณ์ ยึดจับควรกันสนิม
• แข็งแรงมันคง
่ รองรับภาระได้ดี
• Dead load (เฉพาะแผง ระหว่าง 3-5 lb/ft2 (15-25 kg/m2)
หรือ แผงรวมโครงสร้าง ไม่ควรเกิน 12 lb/ft2 (ประมาณ 59
kg/m2))
• Wind load ไม่น้อยกว่าความเร็วลมสูงสุดของพายุโซนร้อน
(63-117 km/hr หรือ 32.5 m/s) 42
ข้อแนะนาเกี่ยวกับโครงสร้าง Solar Rooftop

• ใช้วสั ดุปิดรอบ และกันซึมต่างๆ


• โครงสร้างแผงผ่านการทดสอบไฟรัว่ (ตามมาตรฐาน
กาหนด)
• ควรติดตัง้ โดยทีมวิศวกรผูร้ บั ใบอนุญาต
• ควรมีการทวนสอบการรับกาลังของโครงสร้างเดิม
• ยึดมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง

43
ข้อแนะนาเกี่ยวกับสายไฟ
• เป็ น Photovoltaic wire (มาตรฐาน IEC 60502)
• ทนอุณหภูมไิ ม่น้อยกว่า 80o C
• ทนกระแสไฟฟ้าสูงสุดไม่น้อยกว่า 1.25 เท่า ของ
กระแสของแผงทีภ่ าวะทดสอบ (STC) (ทัง้ ฝงั ่ DC +
AC)
• แรงดันสูญเสียในสายไฟไม่เกิน 3% (ฝงั ่ DC วัดที่
Inverter เทียบกับผลที่ STC / ฝงั ่ AC วัดทีจ่ ุด
เชือ่ มต่อระบบจาหน่ายเทียบกับ Output) 44
ข้อแนะนาเกี่ยวกับสายไฟ
• ท่อร้อยสายไฟ HDPE ชัน้ คุณภาพ PN8 (ยึด
มอก.982) หรือดีกว่า หรือเป็ นโลหะ
• กล่องรวมสายไฟเป็ นโลหะ หรือพลาสติกแข็ง ชนิด
Out Door Type
• ระวังสายไฟสัมผัสหลังคาโลหะ
• ยึดมาตรฐานทีเ่ กีย่ วข้อง
• ควรใช้วศิ วกรผูไ้ ด้รบั ใบอนุญาตเป็ นผูต้ ดิ ตัง้ และ
ทดสอบ 45
ขนาดแผงที่ใช้งานที่ Mini Plant
• Monocrytalline ขนาดแผง 260 Wp (พืน้ ที่ 1.6x1.0 m2) จานวน 15
แผง รวม 3.9 kWp (รวมพืน้ ที่ 24 m2)
• Polycrystalline ขนาด 240 Wp (พืน้ ที่ 1.6x1.0 m2) จานวน 15 แผง
รวม 3.6 kWp (รวมพืน้ ที่ 24 m2)
• Thinfilm ขนาด 140 Wp (พืน้ ที่ 1.4x1.0 m2) จานวน 20 แผง รวม
2.8 kWp (รวมพืน้ ที่ 28 m2)
• รวม 10.3 kWp ติดตัง้ (รวมพืน้ ที่ 78 m2)

46
การพิจารณาเลือกอุปกรณ์ระบบ Solar Rooftop
• อุปกรณ์หลักในระบบ
• แผง PV
• Inverter
• Wh meter
• ระบบสายไฟต่างๆ (สายไฟ กล่อง รางสายไฟ)
• Safety switch หรือ Circuit Breaker
• แนวทางการกาหนดขนาด
• เริม่ ต้นจากจากปริมาณพืน้ ทีท่ ม่ี ี และปริมาณไฟฟ้าทีต่ อ้ งการ
• เลือกขนาดแผง+จานวนแผง ตามท้องตลาด ให้สอดคล้อง (ดู spec ของแผง)
• เลือก Inverter ให้ครอบคลุม สอดคล้อง กับขนาดไฟทีผ่ ลิตได้
• การเลือกอุปกรณ์
• ใช้อุปกรณ์ทม่ี มี าตรฐาน (จาเป็ นอย่างยิง่ )
• ใช้วศิ วกรผูม้ คี วามชานาญในการดูแล ตรวจสอบ ติดตัง้ 47
ระบบผลิตไฟฟ้ าเพื่อส่งจ่ายระบบสายส่ง

48
ไดอะแกรมระบบ PV เพื่อต่อเข้าระบบจาหน่ าย

49
หลักการต่อวงจร PV ใช้งาน

ต่ อแบบอนุกรม ต่ อแบบขนาน
รวมแรงดัน กระแสเท่ าเดิม รวมกระแส แรงดันเท่ าเดิม

50
ศักยภาพ พลังงานแสงอาทิตย์ทั ่วโลก
ไทย

ไทย

ไทย

51
ศักยภาพ พลังงานแสงอาทิตย์
เครื่องมือวัด

Pyranometer (ไพราโนมิเตอร์)

ประมาณ 17-20 MJ/m2-day 52


ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ของประเทศไทยในแต่ละเดือน

ท่ านคิดว่ าพลังงานแสงอาทิตย์ ตกกระทบ


ประเทศไทยมากที่สุดในช่ วงเดือนใด ?

53
ความแตกต่างเกิดจากอะไร ?

54
ปั จจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพเซลล์แสงอาทิตย์
 ความเข้มแสง
o ประสิทธิภาพแปรผันตามความเข็มแสง

 อุณหภูมิ
o ประสิทธิภาพแปรผกผันกับอุณหภูมิ

55
56
อุปกรณ์ที่ประยุกต์ใช้รว่ มกับเซลล์แสงอาทิตย์
Charge controller

ควบคุมการประจุ
“ พลังงานไฟฟ้ า ”

57
อุปกรณ์ที่ประยุกต์ใช้รว่ มกับเซลล์แสงอาทิตย์

Battery
เก็บสะสม
“ พลังงานไฟฟ้ า ”

58
อุปกรณ์ที่ประยุกต์ใช้รว่ มกับเซลล์แสงอาทิตย์
Inverter

แปลงกระแส
“DC เป็ น AC”

59
รูปแบบการประยุกต์ ใช้ งาน

Solar energy 60
ระบบแสงสว่าง
ต้องสามารถรองรับกระแสสูงสุดที่
ผลิ ตจากเซลล์แสงอาทิ ตย์

ต้องสามารถรองรับความต้องการ
พลังงานของอุปกรณ์ ไฟฟ้ า

Solar energy 61
ระบบแสงสว่าง
ตัวอย่ างการออกแบบ
พลังงานที่ใช้ต่อหลอด
12V, 5A
ใช้งานช่วงกลางคืน 8h
E=IxVxh
= 5x12x8
= 480 Wh
ดังนัน้ 2 หลอด ก็จะต้องใช้
พลังงานเท่ากับ 960 Wh
พลังงานที่ใช้
ถ้ามีแบตเตอรี่ขนาด 12V , 75Ah
ประสิทธิภาพการปล่อยพลังงาน 85% 960 Wh
ต้องใช้แบตเตอรี่เท่าไร และต่อแบบใด จานวนแบตเตอรี่ = = 1.254
12V x 75Ah x 0.85

ใช้ แบตเตอรี่ 2 ลูก ต่ อแบบขนาน ศักยภาพแบตเตอรี่

62
Note: 12 x 75 = 900 Wh ; 900 x 0.85 = 765 Wh
ตัวอย่ างการออกแบบ ระบบแสงสว่าง พลังงานที่ใช้ต่อหลอด
ถ้ามีแบตเตอรี่ขนาด 12V , 75Ah
E=IxVxh
ประสิทธิภาพการปล่อยพลังงาน 85% = 5x12x8
ต้องใช้แบตเตอรี่เท่าไร และต่อแบบใด = 480 Wh
ดังนัน้ 2 หลอด ก็จะต้องใช้
พลังงานที่ใช้ พลังงานเท่ากับ 960 Wh

960 Wh
จานวนแบตเตอรี่ = = 1.254
12V x 75Ah x 0.85
ศักยภาพแบตเตอรี่

ใช้ แบตเตอรี่ 2 ลูก ต่ อแบบขนาน

63
Note: 12 x 75 = 900 Wh ; 900 x 0.85 = 765 Wh
ระบบแสงสว่าง
ตัวอย่ างการออกแบบ
12V, 5A
ใช้งานช่วงกลางคืน 8h  2 หลอด ก็จะต้องใช้
พลังงานเท่ากับ 960 Wh
 ใช้แบตเตอรี่ 2 ลูก ต่อแบบขนาน
พลังงานที่ต้องประจุใช้แบตเตอรี่
อย่างน้ อย 1130 Wh (960/0.85

ต้องใช้เซลล์แสงอาทิ ตย์กี่แผง
ถ้าแต่ละแผงมีขนาด 50 Wp ความเข้ม พลังงานที่ต้องการประจุ
แสงโดยเฉลี่ย 450 W/m 2 ในแต่ละวันมี
แสงประมาณ 8 ชัวโมง
่ และประสิ ทธิ ภาพ 1,130 Wh
จานวนแผง = = 7.85
การประจุแบตเตอรี่เท่ากับ 80% 50W x 8h x 0.8 x (450 / 1,000)
เลือกใช้ 8 แผง
วัตต์พกิ ดั ของแผงทีเ่ งือ่ นไข
การทดสอบ 1,000 W/m2

ประสิทธิภาพ แฟกเตอร์
ชัวโมงที
่ ่มี
การประจุ ความเข้มแสง
แสงอาทิ ตย์ใน1 วัน
64
ระบบแสงสว่าง
ต้องใช้เซลล์แสงอาทิ ตย์กี่แผง ตัวอย่ างการออกแบบ
ถ้าแต่ละแผงมีขนาด 50 Wp ความเข้ม
แสงโดยเฉลี่ย 450 W/m2 ในแต่ละวันมี
แสงประมาณ 8 ชัวโมง
่ และประสิ ทธิ ภาพ
การประจุแบตเตอรี่เท่ากับ 80%
พลังงานที่ต้องการประจุ
เลือกใช้ 8 แผง

1,130 Wh
จานวนแผง = = 7.85
50W x 8h x 0.8 x (450 / 1,000)
วัตต์พิกดั ของแผงที่เงื่อนไข
การทดสอบ 1,000 W/m2

ชัวโมงที
่ ่มี แฟกเตอร์
ประสิทธิภาพ ความเข้มแสง
แสงอาทิตย์ใน1 วัน การประจุ
65
ระบบแสงสว่าง
ตัวอย่ างการออกแบบ
12V, 5A
ใช้งานช่วงกลางคืน 8h

การวางแผง

วางเอียง14-15 องศา
วางในทิศเหนื อ-ใต้

66
ระบบแสงสว่าง

Solar energy 67
ใช้กบั ที่อยู่อาศัยหรือบ้านพัก

ต้ องรองรั บโหลดอุปกรณ์ ไฟฟ้า

ต้ องรองรั บโหลดตามช่ วงระยะเวลาที่ไม่ มีแสงอาทิตย์

กรณี อปุ กรณ์ในบ้านพักใช้ไฟ AC เท่านัน้


68
ใช้กบั ที่อยู่อาศัยหรือบ้านพัก

กรณี อปุ กรณ์ในบ้านพักใช้ทงั ้ ไฟ AC และ DC


69
ใช้กบั ที่อยู่อาศัยหรือบ้านพัก

Solar energy 70
ใช้ในระบบสูบน้า

ใช้แบบต่อตรง pump ประเภท DC

Solar energy 71
ใช้ในระบบสูบน้า

มีแบตเตอรี่สะสมพลังงาน
การทางานของปัม๊ น้าจะค่อนข้างคงที่

Solar energy 72
ใช้ในระบบสูบน้า

มีแบตเตอรี่สะสมพลังงาน
ปัม๊ น้าใช้ไฟ AC
Solar energy 73
ใช้ในระบบสูบน้า

Solar energy 74
ใช้ในการคมนาคม

Solar energy 75

You might also like