Ukgzv

You might also like

Download as doc, pdf, or txt
Download as doc, pdf, or txt
You are on page 1of 2

่ วก ับองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน

ความรูเ้ กีย ่

การปกครองท้องถิน

การปกครองท้องถิน

       หมายถึง การปกครองทีร่ ฐ ั บาลให ้อำนาจหรือการกระจายอำนาจไปให ้หน่วยปกครองท ้องถิน ่ เพือ
่ เปิ ดโอกาส
ให ้ ประชาชนในท ้องถิน ่
่ มีสวนร่วมในการปกครองท ้องทีแ ่ ละชุมชนโดยมีองค์กรผู ้รับผิดชอบ มีอส ิ ระในการใช ้
ดุลยพินจ ิ มีเจ ้าหน ้าทีแ
่ ละงบประมานในการดำเนินงานแยกออกจากราชการส่วนภูมภ ิ าคแต่องค์กรปกครองท ้อง
ถิน่ ก็มไิ ด ้มีอธิปไตยในตัวเอง ยังต ้องอยูภ ่ ายใต ้การควบคุมของรัฐบาลกลาง ตามวิธท ี เี่ หมาะสมการปกครองท ้อง
ถิน ่ มีหลายรูปแบบแต่ทส ี่ อดคล ้องกับการปกครองระบอบประชาธิปไตยมากทีส ่ ด
ุ คือ เทศบาล

ความหมาย
        การปกครองท ้องถิน
่ คือ การปกครองทีร่ ัฐบาลมอบอำนาจ หรือกระจายอำนาจให ้ประชาชนในท ้องถิน
่ หนึง่
จัดการปกครองและดำเนินกิจการ บางอย่าง เพื่อผลประโยชน์รฐ ั และผลประโยชน์ของ ท ้องถิน

หล ักการ
       1.เป็ นองค์กรทีม
่ ฐ
ี านะเป็ นนิตบ
ิ ค
ุ คลทีจ
่ ัดตัง้ ขึน
้ โดยกฎหมายมีขอบเขตการปกครองทีแ ่ น่นอน
       2.มีอำนาจอิสระในการบริหารงาน
       3.มีงบประมาณและรายได ้เป็ นของตนเอง
       4.คณะผู ้บริหารองค์กรได ้รับการเลือกตัง้ จากประชาชนในท ้องถิน ่ นัน
้ ทัง้ หมดหรือบางส่วน

ว ัตถุประสงค์ของการปกครองท้องถิน

       1.เพือ่ ประสิทธิภาพในการบริหาร
       2.ประหยัด
       3.แบ่งเบาภาระของรัฐบาลกลาง
       4.เป็ นโรงเรียนฝึ กหัดสอนประชาธิปไตยให ้กับประชาชน

ความสำค ัญของการปกครองท้องถิน

       1.ช่วยในการแก ้ปั ญหาของท ้องถิน
่ เพราะประชาชนในท ้องถิน
่ ย่อมรู ้ปั ญหาดีทสี่ ด
ุ กว่าคนภายนอก
       2.ประชาชนมีสว่ นร่วมในการปกครองตนเอง เท่ากับเป็ นการฝึ กฝนประชาชนได ้รู ้การปกครองระดับชาติ
       3.แบ่งเบาภาระด ้านการเงินและอัตรากำลังคน
       4.หากท ้องถิน
่ มีความมัน
้ คงแข็งแรง และมีเสถียรภาพประชาชนย่อมมีความเชือ ่ มั่นต่อผู ้บริหารฯ และมีความ
รับผิดชอบต่อประชาชน
       5.นอกจากเป็ นการช่วยแบ่งเบาภาระของรัฐบาลแล ้ว ยังผนึกให ้ประชาชนรู ้จักการปกครองตนเอง

ความสมพ ั ันธ์ระหว่างท้องถิน ่ ก ับร ัฐบาลกลาง(กระทรวงมหาดไทย)


ถือหล ักทีว่ า
่ Local Government is creature of State (การปกครองท้องถิน ้
่ เกิดขึน
โดยร ัฐหยิบยืน ่ ให้)

ว ัตถุประสงค์ในการควบคุม
       1.ป้ องกันองค์กรท ้องถิน
่ บริหารงานผิดพลาด อาจมีผลกระทบต่อประเทศชาติ
       2.ให ้มีการบริหารงานทีไ่ ด ้มาตรฐาน
       3.ส่งเสริมการบริหารให ้สอดคล ้องกับนโยบายของประเทศ
มาตรฐานในการควบคุม
       1.โดยกฎหมาย
       2.โดยการตรวจสอบ
       3.โดยการยุบสภาท ้องถิน

       4.โดยการจัดสรรเงินอุดหนุน
       5.โดยกำหนดระเบียบทางการคลัง
       6.โดยกระบวนการในการวางแผนให ้สอดคล ้องกับแผนชาติ

วิธก
ี ารควบคุมของร ัฐบาลกลาง (โดยการการมอบให้ผว
ู้ า
่ ราชการจ ังหว ัด
ควบคุม)
       1.ด ้านตัวบุคคล เกีย ่ วโยงกับ
            - สมาชิกสภาเทศบาล-ยุบ/ถอดถอน
            - คณะเทศมนตรี-ถอดถอน/ยับยัง้ การปฏิบัตไิ ด ้
            - พนักงานเทศบาล-ออกระเบียบควบคุมหรือเรียกมาสอบถาม
       2.ด ้านการเงิน
             - งบประมาน-การกำหนดประเภทรายได ้
             - เงินอุดหนุน-การจัดสรรให ้ตามความจำเป็ น
            - รายจ่าย-เป็ นไปตามระเบียบวิธก ี ารงบประมาน
       3.ด ้านกิจการ
            - การตราเทศบัญญัตต ิ ้องได ้รับอนุมัตจิ าก ผู ้ว่าราชการจังหวัดก่อน
            - การตรวจสอบกิจการ
            - การเพิกถอนและระงับการปฏิบัต ิ

ปัญหา
       1.ประชาชนขาดความสนใจ (ขาดการมีสว่ นร่วมทางการเมือง)
       2.ท ้องถิน
่ ขาดความเป็ นระเบียบอิสระในการบริหารงาน
       3.รายได ้ไม่เพียงพอกับการบริหารงาน
       4.มีการควบคุมจากส่วนกลางมากเกินไปทัง้ ในเรือ ่ ง บริหารการคลังและบุคคล
       5.การจัดตัง้ หรือขยายเขตท ้องถิน
่ กระทำได ้ยากมาก

You might also like