Download as docx, pdf, or txt
Download as docx, pdf, or txt
You are on page 1of 15

ประเภทสแตนดาร์ ด 

- เป็ นการลีลาศที่ใช้จงั หวะนุ่มนวล สง่างาม ลักษณะของการลีลาศและทำนอง


ดนตรี จะมีความสุ ภาพอ่อนหวาน ลำตัวจะตั้งตรงผึ่งผาย การก้าวเท้านิยมลากเท้าสัมผัสไปกับพื้นห้อง มีอยู่ 5
จังหวะ
1. จังหวะวอลซ์ (Waltz)

(การแต่งกายจังหวะวอลซ์)
ดนตรีและการจับจังหวะ
เป็ นแบบ  3/4  คือมี  3  จังหวะใน  1  ห้องเพลง  ซึ่ งจะได้ยนิ เสี ยงเคาะจังหวะ  พัม่   แท๊ก  แท๊ก  ต่อเนื่อง
กันตลอดเพลงและมีความ  เร็ ว-ช้า เท่ากันตลอดเพลง  ในการฟังจังหวะให้สงั เกต  เสี ยงเบส  และเสี ยง
กลอง  คือ  เสี ยงพัม่ จะตรงกับเสี ยงเบส  และเสี ยงแท๊ก-แท๊กจะตรงกับเสี ยงกลอง   ในการฝึ กหัดเต้นอาจจะใช้
การนับ  หนึ่ง-สอง-สาม  หรื อ  นับตามจำนวนก้าวของแต่ละสเต็ปก็ได้
2. จังหวะเวียนนีสวอลซ์ (Viennese Waltz)
(การแต่งกายจังหวะเวียนนีสวิลซ์)
จังหวะเวียนนิสวอลซ์ เป็ นจังหวะเต้นรำที่ได้แสดงถึงการมีพลังความอดทน การเคลื่อนไหวที่เป็ นอิสระ
และการสวิงไปด้านข้าง จังหวะนี้ มีรูปแบบการเต้น (Figures) ที่นอ้ ยมาก ความเร็ วของดนตรี นับได้ถึง 60 บาร์
/นาที ซึ่ งได้บ่งบอกถึงตัวของมันเอง การเต้นจังหวะเวียนนิสวอลซ์น้ี เปรี ยบเทียบได้กบั การแข่งขันวิง่ ในระยะ
ทาง 400 เมตร ของนักกีฬา
ลักษณะเฉพาะของจังหวะ เวียนนีสวอลซ์
เอกลักษณ์เฉพาะ การหมุนไปโดยรอบ การสวิงที่โล่งอิสระ 
การเคลื่อนไหว                    เคลื่อนไปข้างหน้า
ห้องดนตรี                             3/4
ความเร็ วต่อนาที                    60 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                      บนบีทที่ 1 
เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน          1 นาที ถึง 1 นาทีครึ่ ง 
การขึ้นและลง                       ไม่มีการเขย่งขึ้นในการหันวงใน 
หลักพลศาสตร์                       เลื่อนไหล และเคลื่อนไปอย่างอิสระ (โล่ง)

3. จังหวะสโลว์ฟอกซ์ ทรอท (SLOW FOXTROT)


(การแต่งกายจังหวะสโลว์ ฟอกซ์ทรอท)
จังหวะสโลว์ ฟอกซ์ ทรอท เป็ นการเต้นรำที่จดั อยูใ่ นฐานะหัวใจหลัก (Corner Stone) ของการเต้นรำ
แบบบอลรู ม บางท่านถึงกับกล่าวว่า หากคุณสามารถเต้นจังหวะนี้ ได้ดีแล้ว คุณก็จะมีพ้ืนฐานที่เติบโตขึ้นมาเอง
โดยปริ ยาย ซึ่ งทำให้เต้นรำจังหวะอื่นๆ ได้ดีดว้ ยเช่นกัน โดยการปรับระดับการขึ้น และลงให้แน่ชดั และการได้
มาของกลุ่มท่าเต้น (Chorography) ที่เหมาะสม นักเต้นจังหวะสโลว์ฟอกซ์ทรอทที่ดี ปกติแล้วจะสามารถปรับตัว
เองให้เข้ากับจังหวะดนตรี ได้เกือบทั้งหมด ไม่เหมือนจังหวะอื่นๆ
ลักษณะเฉพาะของจังหวะ สโลว์ ฟอกซ์ ทรอท
เอกลักษณ์เฉพาะ                   ความบริ สุทธิ์ ชดั เจน และสง่างามยิง่ อย่างมีบุคลิก 
การเคลื่อนไหว                       ความต่อเนื่อง เคลื่อนไปข้างหน้าอย่างโล่งอิสระ รู ปแบบที่มีแนวตรงอย่าง
เป็ นระเบียบ 
ห้องดนตรี                               4/4 
ความเร็ วต่อนาที                     30 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                        บนบีทที่ 2 
เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน          1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที
การขึ้นและลง                         ขึ้นหลังสิ้ นสุ ด 1 ขึ้นตอน 2 ขึ้นและหน่วงลงหลังสิ้ นสุ ด 3 
หลักพลศาสตร์                       การเลื่อนไหล และการเคลื่อนอย่างโล่งอิสระ

4. จังหวะแทงโก้ (Tango)
(การแต่งกายจังหวะแทงโก้)
จังหวะแทงโก้ มีความแตกต่างกับจังหวะอื่นๆ อย่างเห็นได้ชดั มันไม่มีการขึ้นและลง (Rise and Fall)
ไม่มีการสเวย์ของลำตัว (Body Sway) การเปลี่ยนท่าทางการเข้าคู่ (Holding) ต้นขาเบี่ยงเข้าหากัน และผูเ้ ต้นควร
เตรี ยมพร้อมทั้งร่ างกายและจิตใจ เพื่อที่จะทำให้เกิดอาการกระแทกกระทั้นเป็ นช่วงๆ (Staccato Actions) ตามที่
จังหวะนี้ตอ้ งการ เมื่อจังหวะแทงโก้ต้ งั เค้าที่จะเริ่ ม คุณลองใส่ ความรู ้สึกลงไปว่า คุณเป็ นผูช้ ม หรื อผูเ้ ข้าแข่งขันคู่
หนึ่งที่อยูใ่ นสนามแข่งขัน ระดับความตึงเครี ยดและการเตรี ยมพร้อมจะมีสูงขึ้นอย่างผิดปกติวิสยั เปรี ยบเสมือน
ว่า สงครามย่อยๆ กำลังจะปะทุข้ ึนบนฟลอร์การแข่งขันอย่างไรอย่างนั้น
ลักษณะเฉพาะของจังหวะ แทงโก้
เอกลักษณ์เฉพาะ                 มัน่ คง และน่าเกรงขาม โล่งอิสระ ไม่มีการสวิง และเลื่อนไหล การกระแทก
กระทั้นเป็ นช่วงๆ (Staccato Action)
การเคลื่อนไหว                     เฉียบขาด อาการเปลี่ยนแปลงที่สบั เปลี่ยนอย่างฉับพลันสู่ ความสงบนิ่ง 
ห้องดนตรี                             2/4
ความเร็ วต่อนาที                  33 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                      บีทที่ 1 และ 3 
เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน         1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที 
การขึ้นและลง                       ไม่มีการขึ้นและลง 
หลักพลศาสตร์                       ความสมดุลที่ดีร่วมกับการใช้น ้ำหนัก จังหวะเวลา และการขับเคลื่อนอย่าง
โล่งอิสระ
5. จังหวะควิกสเต็ป (Quick Step)
(การแต่งกายจังหวะควิกสเต็ป)
เป็ นจังหวะลีลาศที่จดั อยูใ่ นประเภทบอลรู มดนตรี ได้รับการวิวฒั นาการมาจากดนตรี ประเภทแจ็ส (jazz) 
ของชาวอเมริ กนั นิโกรสมัยก่อน จังหวะดนตรี ของควิกสเต็ปฟังง่ายไม่ยงุ่ ยาก เพราะมีเสี ยงการเคาะของจังหวะ
ดนตรี อยูต่ ลอดเวลาลวดลายของควิกสเต็ป ฝึ กหัดง่ายจังหวะนี้อาจกล่าวได้วา่ เป็ นจังหวะแม่บทของการลีลาศใน
ประเภทบอลรู มทั้งนี้เพราะว่าหากผูท้ ี่ฝึกหัดจังหวะนี้ จนชำนาญแล้วจะเป็ นพื้นฐานที่สามารถนำไปถ่ายโยงกับ
การเรี ยนในจังหวะบอลรู มอื่นๆได้เป็ นอย่างดี
 ดนตรีของจังหวะควิกสเต็ป
เป็ นแบบ  4/4  คือมี 4 จังหวะใน  1  ห้องเพลง  เสี ยงหนักจะตกที่จงั หวะ  1  และ  3  การนับจังหวะจะ
นับ   ช้า – ช้า – เร็ ว – เร็ ว – ช้า  หรื อนับแบบ   1 – 2 ,        3 – 4 ,  5 , 6 , 7– 8 , 1
ความเร็ วของจังหวะดนตรี ที่เป็ นมาตรฐานในจังหวะนี้ บรรเลงด้วยความเร็ วประมาณ 48-52 ห้องเพลง
ใน 1 นาที

ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th

ประเภทละตินอเมริกนั  - เป็ นการลีลาศที่ใช้จงั หวะค่อนข้างเร็ ว ใช้ความคล่องแคล่ว ส่ วนใหญ่จะใช้ไหล่


เอว สะโพก เข่า และข้อเท้า เป็ นสำคัญ การก้าวเท้าสามารถยกเท้าพ้นจากพื้นได้ ทำนองและจังหวะดนตรี จะ
เร้าใจสนุกสนาน มีอยู่ 5 จังหวะ
1. จังหวะคิวบันรัมบ้ า (Cuban Rumba)

(การแต่งกายจังหวะคิวบัน รัมบ้า)
ดนตรีของจังหวะคิวบัน รัมบ้ า  เป็ นแบบ  4/4  คือมี  4  จังหวะใน  1  ห้องเพลง  การนับจังหวะ 2,3,4-
1 ต่อเนื่องกันไป ดนตรี ของจังหวะนี้ บรรเลงด้วยความเร็ ว 27-32 ห้องเพลงต่อนาที
การก้าวเท้ าในจังหวะคิวบัน รัมบ้ า  ไม่วา่ จะเป็ นการก้าวเท้าไปข้างหน้าหรื อถอยหลังก็ตามจะต้องให้
ฝ่ าเท้าแตะพื้นก่อนเสมอแล้วจึงราบลงเต็มเท้า  เข่าจะงอขณะที่กา้ วเท้าและตึงเมื่อรับน้ำหนักตัวเต็มที่แล้ว  ดังนั้น
ตลอดเวลาการเต้นจังหวะนี้ เข่าจะงอข้างหนึ่งและตึงข้างหนึ่งสลับกันไปพร้อมกับการเคลื่อนไหวสะโพกอย่าง
สัมพันธ์กนั
ค้ นหาจาก https://sites.google.com/site/pirosaltation/home/cuban-ramba
2. จังหวะแซมบ้ า (Samba)
(การแต่งกายจังหวะแซมบ้า)
การเต้ นแซมบ้ าแบบแข่งขันในปัจจุบนั มีความเปลี่ยนแปลงจากรู ปแบบดั้งเดิมของ "บราซิ ลเลี่ยนแซม
บ้า" ไปเป็ นอย่างมาก ซึ่ งในอดีตนั้น เน้นการกระตุน้ ให้ผคู ้ นเกิดความรู ้สึกที่ลุ่มหลง คลัง่ ไคล้ อย่างไรก็ตาม ถึง
แม้วา่ แซมบ้าจะเปลี่ยนแปลงจากรู ปแบบดั้งเดิมไป โดยละทิ้งลักษณะการเต้นแบบพาเหรด และความมีชีวิตชีวา
ลงไปบ้างก็มิได้ท ำให้เสี ยภาพลักษณ์ของแซมบ้าแต่อย่างไร
ลักษณะเฉพาะของจังหวะแซมบ้ า
เอกลักษณ์เฉพาะ  เบิกบาน มีชีวิตชีวา และความพึงพอใจ 
การเคลื่อนไหว                     แบบซิคแซค , เคลื่อนที่แบบเดินขบวน และแบบวงกลม เต้นในที่โล่ง หรื ออยู่
กับที่ 
ห้องดนตรี                            2/4
ความเร็ วต่อนาที                    50 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                       บนบีท (Beat) ที่ 2 
เวลาที่ใช้ในการแข่งขัน           1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที 
การขึ้นและลง                        ท่าเบ้าส์ (Bounce) ของแซมบ้า 
หลักพลศาสตร์                        ความหนักหน่วง ยืดหยุน่ ฉับพลัน และก็ทนั ทีทนั ใด
ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th
3. จังหวะชา ชา ช่ า (Cha Cha Cha)
(การแต่งกายจังหวะชา ชา ช่า)
การเต้ นรำจังหวะชา ชา ช่ า
          ชา ชา ช่า เป็ นจังหวะเต้นรำที่พฒั นามาจากจังหวะแมมโบ้ (Mambo) ในอดีตเรี ยกชื่อจังหวะนี้ แมมโบ้ ชา
ชา ช่า ต้นกำเนิดมาจากคิวบัน (คิวบา) เกิดจากอิทธิ พลของดนตรี ที่พฒั นาไป ทำให้การเต้นรำพัฒนาตามไปด้วย
ดนตรีและการนับจังหวะ
          - ดนตรี ของจังหวะ ชา ชา ช่า มีท่วงทำนองที่สนุกสนานเร้าใจ และมีจงั หวะเน้นเด่นชัดดนตรี จะเป็ นแบบ
4/4 เหมือนกับจังหวะคิวบ้ารัมบ้า คือ ใน 1 ห้องมี 4 จังหวะ
          - การนับจังหวะสามารถนับได้หลายวิธี เช่น หนึ่ง -- สอง – สามสี่ – ห้า หรื อ หนึ่ง – สอง ชา ชา ช่า หรื อ
นับก้าวจนครบตามจำนวนลวดลายพื้นฐาน หรื อนับตามหลักสากลคือ นับตามจังหวะของดนตรี คือ สอง – สาม
– สี่ และ – หนึ่ง โดยที่กา้ วแรกตรงกับจังหวะที่ 2 ของห้องเพลง
          - ดนตรี ของจังหวะ ชา ชา ช่า บรรเลงด้วยความเร็ วมาตรฐาน 32 ห้องเพลงต่อนาที (30 – 40 ห้องเพลงต่อ
นาที)
ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th
4. จังหวะพาโซโดเบิล (Paso Doble)
(การแต่งกายจังหวะพาโซโดเบิล)
จังหวะพาโซโดเบิล ที่อยูบ่ นฟลอร์การแข่งขัน ควรสร้างบรรยากาศของการสู ้ววั กระทิง ตามแบบฉบับ
ของชาวสเปน สำหรับข้าพเจ้าแล้วการเต้นรำจังหวะนี้ เป็ นการเต้นรำสำหรับฝ่ ายชาย ซึ่ งให้โอกาสเขาได้ครอบ
ครองพื้นที่ที่วา่ ง ด้วยท่าทางที่เป็ นสามมิติ และเคลื่อนไหวการเต้นด้วยความทรนงและสง่างาม "Pride and
Dignity" นักเต้นรำชายส่ วนมาก ให้ความสำคัญน้อยไปกับการควบคุม (Toning) ส่ วนของลำตัว ที่จะทำให้การ
เต้นของจังหวะนี้ มีท่าที่เฉียบคม และฉับพลัน ลักษณะของพาโซโดเบิล คือ การเดินมาร์ช (Marching) ส่ วนลีลา
ท่าทางอยูท่ ี่การก้าวย่าง และการโบกสบัดของผืนผ้าที่ใช้สำหรับกีฬาสู ้ววั กระทิง ที่เพิ่มความตรึ งเครี ยดระหว่างคู่
เต้นรำ อย่างไรก็ตามแต่ ฝ่ ายหญิงเปรี ยบเสมือนเป็ นผ้าแดง แต่เธอไม่ใช่ววั กระทิง 
ลักษณะเฉพาะของจังหวะ พาโซโดเบิล
เอกลักษณ์เฉพาะ                สง่าและภาคภูมิ ความเป็ นชาวสเปน อวดลีลาการเต้นแบบ ฟลามิงโก้ 
การเคลื่อนไหว                     ในที่โล่ง และเคลื่อนไปข้างหน้า การโบกสบัดผ้าคลุม การเคลื่อนไหวเป็ น
วงกลม และการเดินมาร์ช 
ห้องดนตรี                             2/4
ความเร็ วต่อนาที                   62 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                     เน้นเล็กน้อย บนบีทที่ 1 
เวลาที่ใช้ในการ                   1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที 
แข่งขัน                                 เขย่งขึ้นลงบ้างในบาง ฟิ กเกอร์  
การขึ้นและลง                       การเดินแบบมาร์ชที่มนั่ คงและตรงทิศทางหลักพลศาสตร์          
ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th
5. จังหวะไจว์ฟ (Jive)
(การแต่งกายจังหวะไจว์ฟ)
จังหวะไจว์ฟ ที่ซ่ ึ งคู่เต้นรำควรแสดง การใช้จงั หวะ (Rhythm) ซึ่ งเป็ นความต้องการของผูช้ ม "จังหวะ
และก็จงั หวะ" ผสมผสานกับความสนุกสนาน และการใช้พลังอย่างสู ง การเน้นจังหวะล้วนอยูท่ ี่ขาทั้งคู่ ที่แสดง
ให้เห็นถึงการ เตะ และการดีดสะบัดปลายเท้า
ลักษณะเฉพาะของจังหวะไจว์ฟ
เอกลักษณ์เฉพาะ                 การมีจงั หวะจะโคน การออกท่าทาง เตะ และดีดสบัด 
การเคลื่อนไหว                     ไม่คืบไปข้างหน้า มุ่งหน้าไปและมา จากจุดศูนย์กลางของการเคลื่อนไหว 
ห้องดนตรี                              4/4
ความเร็ วต่อนาที                    44 บาร์ต่อนาที ตามกฎ IDSF
การเน้นจังหวะ                      บนบีทที่ 2 และ 4 
เวลาที่ใช้ในการ                    1 นาทีครึ่ ง ถึง 2 นาที 
แข่งขัน                                ฉับพลัน ตรง และการเคลื่อนไหวที่แผ่วเบาหลักพลศาสตร์                      
ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th

ประเภทเบ็ดเตล็ด ปัจจุบนั ได้รับความนิยมอย่างมากในการเต้นลีลาศตามงานสังคมทัว่ ไปแต่เป็ นจังหวะ


ที่ไม่นิยมในต่างประเทศ
1.จังหวะบีกนิ  (BEGUINE)
(การแต่งกายจังหวะบีกิน)
ดนตรีและการนับจังหวะ
ดนตรี ของจังหวะบีกินเป็ นแบบ 4/4 คือ มี 4 จังหวะใน 1 ห้องเพลง โดยที่สามจังหวะแรกจะเป็ นเสี ยง
หนัก และจังหวะที่สี่จะเป็ นเสี ยงเบา และทุก ๆ จังหวะจะมีความเร็ วช้าเท่ากันหมด
การนับจังหวะจะนับ 1,2,3, พัก, 1,2,3,พัก (พัก หมายถึง พักเข่าหรื องอเข่า) ต่อเนื่องกันไป และก้าว
ที่ 1 ตรงกับจังหวะที่ 1 ของห้องเพลง
ความเร็ วช้าของดนตรี จงั หวะบีกินบรรเลงด้วยความเร็ วประมาณ 28 – 32 ห้องเพลงต่อนาที
ค้ นหามาจาก https://sites.google.com/site/begingstepmayipe/cang-hwa-s-low-fxk-s-thrx-th

2.สแควร์   รัมบ้ า  (Square Rumba) หรืออเมริกนั รัมบ้ า (American Rumba)


(การแต่งกายาจังหวะ อเมริ กนั รัมบ้า )
จังหวะอเมริกนั   รัมบ้ า  มีลกั ษณะพิเศษ   คือ  มีการเคลื่อนไหวที่นุ่มนวลมีการบิดสะโพกไปมาทั้งซ้าย
และขวาสลับกัน  มีการเปลี่ยนถ่ายน้ำหนักตัวพร้อมกับสลับเข่า  ทำให้มองแล้วดูสวยงาม
ดนตรีของอเมริกนั รัมบ้ า  เป็ นแบบ  4/4  หรื อ  2/4   คือ  มี  4  หรื อ  2  จังหวะ   ( beat )  ใน  1  ห้อง
เพลง  ( bar )  เสี ยงของดนตรี ที่ควรสังเกต  คือ  เสี ยงที่เน้นหนักของเบสและกลอง
การนับจังหวะ จะนับ  1 – 2 , 3  หรื อ  ช้า – เร็ ว , เร็ ว  โดยก้าวช้า (  ก้าวที่ 1 )  เท่ากับ  2  จังหวะ  และ
ก้าวเร็ ว  (  ก้าวที่  2,3  )  เท่ากับ  1  จังหวะ
ความเร็วของจังหวะดนตรี   จะบรรเลงด้วยความเร็ วประมาณ  30 – 43 ห้องเพลงต่อนาที
ค้ นหาจาก https://sites.google.com/site/pirosaltation/home/american-rumba

3.จังหวะตะลุงเทมโป้   (Taloong  Tempo)


(การแต่งกายจังหวะตะลุงเทมโป้ )
จังหวะตะลุงเทมโป้  หรือที่เรียกกันสั้ นๆ ว่ า “ตะลุง”  เป็ นจังหวะลีลาศประเภทเบ็ดเตล็ดที่คนไทยคิด
ประดิษฐ์ข้ ึน  โดยบรมครู ทางด้านดนตรี ท่านหนึ่ง  คือ  ครู ลว้ น ควันธรรม  ได้เรี ยบเรี ยงเสี ยงประสาน  และแต่ง
เพลงในจังหวะตะลุงไว้มากมายหลายเพลง  โดยดัดแปลงจากทำนองดนตรี ของชาวไทยภาคใต้  ที่ประกอบการ
แสดงหนังตะลุงให้เป็ นจังหวะดนตรี สากลขึ้นและครู สง่า  ล้อมวงศ์พานิชย์  ได้คิดรู ปแบบการเต้นจังหวะตะลุง
ขึ้น  นอกจากนี้ยงั ได้มีผทู้ ี่น ำลวดลายจากจังหวะ ชะ ชะ ช่า  และบีกินมาเต้นกับจังหวะตะลุงอีกหลายลวดลาย 
เช่น  แฮนด์ ทู แฮนด์  และ  อันเดอร์ อาร์ม เทิร์น  เป็ นต้น
ดนตรีของจังหวะตะลุง เป็ นแบบ 4/4 คือ  มี 4 จังหวะใน 1 ห้องเพลง
การนับจังหวะ  จะนับ  1 , 2 , 3 , 4 - 5 หรื อ  ช้า , ช้า , ช้า , เร็ ว - เร็ ว  หรื อ  ก้าว , ถอย , ก้าว ,  ชิด - ก้าว 
ก็ได้  โดยก้าวช้า  (ก้าวที่ 1 - 3)  เท่ากับ  1  จังหวะ  และก้าวเร็ ว (ก้าวที่ 4 - 5)  เท่ากับ 1/2 จังหวะ  และก้าวแรกจะ
ตรงกับจังหวะที่  2  ของห้องเพลง
ความเร็วช้ าของจังหวะ จังหวะตะลุง บรรเลงด้วยความเร็ วประมาณ  28 ห้องเพลงต่อนาที
ลักษณะเฉพาะของจังหวะตะลุง
เอกลักษณ์เฉพาะ                         การยัว่ เย้า หยอกล้อ หลอกล่อ เบิกบาน และมีชีวิตชีวา
การเคลื่อนไหว                           การใช้ความยืดหยุน่ โยกและโยน โดยควบคุมด้วยกล้ามเนื้ อของลำตัว และ
ความต่อเนื่อง
ห้องดนตรี                                 4 / 4
ความเร็ วต่อนาที                          22-24 บาร์ต่อนาที
การเน้นจังหวะ                             เน้นบน Beat ที่ 1 และการเน้นเคาะของครึ่ งบีทหลัง
ระยะเวลาที่ใช้ในการแข่งขัน         2 นาที ไม่เกิน 3 นาที
การขึ้นลง                                   การยืดหยุน่ โยกและโยน
หลักพลศาสตร์                            ความหนักหน่วง ยืดหยุน่ และทันเวลา
ค้ นหาจาก https://www.tdsa.or.th/showpagesub
4.จังหวะร็อค แอนด์ โรลล์  (Rock and Roll)

(ท่าเต้นจังหวะร็ อค แอนด์ โรลล์ในอดีต) 


ร็อกแอนด์ โรล ได้ผสมผสาน เอาดนตรี ของคนผิวขาวกับผิวดำเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดเป็ นดนตรี แนวใหม่
ที่มีจงั หวะที่รุนแรงกว่าเดิม ทั้งเสี ยงกีตาร์ที่ดงั กลองที่รัวและเร็ ว วัฒนธรรมดนตรี แบบร็ อกแอนด์โรล ได้มีผลต่อ
วัยรุ่ นในยุคนั้น ทั้งภาษาและการพูดจา ที่โจ่งแจ้ง แสดงอารมณ์อย่างชัดเจน การแต่งกายและทรงผมแปลก ๆ การ
เต้นรำอย่างบ้าคลัง่ ฯลฯ ที่ถือว่าเป็ น การแสดง ถึงตัวตน (Identity) ของตนเองออกมา
ค้ นหาจาก https://th.wikipedia.org/wiki

5.จังหวะโบเลโร (Bolero)
(การแต่งกายจังหวะโบโลเรในอดีต)

โบเลโร (Bolero) เป็ นดนตรี และการเต้นรำในจังหวะช้าแบบละติน มีท้ งั แบบจังหวะ 3/4 ที่นิยมใน


สเปน และจังหวะ 2/4 ที่นิยมในคิวบา กำเนิดขึ้นในคริ สต์ศตวรรษที่ 18

โบเลโร (ราเวล) (Boléro) บัลเลต์ประกอบดนตรี โดยมอรี ซ ราเวล แต่งขึ้นในปี ค.ศ. 1928

โบเลโร (ภาพยนตร์ปี ค.ศ. 1984) นำแสดงโดยโบ ดีเร็ ก กำกับโดยจอห์น ดีเร็ ก


ค้ นหาจาก https://th.wikipedia.org/wiki

You might also like