Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 12

การคานวณขนาดตัวอย่างด้วยโปรแกรมสาเร็จรูป G*POWER

SAMPLE SIZE CALCULATION USING G*POWER PROGRAM

นิพิฐพนธ์ สนิทเหลือ1
วัชรีพร สาตร์เพ็ชร์2, ญาดา นภาอารักษ์3

บทคัดย่อ to calculate the sample size. Usage


โปรแกรมสาเร็จรูป G*Power เป็นโปรแกรมที่ชว่ ย includes data entry, test family statistics,
คานวณขนาดตัวอย่าง ผู้ใช้สามารถดาวน์โหลดมาใช้ statistics test. Specifying Type of power
งานโดยไม่มีค่าใช้จ่าย การใช้งานประกอบ ด้วย การ analysis and input parameters consists of
ใส่ ข้อมูลกลุ่ มของสถิติ (Test Family) สถิติที่ใช้งาน size, effect size, influence size value. The
(Statistics) การระบุ Type of power ana-lysis และ estimation of the influence size is defined
ก า ร ใ ส่ ค่ า พ าร ามิ เต อ ร์ (Input Parame-ters) as three basic values: small, medium and
ประกอบด้ ว ย ค่ าขนาดอิ ทธิ พล (Effect size) ค่ า large. The power of the test (Power)
ขนาดอิ ทธิ พล การประมาณค่ าขนาดอิ ทธิ พ ลได้ calculated from the type II error (type II
ก าหนดเป็ นค่ าพื้ นฐานไว้ 3 ระดั บ คื อ ขนาดเล็ ก error Beta) / Beta Power = 1-β) Normality β
ขนาดกลาง ขนาดและใหญ่ ค่าอานาจการทดสอบ is 2 0 % , therefore, the power level is 80%.
(Power Test) ซึ่งได้จากการคานวณโดยใช้ค่า type Significant level Alpha / Alpha. Or α, which
II error (type II error หรือ β เรียกว่าเบต้า/Beta ค่า defaults to 0.05
Power = 1-β) นิยมกาหนดค่า β ร้อยละ20 จึงได้ค่า
Power ร้ อ ยละ 80 ระดั บ นั ย ส าคั ญ ค่ า อั ล ฟา / Keywords: G*Power program, sample size
alpha. หรือ α ซึ่งกาหนดเริ่มต้น (Default) ไว้ที่ 0.05
บทนา
คาสาคัญ: โปรแกรมสาเร็จรูป G*Power การ นักวิจัยมีวิธีการกาหนดขนาดตัวอย่างจากหลาก
กาหนดขนาดตัวอย่าง หลายวิธีเช่น การคานวณ การใช้ตารางสาเร็จรูป
แต่ทั้งนี้การใช้งานด้วยวิธีใดก็ตาม ผู้วิจัยต้องทราบ
Abstract ข้อจากัด และเงื่อนไขการใช้งานเพื่อให้การกาหนด
G*Power program is a free software used ขนาดตัวอย่าง ได้อย่างถูกต้องได้ตัวแทนที่ดีของ

1อาจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
2อาจารย์ประจาหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ

3อาจารย์ประจา คณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
497
ประชากร ครอบคลุมทุกๆ ลักษณะของประชากร ชัย , 2555) ส าหรับการกาหนดขนาดตัว อย่างที่ดี
และมีจานวนที่เพียงพอ นักวิจัยจานวนมากได้ใช้ ต้ อ งค านึ ง ถึ ง องค์ ป ระกอบด้ า นต่ า งๆดั ง นี้ (ชนา
สู ตรหรื อตารางการกาหนดขนาดตัว อย่างโดยไม่ การต์ บุญนุชและคณะ, 2555) มีดังนี้ 1. วัตถุประ
ทราบเงื่อนไขการใช้งาน ซึ่งส่งผลให้ผลให้งานวิจัย สงค์หลัก (Main Objectives) สิ่งที่ผู้วิจัยต้องการ
มี น้ าหนั ก น้ อ ยลง การใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ค้าหาคาตอบ ต้องการวิเคราะห์อะไร เช่น สถิติเชิง
คานวณขนาดตัวอย่างจะลดช่วยข้อผิดพลาดในการ พรรณา (Descriptive Statistics) หรือ เชิงอนุมาน
คานวณ และช่วยการกาหนดขนาดตัว อย่ า งสอด (Referential Statistics) เพื่อคานวณขนาดตัวอย่าง
คล้องกับสถิติที่เลือกใช้งาน การใช้โปรแกรมการ ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 2. ลักษณะประชากร
คานวณขนาดตัวอย่าง G*Power จะช่วยให้นักวิจัย ถ้ าตัว อย่า มีความเป็นเอกพันธ์ (Homgeneous)
สามารถกาหนดขนาดตัวอย่างได้ ถูกต้องตามหลัก จะใช้กลุ่ ม ตั อย่ างขนาดเล็ กกว่า กลุ่ มตัวอย่างที่มี
วิ ช าการ ท าให้ ผ ลงานมี ค วามน่ า เชื่ อ ถื อ มากขึ้ น ความเป็ นวิ วิธพั นธ์ ( Heterogeneous ) ซึ่ งลั กษณะ
โปรแกรม G*Power ช่วยคานวณขนาดตัวอย่างได้ ความเป็ น วิ วิ ธ พั น ธ์ จ ะต้ อ งใช้ ขนาดของกลุ่ ม ตั ว
อย่างรวดเร็ว ตามเงื่อนไขข้อมูลที่นักวิจัยกานดโดย อย่างจานวนมากกว่า โดยพิจารณาจากค่าการกระ
อาศัยค่าขนาดอิทธิพล ค่าความคลาดเคลื่อนประ จาย ได้แก่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ของ ตัว
เภทที่ 1 และค่าความคลาดเคลื่อนประเภท 2 และ แปรหลักที่สนใจศึกษา 3. การออกแบบการวิจัย
โปรแกรม G*Power สามารถใช้งานได้ง่าย และ วิธีการออกแบบการจัย อาทิ ออกแบบการวิจั ย
เป็นโปรแกรมที่สามารถดาวร์โหลดมาใช้งานได้โดย เป็นแบบกลุ่มตัวอย่างหนึ่งกลุ่ม หรือ ต้องใช้ สอง
ไม่มีค่าใช้จ่าย หรือ สามกลุ่มหรือมากกว่า ย่อมจะใช้ขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างแตกต่างกันออกไป หรือ การใช้กลุ่มตัว
องค์ ป ระกอบที่ ส่ ง ผลต่ อ การก าหนดขนาดตั ว อย่างของงานวิจัยเชิงทดลองจะน้อยกว่าการวิจัย
อย่าง เชิงสารวจ 4. ระดับการวัดของข้ อมูล หรือ มาตร
การกาหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างการวิจัย จะมีผล วัด มาตรวัด มี 4ชนิดจะส่งผลต่อการเลือกใช้สถิติ
โดยตรงต่ อ ความน่ า เชื่ อ ถื อ ของการสรุ ป จากตั ว และส่งผลต่อการคานวณขนาดตัวอย่าง 5. สถิติที่
อย่ างไป อ้างอิงกลุ่ มประชากร นั กวิจั ย สามารถ ใช้ วิ เ คราะห์ ข้ อ มู ล เช่ น ถ้ า ใช้ ส ถิ ติ ก ารวิ เ คราะห์
ก าหนดขนาดตั ว อย่ า งจากการเปิ ด ตาราง สู ตร องค์ ป ระกอบขนาดกลุ่ ม ตั ว อย่ า งมั ก ต้ อ งมี ขนาด
ค านวณ หรื อ การใช้ โ ปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ ใ น ใหญ่ การใช้สถิติการวิเคราะห์รูปแบบความสัมพันธ์
การช่ว ยคานวณขนาดตัว อย่ าง อาทิ PS Power, จะใช้ 10-20 เท่าของตัว แปร เป็นต้น แต่ห ากใช้
NQuery Advisor, G*Power สามารถกาหนดขนาด สถิติวิเคราะห์จาแนก )Discrimination Analysis )
ตัวอย่างได้อย่างเหมาะสมไม่น้ อยเกิน ไปทาให้ ค่า ต้องใช้ ขนาดของกลุ่มตัวอย่าง 20 เท่าของจานวน
อานาจทดสอบ (Power of test) ต่าไป หรือ ไม่ ตั ว แปร 6. ระดั บ นั ย ส าคั ญ ค่ า อั ล ฟา alpha.
สูงจนเกินไปทาให้ผลการวิเคราะห์มีนัยสาคัญทาง หรือ α ) ซึ่งขึ้นกับระดับความคลาดเคลื่อนของ
สถิติ (Statistical Significant ) (นงลั กษณ์ วิรัช สมมุติฐานที่ได้กาหนดไว้ เช่ น ณ ระดับนัยสาคัญ
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
498
.05 ค่ า Z จะมี ค่ า 1.96 ( 2-sided type หรื อ 2- คลาดเคลื่อน (นงลักษณ์ วิรัชชัย, 2555) ในขณะ
tailed type) และ 1.645 ( 1-sided type หรือ 1- ที่นักวิจัยรุ่นใหม่ๆ ได้เลือกใช้วิธีการกาหนดขนาด
tailed type) การก าหนดค่ า นั ย ส าคั ญ ที่ สู ง จะใช้ ตัวอย่างที่ได้รับการพัฒนาขึ้นใหม่ ทาให้ได้ขนาด
กลุ่มตัวอย่างทีมากกว่า 7. ประเภทสมมติฐานที่ ตัวอย่างที่ถูกต้องและสะดวกรวดเร็วจากโปรแกรม
ทดสอบ 1-tailed หรือ 2-tailed ถ้าเป็นสมมติฐาน คอมพิวเตอร์ ด้วยวิธีการที่ถูกต้องและทันสมัย ซึ่ง
แบบทางเดียว จะได้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างจานวน จะช่วยให้การทาวิจัยมีประสิทธิผลดีมากขึ้น และได้
น้อยกว่าสมมติฐานแบบสองทาง สมมติฐานแบบ ผลการวิจัยที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ โดยวิธีการกา
สอง ทางจะคานวณได้ขนาดของกลุ่มตัว อย่ างจา หนดขนาดตัวอย่างโดยใช้โปรแกรมคอมพิว เตอร์
นวนมากกว่าแบบทางเดีย ว 8. การประมาณค่า ซึ่งการคานวณขนาดตัวอย่างโดยใช้หลักการ Power
อิ ท ธิ พ ล (estimated effect) ในงานวิ จั ย เชิ ง Analysis จึงเป็นการคานวณขนาดตัวอย่างโดยคา
ทดลอง ถ้างานวิจัย เชิงทดลองเปรียบระหวางกลุ่ม นึงถึงขนาดของ Type I และ Type II error ในการ
ทดลอง กับกลุ่มควบคุม ถ้ าขนาด อิทธิพล มีค่า ทดสอบสมมติ ฐ าน โดยมี อ งค์ ป ระกอบสาคั ญ
มากแล้วจะทาให้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างน้อย หรือ ส าหรั บ การค านวณขนาดตั ว อย่ า งโดยหลั ก การ
ถ้างานวิจัยนั้นมี ขนาดอิทธิพลมีค่าน้อยแล้วจะทา Power Analysis ได้แก่ 1) alpha 2) power (1-
ให้ขนาดของกลุ่มตัวอย่างมีจานวนมากขึ้น 9. ค่า beta) 3) effect size การจะประมาณค่า effect
อานาจการทดสอบ (Power) ซึ่งได้จากการคานวณ size ได้ จ าก 1) จากผลการวิ จั ย / การศึ ก ษาที่ มี
โดยใช้ ค่ า type II error (type II error หรื อ β ลั ก ษณะคล้ า ยคลึ ง กั น ที่ มี ผู้ ท ามาก่ อ นแล้ ว 2)
เรียกว่าเบต้า/Beta ค่า Power = 1-β) ถ้า Power Pilot Study 3) ประมาณเป็นระดับต่า ปานกลาง
Test สู ง ขนาดของกลุ่ ม ตั ว อย่ า งจะมากกว่ า ค่ า หรือสูง โดยอ้างอิงอยู่บนหลักการ/ทฤษฎีสนับสนุน
อานาจการทดสอบที่น้ อยกว่า นิยมกาหนดค่า β หรือการทบทวนวรรณกรรมที่ชัดเจน
ร้อยละ20 จึงได้ค่า Power ร้อยละ 80
การใช้โปรแกรม G*Power
การก าหนดขนาดตั ว อย่ า ง จากโปรแ กรม โปรแกรม G*Power ได้ รั บ การพั ฒ นาเมื่ อ ปี
คอมพิวเตอร์ 1996 ปัจจุบันเป็นเวอรชัน G*Power 3 มีขั้นตอน
วิธีการกาหนดขนาดตัว อย่ างที่ใช้ กัน อยู่ ใ นวง ดังนี้ 1) การเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมซึ่งแบ่งได้ 5
การวิจัยของไทยในปัจจุบันมีหลายวิธี วิธีที่รู้จักและ กลุ่ม 2) เลือกวิธีการวิเคราะห์ 3) การป้อนข้อมูล
ใช้กันอยู่ทั่วไป คือ การใช้ตารางสาเร็จของ Krejcie สาหรับการวิเคราะห์ ประกอบด้วย 3.1 ค่าขนาด
and Morgan (1970) Yamane (1970) แ ล ะ อิทธิพล การประมาณค่าขนาดอิทธิพลที่ Cohen
Cohen (1977) การใช้ตารางสาเร็จรูปโดยไม่เข้าใข (1977) ได้กาหนดไว้ 3 ขนาดคือ เล็ก กลาง และ
ที่ ม าหรื อ ข้ อ จ ากั ด ท าให้ ไ ด้ ข นาดตั ว อย่ า งที่ ไ ม่ ใหญ่ ทั้ง 6 ประเภท ดังตารางที่ 1
เหมาะสมถู กต้ อ งตามหลั กสถิ ติ และผลการวิ จั ย
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
499
ตารางที่ 1 การประมาณค่าขนาดอิทธิพลที่ Cohen (1977) ได้กาหนดไว้ 3 ขนาดคือ เล็ก กลาง และใหญ่ ทั้ง
6 ประเภท
TEST Small Medium Large
1) Difference between two mean 0.20 0.50 0.80
2) Difference between many means 0.10 0.25 0.40
3) Chi-square 0.10 0.30 0.50
4) Pearson’s correlation coefficient 0.10 0.30 0.50
5) Difference between correlation coefficient 0.10 0.30 0.50
6) Linear multiple correlation coefficient 0.02 0.15 0.35
ที่มา: Buchner(2010);Cohen (1977)

ภาพที่ 1 หน้าจอการเปิดโปรแกรม
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
500
Download โปรแกรม G*power มาจากเว็ ป 3. เลื อ ก Type of power analysis เป็ น A
ไซต์ ผู้ พั ฒ นาโปรแกรม คื อ Heinrich-Heine- prio: Compute required sample size – given
Universität Düsseldorf จาก http://www. α, power and effect size
gpower.hhu.de/en.html รู ป ที่ 1 แสดงหน้าจอ 4. ใส่ค่าตามกาหนด เช่น effect size เป็น 0.3
เมื่อเริ่มใช้โปรแกรม (medium) α = 0.05 power =0.95 แ ล ะ
ตัวอย่างการกาหนดขนาดตัวอย่างตามสถิติที่ กาหนดค่า ρ สาหรับสมมติฐานหลัก เท่ากับ 0
เลือกใช้งาน 5. กดปุ่ม calculate
ตัวอย่างที่ 1 การคานวณขนาดตัวอย่างสาหรับ ค่า default ของ G*Power สาหรับค่า α และ
การทดสอบความสั ม พั น ธ์ ด้ ว ยสถิ ติ Pearson’s β นั้ น จะกาหนดค่ า α =0.05 และกาหนด α / β
correlation =1 (0.05/0.05 = 1) นั่ น คื อ ก าหนดค่ า β =0.05
1. เลือก Test family เป็น Exact ห รื อ power =0.95 (1- β , 1 - 0.05 =0.95) จ ะ
2. เลือก Statistical test เป็น Correlation: ได้ขนาดตัวอย่าง 138 ตัวอย่าง
Bivariate normal model

ภาพที่ 2 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้ Correlation


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
501
ตั ว อย่ า งที่ 2 การค านวณขนาดตั ว อย่ า ง ตัวอย่างสาหรับการทดสอบ Chi-square Degree
ส าหรั บ การทดสอบ Chi-square การทดสอบ of Freedom (df) ค านว ณจาก df= (r-1)*(c-1)
ข้อมูลตารางการณ์จร (contingency table) ด้วย เมื่อ r= จานวนแถวข้อมูล c= จานวนสดมภ์ของ
Chi-square test ในการทดสอบ ประกอบด้วย ข้อมูลในตาราง การระบุค่า Effect size (w) ค่า
1. Goodness of fit test เป็นการทดสอบว่ามี w คานวณได้จากสูตร
รูปแบบการแจกแจงของชุดข้อมูลหรือไม่ 2) การ
ทดสอบความสั ม พั น ธ์ ข องตั ว แปรเชิ ง คุ ณ ภาพ
Independence test (association) เช่นต้องการ สู ต รการค านวณ effect size Cohen(1977)
ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตาแหน่งงานและ วุฒิ ได้ ก าหนดค่ า conventional effect size เอาไว้
การศึกษา คือ ขนาด small คือ 0.10 ขนาด medium คือ
2. ข้อมูลที่ต้องการสาหรับการคานวณขนาด 0.30 ขนาด large คื อ 0.50 จะได้ ข นาดตั ว อย่าง
207 ตัวอย่าง

ภาพที่ 3 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้ Chi square


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
502
ขั้นตอนการคานวณขนาดตัวอย่างสาหรับการ ตัวอย่างที่ 3 การคานวณขนาดตัวอย่างสา
ทดสอบ Chi-square หรับการทดสอบด้วย Point biserial correlation
1. เลือก Test family เป็น x2 test (rpb) Point biserial Correlation ในกรณี ที่ ตั ว
2. เลือก statistical test เป็น Goodness-of- แปรหนึ่งเป็นค่าต่อเนื่อง (interval or ratio scale)
fit-test: Contingency tables และตั ว แปรหนึ่ ง เป็ น ตั ว แปรกลุ่ ม ที่ มี 2 กลุ่ ม
3. เลือก Type of power analysis เป็น A (dichotomous) และก าหนดค่ า เป็ น 0 และ 1
priori: Compute required sample size – พารามิ เ ตอร์ ที่ จ าเป็ น ส าหรั บ การค านวณขนาด
given α, power and effect size ตัวอย่าง สาหรับการทดสอบด้วย Point biserial
4. ใส่ ค่ า ต่ า งๆ (effect size, α, power, df) correlation ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย Effect size (|ρ|)
จากตัวอย่าง r=3 c=3 df = (3-1)(3-1) = 4 คานวณได้จาก
5. กดปุ่ม calculate

ภาพที่ 4 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้ : point biserial model


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
503
หรือจะใช้ conventions effect size (Cohen 1977) ตั ว อย่ า งที่ 4 การค านวณขนาดตั ว อย่ า งส า
ประกอบด้ วย ขนาด small = 0.1, ขนาดกลาง = หรับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว One-
0.30, ขนาดใหญ่ = 0.50 จะได้ 111ตัวอย่าง way Anova การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทาง
ขั้นตอนการคานวณขนาดตัวอย่าง เดียวหรือ ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย เพื่อ
1. เลือก Test family เป็น t tests ทดสอบปัจจัยที่ส่ งผลต่ อตัว แปรตามในมาตรวั ด
2. เลือก Statistical test เป็น Correlation: อั น ตรภาคชั้ น ขึ้ น ไป (Interval scale or Ratio
point biserial model Scale) และตั ว แปรต้ น เป็ น ตั ว แปรเชิ ง กลุ่ ม
3. เลื อ ก Type of power analysis เป็ น (Nominal or Ordinal scale)
A Priori: Compute required sample size, ขั้นตอนการคานวณขนาดตัวอย่าง
given α, power, and effect size 1. เลือก Test family เป็น F tests
4. ใส่พารามิเตอร์ที่กาหนด 2. เลือก Statistical test เป็น Anova: Fixed
5. กดปุ่ม calculate effects, omnibus, one-way

ภาพที่ 5 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้: Anova จะได้ 305 ตัวอย่าง


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
504
3. เลือก Type of power analysis เป็น A ขั้นตอนการคานวณขนาดตัวอย่าง
Priori: Compute required sample size, given 1. เลือก Test family เป็น F tests
α, power, and effect size 2. เลือก Statistical test เป็น Anova: Fixed
4. ใส่ พารามิ เตอร์ ที่ ก าหนด ประกอบด้ วย effects, special, mean effects and
Effect size f ระดับกลาง 0.25, α = 0.05, power = interactions
0.95, and number of groups จานวนกลุ่ม 5 กลุ่ม 3. เลือก Type of power analysis เป็น A
5. กดปุ่ม calculate Priori: Compute required sample size, given
ตั ว อย่ า งที่ 5 การค านวณขนาดตั ว อย่ า งส า α, power, and effect size
หรับการทดสอบความแปรปรวนหลายทาง Multi- 4. ใส่ พารามิเตอร์ที่ กาหนด ประกอบด้วย
way Anova เพื่อทดสอบปัจจัยที่ส่งผลต่อตัวแปร Effect size f ระดับกลาง 0.25, α = 0.05, power
ตามในมาตรวั ด อั น ตรภาคชั้ น ขึ้ น ไป (Interval = 0.95 Numerator df: ค่ า df ของตั ว เศษ
scale or Ratio Scale) และตัวแปรต้นเป็นตัวแปร Number of groups: จานวนกลุ่มของตัวแปรตาม
เชิงกลุ่ม (Nominal or Ordinal scale) 5. กดปุ่ม calculate

ภาพที่ 6 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้ความแปรปรวนหลายทาง
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
505
ตั ว อย่ า งที่ 6 การค านวณขนาดตั ว อย่ า งส า 3. เลื อก Type of power analysis เป็น A
หรับการทดสอบการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ เพื่อ Priori: Compute required sample size, given
ทดสอบปั จ จั ย ที่ส่ งผลต่ อตัว แปรตามในมาตรวั ด α, power, and effect size
อั น ตรภาคชั้ น ขึ้ น ไป (Interval scale or Ratio 4. ใส่ พารามิเตอร์ที่ กาหนด ประกอบด้วย
Scale) และตัวแปรต้นเป็นตัวแปรต้นอันตรภาคชั้น Effect size f ระดั บ กลาง 0.15, α = 0.05, power
ขึ้นไป (Interval scale or Ratio Scale) ด้วยเช่นกัน = 0.95 Number of predictors: จ านวนตั วแปร
ขั้นตอนการคานวณขนาดตัวอย่าง ทานาย
1. เลือก Test family เป็น F tests 5. กดปุ่ม calculate
2. เลื อ ก Statistical test เป็ น Linear Multi- ตามตัวอย่างกาหนดตัวแปรทานาย 5 ตัวแปร
ple regression: Fixed Model, R2 deviation และได้จานวน 138 ตัวอย่าง
from zero

ภาพที่ 7 ตัวอย่างการคานวณโดยใช้ Linear multiple regression


วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
506

บทสรุป จานวนตัวอย่าง การใช้โปรแกรม G*Power ช่วย


โปรแกรมส าเร็ จ รู ป G*Power ช่ ว ยในการ ให้ นั ก วิ จั ย มี ค วามสามารถรวดเร็ ว และช่ ว ยให้
กาหนดขนาดตัวอย่างโดยมีการระบุเงื่อนไขการใช้ ก าหนดขนาดตั ว อย่ า งได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว มี ค วาม
งานเริ่ มจาก การเลื อกกลุ่ มสถิ ติ เลื อกสถิติ การ น่าเชื่อถือ ซึ่งนักวิจัยสามารถดาวน์โหลดโปรแกรม
กาหนดค่าตัวแปรที่ระบุทั้งนี้นักวิจัยต้องมีข้อมูลใน มาใช้งานได้โดยไม่มีค่าใช้จ่าย
การก าหนดค่ า ตั ว แปรที่ ต้ อ งระบุ แล้ ว แสดงผล

บรรณานุกรม
ชนากานต์ บุญนุช ยุวดีเกตสัมพันธ์ สุทธิพล อุดมพนธุรัก จุฬาภรณ์ พูลเอี่ยม ปรีชญา พลเทพ และสมาชิก
CoPวิจัย (2554). เอกสารชุมชนนักปฎิบัติ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
กรุงเทพมหานคร โรงพยาบาลศิริราช
ธวั ช ชั ย วรพงศธร และ สุ รี ย์ พั น ธุ์ วรพงศธร. (2561). การค านวณขนาดตัว อย่า งส าหรั บงานวิจั ย โดยใช้
โปรแกรมส าเร็ จ รู ป G*Power Retrieve on January 20, 2019, From http://advisor.anamai.
moph.go.th/download/Journal_health//2561HEALTH41_/2HEALTH_Vol41No2_.02pdf .
นงลักษณ์ วิรัชชัย . (2555). การกาหนดขนาดตัว อย่าง และสถิติวิเคราะห์ ใหม่ๆ ที่น่าสนใจ. Retrieve on
January 20,2019, From http://lllskill.com/web/files/GPower.pdf
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A.-G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power
analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research
Methods, 39, 175-191. Download PDF
Cohen J. Statistical power for the behavioral sciences. 2nd ed. New York: Academic Press;
1977.
Cohen J. Statistical power analysis for the behavioral sciences. 2nd ed. Hillsdale, NJ: Lawrence
Erlbaum Associates, Publishers; 1988.
Cohen J. Quantitative methods in psychology: A power primer. Psychol Bull 1992; 112 (1): 155-
9.
Faul, F., Erdfelder, E., Lang, A.-G., & Buchner, A. (2007). G*Power 3: A flexible statistical power
analysis program for the social, behavioral, and biomedical sciences. Behavior Research
Methods, 39, 175-191. Download PDF
Faul, F., Erdfelder, E., Buchner, A., & Lang, A.-G. (2009). Statistical power analyses using G*Power
3.1: Tests for correlation and regression analyses. Behavior Research Methods, 41, 1149-
1160. Download PDF
วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ
507
Faul F. G*Power version 3.1.9.2 [Internet]. 2014 [cited 2018 Mar 6]. Available from:
https://www.poycho.uni-duessldorf.de/abteilungen/aap/gpower3/.
7. Faul F, Erdfelder E, Buchner A, Lang AG. Statistical power analysis using G*Power 3.1: Test
for correlation and regression analyses. Behav Res Methods 2009; 41: 1149-60.
Krejcie, R. V., and Morgan, D. W. (1970). “Determining Sample Size for Research Activi- ties”
Educational and Psychological Mea- surement. 30, 607 – 610.
Portney LG, Watkins MP. Foundations of clinical research: Applications to practice. Connecticut:
Appleton & Lange; 1993.
Yamane, T. (1970). Statistics: an intro- ductory analysis. New York: Harper and Row.

You might also like