Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 40

การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures


การใชงานสเตนเลสที
อุณหภูมส
ิ งู
(Stainless Steels at High Temperatures)

ผูแ
้ ปล
ึ ษาเท่านน
Sant De’ Cielo (ทรงธรรม) เพือการศก ั

หมวดวัสดุกบ ้
ั การใชงานเล่
ม 18
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ยูโร อีนอ
๊ ก (Euro Inox)

ยูโร อีน๊อก คือ สมาคมพัฒนาการตลาด สเตนเลสของ ิ หล ัก


สมาชก
ทวีปยุโรป Acerinox
สมาชิกประกอบด ้วย www.acerinox.com

Aperam
• ผู ้ผลิตสเตนเลสของทวีปยุโรป www.aperam.com
• สมาคมพัฒนาสเตนเลสแห่งชาติ
Outokumpu
• สมาคมพัฒนาอุตสาหกรรมโลหะผสม
www.outokumpu.com

วัตถุประสงค์ข ้อแรกของ ยูโรอีน๊อก “Euro Inox” ก็ ThyssenKrupp Acciai Speciali Terni


เพือทีจะสร ้างจิตสํานึกร่วมกัน ในด ้านสมบัตข ิ องวัสดุ www.acciaiterni.it
และเพิมการใช ้งานสเตนเลส และสร ้างตลาดใหม่ให ้ ThyssenKrupp Nirosta
เกิดขึน การทีจะทําให ้วัตถุประสงค์นเป็
ี นจริงนัน ยูโรอี www.nirosta.de
น๊อกได ้จัดให ้มีการประชุมวิชาการและสัมมนานํ าเสนอ
คําแนะนํ าต่าง ๆ ในรูปแบบของเอกสารสิงพิมพ์ รวมถึง
ิ สมาคม
สมาชก
สืออิเล็กทรอนิกส์ เพือให ้สถาปนิก นักออกแบบ ผู ้
กําหนดสเปค ผู ้ผลิต และผู ้ใช ้ปลายทางเกิด Acroni
ความคุ ้นเคยกับสเตนเลส นอกจากนียูโรอีน๊อกยังให ้การ www.acroni.si
สนั บสนุนงานวิจัยความรู ้ด ้านการตลาด และด ้านเทคนิค British Stainless Steel Association (BSSA)
ด ้วย www.bssa.org.uk

Cedinox
www.cedinox.es

Centro Inox
www.centroinox.it

ConstruirAcier
www.construiracier.fr

Industeel
www.industeel.info

Informationsstelle Edelstahl Rostfrei


www.edelstahl-rostfrei.de

International Chromium Development Association


(ICDA)
www.icdacr.com

International Molybdenum Association (IMOA)


www.imoa.info

Nickel Institute
www.nickelinstitute.org

Polska Unia Dystrybutorów Stali (PUDS)


www.puds.pl

SWISS INOX
ISBN 978-2-87997-064-6 www.swissinox.ch
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

การใช ้งานสเตนเลสทีอุณหภูมส ิ งู เนือหา


จัดพิมพ์ครังแรก 2012
(หมวดวัสดุและการใช ้งาน, เล่ม 18) 1 บทนํ า
ยูโร อีน๊อก 2012 2 อิทธิพลของธาตุผสม
3 อิทธิพลของโครงสร ้าง
สําน ักพิมพ์
4 สมบัตเิ ชิงกลทีอุณหภูมส ิ งู
Euro Inox
Diamant Building, Bd. A. Reyers 80 4.1 ความแข็งแรงต่อการคืบ
1030 Brussels, Belgium 4.2 สมบัตก ิ ารแตกร ้าวจากความเค ้น
Phone: +32 2 706 82 67 4.3 การทดสอบความแข็งแรงต่อแรงดึงระยะสัน
Fax: +32 2 706 82 69 4.4 ความเหนียว
E-mail: info@euro-inox.org 4.5 การล ้าจากความร ้อน
Internet: www.euro-inox.org
4.6 ความแตกต่างของอุณหภูม ิ
ผูเ้ ขียน 4.7 อิทธิพลของการแปรรูปเย็นต่อสมบัตต ิ า่ ง ๆ
Alenka Kosmač, Brussels (B) 5 ความสเถียรของโครงสร ้างจุลภาค
6 ความต ้านทานการกัดกร่อนทีอุณหภูมส ิ งู
ผูแ
้ ปล 6.1 การเกิดออกซิเดชัน
Sant De’ Cielo (ทรงธรรม) เพือการศึกษาเท่านั น 6.2 การเกิดซัลฟิ เดชัน
6.3 คาร์บไู รเซชันและไนไตรเดชัน
กิตติกรรมประกาศ 6.4 การกัดกร่อนจากแก๊สฮาโลเจน
ยูโร อีน๊อก ขอขอบคุณ Dr. Rachel Pettersson, 7 ความสามารถในการขึนรูปและการเชือม
Outokumpu, Avesta (S), สําหรับความเสียสละในการ 8 การออกแบบสําหรับการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู
อ่านและตรวจสอบร่างของเอกสารฉบับนี 9 การออกเพือต ้านทานการเกิดออกซิเดชัน
10 การเลือกใช ้โลหะผสม
ภาพปก
10.1 อุณหภูม ิ
Stahl-Informations-Zentrum, Düsseldorf (D),
10.2 บรรยากาศและแก๊สจากการเผาไหม
(left) Acroni, Jesenice (SI), (บนขวา)
11 การใช ้งาน
Centro Inox, Milan (IT), (ล่างขวา)
12 การพิจารณาค่าใช ้จ่าย
ลิขสทิ ธิ 13 บทสรุป
This work is subject to copyright. Euro Inox 14 ภาคผนวก
reserves all rights of translation in any language, 15 เอกสารอ ้างอิง
reprinting, re-use of illustrations, recitation and
broadcasting. No part of this publication may be
reproduced, stored in a retrieval system or
transmitted in any form or by any means, การปฏิเสธความร ับผิดชอบ
electronic, mechanical, photocopying, recording ยูโร อีน๊อก ใช ้ความพยายามในทุกทางเพือให ้มันใจว่า
or otherwise, without the prior written permission ข ้อมูลทีนํ าเสนอในเอกสารฉบับนี มีความถูกต ้องทาง
of the copyright owner, Euro Inox. Violations เทคนิค อย่างไรก็ตามผู ้อ่านควรตระหนั ก ว่าข ้อมูล ดัง
may be subject to legal proceedings, involving กล่ า ว ส าม าร ถ ใ ช เ้ พื อ เ ป็ น ข อ
้ มู ล พื น ฐา น เ ท่ า นั น
monetary damages as well as compensation for ยูโรอีน๊อ ก และสมาชิก ขอปฏิเสธความรั บผิด ชอบต่อ
costs and legal fees, under Luxembourg copyright ความสูญเสีย ความเสียหาย หรือการบาดเจ็บใด ๆ ที
law and regulations within the European Union. เป็ นผลจากการใช ้ข ้อมูลทีถูกตีพม ิ พ์ในเอกสารฉบับนี

1
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

1 บทนํา (Introduction)

สเตนเลสส่วนใหญ่ถก ู ใช ้เพือป้ องกันการกัด การเลือกใช ้วัสดุทอุ


ี ณหภูมสิ ูงจํ าเป็ นต ้องพิจารณาตาม
กร่อนในสารละลาย (Aqueous corrosion) เงือนไขการใช ้งานต่าง ๆ ดังนี
แต่ก็มกี ารใช ้งานอย่างกว ้างขวางทีอุณหภูม ิ
 ความแข็ ง แรงต่อ การคืบ (Creep strength)
สูง ซึงเป็ นสภาวะทีเหล็ ก กล ้าคาร์บอนและ
และ / หรือความเหนียว (Ductility) สูง
เหล็กกล ้าธาตุผสมตํา (Low alloyed steel)
 ความต ้านทานการเกิดออกซิเดชัน (Oxidation
มีความสามารถในการต ้านทานการกัดกร่อน
resistance) และความต ้านทานการกัดกร่อน
(Corrosion resistance) หรือความแข็งแรง
(Corrosion resistance) สูง
(Strength) ไม่เพียงพอ เราจึงพบสเตนเลส
 มีโครงสร ้าง (Microstructure) เสถียร
ได ้ในการใช ้งานซึงต ้องการความต ้านทาน
 ความต ้านทานการสึกกร่อนจากการไหล
การเกิ ด ออกซิเ ดชั นหรื อ ต อ ้ งการความ
(Erosion) สูง
แข็งแรงทีอุณหภูมส ิ งู [1] ตัวอย่างเช่น วัสดุ
โครงสร ้างทีมีก ารใช ้งานทีอุณหภูม ส ิ ูง ทั ง การเลือกใช ้วัสดุควรจะต ้องเลือกจากการใช ้งานทีเฉพาะ
ในภาค อุ ต สาหกรรม ในทีสาธารณะและ เจาะจงและเงือนไขการดําเนินการในแต่ละกรณี [2]
การใช ้งานในประเทศ โดยบางครั งอาจมี
สภาพ แวดล ้อมทีกัดกร่อนเข ้ามาเกียวข ้อง

2
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

2 อิทธิพลของธาตุผสม (The role of alloying elements)


โลหะผสมสําหรับการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู ต ้องสามารถ ไนโตรเจนและคาร์บอน ช่วยเพิมความแข็งแรงต่อการ
สร ้างฟิ ล์มปกป้ อง (Protective oxide) ขึนได ้ ซึง คืบ (Creep strength) ของวัสดุได ้
ออกไซด์ท ีมีส มบั ต ิเ หมาะสมต่ อ การปกป้ อง ได ้แก่
โครเมีย มออกไซด์ (Chromium oxide, Cr2O3) โมลิบดีน มั ช่วยเพิมความแข็งแรงต่อ การแตกหั กจาก
อลูมเิ นียมออกไซด์ (Aluminium oxide, Al2O3) การคืบ ทีอุณ หภูมสิ ูง (High temperature creep-
รวมถึงซิลค ิ อนออกไซด์ (Silicon oxide, SiO2) rapture strength) แต่ขด ี จํ ากัดในการเติมไม่ควรเกิน
3% เนืองจากปริมาณทีสูงกว่านั นอาจทํ าให ้เกิดปั ญหา
โครเมียม อิทธิพลของโครเมียมสามารถเห็นได ้อย่าง จากการออกซิเดชันอย่างรุนแรง รวมถึงเร่งให ้เกิดเฟส
ชัดเจนทีอุณหภูมสิ ูงกว่า 500 ᵒC เนืองจากโครเมียม ซิกม่าขึนได ้ ยกเว ้นในกรณีทมี ี การเติมธาตุททํ
ี าให ้เฟส
สามารถสร ้างชันฟิ ลม์ โครเมียมออกไซด์ทมี
ี ความหนา ออสเทนไทต์เสถียร เช่น นิกเกิลเพิมขึน
แน่ นและยึดติดบนพืนผิวโลหะได ้ดี ทํ าให ้สามารถยับ
ไทเท เนี ย มและ ไนโอ เบีย ม ใน ปริ ม าณเล็ ก น อ ้ ย
ยังการแพร่ของออกซิเจนทีจะเข ้าทํ า ปฏิก ริยากั บเนือ
ประมาณ 0.3 – 0.7% ช่วยเพิมความแข็งแรงของโลหะ
โลหะด ้านในต่อไป [3]
ผสมออสเทนไนต์ แต่ ก็ เ ป็ นตั ว เร่ ง ให ้เกิด ซิก มาเฟส
ธาตุอน ื ๆ นอกจากโครเมียมอาจถูกผสมในสเตนเลส เช่นกัน
เพือเพิมความต ้านทานการเกิดออกซิเดชันเช่นเดียวกัน
โบรอน ช่วยเพิมความแข็งแรงต่อ การแตกหั ก จากการ
ซิล ค
ิ อนและอลูมเิ นียมมีค วามคล ้ายคลึง กับ โครเมีย ม
คืบ (Creep-rapture strength) โดยมักเติมในปริมาณ
อย่ า ง มา ก เ นื อ ง จา ก โล ห ะทั งส อ ง ชนิ ด ส าม า ร ถ
เล็กน ้อยราว 0.002% ซึงโบรอนมีแนวโน ้มทีจะรวมตัว
ออกซิไ ดซ์ไ ด แ ้ ละหากมีฟิ ล์ม เกิด ขึนมากเพีย งพอก็
กันทีขอบเกรนเป็ นหลัก
สามารถทําให ้เกิดฟิ ล ม ์ ต่อเนืองของ SiO2 และ Al2O3
ขึน โดยการยึด ติด ของออกไซด์ส ามารถปรั บ ปรุ งได ้
โดยการใส่ธาตุหายาก (Rare earth) ปริมาณเล็กน ้อย
เช่น ซีเรียม (Cerium) หรือ แลนทาลัม (Lanthanum)
[4] การปรับปรุงดั งกล่าวจะมีประโยชน์อย่างมากใน
สภาวะทีอุณ หภูมเิ ปลียนแปลงแบบวัฎจักร (Thermal
cycling) [5]

นิก เ กิล ช่ ว ยเ พิ ม ค วา ม เ ห นี ย ว (Ductility) ค ว า ม


แข็งแรงทีอุณหภูมส ิ ูง (High temperature strength)
และต ้านทานการเพิมของปริมาณคาร์บอน (คาร์บูไร
เซชัน, Carburization) และไนโตรเจน (ไนไตรเดชัน,
แร่โครไมท์, ไดนามีน (นิวแคลิโดเนีย),
Nitridation) อย่างไรก็ตามโลหะผสมทีมีนก ิ เกิลสูงควร ภาพโดย: Ecole des Mines de Paris, Paris (F)
หลีก เลียงสภาพแวดล อ ้ มแบบรีด ิว ซิงจากซั ล เฟอร์
(Reducing sulphidising) เพราะเสียงต่อการเกิดสาร
ประกอบนิกเกิล-ซัลเฟอร์ทมี ี จุดหลอมเหลวตํ า นิกเกิล
ยังช่วยต่อต ้านแนวโน ้มการเกิด แต่อาจจะไม่เพียงพอ
ต่อการยับยังการเกิดซิกมาเฟส (Sigma phase) ได ้
โดยสมบูรณ์

3
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

3 อิทธิพลของโครงสร้าง (The role of microstructure)


โครงสร ้างอาจมีค วามสํ า คั ญ ทางด ้านความต า้ นทาน สําหรับเฟอร์รต ิ เกรดส่วนใหญ่ การใช ้งานทีอุณหภูมส
ิ ก ิ งู
ความร ้อน (Heat resistance) น ้อยกว่าองค์ประกอบทาง เป็ นระยะเวลานาน จะถูกจํากัดทีอุณหภูมไิ ม่เกิน 250 ᵒC
เคมีหรือ การเลือกใช ้ธาตุผสมทีเหมาะสม แต่มอ ี ทิ ธิพล เนืองจากปั ญหาการเปราะทีอุณหภูมป ิ ระมาณ 475 ᵒC
ต่อความเหมาะสมในการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู ในด ้านอืน (475 Embrittlement) ปั ญหาดังกล่าวอาจจะไม่สําคัญ
กับสเตนเลสทีมีโครเมียมตําประมาณ 10.5 – 12.5 %
เกรดของสเตนเลสหรือโลหะผสมเนือพืนนิกเกิลทีใช ้ใน
ซึงมีก ารใช ้งานทีอุณหภูมส ิ ูงกว่า 575 ᵒC เป็ นบางครั ง
งานทีต ้องทนต่อ อิท ธิพ ลของแก๊ส ร ้อนหรือ ผลิต ภั ณ ฑ์
เนื องจากปั ญหาการแตกเปราะทีอุณ หภูม ิ 475 ᵒC
จากการเผาไหม ้ทีอุณหภูมส ิ ูงกว่า 550 ᵒC ถูกแสดงไว ้
สามารถทําให ้ลดลงได ้ด ้วยการอบทีอุณหภูมส ิ งู ขึน
ในมาตรฐานยุโรป (EN 10095 - Heat resistant
steels and nickel alloys) [6] โดยมาตรฐานดังกล่าว ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ต า้ น ท า น ก า ร กั ด ก ร่ อ น จ า ก
ประกอบด ้วยเฟอร์รติ ก
ิ 6 เกรด (ตารางที 1) ออสเทน บรรยากาศ (Atmospheric corrosion) และต ้านทาน
ไนต์ทนความร ้อน 14 เกรด (ตารางที 2) และดูเพล็กซ์ การเกิดออกซิไดซ์ทอุ ี ณหภูมส ิ ูง (High temperature
ทนความร ้อน 1 เกรด (ตารางที 3) oxidation) รวมถึงราคาทีค่อนข ้างตํ าของเฟอร์รต ิ ก
ิ ทํ า
ให ้มีก ารใช ้งานอย่ า งกว า้ งขวาง ในระบบท่ อ ไอเสีย
โดยทัวไปโครงสร ้างของโลหะมีแนวโน ้มทีจะเปลียนไป
รถยนต์ [7] สําหรับข ้อยกเว ้นด ้านข ้อจํ ากัดของอุณหภูม ิ
ตามเวลาและอุณหภูม ิ สําหรับสเตนเลสเองวัสดุอาจเกิด
ใช ้งานสูงสุดคือโลหะผสมโครเมียมสูง 23-27% ซึงมี
การอ่อ นตัว (Softening) การตกตะกอนของคาร์ไบด์
ความต ้านทานการเกิดออกไซด์ทโดดเด่ ี น ในอากาศที
(Carbide precipitation) หรือสามารถเกิดการเปราะ
อุณหภูมส ิ งู อันเป็ นผลจากปริมาณโครเมียมทีเติมลงไป
(Embrittlement) ขึนได ้ [8]
รายละเอียดเกียวกับ ความเสถีย รของโครงสร ้างจะได ้
อธิ บ ายต่ อ ไปในส่ ว นห ลั ง ข องบทความ รวมไปถึ ง
อุณหภูมกิ ารใช ้งานตํ าสุด เพือหลีก เลียงความเปราะซึง
อาจเกิดขึนในบางกรณี

ตารางที 1 ส่วนประกอบทางเคมีของเฟอร์รต
ิ ก
ิ ทนความร ้อน [6]

4
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

รูปที 1 แสดงแนวคิดด ้านความได ้เปรียบของสเตนเลส


เมือเปรีย บเทีย บกับ เหล็ ก กล ้าผสมคาร์บ อนตํ าในด ้าน
ความแข็งแรงทีอุณหภูมส ิ งู อย่างไรก็ตามเกรดเฟอร์รต ิ ก

ยั ง มีส มบั ต ิเ ชิงกลทีไม่โ ดดเด่น ทีอุณ หภูมส ิ ูงเนื องจาก
ความแข็ ง แรงทีอุณหภูมส ิ ูงของเฟอร์รติ ก
ิ และมาร์เ ทน
ซิตก ิ มีคา่ ค่อนข ้างตําเมือเทียบกับเกรดออสเทนนิตก ิ

สเตนเลสมาร์เทนซต ิ กิ (Martensitic stainless steel)


ถู ก จั ด อยู่ใ นกลุ่ ม เหล็ ก กล ้าต ้านทานการคืบ (Creep-
resistant steel) ตามมาตรฐานยุโรป EN 10088-1 [9]
และ EN 10302 [10] อย่างไรก็ตามปริมาณโครเมียมที
ครึงหนึงของโครงกังหันไอนํ า (Steam turbine casing) และ
ตํา (โครเมียมสูงสุด 12.5%) ทําให ้ไม่สามารถจัดอยูใ่ น
แกนหมุน (Rotor) แกนหมุนทําจากมาร์เทนซิตก ิ สเตนเลสและ
กลุม่ เกรดทนความร ้อน (Heat resistant grade) แต่ เหมาะอย่างยิงต่อการใช ้งานทีอุณหภูมส
ิ งู
ยัง คงสามารถใช ้งานในสภาพทีต ้องการความแข็ ง แรง ภาพโดย : Centro Inox, Milan (I)
(Tensile strength) และความแข็งแรงต่อความล ้าและ
การคืบ (Creep and fatigue strength) ร่วมกันความ สเตนเลสออสเทนนิตก ิ (Austenitic stainless steel)
ต ้านทานการกัดกร่อนปานกลางและต ้องทนความร ้อนไม่ มี ส มบั ต ิ ทั งทางด า้ นความต า้ น ทา นการกั ด กร่ อ น ที
เกิน 650 ᵒC โดยส่วนมากเกรดมาร์เทนซิตก ิ คาร์บอนตํา อุณหภูมส ิ งู และความแข็งแรงทีอุณหภูมส ิ งู ทีดีเยียมรอง
และคาร์ บ อนกลางจะถู ก ใช ้ในกั ง หั น ไอ ้นํ า (Stream มาจากโลหะผสมเนือพืนนิก เกิล ด ้วยสาเหตุนีออสเทน
turbine) เครืองยนต์ไอพ่น (Jet engine) และกังหั น นิต ก
ิ ทนความร ้อนพิเ ศษหลายเกรดจึง ถูก จัด อยู่ใ น EN
แก๊ส (Gas turbine) 10095 และออสเทนนิตก ิ ต ้านทานการคืบพิเศษใน EN
10302 ทังนีเกรดออสเทนนิตก ิ ทนความร ้อนเป็ นวัสดุทมี ี
ความเหมาะสมเป็ นอย่างยิงต่อการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู

ภาพที 1 ความแข็ งแรงทีอุณหภูมส


ิ ูง ของสเตนเลสออสเทนนิตก
ิ มาร์เ ทนซิต ก
ิ และเฟอร์รต
ิ ก
ิ เปรียบเทียบกั บ
เหล็กกล ้าผสมคาร์บอนตํา [8]

5
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ตารางที 2 ส่วนประกอบทางเคมีของเหล็กกล ้าออสเทนนิตก


ิ ทนความร ้อน [6]

*เกรดทีมีการจดลิขสิทธิ

สเตนเลสดูเพล็ กซ ์ (Duplex stainless steel) มี จากผลการวิจั ย ล่ า สุ ด ยืน ยั น ว่า เกรดดูเ พล็ ก ซ์ส ามารถ
โครงสร ้างผสมระหว่างเฟอร์ไรต์และออสเทนไนต์ และมี รั ก ษาความแข็ ง แรงไว ้ได ้น อ ้ ยกว่ า ออสเทนนิ ต ิก เมือ
ความแข็ งแรง ณ จุดคราก (Yield strength) ในช่วง เปรียบกันในช่วงอุณหภูมส ิ งู อย่างไรก็ตามความแข็งแรง
550 ถึง 690 เมกะพาสคาลในสภาวะอบอ่อน ซึงสูงกว่า ของดูเพล็กซ์ทเหลื
ี ออยูย่ งั คงใกล ้เคียงกับออสเทนนิตก ิ
ออสเทนนิ ต ิ ก และเฟอร์ ร ิ ต ิ ก เกรดอย่ า งมีนั ยสํ าคั ญ ในช่วงอุณ หภูมท ิ เกิ
ี ด เพลิง ไหม ้ [11] ดัง นั นอุณ หภูม ิ
อย่างไรก็ตามถึงแม ้ว่า ดูเพล็กซ์จะมีความแข็งแรงสูงที สูงสุดทีใช ้งานจึ งขึนกับความต ้องการทางสมบัตเิ ชิงกล
อุ ณ ห ภู มิ ห อ
้ ง แ ต่ ก ลั บ มี ปั ญ ห า ด า้ น ค ว า ม เ ป ร า ะ (เช่น ท่อความดัน) และปั จจัยอืน ๆ ทีต ้องพิจารณา
(Embrittlement) และสมบัตเิ ชิงกลโดยเฉพาะอย่างยิง
ความเหนียว (Toughness) ทีลดลงอย่างมีนัยสําคัญเมือ
ใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู เป็ นเวลานาน สเตนเลสดูเพล็กซ์จงึ
ไม่ เ หมาะสมต่ อ การใช ้งานทีอุ ณ หภู ม ิสู ง โดยทั วไป
อุณหภูมก ิ ารใช ้งานทีเหมาะสมไม่ควรเกิน 300 ᵒC

6
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ตารางที 3 ส่วนประกอบทางเคมีของดูเพล๊กซ์ทนความร ้อน [6]

สเตนเลสชุ บ แข็ ง ตกตะกอน (Precipitation- จะเห็นได ้ว่าช่วงอุณหภูมใิ ช ้งานของสเตนเลสด ้านบนจะ


hardening stainless steel) เป็ นเกรดทีมีโครเมียมและ ตํ ากว่า เกรดทีออกแบบไว ้เพือต ้านทานความร ้อนโดย
นิก เกิล และสามารถเพิมความแข็ ง แรงได ้โดยการบ่ม เฉพาะ และควรตระหนั ก ว่า อุณ หภูมก ิ ารใช ้งานสูงสุด มี
แข็ ง ด ว้ ยการอบทีอุ ณ หภู ม ิป านกลาง อย่ า งไรก็ ต าม ความแตกต่า งกัน โดยขึนอยู่กับ ลั ก ษณะการใช ้งานว่า
สเตสเลสชนิดนีมีขด ี จํ ากัด ของการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ ูง เป็ นแบบต่อเนืองหรือการใช ้เป็ นช่วง
เนืองจากจะสูญเสียความแข็งแรงอย่างรวดเร็วทีอุณหภูม ิ
กลไกการเกิด ความเปราะบนพืนฐานของความเสถีย ร
425 ᵒC ดังนั นสเตนเลสกลุม ่ นีไม่ถก
ู พิจารณาต่อไป
ทางโครงสร ้างควรนํ ามาพิจารณาร่วมด ้วยเสมอ การใช ้
เกรดทีเหมาะสมต่อ การใช ้งานในสภาพต้า นทาน ิ ารใช ้งานสูงสุด
งานจึงควรกําหนดไว ้ทีตํากว่าอุณหภูมก
การก ัดกร่อนจากสารละลาย อาจถูกเลือกใช ้ในงานที
ต ้องการความต ้านทานความร ้อนเช่นเดียวกัน ในกรณีท ี
ความต ้านทานการกั ด กร่ อ นมีค วามสํ า คั ญ มาก เกรด
เหล่านีถูกแสดงไว ้ในมาตรฐานยุโรป EN 10088-1 และ
EN 10028-7 [13] ดังแสดงในตารางที 4

ตารางที 4 เกรดจากมาตรฐาน EN 10088-1 และ EN 10028-7 ซึงสามารถใช ้พิจารณาเพิมเติมจาก EN 10095


สําหรับเหล็กกล ้าทนความร ้อน

7
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

4 สมบ ัติเชงิ กลทีอุณหภูมส


ิ ง

(Mechanical properties at high temperature)

ทีอุณหภูมส ิ งู โลหะทีได ้รับความเค ้นจะเกิดการเปลียนรูป ค่าความแข็ งแรงของวัสดุทอุ ี ณหภูมส ิ ูงสามารถอธิบ าย


ถาวร (Plastic deformation) อย่างช ้า ๆ รวมถึงเกิดการ ไ ด ใ้ น รู ป ข อ ง “ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ต่ อ ก า ร คื บ ” (Creep
แปรรูปแบบยืดหยุน ่ (Elastic deformation) ดังนั นเวลา strength) ซึงเป็ นความสามารถในการต ้านทานการ
จึงกลายเป็ นปั จจั ยสํ าคั ญ และการทดสอบแรงดึงแบบ เปลียนรูปตลอดระยะเวลาทีสัมผัสกับอุณหภูมส ิ งู
ปกติ (Conventional tensile test) ไม่สามารถให ้ผลที
สามารถใช ้ในการออกแบบได ้ ข ้อมูลสําหรับการใช ้งาน การคืบสามารถเกิดขึนได ้ในการใช ้งาน เมืออุณหภูมส ิ งู
ตอ้ ง ส า ม า ร ถ ร ะ บุ แ ร ง ที ไ ม่ ทํ า ใ ห เ้ กิ ด ก า ร ยื ด ตั ว กว่า 480 ᵒC และการคืบ สามารถทํ าให ้เกิด การแปรรูป
(Elongation) ทีมากกว่า ค่า ทียอมรั บ ณ อุณ หภูมน ิ ัน อย่า งมากจนเกิด การแตกหั ก ได ้ แม ้ว่า ความเค ้นจะตํ า
ตลอดช่ว งระยะเวลาการใช ้งาน ดั ง นั นความแข็ งแรงที กว่ า ค่ า ที ได จ้ ากการทดสอบแรงดึง ในระยะเวลาสั น
อุณหภูมส ิ งู ต ้องคํ านึงถึงปั จจัยของเวลาและการแปรรูป (Short term tensile test) ทีอุณหภูมห ิ ้องและอุณหภูม ิ
รวมถึง ความเค ้นและอุณหภูมอ ิ ก
ี ด ้วย [14] สูง อย่างไรก็ตามการคืบสามารถยอมรับได ้หากมีอัตรา
การเปลียนแปลงไม่เกิน 1% ในเวลา 10,000 ชัวโมง
ความแข็งแรงของวัสดุทอุ ี ณหภูมส ิ ูงไม่สามารถทดสอบ แต่ไม่ได ้หมายความว่าอัตราการคืบนีสามารถเกิดได ้โดย
ด ้วยวิธเี ดียวกับ ทีอุณหภูมห ิ ้องได ้ ในกรณี การใช ้งานที ไม่เกิดความเสียหายในทุกสถานการณ์ห ลั งจากการใช ้
อุณ หภู ม ห ิ ้องเช่น โครงรถยนต์ ค อ ้ น คีม ผู อ
้ อกแบบ งานต่อไปอีก 10,000 ชัวโมง
จํ า เ ป็ น ต อ ้ ง รู ้ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ต่ อ แ ร ง ดึ ง (Tensile
strength) ความแข็งแรง ณ จุดคราก (Yield strength) ค่ า การคื บ ที วั ด ได ภ
้ ายใต แ
้ รงคงที และเงื อนไขของ
หรือ ความแข็ง (Hardness) แต่เมือวัสดุต ้องสัมผั สกับ อุณหภูมใิ ช ้งานอาจสามารถใช ้ในการออกแบบได ้ อย่าง
อุณหภูมส ิ งู สมบัตเิ ชิงกลทีสําคัญทีสุดคือความแข็งแรง ไรก็ต ามควรมีก ารพิจ ารณาค่า ความปลอดภั ย (Safety
ต่อการคืบ (Creep strength) และความแข็งแรงต่อการ factor) ด ้วยเสมอ ซึงค่าความปลอดภัยจะขึนกับระดั บ
แตกหัก (Rupture strength) [15] ความสํ า คั ญ ของลั ก ษณะการใช ้งาน [14] โดยทั วไป
ออสเทนนิตก ิ จะมีความแข็งแรงต่อการคืบสูงทีสุด
4.1 ความแข็ งแรงต่อการคืบ (Creep strength)
ค่าความเค ้นออกแบบ (A design stress figure) ซึง
โลหะมีพ ฤติก รรมที แตกต่ า งกั น อย่ า งมากระหว่ า งที โดยทัวไปใช ้กับชินส่วนทีได ้รับความร ้อนแบบสมําเสมอ
อุณ หภูมห ิ ้องและอุณ หภูม ส
ิ ูง เมือแท่งโลหะได ้รั บ แรง (ไม่ เ กิด การเปลี ยนแปลงอุ ณ หภู ม ิ แ บบกระทั น หั น )
กระทํ า ตํ ากว่ า ความแข็ ง แรง ณ จุด คราก (Yield (Thermal shock) หรือ เปลียนแปลงแรงกระทํ า แบบ
strength) เล็กน ้อยทีอุณหภูมห ิ ้อง โลหะนั นจะสามารถ กระทันหัน (Mechanical shock)) จะมีค่าเท่ากับ 50%
ทนต่อแรงนั นได ้เกือบในทุกกรณีโดยไม่เกิดการเสียหาย ของความเค ้นทีทํ า ให ้เกิด ความคืบ 1% ใน 10,000
หากไม่เกิด การกัด กร่อ น (Corrode) หรือการกัด กร่อ น ชัวโมง อย่างไรก็ตามควรมีการพิจารณาอย่างระมัดระวัง
ร่วมกับความเค ้น (Stress corrosion cracking) และตรวจสอบกั บผู ้ผลิต อีก ครัง [16] โดยทั วไปเราใช ้
แรงทีทํ า ให ้เกิด การแตกหั ก ที 100,000 ชัวโมงเป็ น
แต่ ณ อุณ หภูมสิ ูง หากวั ส ดุเ ริมเกิด การยืด อย่างช ้า ๆ เกณฑ์ โดยจะเพิมค่าความปลอดภัยที 1.5 (ดูตัวอย่าง
โลหะนั นจะเกิดการยืดต่อไปจนกว่าจะเกิดความเสียหาย เพิมเติมในคู่มอ ื ASME) คําแนะนํ าสํ าหรับสมบัตก
ิ ารคืบ
[15] ความเร็วในการยืดตัวของโลหะในหน่วยเปอร์เซนต์ ยังได ้แสดงไว ้ในตารางท ้ายบทความนีด ้วย
ต่อชัวโมงจะเรียกว่า “อัตราการคืบ” (Creep rate) และ

8
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

4.2 สมบ ัติการแตกร้าวจากความเค้น (Stress ดังกล่าวอาจเกิดจากความแตกต่างของกระบวนการอบ


rupture properties) อ่อน และขนาดของเกรน ด ้วยเหตุนีเราจํ าเป็ นต ้องใช ้
ความระมัดระวังอย่างมากในการแปลผลถึงแม ้จะทดสอบ
สมบัต ก ิ ารแตกร ้าวจากความเค ้นซึงทดสอบภายใต ้แรง โดยใช ้ระยะเวลานานทีสุดแล ้วก็ตาม
และอุณ หภูมค ิ งทีมีป ระโยชน์อ ย่างมากในการประเมิน
อายุการใช ้งานของวัสดุ (เวลาในการแตกหัก) ในสภาวะ พฤติกรรมทีแท ้จริงของวัสดุอาจเป็ นสิงทีทํานายได ้ยาก
การใช ้งานทีเฉพาะเจาะจง รวมถึง สามารถใช ้เปรีย บ เนื องจากความซับ ซ ้อนของค่าความเค ้นในการใช ้งาน
เทียบวัสดุได ้ สมบัตน ิ นั
ี บเป็ นข ้อมูลเพิมเติมในการเลือ ก จริ ง แตกต่ า งจากในอุ ด มคติ ซึงทดสอบโดยใช ้แรง
ใช ้วัสดุทนความร ้อนนอกเหนือจากความแข็งแรงต่อการ กระทํ าในทิศทางเดียว นอกจากนีปั จจั ยอืน เช่น แรง
คืบ โดยทัวไปค่าการคืบและการแตกร ้าวจากความเค ้น แบบวัฏจักร อุณหภูมท ิ ผั
ี นผวน และการสูญเสียเนือโลหะ
ในระยะยาว (long terms creep and stress rupture) จากการกั ด กร่อ นอาจสามารถส่ง ผลต่อ พฤติก รรมของ
เช่น 100,000 ชัวโมงสามารถประมาณได ้จากการ ี ด ขึนในสภาพการใช ้งานจริงเช่น เดียวกัน [3,
วั ส ดุท เกิ
ทดสอบในระยะสัน (Short term test) โดยใช ้ค่าความ 17]
เค ้นสูง

เมือพิจารณาผลการทดสอบจะสามารถสังเกตเห็ น การ
กระจายตัวของข ้อมูล แม ้แต่กับวั สดุท ีผลิตขึนพร ้อมกั น
ดังนั นความแข็งแรงต่อการคืบและการแตกร ้าวทีได ้จาก
การคํานวณอาจมีความไม่น่าเชือถือ ความคลาดเคลือน
จะมีคา่ อยูใ่ นช่วง + 20 % ของความเค ้น ความแตกต่าง

ภาพที 2 ความแข็งแรงต่อการแตกร ้าวจากความเค ้นที 10,000 ชัวโมง ของสเตนเลสหลายเกรด [25]

9
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ั (Short term
4.3 ความแข็ งแรงต่อแรงดึงระยะสน
tensile strength)

ตังแต่อดีตกระบวนการทดสอบทีใช ้ในการศึกษาสมบัตท ิ ี ค่า ทีได ้อาจมีค่ า มากถึง ห ้าถึง หกเท่ า ของค่ า ขีด จํ า กั ด
อุณ หภูม ิสูง ของโลหะและโลหะผสมเป็ นการทดสอบ ความแข็งแรงจากการคืบ (Limit creep strength) และ
ความแข็งแรงในระยะสัน (Short term tensile testing) มีค่ า เกิน กว่ า ค่ า ประมาณ (Over evaluate) ความ
ทั งสิน และถึง แม ้การทดสอบนี ถู ก แทนทีสํ า หรั บ การ สามารถในการรับแรงตลอดช่วงเวลาระยะยาว อย่างไรก็
ออกแบบด ้วยการทดสอบการคืบและการแตกร ้าวในระยะ ตามค่าความแข็ งแรงทีอุณ หภูมส ิ ูงยั งคงมีป ระโยชน์ใ น
ยาว (Long term creep and rupture) แต่การทดสอบ การทดสอบความต ้านทานต่อ แรงกระทําทีเกินชัวคราว
ความแข็ ง แรงทีอุ ณ หภู ม ิส ูง (High temperature (Momentary overload) และมีรวมอยูใ่ นบางข ้อกําหนด
tensile test) ยั ง คงเป็ นข ้อมูล ทีสํ า คั ญ สํ า หรั บ การ (Specification)
ประเมินเบืองต ้น
สําหรับทีอุณหภูมม
ิ ากกว่า 550 ᵒC ค่าความแข็งแรงและ
การทดสอบความแข็งแรงทีอุณหภูมส ิ ูงนั นคล ้ายคลึงกับ ความแข็ ง แรง ณ จุ ด ครากจะไม่ ส ามารถใช ้เพื อการ
การทดสอบทีอุณหภูมห ิ ้อง โดยทัวไปชินงานจะถูกล ้อม ออกแบบ
รอบด ้วยเตาความต ้านทานไฟฟ้ า (Electric resistance
furnace) เพื อรั ก ษาระดั บ อุ ณ หภู ม ิใ ห ้คงทีตามความ
ต ้องการตลอดระยะเวลาทีรับแรง ซึงอัตราการทดสอบ
หรือ อั ต ราการเปลียนแปลงความเครีย ด (Rate of
testing, or strain rate) คือส่วนสําคัญทีต ้องพิจารณา
[3]

คว า ม แ ข็ งแ ร ง ห รื อ ค ว า ม ต า้ น ท า น แ ร ง ดึ ง สู ง สุ ด
(Tensile strength or ultimate strength) คือความ
เค ้นทีต ้องใช ้ในการดึงชินงานจนกว่า จะเกิด การแตก
เป็ น 2 ชิน การทดสอบแรงดึงทําได ้โดยการจับชินงาน
ด ้วยเครืองมือและดึงชินงานด ้วยแรงทีค่อยๆเพิมขึนจน
เกิดการแตกหัก ความแข็งแรงของวัสดุสามารถแสดง
ในรู ป ความต ้านทานแรงดึง สู ง สุ ด ในหน่ ว ย N/mm2
หรือ MPa

ความแข็งแรงสามารถทดสอบได ้ด ้วยเครืองทดสอบ
ภาพโดย: Acroni, Jesenice (SI)

10
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

4.4 ความเนียว (Ductility)

การเปรียบเทียบความเหนียวร ้อน (Hot ductility) ของ


วัสดุทนความร ้อนอย่างแม่นยํานั นเป็ นเรืองยากเนืองจาก
ยังไม่มก ี ารทดสอบอ ้างอิงซึงเป็ นทียอมรับ ค่าการยืดตัว
รวม (Total elongation) ของการคืบตัว (Creep) และ
ความเครียดแตกร ้าว (Stress rapture) จึงจะถูกใช ้เป็ น
เกณฑ์ใ นการพิจ ารณา นอกจากนี การยื ด ตั ว ในการ
ทดสอบแรงดึงระยะสัน (Short term tensile test) ก็ถก ู
ใช ้เป็ นข ้อกําหนดและเป็ นตัวบ่งชีความเหนียวทีอุณหภูม ิ
สูง

ในหลายสภาวะการใช ้งานทีมีความไม่แน่นอนของความ
เค ้น อุณหภูมแ ิ ละความแข็งแรงนั น นั บเป็ นสิงสําคัญมาก
ทีโลหะต ้องรั ก ษาความเหนี ยวไว ้ได ้ตลอดอายุก ารใช ้
งาน และความเสีย หายจะต ้องไม่เ กิด ขึนโดยไม่ม ก ี าร
เตือ น สํ าหรั บ ในอุต สาหกรรมนํ ามัน และปิ โตรเคมีเ ช่น
ท่อ ภายใต ้ความดั น สู ง นั น จะต ้องการความเหนี ย วใน
ระยะยาวทีสูง ในกรณีดังกล่าวการแตกร ้าวทีใกล ้จะเกิด ู เลือกใช ้ใน
มีปัจจัยมากมายทีเข ้ามาส่งผลเมือวัสดุถก
สามารถตรวจสอบได ้จากการบวมตัวของท่อ [3] สิงแวดล ้อมทีเป็ นอุตสาหกรรม
ภาพโดย : Centro Inox, Milan (I)
4.5 การล้าจากความร้อน (Thermal fatigue)

การขยายตัวของโลหะเมือได ้รับความร ้อนและการหดตัว ปั จจุบันมีข ้อมูลการทดลองเกียวกับความล ้าจากอุณหภูม ิ


เมือเย็นตัวลงนั นจะเกิดความเครียดขึนทังตรงกลางและ ทีเปรียบเทียบโลหะผสมหลายชนิดทีสามารถใช ้อ ้างอิง
พืนผิวภายนอก ซึงภายหลักการเกิดความเครียดเป็ นวัฏ ได ้อยู่น อ
้ ยมาก และยั ง ไม่ ม ีก ารทดสอบมาตรฐานถู ก
จั ก รจํ า นวนมากโลหะอาจเกิด การแตกขึนได ้ โดยการ กํ า หนดขึน แต่จ ากการทดลองภาคสนามพบว่า ความ
แตกนั นจะเริมต ้นจากทีผิวและรุกรามต่อไปในเนือโลหะ ต ้านทานความล ้าจากความร ้อนสามารถปรับปรุงได ้ด ้วย
เ ช่ น ใ น ก ร ณี ข อ ง บ ร ร ย า ก า ศ แ บ บ ก า ร ค า ร์ บู ไ ร ซิ ง การเพิมปริมาณนิกเกิล
(Carburizing environment) หรือการแตกอาจเกิดขึน
จากภายในเช่น ในกรณี ข องการชุบ แข็ งแบบเป็ นกลาง เป็ นทีทราบกั น ว่า ความแตกต่า งของความเค ้นนํ า ไปสู่
(Neutral hardening) ซึงไม่มส ี ัญญาณภายนอกใดบ่งชี การบิดเบียวหรือการแตกหักของชินส่วนได ้ ในบางกรณี
ว่ า มี ค วามผิ ด ปกติ จ นกว่ า วั ส ดุ จ ะเกิด การแตกแบ บ เราสามารถออกแบบชินส่ว นขนาดเล็ ก จํ า นวนมากที
ทันทีทันใด [15] สามารถขยายตัวและสัมผัสกันได ้อย่างอิส ระ อย่างไรก็
ตามควรระมัดระวังบริเวณมุมแหลมและการเปลียนรูปร่าง
ในหลายการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ ูง วัสดุอาจจะสั มผั ส กั บ อย่างกระทันหัน [14]
อุณ หภูม แ
ิ บบไม่ต่อ เนืองหรือ มีแปรปรวนของอุณ หภูม ิ
(Cyclic heating) ดังนั นความสามารถในการทนความล ้า
จากอุณหภูมต ิ ้องถูกนํ ามาพิจารณาด ้วยเสมอ

ความสําคัญของการใช ้ชินส่วนทีมีความเบามากทีสุดทีเป็ นไปได ้บ่อยครังถูกนํ ามาพิจารณาในการออกแบบ มวลทีลดลงย่อมหมายถึงวัสดุทเกิ ี ด


ความเครียดจะลดลงเช่นเดียวกัน การเปลียนรูปร่างชินงานจากเส ้นผ่านศูนย์กลาง 12.7 มิลลิเมตรไปเป็ น 15.9 มิลลิเมตร เช่นในโครงตัวถัง
(Bar frame basket) สามารถนํ าไปสูอ ่ ายุการใช ้งานทีลดลงครึงหนึง แทนทีจะทําให ้ถังมีความแข็งแรงมากขึน ซึงในกรณีนี การเพิมขึนของ
เส ้นผ่านศูนย์กลางทําให ้ความเครียดจากความร ้อนมีค่าเพิมขึนอย่างมาก ซึงความเครียดจากความร ้อน (Thermal stress) ทําให ้เกิดการบิดตัว
และการแตกของชินส่วนของโลหะผสมทนความร ้อน มากกว่าการทําให ้ชินส่วนสามารถรับแรงได ้มากขึน [14]

11
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

การเพิมขึนของความยาว (หรือเส ้นผ่านศูนย์กลาง หรือ


ความแข็ ง แรง (Strength) ไม่ใ ช่ส งจํ ิ า เป็ นและ
ความหนา) สามารถคํานวณได ้จากการคูณกันของขนาด
สําคั ญเพียงอย่างเดียวในการเลือ กใช ้วัสดุ โดยทัว
ดั งเดิม กั บ อุ ณ หภู ม ิท ี เปลี ยนไปและสั ม ประสิท ธิการ
ไปความเสีย หายจากการแตกแบบเปราะ (Brittle
ขยายตัวทางความร ้อน ยกตัวอย่างเช่น ถ ้าแท่งสเตนเลส
fracture) เนื องจากความล ้าจากความร อ ้ น
1.4301 ความยาว 3 เมตร ซึงมีสัมประสิทธิการขยายตัว
(Thermal fatigue) เกิดขึนมากกว่าการแตกร ้าว
17.2*10-6.K-1 หรือ 17.2 µm/m/ᵒC ถูก ให ้ความร ้อน
จากความเค น ้ หรื อ การคื บ อย่ า งไรก็ ต ามความ
แข็ ง แรงทีอุ ณ หภู ม ส
ิ ู ง มีค วามสํ า คั ญ เมือวั ส ดุ ต อ
้ ง จากอุณหภูม ิ 20 ᵒC ไปถึง 200 ᵒC จะมีความยาวเพิมขึน
สัมผัส กับ วัฏจั กรการเปลียนแปลงของอุณหภูม ิ เท่ากับ:
อย่างรุนแรง [16]
ΔL = α * Lo * ΔT = 17.2*3.00*180 = 9288 μm = 9.3 mm

โดยค่า α คือ สั ม ประสิท ธิการขยายตั ว ทางความร อ


้ น
(Coefficient of thermal expansion) Lo คือความยาว
เริมต ้น และ ΔT คืออุณหภูมทิ เปลี
ี ยนไป
4.6 ความแตกต่างของอุณหภูม ิ (Thermal
gradient) ตารางที 5 ค่า เฉลียของสั ม ประสิท ธิการขยายตั ว ทาง
โลหะผสมทนความร ้อนจะมีสัมประสิทธิการขยายตัวทาง ความร ้อน [18]
ความร ้อน (Coefficients of thermal expansion) ทีสูง
และมีค่าการนํ าความร ้อน (Heat conductivity) ตํา ซึง
สมบัตท
ิ งสองอย่
ั างมีแนวโน ้มทีทําให ้เกิดความแตกต่าง
ของความเค ้นและอุณหภูมริ ะหว่างบริเวณของชินส่วนที
แตกต่างกัน

สัมประสิทธิการขยายตัวทางความร ้อน (Coefficients of


thermal expansion) สามารถอธิบายได ้ในรูปของการ
เปลียนแปลงความยาวต่อการเพิมขึนของอุณ หภูม ค ิ ือ
-6 -1 -6
้หน่
10 .K และในบางครังอาจใช วยอืนๆเช่น 10 /ᵒC สําหรับรายละเอียดของสัมประสิทธิการขยายตัวเชิงเส ้น
หรือ µm/m/ᵒC หรือ 10-6cm/cm/ᵒC ซึงหน่วยทังหมดมี ของสเตนเลสเกรดต่างๆ มีแสดงไว ้ในตารางภาคผนวก
ค่า เท่ากัน แต่ไม่อ ยู่ใ นหน่ วยของระบบระหว่างประเทศ
(International System of Units)2

2
คือหน่วยในระบบ “SI system” หรือในภาษาฝรังเศส “Système International d’Unités”

12
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

4.7 อิทธิพลของการแปรรูปเย็ นต่อสมบ ัติตา่ ง ๆ


(Effect of cold working on properties)

ความแข็งแรงทีอุณหภูมส ิ งู ของโลหะผสมออสเทนนิตก ิ
ทนความร ้อนสามารถเพิมขึนได ้ด ้วยกระบวนการแปรรูป
เย็น (Cold working) เช่น การรีด (Rolling) อย่างไรก็
ตามความแข็งแรงทีเพิมขึนจะคงอยูไ่ ด ้จนถึงอุณหภูมต
ิ ก
ผลึกใหม่ (Crystallization Temperature) เท่านั น

ภาพที 3 แสดงอิทธิพลของอุณหภูมท ิ มี
ี ต ่อสมบัตท ิ าง
แรงดึงของสเตนเลส 1.4310 (301) ทีผ่านกระบวนการ
แปรรูปเย็น โดยทัวไปผลิตภัณฑ์ทผ่ี านการขึนรูปเย็นจะมี โครงสร ้างจุลภาคของเหล็กกล ้าจะถูกทดสอบด ้วยกําลังขยายสูง
ภาพโดย : Acroni, Jesenice (SI)
ความต ้านทานต่อการคืบตํ าซึงเกิดขึนทีอุณหภูมส ิ งู กว่า
อุณหภูมกิ ารตกผลึกใหม่ของโลหะเล็กน ้อย
ระหว่างการใช ้งานทีอุณหภูมส
ิ งู เป็ นเวลานาน ประโยชน์
ทีได ้จากกระบวนการแปรรู ป เย็ น จะเสีย ไปและความ
แข็งแรงต่อการแตกร ้าวจากความเค ้นอาจจะลดลงจนตํ า
กว่าความแข็งแรงในสภาพอบอ่อน [25]

ภาพที 3 อิทธิพลของอุณหภูมใิ นระยะสันต่อสมบัตท


ิ างแรงดึงของเกรด 1.4310 (301) ทีผ่านการแปรรูปเย็น a)
ความแข็งแรงต่อแรงดึง b) ความแข็งแรง ณ จุดคราก c) การยืดตัว [25]

13
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

5 ความเสถียรของโครงสร้างจุลภาค (Microstructure stability)

วัสดุบ างชนิด อาจเกิดการเปลียนแปลงหลั งจากการใช ้ สํา หรั บ การใช ้งานเป็ นระยะเวลานานทีอุณ หภูมส
ิ ูง ซึง
งานหลายร ้อยหรือหลายพันชัวโมง โดยเกิดความเปราะ เฟสดังกล่าวสามารถทําให ้สลายตัวได ้โดยการให ้ความ
ขึนแทนทีความแกร่ง หรือ ความเหนีย ว ซึงปั ญหาหลั ก ร ้อนสูงกว่า 1000ᵒC [12]
เกิดจากการรวมตัวของเฟสทีมีความแข็ง เปราะ และไม่
มีสมบัตแิ ม่เหล็กเรียกว่า “ซิกม่าเฟส (Sigma phase)” ในช่วงอุณหภูมริ ะหว่าง 400 ถึง 500 ᵒC สเตนเลส
ทีเกิดขึนในช่วงอุณหภูมริ ะหว่าง 500-980 ᵒC [15] และ เฟอร์รกิ ติก มีแนวโน ้มทีจะแยกตั ว ออกเป็ น 2 เฟสทีมี
สามารถเกิด ขึนได ้ทั งในเฟอร์ร ิต กิ ออสเทนนิ ต กิ หรือ ปริมาณโครเมียมสูงและตํา ซึงอัตราการเกิดปฏิกริยาจะ
ดูเพล็กซ์สเตนเลส โดยการเกิดจะขึนอยูก ่ ับทังอุณหภูม ิ สูงสุดทีอุณหภูม ิ 475 ᵒC จึงถูกเรียกว่า “การเปราะที
และเวลา อุณหภูม ิ 475 ᵒC (475 ᵒC Embrittlement)” เฟอร์รต ิ ก

ทีมีปริมาณโครเมียม 11% เป็ นเกรดทีมีความอ่อนไหว
เกรดเฟอร์รต ิ ก
ิ ทีมีโครเมียมตําบางชนิด สามารถเกิดการ ต่อปรากฏการณ์นน ี ้อยทีสุด และมีขอบเขตทีโลหะผสม
รวมตัวของเฟสซิกม่าได ้ทีอุณหภูมเิ พียง 480 ᵒC หากถูก ปริม าณโครเมียมที 17% ในขณะทีวัส ดุทมี ี โครเมียม
ถูกใช ้งานเป็ นระยะเวลานาน ซึงนอกเหนือจากอุณหภูม ิ 25% ซึงรวมไปถึงสเตนเลสดูเพล็กซ์นันมีความเสียงต่อ
แล ้ว เวลาทีทําให ้เกิดการรวมตัวของซิกม่าเฟสยังขึนอยู่ การเกิดปั ญหาข ้างต ้นเป็ นอย่างมาก [23]
กั บ องค์ป ระกอบทางเคมีแ ละกระบวนการผลิต (เช่น
ปริมาณการแปรรูปเย็น) และเราจะพบว่าความเปราะจาก สํ า หรั บ ทีอุณ หภูม ส
ิ ูง นั น ปรากฎการณ์ ห นึงทีสามารถ
ซิกม่าเฟสจะเกิดขึนอย่างรวดเร็วถ ้าได ้รับการแปรรูปเย็น เกิดขึนได ้คือการโตของเกรน (Grain growth) ซึงเป็ น
ผลให ้ความแข็ ง แรงต่อ การคืบ สู ง ขึนแต่ก็ ทํ า ให ้ความ
การรวมตัวของซิกม่าเฟสสามารถยับยังโดยสมบูรณ์ด ้วย เหนียวลดลงไปในขณะเดียวกัน อย่างไรก็ตามถึงแม ้การ
การเติมนิกเกิลในปริมาณทีเพียงพอ และในกรณีทวัี ส ดุ เปลียนแปลงของโครงสร ้างอาจะทํ าให ้วัสดุมส ี มบัตแ
ิ ย่
ถูกใช ้ในสภาพแวดล ้อมซึงสามารถเกิดการรวมตั วของ ลง แต่การเปลียนแปลงนั นสามารถยอมรับได ้ตราบเท่าที
ซิกม่าเฟสได ้นั น จําเป็ นอย่างมากทีต ้องมีการประเมินว่า มีการเฝ้ าระวังและพิจารณาในระหว่างการใช ้งานและการ
ความเปราะตลอดช่วงอายุการใช ้งานของส่วนประกอบ ซ่อมบํารุงตามแผนงาน (Maintenance shutdown) [2]
นั นจะสู ง แค่ ไ หน รวมถึง อิท ธิ พ ลใดที อาจส่ ง ผลต่ อ
สมรรถภาพในการใช ้งาน ซึงโดยทัวไปความเปราะจะไม่
เป็ นปั ญหาเมือวัสดุอยู่ ณ อุณหภูมใิ ช ้งาน (ยกเว ้นกรณีท ี
มีค วามล ้าจากความร ้อนมาเกียวข ้อง) แต่จะกลายเป็ น
ปั ญหาร ้ายแรงทีอุณหภูมห ิ ้อง [19] เพราะทีอุณหภูมส ิ ูง
นั นวั ส ดุ ม ีค วามเหนี ย วและความแกร่ ง สู ง ทํ า ให ้เฟสที
สเตนเลสออสเทนนิต ก ิ บางชนิด อาจสูญเสียความ
เกิดขึนนั นไม่เป็ นปั ญหาสําคัญ แต่เฟสเหล่านีจะน่าเป็ น
เหนีย วอย่า งมาก หรือ เกิด ความเปราะหลั งการใช ้
ห่วงเมือชินส่วนนั นเย็นตัวลงมาทีอุณหภูมห ิ ้อง
งานอย่างยาวนานทีอุณหภูมส ิ งู ปานกลาง (500-900
นอกจากซิก ม่า เฟสแล ้วเฟสอืน ๆ ทีสามารถพบได ้คือ ᵒC) เนืองจากเกิด การรวมตัวของซิกมาเฟส [25]
ไชเฟส (chi phase) และเลฟส์เฟส (Laves-phase) ซึง ดัง นั นการใช ้งานโลหะผสมกลุ่ม เหล็ ก -โครเมีย ม-
กรณีของเลฟส์เฟสนั นสามารถช่วยเพิมความแข็งแรงต่อ นิก เกิล ควรจํ า กั ด ในช่ว งอุณ หภู ม ค
ิ งทีและ ไม่อ ยู่
การคืบ ทีอุ ณ หภู ม ิสู ง ได อ
้ ีก ด ว้ ย อย่า งไรก็ ต ามความ ในช่วงอุณหภูมท ิ เกิ
ี ดการรวมตัวของเฟสซิกม่า
เปราะของสารประกอบกึงโลหะนั นนั บ เป็ นปั ญ หาหลัก

14
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ตารางที 6 การพิจารณาความเสถียรของโครงสร ้างต่อการใช ้งาน [20, 21, 22]

(1) สัน (Short) = วินาทีถงึ นาที, ปานกลาง (Medium) = นาทีถงึ ชัวโมง, ยาว (Long) = วันถึงเดือน

15
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

6 ความต้านทานการก ัดกร่อนทีอุณหภูมส
ิ ง

(Resistance to high-temperature corrosion)

คําว่า “การกัดกร่อนทีอุณหภูมส ิ งู (High temperature บรรยากาศดังกล่าวมักถูกเรียกโดยรวมว่าเป็ นบรรยากาศ


corrosion)” นั นอาจจะยังไม่ถก ู ต ้องนั ก เนืองจากปั ญหา แ บ บ อ อ ก ซิ ไ ด ซิ ง (Oxidising) แ ล ะ แ บ บ รี ดิ ว ซิ ง
ดั ง ก ล่ า ว มั ก จ ะ เ ป็ น ก า ร กั ด ก ร่ อ น แ บ บ แ ห ง้ ( “Dry” (Reducing) ตามลําดับ ซึงเป็ นการแปลความหมายตาม
corrosion) เช่น ในสภาวะแก๊ส แต่ส ภาวะทีรุน แรงกั บ สิงทีเกิด ขึนกั บ เหล็ ก เนื องจากบรรยากาศแบบรีด ิว ซ์
วัสดุชนิดหนึงอาจจะไม่รุนแรงกับวัสดุชนิดอืนๆ อย่างไร สามารถออกซิไดซ์ธาตุเช่น อลูมเิ นียม ซิลค ิ อน รวมไป
ก็ต ามสํ า หรั บ สเตนเลสปั ญหาดั ง กล่ า วมั ก จะเกิด ขึนที ถึงโครเมียมได ้ [4] ซึงโดยทัวไปโลหะผสมชนิดหนึง ๆ
อุ ณ หภู ม ิ 500ᵒC หรื อ สู ง กว่ า ในขณะทีพื นผิ ว ที จะไม่ส ามารถต ้านทานสภาพแวดล ้อมทีอุณหภูมส ิ ูงได ้
เป ลี ย น แป ลง ณ อุ ณ ห ภู ม ิ ตํ าก ว่ า นี จะเ กิ ด ขึ น แบ บ ทุกชนิด [14]
ค่อนข ้างสมําเสมอ
ั (Oxidation)
6.1 การเกิดออกซเิ ดชน
กลไกการกัด กร่อ นทีอุณ หภูม ส ิ ูง จะแตกต่า งกัน ไปตาม
เมือวัสดุสัมผัสกับบรรยากาศแบบออกซิไดซิงทีอุณหภูม ิ
ปริมาณออกซิเจนในบรรยากาศและสารทีทําให ้เกิดการ
สู ง จะเกิด การก่ อ ตั ว ของออกไซด์ ท ีผิว ของวั ส ดุ แ ละ
กัดกร่อน บรรยากาศทีมีปริมาณออกซิเจนสูง ได ้แก่ การ
สามารถยับ ยังการออกซิไดซ์ต่อไปได ้ แต่เ มืออุณหภูม ิ
มีแ ก๊ ส ออกซิเ จน ไอนํ า ซั ล เฟอร์ แ ละออกไซด์ ข อง
ของวัส ดุส ูงขึน อัตราการเกิดออกไซด์จะเพิมขึนทํ าให ้
ซัลเฟอร์ (SO2 และ SO3) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)
ชั น อ อ กไ ซ ด์ นั น แ ต ก แ ล ะห ลุ ด ร่ อ น ออ ก ไ ป ทํ า ใ ห ้
ไนโตรเจนออกไซด์ (NOx) คลอรีน และอืน ๆ ขณะในที
ความสามารถในการปกป้ องนั นสูญเสียไปในทีสุด [25]
บรรยากาศทีมีปริมาณออกซิเจนตํา ปั ญหาจะเกิดขึนจาก
ไฮโดรเจนซึงอาจเป็ นในรู ป ของไฮโดรเจนซั ล ไฟด์ สําหรับเหล็กกล ้าผสมโครเมียมนั นมีความสามารถในการ
(H2S) คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ไฮโดรเจนคลอไรด์ ต ้านทานการเกิดออกซิเดชันมากกว่าเหล็กกล ้าคาร์บอน
(HCl) ไฮโดรคาร์บอน และแอมโมเนีย เป็ นต ้น ทั วไป เ นื องจากมี ก ารส ร า้ งชั นฟิ ล์ ม โครเ มี ย มแล ะ
โครเมี ย ม-เหล็ ก ออกไซด์ ซึงฟิ ล์ ม ดั งกล่ า วมี ค วาม
สามารถในการปกป้ องทีดีก ว่า ชันออกไซด์ข องเหล็ ก
บริสุทธิ และเมือปริมาณโครเมีย มเพิมขึนจาก 0 ไปถึง
27 % โดยนํ าหนั ก จะสามารถเพิมอุณหภูมใิ ช ้งานสูงสุด
จากประมาณ 500 ᵒC เป็ น 1150 ᵒC

ทีอุณหภูมส ิ ูงกว่า 1000 ᵒC อลูมเิ นีย มออกไซด์จะมี


ความสามารถในการปกป้ องมากกว่าโครเมียมออกไซด์
อย่า งไรก็ต ามปริม าณของอลูมเิ นียมทีต ้องการสํ าหรั บ
การสร ้างชั นฟิ ล์มดั ง กล่ า ว อาจทํ า ให ้โลหะผสมนั นมี
ความเปราะเพิมขึน ผลิตยากขึนรวมถึงมีราคาแพง [26]
และในกรณี ท ีอุณ หภู ม ิม ก ี ารเปลียนแปลงเป็ นวั ฏ จั ก ร
กรรมวิธท
ี างความร ้อนหลังการขึนรูปร ้อนหรือเย็นมักจะเป็ น
นอกจากนีเราสามารถลดการหลุดร่อนของสเกล (Scale
ส่วนหนึงของขันตอนการผลิต spalling) ได ้โดยการเพิมปริมาณนิกเกิล [25]
ภาพโดย: Butting, Knesebeck (D)

16
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ไอนํ ามีอท ิ ธิพลต่อการเกิดออกไซด์ โดยเฉพาะอย่างยิง โดยพืนฐานแล ้วความต ้านทานการเกิดออกซิเดชันของ


ในอากาศซึงอัตราการเกิดปฏิกริยาตํากว่าในแก๊สออกซิ โ ล ห ะผ ส ม ถู ก นิ ย า ม โ ด ย “อุ ณ ห ภู ม ิ ก า ร เ กิ ด ส เ ก ล
เจนบริส ุท ธิ ไอนํ าจะเพิมอั ต ราการกั ด กร่อ นอย่า งมีนั ย (Scaling temperature)” ซึงก็คอ ื อุณหภูมท ิ อั
ี ตราการ
สํ า คั ญ โดยเฉพาะในโลหะผสมของเหล็ ก เนื องจาก เกิดออกซิเดชันสูงขึนจนไม่สามารถยอมรับได ้ อย่างไรก็
ออกไซด์ทเกิ ี ดขึนมีแนวโน ้มทีจะมีความพรุนและมีสมบัต ิ ตามอุ ณ หภู ม ิดั ง กล่ า วค่ อ นข า้ งเป็ นความสํ า คั ญ ทาง
ปกป้ องน ้อยอันมีสาเหตุมาจากการรวมตัวของไอระเหย เทคนิค แนวคิดเรือง “อุณหภูมก ิ ารเกิดสเกล” จึงไม่คอ ่ ย
โครเมียมออกไซด์ (Volatile chromium-oxide) และ ได ้รับความสนใจ
สารกลุม ่ ไฮดรอกไซด์ (Hydroxide species)
ิ ารใช ้งานสูงสุด ในอากาศมีก ารระบุไว ้
สําหรั บ อุณหภูมก
การแปรรูปเย็นทีผิวสามารถช่วยปรับปรุงสมบัตใิ นไอนํ า ในมาตรฐาน EN 10095
ให ้ดีขนได
ึ ้เมือเปรียบเทียบกับโครงสร ้างอบอ่อน เนือง
จากช่วยส่งเสริมให ้เกิด การสร ้างชันโครเมียมออกไซด์
(Cr2O3) ทีมีความหนาแน่นขึน [4] อย่างไรก็ตามหากมี
ไอนํ าอุณ หภูม ส ิ ารใช ้งาน
ิ ูง เข ้ามาเกียวข ้อง อุณ หภูม ก
สูงสุดทีแนะนํ าจะลดลงประมาณ 50 – 150 ᵒC ขึนอยูก ่ ับ
ส่วนประกอบของไอนํ าดังกล่าว [27]

ิ ารใช ้งานสูงสุดในอากาศสําหรับสเตนเลสเกรดทนความร ้อน (ใช ้เป็ นแนวทางเท่านั น) [6]


ตารางที 7 อุณหภูมก

17
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ิ ารใช ้งานสูงสุดทียอมรับได ้ในอากาศสําหรับสเตนเลสเกรดมาตรฐานบางชนิด (ใชเป็


ตารางที 8 อุณหภูมก ้ นแนวทาง
เท่านั น) [12]

ภาพที 4 การเกิดออกซิเดชันระยะยาวทีอุณหภูม ิ 1100 ᵒC โดยชินงานถูกทําให ้เย็นตัวมาทีอุณหภูมห


ิ ้องอาทิตย์ละ
ครังเพือชังนํ าหนั ก โดยทดสอบที 165 ชัวโมงต่อวัฏจักร [28]

18
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

การออกซิเดชันแบบหายนะ (Catastrophic oxidation)


คือการเกิดออกซิเดชันทีเกิดขึนอย่างรวดเร็วและนํ าไปสู่
การเสีย หายอย่า งสมบูร ณ์ ของวั ส ดุใ นระยะเวลาอัน สั น
โลหะกลุ่ ม โมลิ บ ดี นั ม ไนโอเบี ย ม วาเนเดี ย ม และ
ทังสเตน สามารถเกิดออกไซด์ทระเหยได ี ้ทีอุณหภูมต ิ ํา
และหากออกไซด์ดังกล่าวตกค ้างอยูใ่ นสเกล ออกไซด์
นั นสามารถกลายเป็ นตัวทําลายฟิ ลม ์ ปกป้ องได ้ สํ าหรับ
การเกิดออกซิเดชันแบบหายนะนีอาจเป็ นปั ญหาร ้ายแรง
ได ้ในสภาวะการใช ้งานทีเฉพาะเจาะจง เช่น ในอุณหภูม ิ
สู ง ม า ก ห รื อ ใ น บ ร ร ย า ก า ศ แ บ บ ไ ม่ เ ค ลื อ น ไ ห ว
(Stagnant atmosphere) หรือ เมือมีก ารตกตะกอน
ของแข็ง [15,29]
บางครังวัสดุอาจต ้องสัมผัสกับเงือนไขการใช ้งานแบบร ้ายแรง
ั เดชน
6.2 การเกิดซลฟิ ั (Sulphidation) ภาพโดย : Drever International, Angleur (Liège) (B)

ความต ้านทานการเกิด ซั ล ฟิ เดชั นมีค วามสั ม พั น ธ์กั บ นอกเหนื อ จากปั จจั ย ทางด ้านเวลา อุณ หภูมแ ิ ละความ
ปริมาณโครเมียมเช่นเดียวกัน เหล็กทีไม่มก ี ารเติมโลหะ เข ้มข ้นแล ้ว ซัลฟิ เดชันยังขึนอยูก ่ ับรูปแบบของซัลเฟอร์
ผสมสามารถเกิด การเปลียนเป็ นซัลไฟต์ส เกลได ้อย่าง ทีม ีอ ยู่ ไม่ ว่ า จะเป็ น ซั ล เฟอร์ ไ ดออกไซด์ (Sulphur
รวดเร็ ว ในขณะทีเหล็ ก ทีมีก ารเติมโครเมีย มจะมีค วาม dioxide, SO2) ไอของซัลเฟอร์ (Sulphur vapour)
ต ้านทานการเกิดซัลฟิ เดชันเพิมขึน สํ าหรับธาตุชนิดอืน ไฮโดรเจนซัลไฟต์ (Hydrogen sulphide, H2S) หรือใน
ทีสามารถเพิมการปกป้ องต่อ การเกิด ซัล ฟิ เดชันได ้แก่ รูปของแก๊สเชือเพลิง (Fuel gas) เนืองจากแก๊สเผาไหม ้
ซิลคิ อน อลูมเิ นียม และไทเทเนียม (Combustion gas) มักจะมีส่วนผสมของสารประกอบ
ซัลเฟอร์ ซึงปกติแล ้วซัลเฟอร์ไดออกไซด์จะอยู่ในรูป
สารประกอบซัล ไฟต์ห ลายชนิด สามารถพบได ้ในแก๊ส ของออกซิไดซิงแก๊ส โดยพบร่ว มกับ คาร์บ อนมอนอก
เชือเพลิงและแก๊ส ในกระบวนการผลิตอืนๆ สารเหล่านี ไซด์ (CO) คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ไนโตรเจน (N2)
ส่ง ผลเสียอย่า งมากต่อ อายุก ารใช ้งานของชินส่ว น ซึง และออกซิเจน (O2) ส่วนเกิน
ปั จจัยทางจลนพลศาสตร์ (Kinetic) ทําให ้ซัลไฟต์ทอยูี ่
ในสภาวะไม่ ส มดุ ล สามารถเกิด และโตขึนได ้ภายใต ้ โดยทัวไปออกไซด์ปกป้ องจะสร ้างขึนโดยขึนกับสภาพ
เงือนไขการเกิดออกซิเดชัน และถึงแม ้การเกิด ซัลไฟต์ แวดล ้อม ซึงอัตราการกัดกร่อนอาจมีคา่ เท่ากับในอากาศ
ในช่วงแรกจะถูกปกคลุมด ้วยออกไซด์ใ นภายหลั งหรือ หรืออาจมีค่ามากกว่าเล็กน ้อย อย่างไรก็ตามความต ้าน
อาจละลายไป แต่การเกิด ขึนในช่วงแรกของซัล ไฟต์ก็ ทานของสเตนเลสต่อ แก๊ส เผาไหม ้จะมีค ่า เพิมขึน เมือ
ส่ ง ผลให ้ชั นออกไซด์ม ีค วามสามารถในการปกป้ อง ปริมาณโครเมียมเพิมขึน
ลดลงเนื องจากออกไซด์ฟิ ล์ม มีช ่อ งว่ า งหรือ รอยแตก
เกิดขึน

ในการทีวั สดุจะสามารถสร ้างชันออกไซด์ทบาง ี แกร่ง


และมีการยึดเกาะทีดีได ้นั นจําเป็ นต ้องมีปริมาณโครเมียม
สูง รวมถึงมีการเติมซิลค
ิ อน อลูมเิ นียมและ REM

19
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

หลักการประเมินอย่างง่าย (Rule-of-Thumb) แบบเก่า ั


6.3 คาร์บูไรเซชนและไนไตรเดช ั

อธิบายว่าโลหะผสมทีเติมโครเมียมควรหลีกเลียงสภาพ (Carburisation and Nitridation)
แวดล ้อมแบบรีดวิ ซิงและซัลฟิ ไดซ์ซงิ เนืองจากการรวม
ตัวของสารประกอบนิกเกิล-ซัลเฟอร์ทมี ี จุด หลอมเหลว การคาร์บูไรเซชันของสเตนเลสสามารถทําได ้ในบรรยา
ตํ าอาจนํ าไปสู่ก ารเสิอม สภาพอย่า งรวดเร็ ว ของวั ส ดุ กาศคาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน (CH4) และแก๊สไฮโดร
อย่างไรก็ตามในทางปฏิบัตบ ิ รรยากาศแบบรีดวิ ซิงอาจมี คาร์บ อนอืน ๆ เช่น โพรเพน (C3H8) ทีอุณ หภูม ส
ิ ูง
ปริมาณออกซิเจนสูงพอ (เช่นในรูปของซัลเฟอร์ไดออก อย่างไรก็ตามคาร์บไู รเซชันสามารถเกิดขึนได ้เมือสเตน
ไซด์, SO2) ต่อการสร ้างชันออกไซด์ปกป้ อง บนเงือนไข เลส ป น เ ปื อน นํ ามั น ถู ก นํ าไ ปอ บ อ่ อ น ใ น ส ภ าว ะที มี
ทีปริมาณโครเมียมนั นสูงเพียงพอ [30] ออกซิเจนไม่เ พีย งพอต่อ การเผาไหม ้คาร์บ อน เช่น ใน
กรณีข องการอบภายใต ้สูญญากาศหรือแก๊สเฉื อย หรือ
นิก เกิล /นิก เกิล ซั ล ไฟต์ยูเ ทคติก (Eutectic) ทีมีจุด แม ้กระทั งการอบในระบบเปิ ด (มีอ ากาศ) ทีรูปร่างของ
หลอมเหลวตําอาจเกิดการรวมตัวใน สเตนเลสออสเทน ชินส่วนเองทําให ้อากาศไม่สามารถเข ้าถึงได ้ แต่ปัญหา
นิต ก
ิ ทีมีนิก เกิล มากกว่า 25 % แม ้แต่ใ นสภาวะทีมี เหล่านีจะพบได ้ในเหล็กกล ้าโลหะผสมตํ า (Low alloy
ปริมาณโครเมียมสูง ซึงการเกิดขึนของเฟสทีเป็ นของ steel) มากกว่าในสเตนเลส
เหลวระหว่างการใช ้งานทีอุณหภูมส ่ าร
ิ งู สามารถนํ าไปสูก
การเสียหายอย่างร ้ายแรงของวัสดุได ้ ปั ญหาจากการเกิดคาร์บูไรเซชันสามารถพบได ้บ่อยใน
ชินส่ว นทีทํ า การชุบ แข็ ง ด ้วยกระบวนการคาร์บูไ ร ซิง
แก๊สเชือเพลิงแบบรีดวิ ซิงมีปริมาณของคาร์บอนมอนอก นอกจากนีอุตสาหกรรมปิ โตรเคมียังจัดให ้คาร์บูไรเซชัน
ไซด์ คาร์บ อนไดออกไซด์ ไฮโดรเจน ไฮโดรเจน เป็ นปั ญหาหลั ก ข ้อหนึงของการกัด กร่อ นทีอุณ หภูม ส ิ ูง
ซัล ไฟต์ และไนโตรเจนทีแตกต่างกัน ซึงอัต ราการกั ด ของอุป กรณ์ การผลิต [25] เนืองจากการรับ คาร์บอน
กร่อนทีพบในสภาพแวดล ้อมแบบนีจะขึนกับปริมาณของ ปริม าณสูง เข ้าไปในเนื อวั ส ดุ ทํ า ให ้ปริม าตรของวั ส ดุ
ไฮโดรเจนซัล ไฟต์แ ละอุณหภูม ิ ดั งนั นการเลือ กวัสดุท ี เปลียนไปและนํ าไปสู่ก ารบิดบียวของรูปร่างได ้ รวมถึง
เหมาะสมมัก ต ้องการการทดสอบในสภาวะใช ้งานจริง ทําให ้เกิดความยุง่ ยากหากอุปกรณ์นันต ้องซ่อมแซมด ้วย
อย่างไรก็ตามในบรรยากาศซัลเฟอร์แบบรีดวิ ทีแท ้จริงจะ กระบวนการเชือม [14]
พบว่าชันออกไซด์ทุก ชนิด จะถูกละลายอย่างรวดเร็วทํ า
ให ้เนื อวั ส ดุเ กิด การกั ด กร่ อ นได ้ การใช ้งานในสภาวะ การเกิดไนไตรเดชันนั บได ้ว่าเป็ นรูปแบบหนึงของการกัด
ดังกล่าวจึงควรเลือกใช ้โลหะผสมทีไม่มก ี ารเติมนิกเกิล กร่อนเมือสเตนเลสถูกใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู ในบรรยากาศ
[25, 30] ทีมีไ นโตรเจน [3] ซึงโดยทั วไปไนไตรเดชันมั ก จะ
เกิดขึนเนืองจากการให ้ความร ้อนสูงเกินไปในบรรยากาศ
ทีมีไ นโตรเจนหรือ บรรยากาศแตกตั ว ของแอมโมเนีย
(Cracking Ammonia) ดังนั นในอุตสาหกรรมอบชุบ
(Heat-treating industry) จึงมีโลหะผสมโครเมียมและ
นิ ก เ กิ ล สู ง เ ท่ า นั น ที ส า ม า ร ถ ใ ช ง้ า น ไ ด ้ภ า ย ใ ต ้
สภาพแวดล ้อมแบบไนโตรดิง [14]

20
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ตารางที 9 ความเสถียรภายใต ้สภาวะการกัดกร่อนทีอุณหภูมส


ิ งู [32]

1 = ตํามาก / 2 = ตํา / 3 = ปานกลาง / 4 = ปานกลางถึงสูง / 5 = สูง / 6 = สูงมาก

* ทีอุณหภูมต
ิ ํากว่า 900 ᵒC

ความต ้านทานของโลหะผสมทนความร ้อนต่อการดูดซับ ปั ญหาหลัก ทีเกิด ขึนในบรรยากาศแบบคาร์บูไ รซิงคือ


คาร์บอนและไนโตรเจนจะเพิมขึนตามปริมาณนิกเกิลเป็ น ฝุ่ นผงโลหะ (Metal dusting) หรือเรียกว่าคาร์บไู รซิง
หลั ก ในขณะทีซิล ค
ิ อนรวมถึง โครเมีย มมีผลรองลงมา หายนะ (Catastrophic carburisation) หรือ การ
ซึงจากปร ะส บการ ณ์ พ บว่ า ธาตุ เ หล่ า นี สามา รถทํ า สลายตั วจากคาร์บ อน (Carbon rot) ซึงมั กเกิดขึนที
ปฏิกริยากับออกซิเจนทีมีอยู่เพียงเล็กน ้อย (แม ้แต่ในรูป อุณหภูมต ิ ําลงมาในช่วง 430 ถึง 650 ᵒC [15] ในการ
ของคาร์บอนไดออกไซด์หรือไอนํ า) เพือสร ้างฟิ ลม ์ บาง กลัน (Refining) กระบวนการทางปิ โตรเคมี การอบชุบ
ทีแข็งแกร่งบนผิวของเกรด 1.4835 ซึงสามารถป้ องกัน ความร ้อน หรือกระบวนการอืนๆ [25] ปั จจุบันกลไกการ
การรับคาร์บอนและไนโตรเจนเข ้าสูเ่ นือวัสดุได ้เป็ นอย่าง เกิด ปั ญหาดั งกล่าวยัง ไม่เป็ นทีชัด เจนนั ก แต่ผลคือทํ า
ดี [31] ให ้เนือโลหะหายไป ซึงบ่อยครังทําให ้ดูเหมือนเนือโลหะ
ถูกหนอนกัดกินไป (Worm eaten)

21
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

6.4 การก ัดกร่อนจากแก๊สฮาโลเจน


(Halogen gas corrosion - Chlorination)

การกัดกร่อนจากแก๊สฮาโลเจนเกิดจากการทําปฏิก ริยา
ระหว่ า งโลหะกั บ คลอไรด์ ฟลู อ อไรด์ หรือ ไฮโดรเจน
แฮไลด์ เช่น ไฮโดรเจนคลอไรด์ (HCl) และไฮโดรเจน
ฟลูออไรด์ (HF) เป็ นต ้น โดยทัวไปฮาโลเจนหรือ สาร
ประกอบฮาโลเจนสามารถสร ้างความเสียหายได ้ในเฟส
ของแก๊ส หรือ ในรูป สารประกอบของเกลือ หลอมเหลว
(molten salt) ซึงเกลือ สามารถทํ าให ้เกิด ขีโลหะ
(Slag) และการแตกสลาย (Disintegration) ของชัน
ฟิ ลม
์ ออกไซด์ ในขณะทีฮาโลเจนในรูปของแก๊สสามารถ
แทรกซึมเข ้าสู่เ นือโลหะได ้โดยไม่ทํ าให ้เกิด ความเสีย
หายกับชันฟิ ลม
์ ดังนั นการออกซิเดชันเพือสร ้างฟิ ลม ์ จึง
ไม่เป็ นประโยชน์ในกรณีนี

ในบรรยากาศคลอไรด์ซ งไม่ ึ ส ามารถวั ดปริม าณออกซิ


เจนได ้นั น เหล็ ก และเหล็ก กล ้าคาร์บ อนจะอ่อ นไหวต่อ
การกั ด กร่ อ นจากคลอไรด์เ ป็ นอย่ า งมาก ซึงการเติม
โครเมียมและนิกเกิลลงในเหล็ กสามารถเพิมความต ้าน
ทานการกั ด กร่อ นของโลหะผสมได ้ ดั ง นั น สเตนเลส
เฟอร์รติ ก
ิ และออสเทนนิตก ิ จึงสามารถต ้านทานการกัด
กร่อนจากคลอไรด์ทอุ ี ณหภูมส ิ ูงได ้ดีกว่าเหล็กหล่อหรือ
เหล็กกล ้าคาร์บ อน ในขณะทีนิกเกิลและโลหะผสมเนือ
พืนนิกเกิลมีความต ้านทานการกัดกร่อนจากคลอไรด์ได ้
ดีกว่าสเตนเลส

สําหรับบรรยากาศแบบออกซิไดซ์ทมี ี ทงคลอไรด์
ั ออกซิ
เจนนั น โมลิบดินัมและทังสเตนส่งผลเสียต่อ ความต ้าน
ทานของโลหะผสมต่อการกัดกร่อนจากคลอไรด์

ภาพโดย : Butting, Knesebeck (D)

22
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures


7 ความสามารถในการขึนรูปและความสามารถในการเชอม
(Formability and Weldability)
การขึนรูปร ้อนควรทําในช่วงอุณหภูมท ิ กํ
ี าหนดในตาราง เชือม MIG (Gas metal arc welding, GMAW) โดยใช ้
ที 11 ซึงเหล็ก กล ้าทนความร ้อนสามารถขึนรูปเย็นได ้ อาร์กอนบริสท
ุ ธิเป็ นแก๊สปกคลุม และการเชือมใต ้ฟลักซ์
เช่น เดีย วกั บ เหล็ ก กล ้าออสเทนนิต ิก อืน ๆ แต่ป ริมาณ (Submerged arc welding, SAW)
ไนโตรเจนทีสูงทําให ้ความแข็งแรงเชิงกล (Mechanical
strength) ของเหล็กกล ้ากลุม ่ ดังกล่าวสูงขึน และแรงที กระบวนการทางความร ้อนหลั ง การขึนรูป ร ้อนหรือ เย็น
ใช ้ในการขึนรูปย่อมต ้องสูงตามมา นอกจากนีความแข็ง หรือ การเชือม อาจไม่ จํ า เป็ นหากวั ส ดุ ต อ
้ งสั ม ผั ส กั บ
(Hardness) ทีสูง ของเหล็ ก กล ้าออสเทนนิ ต ก ิ และ อุณหภูมส ิ ูงระหว่างการใช ้งาน อย่างไรก็ต ามหากความ
ความสามารถในการเพิมความแข็ ง จากความเครีย ด ร ้อนดังกล่าวไม่เพียงพอ วิธกี ารทีเหมาะสมทีสุดคือการ
(Strain hardening) จํ าเป็ นต ้องถูกยกมาพิจารณาด ้วย อบอ่อ นเพือละลายเฟส (Solution annealing) สําหรับ
เสมอระหว่างตัดแต่ง (Machining) สเตนเลสออสเทนนิ ต ิก และการอบอ่ อ น (Soft
annealing) สําหรับสเตนเลสเฟอร์รต ิ ก

เหล็ ก กล ้าชนิ ด นี มีค วามสามารถในการเชือมทีดีแ ละ
สามารถใช ้เชือมด ้วยกระบวนการดังนี : การเชือมด ้วย ช่วงอุณหภูมท
ิ เหมาะสมถู
ี กแสดงไว ้ในตารางที 11
ลวดเชือมหุ ้มฟลักส์ (Shielded metal arc welding)
การเชือมแก๊ส (Gas shielded welding) เช่น การเชือม
ทังสเตน (Gas tungsten arc welding, GTAW, TIG)
การเชือมพลาสมา (Plasma arc welding, PAW) การ

ตารางที 10 ความสามารถในการเชือม และลวดเชือมสําหรับเหล็กกล ้าทนความร ้อนบางชนิด [32]

* ดี
(*) อย่างมีเงือนไข
23
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ิ ําหรับกรรมวิธท
ตารางที 11 อุณหภูมส ี างความร ้อน [6]

* เย็นตัวในอากาศเย็น

กระบวนการทาง
ความร ้อนหลังการขึน
รูปร ้อนหรือเย็นมักจะ
เป็ นส่วนหนึงของ
ขันตอนการผลิต
ภาพโดย : Butting,
Knesebeck (D)

24
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

8 การออกแบบสําหร ับการใชง้ านทีอุณหภูมส


ิ ง

(Design for high-temperature applications)
การเสียรูป ตามกาลเวลา (Time-dependent) และการ ซ่อมแซม (Repair) หรือ การปรับปรุงให ้เหมือนใหม่
แตกหักของวัสดุโครงสร ้างทีอุณหภูมส ิ งู นั บเป็ นปั ญหาที (Rejuvenation)
ท ้าทายทีสุดทีวิศวกรวัสดุต ้องเผชิญ ดังนันในการพัฒนา
ปรับ ปรุงการออกแบบเครืองจั กรและอุปกรณ์สําหรับ ใช ้ เราจํ าเป็ นอย่า งมากทีต ้องประเมินความเสียหายทีเป็ น
งานทีอุณ หภูมส ิ ูง จํ า เป็ น ต ้องทราบและเข ้าใจแนวคิด ผลจากการใช ้งาน ซึงโดยทั วไปมีแ นวทางพืนฐาน 2
สําคัญรวมไปถึงข ้อมูลสนั บ สนุนต่าง ๆ ดังต่อไปนี แนวทางในการประเมิน ความเสียหายทีเกิด ขึนสํ าหรั บ
การบริหารจัดการอายุชนส่ ิ วนดังนี
 ความไม่เสถียรของวัสดุ (Plastic instability) ที
อุณหภูมส ิ งู  อายุทเหลื
ี ออยูส ่ ามารถประเมินได ้จากสมบัตด ิ ัง
 กลไกการแปรรูป (Deformation mechanism) ี ้ โดยพิจารณารายละเอียดของ
เดิมของวัสดุทใช
และความเครีย ด (Strain) ทีเกียวข ้องกั บ เงือนไขการใช ้งาน เช่น อุณหภูมแ ิ ละความเค ้น
กระบวนการคืบ ทีเปลียนไป
 ปั จจัยจากความเค ้นและอุณหภูม ิ  อายุทเหลื
ี ออยูป่ ระเมินโดยวิเคราะห์โครงสร ้างที
 การแตกหักทีอุณหภูมส ิ งู เปลียนไป หรือการเกิดโพรงอากาศทีขอบเกรน
 อิทธิพลของสิงแวดล ้อม (Intergranular cavitation) หรือสมบัตเิ ชิงกล
เช่น ความแข็ง พลั งงานการกระแทก (Impact
ขันตอนการทํางานสําหรับการบริการจัดการอายุข องชิน energy) หรืออายุการใช ้งานในการแตกหักจาก
ส่วน (Life management of component) จะอนุมานว่า ความเค ้น (Stress rapture life) [25]
วัส ดุจะเกิดการเสือมหรือเสียหายเมือความเครียดจาก
การคืบ (Creep strain) และเวลาการปฏิบัตงิ านเพิมขึน
อย่ า งไรก็ ต ามเพื อเหตุ ผ ลด า้ นการจั ด การอายุ ข อง
ชินส่วนซึงจะนํ าไปใช ้ตัดสินใจเปลียน (Replace)

25
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures


9 การออกเพือต้านทานการเกิดออกซเิ ดชน
(Design for oxidation resistance)

ความน่ า เชือถื อ ของโลหะผสมสํ า หรั บ การใช ้งานที แต่ ก็ ส ามารถทดสอบในแก๊ส กั ด กร่ อ นแบบผสม เช่น
อุณหภูมส ิ งู ขึนอยูก
่ ับความสามารถในการสร ้างชันออก H2/H2S หรือ CO/CO2 หรือ O2/SO2 ได ้เช่นเดียวกัน
ไซด์ท ีต่อเนือง (Continuous) แน่ น หนา (Compact)
และมีการเติบโตของออกไซด์อย่างช ้าๆ เพือช่วยป้ องกัน การเก็บ ข ้อมูล ของจลนพลศาสตร์ข องการออกซิเ ดชัน
การเกิดออกซิเดชันและการกัดกร่อนทีอุณหภูมส ิ งู นอก อาจอยูใ่ นรูปของนํ าหนั ก ทีเปลียนแปลงไป หรือ ใช ้การ
จากนีชันออกไซด์ดังกล่าวจํ าเป็ นต ้องมีความเสถียรทัง วิเคราะห์ความหนาของชันสเกล (Scale) ทีเปลียนไปได ้
ท า ง เ ค มี ท า ง ก ล ร ว ม ถึ ง ท า ง อุ ณ ห พ ล ศ า ต ร์ เช่นเดียวกัน ซึงนํ าหนั ก ทีเปลียนแปลงอย่างต่อเนือง
(Thermodynamic) เพือสมบัตก ิ ารปกป้ องทีดี ซึงโลหะ สามารถวิเคราะห์ได ้จากเทคนิค “Thermo-gravimetric
ผสมทีเหมาะสมต่อการใช ้งานในบรรยากาศแบบออกซิ analysis (TGA)” และข ้อมูล ดังกล่าวมีประโยชน์อย่าง
ไดซ์ต ้องสามารถสร ้างชันฟิ ล์มออกไซด์ทติ ี ดแน่ น ของ ยิงในการวิเ คราะห์ป ริมาณเนื อโลหะทีทํ า ปฏิก ริย าและ
อลูมเิ นียม (Al2O3) โครเมียม (Cr2O3) หรือซิลก ิ า (SiO2) เปลียนเป็ นออกไซด์รวมถึงสามารถใช ้เปรียบเทียบโลหะ
ได ้เป็ นอย่างดี ้ ีก ด ้วย อย่า งไรก็ ต ามหลั ก เกณฑ์สํ า คั ญ
ทีต่ า งกั น ได อ
ทีสุดสําหรับการต ้านทานการเกิดออกซิเดชันของวัสดุก็
วิธพ
ี นฐานในการประเมิ
ื นความต ้านทานการเกิดออกซิเด คือสมบัตเิ ชิงกลทีเหลืออยูข ่ องวัสดุนันหลังการใช ้งาน
ชัน คือการทดสอบวัสดุในสภาพแวดล ้อมทีต ้องการและ
ติด ตามการเปลียนแปลงทางจลนพลศาสตร์ (Kinetic) สําหรับข ้อมูลการแตกหักจากการคืบ (Creep rapture)
และวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ทเกิ ี ดจากการออกซิไดซ์และตัว ทีทดสอบในบรรยากาศแบบเฉือย (Inert atmosphere)
เนือวัสดุเอง ซึงแม ้ทัวไปการทดสอบนิยมทําในอากาศ จะไม่ส ามารถใช ้ได ้ในการออกแบบเมือวั ส ดุ ถู ก ใช ้ใน
บรรยากาศทีเกิดการออกซิเดชันอย่างรุนแรง [25]

ออสเทนนิตกิ สเตนเลสถูกใช ้งาน


ในสภาพแวดล ้อมทีต ้องการทัง
ความต ้านทานการกัดกร่อนและ
ความแข็งแรงทีอุณหภูมสิ งู

ภาพโดย : Stappert Spezial-


Stahl Handel, Düsseldorf (D)

26
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

10 การเลือกใชโ้ ลหะผสม (Selecting the alloy)


ข ้อมูลทางเทคนิคทีแสดงให ้เห็นถึงสมบัตข ิ องโลหะทน อากาศ (Air) – โลหะผสมส่วนมากทีสามารถใช ้งานได ้
ความร ้อนนั นมีป ระโยชน์อ ย่างยิงในการเลือ กใช ้วัส ดุท ี ในอากาศร ้อนส่ ว นใหญ่ จะสามารถใช ้งานได ้ในแก๊ ส
เหมาะสมสําหรับลักษณะการใช ้งานต่าง ๆ อย่างไรก็ตาม ประเภทออกซิไดซ์ทเกิ ี ดจากการเผาไหม ้แก๊สธรรมชาติ
ข ้อมูลการใช ้งานระยะยาวในสภาพแวดล ้อมและอุณหภูม ิ
หรือ ถ่า นหิน โดยทั วไปการเกิด ออกซิเ ดชันและความ
ทีแตกต่า งกั น อาจจะไม่ส ามารถบั น ทึก หรือ อธิบ ายได ้
อย่างครบถ ้วนด ้วยการทดสอบในห ้องแลบ ประสบการณ์ แข็งแรงจะเป็ นประเด็นสําคัญในบรรยากาศนี ซึงการเกิด
ทีได ้จากการใช ้งานจริงจึงนั บเป็ นข ้อมูลทีเป็ นประโยชน์ ออกซิเดชันมักจะพิจารณาในเรืองการสูญเสียเนือโลหะ
สูงสุด ดังนั นผู ้เลือกใช ้จําเป็ นต ้องระบุให ้ได ้ว่าปั จจัยใดที แต่ในบางกรณีอาจมีประเด็นเรืองการปนเปื อนจากสเกล
มีความสําคัญสูงสุด ทีเกิดขึนร่วมด ้วย

10.1 อุณหภูม ิ (Temperature) การเผ าไ หม้ข อ งเ ชื อ เพ ลิง ฟอ สซิ ล เชื อเ พลิง


ชวี ภาพ และกากของเสย ี (The combustion of
อุณหภูมม ิ ก
ั จะเป็ นข ้อมูลอย่างแรก หรือบางครังอาจเป็ น
fossil fuels, biofuels or waste)
ข ้อมู ล เพีย งอย่ า งเดีย วทีใช ้ในการเลือ กใช ้วั ส ดุ และ
ถึงแม ้การเลือกใช ้วัส ดุทเหมาะสมจะพิ
ี จารณาอุณหภูม ิ แก๊ ส ธรรมชาติท ี ได ้จากการผลิต มีส่ ว นผสมของสาร
เพียงอย่างเดียวไม่ได ้ แต่โดยทัวไปแนวทางการเลือ ก ปนเปื อนทีมีฤทธิกัดกร่อนหลายชนิด ซึงแก๊สธรรมชาติท ี
ใช ้วัสดุอย่างง่ายก็คอ ื การพิจารณาอุณหภูมส ิ งู สุดทีวัส ดุ มี ก า ร ป น เ ปื อ น น ้อ ย ที สุ ด คื อ แ ก๊ ส ธ ร ร ม ช า ติ โ ด ย
ต ้องสัมผัสตลอดการใช ้งานร่วมกับ สมบัต ท ิ างวิศวกรรม ผ ลิ ต ภั ณ ฑ์ จ า ก ก า ร เ ผ า ไ ห ม ้ป ร ะ ก อ บ ไ ป ด ้ว ย
ในระยะยาวของวัสดุนัน สําหรับวัสดุแบบแผ่นบาง (Thin คาร์บอนมอนอกไซด์ คาร์บอนไดออก ไซด์และนํ า และ
sheet material) จะมีขด ี จํากัดของอุณหภูมก ิ ารใช ้งานที อาจมีซัลเฟอร์ปนเปื อนเล็ ก น ้อย ดังนั นอุณ หภูม ก ิ ารใช ้
ตํากว่าวัสดุรูปแบบอืน เนืองจากมีอัต ราการสูญเสียจาก งานสู ง สุ ด เมื อเปรี ย บเที ย บกั บ อากาศปกติจ ะลดลง
การออกซิเดชันทีสูงกว่า เล็กน ้อยราว 50 ถึง 100 ᵒC ในขณะทีถ่านหินหรือนํ ามัน
จะมีซล ั เฟอร์ปนเปื อนสูงกว่า นอกจากนีถ่านหินยังมีการ
10.2 บรรยากาศและแก๊สจากการเผาไหม
ปนเปื อนคลอรี น ส่ ว นนํ ามั น อาจพบการปน เปื อนวา
(Atmosphere and combustion gases)
นาเดียมในปริมาณสูง
สูญญากาศ (Vacuum) – เนืองจากการสูญเสียจาก
ปริมาณสิงเจือ ปนอาจมีการเปลียนแปลงตามเกรดและ
ออกซิเดชันไม่สามารถเกิดขึนได ้ในบรรยากาศนี โลหะ
ทีมาของเชือเพลิง นั นและอาจนํ าไปสู่ก ารลดลงของ
ผสมตํ า (Lean alloy) ส่วนมากจึงสามารถงานได ้ที
อุณหภูมกิ ารใช ้งานสูงสุดกว่า 500 ᵒC เมือเปรียบเทียบ
อุณหภูมสิ ูงตราบใดทีสมบั ต เิ ชิงกลของวัส ดุนั นมีความ
กับการใช ้งานในอากาศ (รายละเอียดเพิมเติมในตารางที
เหมาะสม
7 และ 8) ซึงโดยทัวไปโลหะผสมนิกเกิลสูงจะมีความ
เหมาะสมต่อ การใช ้งานในบรรยากาศทีมีค ลอรีน หรือ
ฟลูออรีนปริมาณสูง [26]

27
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

11 การใชง้ าน (Application)
การใช ้งานโดยทัวไปสามารถแบ่งออกได ้เป็ นสองกลุ่ม
กลุม
่ แรก คือชินส่วนทีต ้องผ่านเตาและได ้รับการเปลียน ออสเทนนิตก

แปลงความร ้อนหรือ สมบั ต ิเ ชิง กล (Thermal and
mechanical shock) กระทั น หั น เช่น ถาด (Tray) 1.4301 (304) มีความต ้านทานการกัดกร่อนและ
ชินส่ ว นจั บ ยึด (Fixture) โซ่ส ายพาล (Conveyor การออกซิเดชันในบรรยากาศได ้ดี
chain) สายรัด (Belt) และชินส่วนทีสํ าหรับการชุบแข็ง
(Quenching fixture) 1.4401 (316) มีส มบั ต เิ ชิง กลทีดีก ว่า 1.4301
(304) และ 1.4541 (321) และมีความต ้านทานใน
กลุม่ ที 2 คือ ชินส่วนทีต ้องอยูใ่ นเตาซึงไม่ต ้องสัมผัสกับ สารเคมีบางชนิด เช่น กรดไขมันทีอุณหภูมส ิ งู และ
การเปลียนแปลงทางความร ้อนหรือ สมบัตเิ ชิงกลอย่าง
สารละลายกรดซัลฟิ วริกแบบอ่อนได ้
รวดเร็ว เช่น คานคํ า (Support beam) ผิว ของเตา
(Hearth plates) ท่อสําหรับการเผาไหม ้ (Combustion
1.4541 (321) และ 1.4550 (347) สามารถใช ้
tubes) ท่อรัศมี ท่อเรเดียน (Radiant tubes) หัวเผา
งานได ้ในกรณี ท ีไม่ ส ามารถทํ า ความสะอาดด ้วย
(Burner) เทอร์โมเวลล์ (Thermowells) ลูกกลิงและไม ้
คํ าราง (Roller and skid rail) ลูก กลิงลํ าเลีย ง สารเคมีหลังการเชือมได ้ เช่น ในท่อไอนํ า (Stream
(Conveyor roll) คานลําเลียง (Walking beam) หม ้อ line) ท่อความร ้อนยิงยวด (Super heater tube)
ฆ่าเชือแบบหมุน (Rotary retort) เครืองฆ่าเชือแบบ แ ล ะ ร ะ บ บ ไ อ เ สี ย ใ น เ ค รื อ ง ย น ต์ แ บ บ ลู ก สู บ
หลุม (Pit-type retorts) อุปกรณ์ลดเสียง (Muffler) (Reciprocating engines) และกังหันแก๊สทีทํางาน
อุปกรณ์แลกเปลียนความร ้อน (Recuperator) และพั ด ทีอุณหภูมใิ นช่วง 425 ถึง 850 ᵒC
ลม เป็ นต ้น นอกจากนียังมีการใช ้งานอืนๆเช่น หม ้อต ้ม
(Boiler) หลอดปฏิกริยา (Reaction vessel) ระบบไอ 1.4948 (304H) คือ สเตนเลสทีปรับปรุงความ
เสีย (Exhaust system) และกังหันแก๊ส (Gas turbine)
ต ้านทานการคืบ จาก 1.4301 (304) รวมถึง มี
ทีต ้องการความแข็งแรงและความต ้านทานการเกิดออก
ปริมาณคาร์บอนตํ าเพือการใช ้งานทีสูงถึง 800 ᵒC
ซิเดชันเป็ นอีกกลุม่ การใช ้งานซึงสเตนเลสทนความร ้อน
มีความได ้เปรียบในการใช ้งานอย่างมาก ในอากาศแห ้ง รวมถึงสามารถใช ้งานในระบบหล่อ
เย็ น แบบโซเดีย ม (Sodium cooled fast
อย่างไรก็ตามเกรดทีออกแบบเพือต ้านทานการเกิดการ aggregates) ท่อ ลํ า เลีย ง (Pipeline) รวมถึง ท่อ
กัดกร่อ นจากสารละลายก็สามารถใช ้งานเป็ นสเตนเลส
ความดัน (Pressure vessel)
ทนความร ้อนได ้เช่นเดียวกัน [3, 22, 32, 33]
1.4878 (321H) คือ สเตนเลสทีปรับปรุงความ
ต ้านทานความร ้อนจาก 1.4541 (321) โดยมี
ปริ ม าณคาร์ บ อนสู ง สุ ด เพิ มขึ นเล็ ก น อ
้ ย ซึงช่ ว ง
อุณหภูมก ิ ารใช ้งานสู งสุดทีแนะนํ าสํ าหรับเกรดนีใน
อากาศแห ้งคือ 800 ᵒC นอกจากนียั ง มีเ กรดที
ปรับปรุงจาก 1.4541 เช่น 1.4941 ซึงรวมอยูใ่ น EN
10028-7 และ ASTM A240 ตัวอย่างการใช ้งานของ
เกรด 1.4878 คือ เตาอบอ่ อ นแบบระฆั ง ควํ า
(Annealing bell) กระบอกลดเสียง (Muffler)
กล่อ งชุบแข็ง (Hardening box) ในขณะทีเกรด
1.4941 สามารถใช ้เป็ นท่อ ความดั น (Pressure
vessel) และหม ้อไอนํ า (Stream boiler)

28
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

1.4828 สามารถใช ้งานได ้ถึงอุณหภูม ิ 950 ถึง 1.4841 เป็ นเกรดทีพั ฒนาจาก1.4845 โดยเพิม
1000 ᵒC ในอากาศแบบแห ้ง สํ าหรับ การใช ้งาน ปริมาณซิลคิ อนเพือปรับปรุงความต ้านทานการเกิด
ในช่วงอุณหภูม ิ 600 ถึง 900 ᵒC อาจทําให ้วัสดุเกิด ออกซิเดชัน อย่างไรก็ตามเกรดนีมีความอ่อนไหวต่อ
ความเป ราะได ้ ควา มได เ้ ปรี ย บ ข องเกรดนี คื อ การเกิด ความเปราะมากกว่ าเกรด 1.4845 และ
สามารถใช ้งานได ้ทังทีอุณหภูมแิ ละแรงกระทําทาง ส่ว นมากใช ้กั บ กลไกแขวนลอยความร ้อนยิงยวด
กลสูง ตัวอย่างการใช ้งานได ้แก่ ชินส่วนรองรับ ท่อ (Super heater suspension) หม ้ออบอ่อ น
ในเตา เตาแบบระฆังควํ า (Annealing bell) เตาชุบ (Annealing pot) และตะแกรงอีน าเมล
แข็งแบบกล่อง (Hardening box) และหม ้ออบอ่อน (Enameling grate)
(Annealing pot)
1.4845 ใช ้งานได ้ในอุณหภูมส ิ งู ถึง 1100 ᵒC ใน
1.4833 (309S) และ 1.4845 (310S) เป็ นวัสดุ อากาศแห ้ง แต่มค ี วามเสียงต่อการเกิดความเปราะ
ระดับสูงขึนเนืองจากมีปริมาณนิกเกิลและโครเมียม เมือใช ้งานในช่วงอุณหภูม ิ 600 ถึง 900 ᵒC นอก
สูง เกรด 1.4845 (310S) มีประโยชน์ในกรณีทวัี สดุ จากนียังมีวัสดุทปรั ี บปรุงเพือเพิมความต ้านทานการ
ต ้องสั ม ผั ส กั บ ความร อ ้ นและเย็ น ตั ว ลงเป็ นช่ ว งๆ คืบ จาก 1.4845 เช่น 1.4951 ซึงถูก รวมไว ้ใน
เนืองจากสามารถสร ้างชันสเกลทีติดแน่ นมากกว่า มาตรฐาน EN 10028-7 และ ASTM A240 และมี
เกรด 1.4833 (309S) อย่างไรก็ต ามทัง 2 เกรด ตั ว อ ย่ า ง ก า ร ใ ช ง้ า น เ ช่ น เ ต า อุ ต ส า ห ก ร ร ม
ส า ม า ร ถ ใ ช ง้ า น สํ า ห รั บ ชิ น ส่ ว น เ ช่ น ผ นั ง เ ต า (Industrial furnace) หม ้อต ้มแบบมีรอยประสาน
(Furnace lining) แผ่ น กั นในหม ้อต ้ม (Boiler (Seam boiler) และโรงงานปิ โตรเคมี (Petroleum
baffle) ปลอกเทอร์โ มคั ป เปิ ล (Thermocouple processing plants)
well) อุปกรณ์ให ้ความร ้อนในห ้องเครืองเครืองบิน
(Aircraft cabin heater) และผนั ง หั ว เผาใน 1.4854 ใช ้งานได ้ในอากาศทีอุณหภูมส ิ งู สุด 1150
เครืองยนต์ไอพ่น (Jet engine burner liner) เป็ น ᵒC แต่การใช ้งานทีอุณหภูมต
ิ ํากว่า 950 ᵒC อาจทํา
ต ้น ให ค
้ วามเหนี ย ว (Impact toughness) ที
อุณหภูมหิ ้องลดลงได ้
1.4835 ถูกใช ้งานอย่างมากในบรรยากาศไฮโดร
เจนหรือ ไนโตรเจน แต่ไ ม่ส ามารถใช ้งานในสภาพ
แวดล ้อมแบบคาร์บูไ รเซชันได ้ สํ า หรั บ อุณ หภูม ทิ ี
เหมาะสมต่อการใช ้งานอยูใ่ นช่วง 850 ถึง 1100 ᵒC
ในขณะทีอุณหภูม ิ 600 ถึง 850 ᵒC อาจทําให ้ความ
แกร่ง (Impact toughness) ทีอุณหภูมห ิ ้องลดลง
ตัวอย่างการใช ้งานคือ วัสดุสํ าหรับ ก่อสร ้างเตาและ
การติด ตั งในอุต สาหกรรมปิ โตรเลียม (Petroleum
installation)

29
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

เฟอร์รต
ิ ก

1.4512 (409) ถู ก ใช ้งานอย่า งแพร่ ห ลาย 1.4742 มีค วามต ้านทานการเกิด สเกลทีดีก ว่ า
เนืองจากมีส มบัตท ิ เกี
ี ยวข ้องกับการผลิต ทีดี กล่าว 1.4724 และสามารถใช ้งานได ้ในบรรยากาศแบบ
คือ มีส มบั ต ก ิ ารเชือมและการขึนรู ป ทีดี และหาได ้ รีด วิ ซิงซั ล เฟอร์ไ ด ้โดยไม่ม ีปั ญหา อย่างไรก็ ต าม
ง่ายอีกด ้วย สํ าหรับการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ ูงทีเป็ นที เกรดนีมีปัญหาความเปราะทีอุณหภูม ิ 475 ᵒC และมี
รู ้จั ก กั น ดีข องเกรดนี คือ ในระบบไอเสียรถยนต์ ซึง ปั ญหาเกรนหยาบทีอุณหภูมต ิ ํ ากว่า 950 ᵒC นอก
อุณหภูมข ิ องชินส่วนในเครืองฟอกไอเสีย (Catalytic จากนี ซิก ม่า เฟสอาจเกิด ขึนได ้หลั ง การใช ้งานใน
convertor) จะสูงกว่า 550 ᵒC นอกจากนียังมีการใช ้ ระยะยาวทีอุณหภูมป ิ ระมาณ 650 ᵒC เกรดนีมีการใช ้
งานเป็ นตัวนํ าไอเสีย (Exhaust ducting) และตัว งานเป็ นข อ ้ ต่ อ (Fitting) ชินส่ว นสํ า หรั บ ขนส่ ง
เก็บเสียง (Silencer) ในกังหันแบบแก๊ส (Transport element) ท่อ และหม ้อในเตาอบ
อุณหภมิ 700 ถึง 1000 ᵒC
1.4016 (430) และ 1.4510 (439) ใช ้งานใน
ระบบแลกเปลียนความร ้อน (Heat exchanger) ถัง 1.4762 มีป ริมาณโครเมีย มสูง ทีสุด และมีค วาม
นํ าร ้อน (Hot water tank) เครืองควบแน่ น ต ้านทานบรรยากาศแบบแก๊ส รีด วิ ซิงซัล เฟอร์มาก
(Condenser) และชินส่วนของเตา ทีสุด เช่น กั น อย่างไรก็ต ามเกรดนี มีค วามอ่อ นไหว
ต่อความเปราะเช่นเดียวกับเกรด 1.4742 โดยซิกมา
1.4749 (446) ใช ้งานเตาอุ ต สาหกรรม เฟสรวมตั วได ้เมือใช ้งานระยะยาวทีอุณหภูมใิ นช่วง
(Industrial furnace) เครืองเป่ า (Blower) ระบบไอ 600 ถึง 800 ᵒC ตัวอย่างการใช ้งานของเกรดนีคือ
เสีย ชินส่วนเตา กล่อ งอบอ่อน (Annealing box) หั ว เผาถ่า น (Coal burner) และแผ่ น ลํ า เลีย ง
ผนั งเตาอบ และท่อไพโรมิเตอร์ (Pyrometer tube) (Conductor strip) ในหม ้อต ้มไอนํ าความร ้อน
ยิงยวด (Stream boiler super heater) ทีใช ้งาน
1.4713 เหมาะสมอย่ า งมากต่ อ การใช ้งานที
ในช่วงอุณหภูม ิ 800 ถึง 1150 ᵒC
อุณหภูมริ ะหว่าง 550 ถึง 800 ᵒC เนืองจากไม่มก ี าร
รวมตัวของเฟสทีมีความเปราะ อย่างไรก็ตามเกรดนี
ใช ้ได ้กับบรรยากาศกัดกร่อนระดับกลางเท่านั นเนือง
จากมีป ริม าณโครเมียมค่อ นข ้างตํา แต่ก็มส
ี มบั ต ท
ิ ี
ทนต่อ การกั ด กร่อ นจากออกซิไ ดซิงซัล เฟอร์ไ ด ้ดี
ส่วนใหญ่การใช ้งานคือ เตาอบแบบระฆังควํ า และ ิ ก
มาร์เทนซต ิ
ท่อหุ ้มไพโรมิเตอร์ (Pyrometer sheath tubes)
1.4006 (410) เป็ นสเตนเลสสําหรับการใช ้งาน
1.4724 เป็ นสเตนเลสทีเหมาะต่อ การใช ้งานที ทัวไป เช่น วาล์ลไอนํ า (Stream valve) เพลาปั ม
อุณหภูมส ิ งู ทีมีโครเมียม 13 % สามารถใช ้งานใน (Pump shaft) โบล์ทและชินส่วนจิปาถะทีต ้องการ
บรรยากาศแบบออกซิไ ดซิงซั ล เฟอร์ และไม่ ม ี ความต ้านทานการกัด กร่อ นและความแข็งแรงปาน
ปั ญหาร ้ายแรงจากความเปราะ ตั วอย่างการใช ้งาน กลางทีอุณหภูมต ิ ํากว่า 500 ᵒC
เช่ น รา ง ตะแ กรง แล ะท่ อ หุ ม้ เทอร์ โ มคั ปเ ปิ ล
(Thermocouple sheath tube)

30
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

้ า่ ย (Cost considerations)
12 การพิจารณาค่าใชจ

ปั จจัยบางอย่างทีมีผลต่ออายุการใช ้งานคือการเลือกใช ้ สํ า หรั บ มุม มองด ้านการแข่ ง ขั น การเลือ กใช ้วั ส ดุต ้อง
โลหะผสม (Alloy selection) การออกแบบ (Design) พิจ ารณาบนพืนฐานของความคุ ้มค่ า ด ้านราคา (Cost
การบํารุงรักษา (Maintenance procedure) การควบคุม effectiveness) ดังนั นตัวเลือกทีดีทสุ ี ดมักจะเป็ นวัสดุทมี ี
อุณหภูมแ ิ ละเตา (Furnace and temperature control) ราคาตําทีสุดทีตอบสนองต่อการออกแบบนั น อย่างไรก็
บรรยากาศ การปนเปื อนในสภาพแวดล ้อมหรือแรงทีต ้อง ตา ม วั ส ดุ ร าค าแพ งที มี ค วามน่ า เชื อถื อ สู ง (Great
รับ (Workload) อุบัตเิ หตุ จํ านวนกะการทํางาน วัฏจักร Reliability) อาจถูก เลือ กใช ้สํ า หรับ ชินส่ว นเฉพาะใน
อุณหภูม ิ และแรงกระทําเกิน (Overloading) ซึงชินส่วน ระบบทีมีคา่ ใช ้จ่ายสูงหรือมีความเสียหายร ้ายแรงในกรณี
ทีผลิต จากโลหะธาตุผ สมสูง อาจใช ้งานได ้นานหลาย ทีต ้องปิ ดซ่อมบํ ารุง (Maintenance shutdown) ดังนั น
เดือน หรือหลายปี ขึนอยูก ่ ับเงือนไขการใช ้งานนั น ดังนั น ความรู ้เรืองความสามารถในการใช ้งานของวั ส ดุ จ ึง มี
การเลือ กใช ้เหล็ ก กล ้าทนความร ้อนจะต ้องพิจ ารณา ประโยชน์ อ ย่า งมากในการตั ด สิน ใจเลือกใช ้วั ส ดุอ ย่าง
สมบัตท ิ งหมดที
ั เกียวข ้องกับเงือนไขการใช ้งานนั น เพือ ถูกต ้อง [25]
ความคุ ้มค่าสูงสุ ด ทางเศรษฐศาสตร์ต ลอดอายุก ารใช ้
งาน โลหะผสมทนความร ้อนมีให ้เลือกใช ้งานทังแบบตีขนรู
ึ ป
(Wrought) และแบบหล่อ (Cast form) ซึงในบางกรณี
การประเมินอายุ (Life Expectancy) ควรจะวั ดจาก อาจมีการใช ้ทังสองรูปแบบร่วมกัน อย่างไรก็ตามสมบัต ิ
จํ านวนวัฏจั กร (Cycle) มากกว่าจํ านวนชัวโมง โดย และราคาของวั ส ดุทั งสองรูป แบบจะแตกต่างกั น ถึง แม ้
เฉพาะอย่างยิงหากชินงานถูก ทํ า ให ้เย็ น ตั ว ลง ซึงการ สมบัตท
ิ างเคมีจะมีความคล ้ายคลึงกันมาก
เปลียนชินส่วนทังหมดหลังการใช ้งานเป็ นจํานวนหลาย
วัฏจั กรอาจะคุ ้มค่ากว่า การต ้องหยุดการทํ างานอย่าง
ยาวนาน (Extensive shutdown) เนื องจากความ
เสียหายภายในเตา สําหรับโซ่หรือสายรัดทีผ่านวัฏจักร
การเปลียนแปลงจากอุณ หภูม ห ิ ้องไปทีอุณ หภูม สิ ูง ไป
หลายครังต่อหนึงกะ (Several times a shift) จะมีอายุ
การใช ้งานได ้สันกว่าชินส่วนทีใช ้งาน ณ อุณหภูม ค ิ งที
ในขณะที ชินส่ ว นที ผ่ า นการคาร์บ ู ไ รซิงในเตาจะไม่
สามารถใช ้งานได ้นานเท่า ชินส่ว นทีใช ้ในการอบอ่อ น
แบบปกติ [16]

31
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

13 บทสรุป (Summary)
จะเห็ น ได ้ว่ า การเลือ กใช ้ชนิ ด ของโลหะผสมให ้ชาญ หากกระทบต่อการทํ างานปกติเพียงเล็กน ้อย ในขณะที
ฉลาดในการใช ้งานทีอุณหภูม ส ิ ูง นั นเป็ นสิงทีซับ ซ ้อน บางการใช ้งานการบํา รุง รัก ษาและซ่อ มแซมต ้องมีก าร
และไม่ควรดําเนินการโดยไม่มค ี วามรู ้ ซึงหลักฐานต่าง ๆ วางแผนอย่างระมัด ระวัง และสามารถทํ าได ้ในช่วงการ
ได ้แสดงให ้เห็นว่าการเลือกใช ้วัสดุไม่ใช่สงที ิ ง่าย เนือง ซ่อมบํารุงประจําปี เท่านั น ดังนั นการเลือกใช ้งานวัสดุจงึ
จากโลหะผสมในอุด มคติท ีสามารถตอบสนองต่อ ทุก ต ้องทําอย่างระมัดระวังเป็ นพิเศษในกรณีเหล่านี
ความต ้องการและการใช ้งานเป็ นสิงทียังไม่ถก ู ค ้นพบใน
ปั จจุบัน [3] การเลือกใช ้วัสดุสําหรับการใช ้งานทีอุณหภูมส ิ งู ต ้องการ
ความรู ้อย่างลึก ซึงในเงือนไขการใช ้งาน เช่น อุณหภูม ิ
ธรรมชาติท ซัี บซ ้อนของการกัดกร่อ นทีอุณหภูมส ิ ูงและ แ ล ะส่ ว น ผ ส ม ข อ ง แ ก๊ ส ร ว ม ถึ ง อุ ณ ห ภู มิ ข อ ง วั ส ดุ
การขาดวิธกี ารทดสอบมาตรฐานทําให ้เป็ นไปไม่ได ้หรือ นอกจากนี ความรู ้เกียวกั บ วั ส ดุ ท ีถู ก ใช ้ก่ อ นหน า้ และ
อย่างน ้อยก็ไม่มค
ี วามถูกต ้องในการนํ าเสนอข ้อมูล การ สมรรถภาพในการใช ้งานรวมถึงสาเหตุในความเสียหาย
กัดกร่อน ของวั ส ดุนั นนั บ เป็ นข ้อมูลทีเป็ นประโยชน์อ ย่างมากใน
การเลือกใช ้เกรดทีเหมาะสม [26]
ความต ้องการความต า้ นทานการกั ด กร่ อ นขึนอยู่ กั บ
ี ารก่อสร ้างทีนํ ามาใช ้ ในบางโรงงาน
กระบวนการและวิธก
ชินส่วนอาจสามารถบํ ารุง รัก ษา ซ่อ มแซม หรือเปลียน

32
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

14 ภาคผนวก (Appendix)
้ อเป็ นแนวทางเท่านั น [6]
ข ้อมูลในตารางนีสามารถใชเพื
(1)
ตารางที 12 สมบัตก
ิ ารคืบแสดงค่าเฉลียโดยประมาณของความแข็งแรงต่อการแตกหักทีอุณหภูมส
ิ งู

(1)
ข ้อมูลในวงเล็บได ้จากการเทียบบัญญัตไิ ตรยางค์ของเวลาและ / หรือความเค ้น

33
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

(1)
ตารางที 13 สมบัตก
ิ ารคืบแสดงค่าเฉลียโดยประมาณของความแข็งแรงต่อการยืดตัว 1 % ทีอุณหภูมส
ิ งู

(1)
ข ้อมูลในวงเล็บได ้จากการเทียบบัญญัตไิ ตรยางค์ของเวลาและ / หรือความเค ้น

34
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

ตารางที 14 สมบัตท
ิ างกายภาพของเหล็กกล ้าทนความร ้อน

(1)
แม่เหล็กดูดติดเล็กน ้อยเมือผ่านการขึนรูปเย็น

35
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

15 เอกสารอ้างอิง (Reference)
[1] Stainless Steel - High Temperature Resistance; available at
http://www.azom.com/article.aspx?ArticleID=1175

[2] Outokumpu, High Temperature Stainless Steel Properties, available at


http://www.outokumpu.com/en/Products/Grades/stainless-properties/high-temperature-
grades/Pages/default.aspx

[3] ASM International, Stainless Steels at High Temperatures, Course 18, 1994

[4] Cunat, P.-J., The Euro Inox Handbook of Stainless Steel, Materials and Application Series,
Volume 1, 2002

[5] Itoh, I., et al., Development of Ferritic Stainless Steel Foil as Metal Support for Automotive
Catalytic Converter, Nippon Steel Technical Report No.64, 1995

[6] EN 10095: Heat resisting steels and nickel alloys, CEN – European Committee for
Standardization, 1999

[7] Our offer for automotive exhaust: a range of tailored solutions; retrieved in June 2012 from
http://www.aperam.com/uploads/stainlesseurope/Brochures/200807_Exhaustoffer_GB_241ko

[8] High Temperature Properties; available at http://www.ssina.com/composition/temperature.html

[9] EN 10088-1:2005 – Stainless steels – Part 1: List of stainless steels

[10] EN 10302:2008 – Creep resisting steels, nickel and cobalt alloys

[11] Schedin, E., Ivarsson, B., Andersson, M., Lindstrom, R., Duplex stainless steel in fire,
Proceedings of Stainless Steel Science and Market 2011 Conference, Como, Italy

[12] ASM Specialty Handbook, Stainless Steels, edited by J.R. Davis, ASM International, 1994

[13] EN 10028-7:2007 - Flat products made of steels for pressure purposes - Part 7: Stainless steels

[14] Nickel Institute, Publication Nr. 266, Heat and corrosion resistant castings: Their engineering
properties and applications

[15] Rolled Alloys, Heat Resistant Alloys Handbook, available at


http://www.rolledalloys.fr/trcdocs/heatresist/handbook.pdf

[16] Lai, G.Y., Heat-Resistant Materials for Furnace Parts, Trays and Fixtures, Heat Treating, Vol.4,
ASM Handbook, ASM International, 1991, p.510-518

[17] ThyssenKrupp Nirosta, Corrosion of Stainless Steels, available at http://www.nirosta.de/


fileadmin/media/produkte/werkstoff-PDF/Verarbeitung-NIROSTA-Werkstoffe-gb.pdf

[18] Atlas Steels, The Atlas Steels Technical Handbook of Stainless Steels, available at
http://www.atlassteels.com.au/documents/Atlas_Technical_Handbook_rev_July_2010.pdf

[19] Nickel Institute, Better high temperature strength than other grades, Stainless Steel Focus, July,
2009, p.30-33
36
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

[20] ThyssenKrupp Nirosta, Thermax Heat-Resistant Steels, available at http://www.thyssenkrupp-


nirosta.de/fileadmin/media/PDF/thermax_en.pdf

[21] Outokumpu, Microstructural Stability, available at


http://www.outokumpu.com/en/Products/Grades/stainless-properties/ high-temperature-
grades/structural-stability/Pages/default.aspx

[22] Outokumpu, High Temperature Austenitic Stainless Steel, available at


http://www.outokumpu.com/SiteCollectionDocuments/
Austenitic_High_Temperature_Grades_Datasheet.pdf

[23] Cunat, P-J, Working with stainless steels, Euro Inox, 2nd edition, 2009

[24] ASM Handbook, Heat Treating, Vol. 4, ASM International, 1991

[25] ASM Specialty Handbook, Heat-Resistant Materials, edited by J.R. Davis, 1997

[26] Outokumpu Corrosion Handbook, Tenth Edition, Outokumpu Oyj, 2009

[27] Outokumpu, Resistance to Oxidation, available at


http://www.outokumpu.com/en/Products/Grades/stainless-properties/ high-temperature-
grades/oxidation/Pages/default.aspx

[28] Outokumpu, High Temperature Stainless Steel, available at http://www.outokumpu.com/


SiteCollectionDocuments/Austenitic_High_Temperature_Grades_Datasheet.pdf

[29] Leffler, B., Stainless – Stainless Steels and Their Properties, available at
http://static.gest.unipd.it/esercizi/IIP_pmmi/acciai_inox.pdf

[30] Outokumpu, Sulphur Attack, available at


http://www.outokumpu.com/en/Products/Grades/stainless-properties/ high-temperature-
grades/sulphur-attack/Pages/default.aspx

[31] Outokumpu, Carburization and Nitridation, available at


http://www.outokumpu.com/en/Products/Grades/stainless-properties/ high-temperature-
grades/c-n-pickup/Pages/default.aspx

[32] Wegst, C., Wegst, M., Stahlschlüssel, Verlag Stahlschlüssel Wegst, 2004

[33] Outokupu, High Temperature Ferritic Stainless Steel, available at


http://www.outokumpu.com/SiteCollectionDocuments/High_temperature_ferritic_grades_Datas
heet

37
การใช้ งานสเตนเลสทีอุณหภูมิสงู - Stainless Steels at High Temperatures

38

You might also like