Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 19

01

เศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ

03
หมายถึง ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทางด้าน
เศรษฐกิจซึ่งมีความสัมพันธ์กันอยู่ 3 เรื่อง คือ

1.การค้าระหว่างประเทศ
2.การเงินระหว่างประเทศ
3.การร่วมมือกันทางเศรษฐกิจ
1.การค้าระหว่างประเทศ
•การนำสินค้าจากประเทศนึงไปขายหรือเปลี่ยนสินค้ากับอีกประเทศหนึ่ง
•สาเหตุ 1.ความเเตกต่างด้านภูมิศาสตร์ 2.ความแตกต่างด้านทรัพยากรธรรมชาติ 3.ความแตกต่าด้านความชำนาญการผลิต
•ประโยชน์ทางการค้าระหว่างประเทศ 1. เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคภายในประเทศ ในราคาที่ถูกและดี
2. ทำให้เกิดการแบ่งงานกันทำ
3. เกิดการแข่งขันกันด้านคุณภาพของสินค้าและบริการ
02 4. เกิดความชำนาญเฉพาะอย่างในการผลิตสินค้าที่ถนัดอย่างต่อเนื่อง

1.สินค้านำเข้า Import
2.สินค้าส่งออก Export
•การติดต่อค้าขายกับต่างประเทศจำเป็นต้องมีสื่อการในการแลกเปลี่ยน(เงินตรา)เพื่อใช้กำหนดค่าในการซื้อขายสินค้า
•1.กลไกการชำระเงิน ตราสารเครดิต(Credit Instruments) : สามารถช่วยให้การค้าเพิ่มขึ้นและเพื่อลดปัญหาเรื่องการขนส่งสิ้นเปลืองเวลา
และระยะทางที่ห่างกันแต่ละประเทศ เช่น

1.ดราฟต์ (Draft) :
2.ตั๋วเเลกเงิน (Bill of Exchange) :
จะใช้ในกรณีชำระหนี้ในวงเงินน้อยๆ โดยการซื้อดราฟของ
ใช้สำหรับการค้ารายใหญ่ใหญ่สามารถเรียกเก็บเงิน
ธนาคารใดธนาคารหนึ่ง แล้วส่งกลับไปที่เจ้าของสินค้า
ผ่านธนาคารที่ลูกหนี้สั่งจ่ายได้
เพื่อชำระหนี้โดยตรง

04
•2. อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตาต่างประเทศ(Exchange Rate) จะมีการเปลี่ยนแปลงเครื่องไหวอยู่ตลอดเวลา

2.การเงินระหว่างประเทศ
•3.ดุลการชำระเงิน(Balance of payment) เป็นการแสดงรายรับรายจ่ายของเงินตราต่างประเทศจากการดำเนินธุรกรรม
แลกเปลี่ยนทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศในระยะเวลา1ปี
•3.1 ลักษณะของดุลการชำระเงิน
1.ดุลการชำระเงินเกินดุล(Favorable Balance of Playments) : ยอดรายรับ > ยอดรายจ่าย [ทุนสำรองฯเพิ่มขึ้น]
2.ดุลการชำระเงินขาดดุล(Unfavorable Balance of playments) : ยอดรายรับ <ยอดรายจ่าย [ทุนสำรองฯลดลง]
3.ดุลการชำระเงินสมดุล(Equilibrium balance of playments) : ยอดรายรับ = ยอดรายจ่าย [ทุนสำรองฯคงที่]

•3.2 การบันทึกรายการในดุลการชำระเงิน แบ่งเป็นสี 4 บัญชีใหญ่ๆ

05 1.บัญชีเดินสะพัด(Current Account) : เป็นบัญชีที่บันทึกรายการซื้อขายสินค้าและบริการ แบ่งเป็น3ส่วน


1.1.)บัญชีการค้า(Balance of trade) : เป็นบัญชีที่แสดงมูลค่าสินค้านำเข้าและสินค้าส่งออกของประเทศ
1.2)บัญชีบริการ(Services Account) : เป็นบัญชีที่บันทึกรายรับและรายจ่ายของบริการระหว่างประเทศ เช่น ค่าใช้จ่ายในการเดินทางท่องเที่ยวค่าขนส่งเป็นต้น
1.3)บัญชีเงินโอนและบัญชีเงินบริจาค(Unrequited Transfer Account) : เป็นบัญชีที่บันทึกรายการโอนเงินหรือบริจาคระหว่างประเทศ

2.บัญชีทุนเคลื่อนย้าย(Capital Movement Account) : เป็นบัญชีที่บันทึกรายการการรับเข้าและจ่ายออกของเงินตราต่างประเทศทั้งของรัฐบาลและเอกชน


2.1.)การลงทุนโดยตรง(Direct Investment) : การท่ีผู้ประกอบการเข้าไปตั้งกิจการการลงทุนในประเทศนั้นโดยตรง
เช่นญี่ปุ่นเข้ามาลงทุนสร้างโรงงานประกอบรถยนต์ในประเทศไทย เป็นต้น
2.2)การลงทุนทางอ้อม(Indirect Investment) :การที่ผู้ประกอบการซื้อหลักทรัพย์หรือหุ้นในประเทศดังกล่าว โดยที่มิได้
เข้าไปตั้งกิจการในประเทศนั้นเช่น การนำเงินไปซื้อหุ้นหรือฝากธนาคาร พาณิชย์ ผลตอบแทนที่ได้ คือเงินปันผลหรือดอกเบี้ย
3.บัญชีทุนสำรองระหว่างประเทศ(International Reserves Account
) / ทุนสำรองทางการ (official Reserves)
: เป็นตัวเลขที่แสดงถึงฐานะทางการเงินความมั่นคงของประเทศ จะ
ช่วยจะช่วยเป็นตัวปรับสมดุลเมื่อดุลการชำระเงินไม่สมดุล
ทุนสำรองสูง = ค่อนข้างจะมีเสถียรภาพภายนอกดี
ทุนสำรองต่ำ = เสถียรภาพภายนอกไม่ดี

4.บัญชีความผิดพลาดและคาดเคลื่อนทางสถิติ(Error and Omissions) :


ไว้เพื่อเก็บตกข้อผิดพลาดและความคลาดเคลื่อนในการจัดเก็บสถิติ
ที่เกี่ยวข้องกับธุรกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างประเทเพื่อให้ผลรวมของกิจกรรม
ที่เกิดขึ้นมีค่าเท่ากับการเปลี่ยนแปลงของทุนสำรองระหว่างประเทศ
•เป็นการที่รัฐบาลหรือเอกชนของประเทศหนึ่งนำเงินไปลงทุนดำเนินธุรกิจเพื่อแสวงหาผลกำไรในอีกประเทศหนึ่ง

•ลักษณะการลงทุน 1.ทางตรง(Direct Investment) : เป็นการลงทุนระยะยาว เป็นการนำเงินไปลงทุนโดยผู้ลงทุน


เข้าไปดำเนินกิจการ/ประกอบธุรกิจยังต่างประเทศ

2.ทางอ้อม(Indirect Investment) : เป็นการลงทุนระยะสั้น เป็นการลงทุนโดยผู้ลงทุน


ไม่ได้ดำเนินการเอง เเต่จะเป็นการนำเงินไปลงทุนในสินทรัพย์
ทางการเงิน เช่น สามัญของบริษัท หุ้นกู้ หน่วยลงทุน
•ข้อดี
1.ก่อให้เกิดการขยายตัวของการค้าระหว่างประเทศ •ข้อเสีย
06 2.เปิดโอกาสให้ประเทศที่ขาดเงินทุนและเทคโนโลยีสามารถ 1.มีการเอารัดเอาเปรียบประเทศที่รับการลงทุนในด้านของ
พัฒนาอุตสาหกรรมและการใช้ทรัพยากรของตนเองได้ แบ่งปันผลประโยชน์และใช้ทรัพยากร
3.เปิดโอกาสให้ประชาชนในประเทศได้เรียนรู้วิทยาการและ 2.ประเทศที่รับการลงทุนมักตกเป็นเบี้ยล่างในทางเศรษฐกิจ
ประสบการณ์ทางด้านอุตสาหกรรมและการค้าเพิ่มขึ้นจาก ของประเทศที่เข้าไปลงทุนซึ่งมีอำนาจเศรษฐกิจสูงกว่า
ชาวต่างชาติที่เข้าไปลงทุน 3.อาจเกิดการขัดแย้งระหว่างประเทศที่รับการลงทุนและ
4.ส่งเสริมความร่วมมือและความเข้าใจระหว่างประเทศ ประเทศที่เข้าไปลงทุนจนกายเป็นกรณีพิพาททางการเมือง

การลงทุนระหว่างประเทศ
INTERNATIONAL INVESTMENT
การเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของประเทศ

สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่2 รัฐบาลไทยเริ่มใช้นโยบาย จัดทำแผนพัฒนาเศรษฐกิจ


ก้าวสู่ยุคโลกาภิวัตน์ เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม และสังคมแห่งชาติฉบับแรก
(Globalization)
2493 2503 2538

07

2488 2500 2504


สหรัฐอเมริกาและ ประกาศใช้พ.ร.บ ส่งเสริมการ
ประเทศไทยร่วมลงนามในข้อ ลงทุนเพื่อกิจการ ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิก
ตกลงว่าด้วยความร่วมมือทาง อุตสาหกรรม ขององค์การการค้าโลก
ด้านเศรษฐกิจและเทคนิค

วิวัฒนาการของการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจในยุคโลกาภิวัตน์ของไทย
• ปัจจัยทางเศรษฐกิจที่ทำให้เกิดการเปิดเสรีทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
08
/
1.ความสามารถในการผลิต 07
2.แรงงานที่มีคุณภาพและค่าจ้างแรงงานต่ำ
3.นโยบายเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ
4.นโยบายกีดกันทางการค้าระหว่างประเทศ
5.การขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศต่างๆในโลก
6.อัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

•ผลกระทบที่มี มีต่อภาคการเกษตร
ภาคอุตสาหกรรม ภาคการค้าและบริการ
08

•ภาคเกษตร
ผลดี : 1.ส่งผลให้มีการแข่งขันเพื่อพัฒนาและวิจัยค้นหาพันธุ์พืช
และสัตว์รวมถึงคิดค้นเทคโนโลยีใหม่ๆ
2.ช่วยให้ราคาสินค้าเกษตรในตลาดมีราคาไม่สูง
ผลเสีย : 1.การระบาดของโรคพืช+สัตว์
2.เป็นเหตุให้พืช+สัตว์พื้นเมืองต้องสูญพันธุ์
3.หากประเทศคู่ค้ามีสินค้าเกษตรประเภทเดียวกัน+ส่ง
เข้ามาจำหน่ายในประเทศไทยเป็นจำนวนมากในราคาถูกกว่าอาจ
ทำให้สินค้าของไทยมีราคาต่ำลง
•ภาคอุตสาหกรรม ผลดี : 1.ช่วยส่งเสริมให้มีการพัฒนาทางด้านอุตสาหกรรมอย่างกว้างขวาง 08
2.ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทำ /
07
3.มีการพัฒนาฝีมือแรงงานอย่างสม่ำเสมอ
ผลเสีย : 1.การเปิดเสรีทางการค้าจะส่งผลให้มีการขยายการผลิตทางด้าน
อุตสาหกรรมอย่างรวดเร็วจนทำให้เกิดปัญหาสังคมต่างๆตามมา
2.การขยายตัวของการผลิตทางด้านอุตสาหกรรมจะมีผลให้สิ่งแวดล้อม
ต่างๆถูกทำลาย
3.เกิดการสิ้นเปลืองทรัพยากร

09
ผลดี : 1.มูลค่าการลงทุนมูลค่าการผลิตและการจ้างงานมีการขยายตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว •ภาคการค้าเเละการบริการ
2.ประเทศได้รับความสะดวกทางด้านการนำเข้าและส่งออกวัตถุดิบ
3.ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าและบริการในราคาที่เป็นธรรม

ผลเสีย : 1.อาจนำไปสู่การแสวงหาผลกำไรของนักลงทุน
2.ภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ดีงามบางอย่างหายไป
3.กิจการที่เป็นของประชาชนในท้องถิ่นซึ่งมีเงินทุนน้อย+มีการปรับตัวไม่ดีพออาจถูก
ครอบงำโดยกลุ่มนายทุนขนาดใหญ่ที่เป็นชาวต่างชาติ
ปัจจัยต่างๆที่นำไปสู่การพึ่ งพาการแข่งขันการขัดแย้งการประสาน
08
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่าง /
07

ประเทศ
• ภาวะเศรษฐกิจที่ภาวะเศรษฐกิจที่แต่ละประเทศเผชิญอยู่จะส่งผลให้เกิดการกำหนดนโยบายการค้าระหว่างประเทศว่า
ควรจะเป็นไปในทิศทางใด

•นโยบายการค้าระหว่างประเทศ หมายถึง นโยบายที่นโยบายที่วางไว้เพื่อปฏิบัติต่อประเทศอื่นในการนำเข้าสินค้าหรือส่งออกสินค้า

10 1.นโยบายการค้าเสรี(FREE TRADE POLICY) 2.นโยบายการค้าเเบบคุ้มกัน(PROTECTIV POLICY)


•ตั้งกำแพงภาษี
•เก็บภาษีนำเข้าในอัตราต่ำ •กำหนดโควต้านำเข้า
•ไม่มีการให้สิทธิพิเศษทางการค้า •จัดเก็บค่าธรรมเนียมการนำเข้า
•ไม่มีข้อจำกัดทางการค้า •เลือกปฏิบัติโดยการเก็บภาษีหลายอัตรา
•การทุ่มตลาด(dumping)
•ช่วยเหลือผู้ผลิตภายในประเทศเช่นให้เงินอุดหนุน
•กำหนดมาตรฐานคุณภาพสินค้านำเข้า
•การรวมกลุ่มผลประโยชน์ทางการ
มีการกีดกันทางการค้ามากขึ้นต่อประเทศนอกกลุ่ม+มีรูปแบบของอุปสรรคทางการค้าที่
ค้า
เป็นมาตรฐานที่ไม่ใช่ภาษี(Non-Tariff Barrier)มากยิ่งขึ้น
•การเมืองการปกครองและสถานการณ์ทางการเมือง 08
/
เป็นการดำเนินนโยบายและบริหารงานด้านการพาณิชย์มีรูปแบบและลักษณะที่แตกต่างกันแบ่งลัทธิทางเศรษฐกิจ 07
เป็น2ระบบ คือ ระบบทุนนิยมหรือระบบเสรีนิยม และระบบสังคมนิยม

1.ระบบทุนนิยมหรือเสรีนิยม
จะให้ความสำคัญต่อเสรีภาพของบุคคลในการประกอบการค้าและการเป็นเจ้าของทรัพย์สินต่างๆแล้วจะเปิดโอกาสให้
เอกชนแข่งขันกันตามความรู้ความสามารถ

2.ระบบสังคมนิยม
10
หรือระบบที่รัฐบาลเป็นผู้ดำเนินการ รัฐบาลจะเข้าควบคุมการประกอบธุรกิจการค้าและการเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตส่วน
ใหญ่โดยรัฐบาลจะเป็นผู้จัดสรรรายได้และแบ่งปันผลผลิตให้กับประชาชนตามกฎเกณฑ์ที่กำหนด

•ลักษณะทางกายภาพและทรัพยากรธรรมชาติ ในเเต่ละประเทศมีความแตกต่างกัน

• ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้
1.ภัยธรรมชาติ 2.โรคระบาด
ที่ส่งผลกระทบที่รุนแรงต่อเศรษฐกิจของประเทศต่างๆซึ่ง
เป็นปัจจัยหนึ่งที่นำไปสู่การพึ่งพาทางเศรษฐกิจ
บทบาทขององค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญในภูมิภาค
08
ต่างๆของโลกและบทบาทขององค์การระหว่างประเทศในเวทีการเงิน 07/
โลกที่มีผลกับประเทศไทย

ความสามารถของรัฐบาล
ความเป็นสากลและนานาชาติ

11 ความสามารถของภาคธุรกิจ
หลักเกณฑ์
ความแข็งแกร่งทางเศรษฐกิจ การวัด
ความสามารถ
ในการแข่งขัน
ทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาระบบการเงิน
ทรัพยากรมนุษย์

ความสามารถในการจัดการและบริหาร โครงสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
การรวมมือทางเศรษฐกิจ 08
/
หมายถึง การรวมตัวของการรวมตัวของประเทศต่างๆเพื่อเสริมสร้าง+รักษาผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 07

ร่วมกันโดยเฉพาะทางด้านการค้า

• รูปแบบของความร่วมมือทางเศรษฐกิจ
12
08
/
07

12
องค์การความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่สำคัญ
08
/
07

13
08
/
07

14
ตัวอย่างเหตุการณ์ที่นำไปสู่การพึ่ งพาทางเศรษฐกิจ

1.วิกฤตเศรษฐกิจในเอเชีย พ.ศ.2540 หรือวิกฤตการณ์ต้มยำกุ้ง


•เกิดการขาดดุลการค้า
•เกิดภาวะฟองสบู่
•หนี้ต่างประเทศเพิ่มมากขึ้น
1.วิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ.2552 หรือวิกฤตการณ์แฮมเบอร์เกอร์
15
•เกิดในสหรัฐ > ส่งผลต่อทั่วโลก
•เกิดปัญหาการบริหารการจัดการสินเชื่อสังหาริมทรัพย์ผิดพลาด
1.นายนพดล หลายเจริญวัฒนา เลขที่7
2.นายณภัทร บุญมา เลขที่ 8
3.นายณัฐกิตติ์ โฆษิตพิสิฐพร เลขที่9
4.น.ส.วริศรา บุญอนันต์ เลขที่ 19
15
5.น.ส.ฐิติกา แสงโอปอล์ เลขที่ 30
6.น.ส.อรนลิน แสงมณี เลขที่ 31
7.น.ส.จิรชญา โกศลสถิตพันธุ์ เลขที่ 35
8.น.ส.วารุณี ไตรสวัสดิ์วงศ์ เลขที่44

You might also like