best รีวืวแนวทางการรักษาโรคเท้าช้าง

You might also like

Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 23

บทฟื้นฟูวิชาการ Chula Med J Vol. 49 No.

7 July 2005

การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบัน
ศิรญา ไชยะกุล*
สุรางค์ นุชประยูร*

Jaijakul S, Nuchprayoon S. Treatment of Lymphatic filariasis: An update. Chula Med J


2005 Jul; 49(7): 401 - 21

Lymphatic filariasis mainly caused by Wuchereria bancrofti and Brugia malayi is


considered to be a major public health problem in the tropics and subtropics, including Thailand.
The WHO set a goal to eliminate lymphatic filariasis by the year 2020. The program to get rid of
this disease has also been launched in Thailand for 5 years. Recently, the control program
which is recommended by the WHO is a strategy of repeated single annual dose of 6 mg/kg of
DEC in order to destroy microfilariae and adult worms. Because DEC has partial macrofilaricidal
effect and there are side effects from using DEC, other drugs such as ivermectin and albendazole
have been developed so as to improve compliance and increase effectiveness of treatment.
Moreover, the symbiosis of filarial nematodes and intracellular Wolbachia bacteria has recently
been exploited as a new target for treatment of filariasis. Therefore, antibiotics such as
tetracyclines and rifampicin have been used to combine with DEC in order to increase effects
and suppress side effects of DEC.

Keyword : Lymphatic filariasis.

Reprint request : Nuchprayoon S. Lymphatic Filariasis Research Unit, Department of


Parasitology, Faculty of Medicine, Chulalongkorn University,
Bangkok 10330, Thailand.
Received for publication. April 20, 2005.

วัตถุประสงค์:
เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคเท้าช้าง และแนวทางการรักษาในปัจจุบันรวม
ถึงแนวทางการรักษาใหม่ที่กำลังมีการศึกษาค้นคว้า พัฒนาและปรับปรุง เพื่อนำมาใช้ต่อไปในอนาคต
* ภาควิชาปรสิตวิทยา คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
402 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

โรคเท้ า ช้ า งยั ง คงจั ด เป็ น ปั ญ หาที ่ ส ำคั ญ ทาง 80 กว่าประเทศทั่วโลก และมีผู้ป่วยที่ปรากฏอาการถึง


สาธารณสุขของหลายสิบประเทศในแถบเขตร้อนทั่วโลก 40 ล้านคน(2) สำหรับในประเทศไทย โรคเท้าช้างยังคงจัด
รวมทั้งประเทศไทย โรคนี้เกิดจากเชื้อหนอนพยาธิโรค เป็นปัญหาทางสาธารณสุขทีส่ ำคัญ ทัง้ นีแ้ ม้วา่ สถานการณ์
เท้าช้างทีส่ ำคัญ คือ Wuchereria bancrofti และ Brugia โรคเท้าช้างในคนไทยจะมีอัตราความชุกของโรค 0.53
malayi ทั้งนี้ทางองค์การอนามัยโลกได้กำหนดให้โรค ต่อแสนประชากร(3) แหล่งโรคชุกชุม (endemic area) ของ
เท้าช้างเป็นโรคที่ควรถูกกำจัดให้หมดไปภายในปี พ.ศ. W. bancrofiti สายพันธุไ์ ทย (rural type) พบทีภ่ าคตะวันตก
2563 โดยประเทศไทยเองได้มีโครงการกำจัดเมื่อ 5 ปีที่ ติดชายแดนไทย-พม่า โดยเฉพาะ จังหวัดตาก กาญจนบุรี
ผ่านมา ในปัจจุบันทางองค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ และแม่ฮอ่ งสอน(4, 5) โดยมียงุ Aedes spp. เป็นพาหะหลัก
ยาไดเอทธิลคาร์บามาซีน ซิเทรท (Diethylcarmazine สำหรับทางภาคใต้จะพบเชือ้ B. malayi โดยเฉพาะจังหวัด
citrate; DEC) ขนาด 6 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม นราธิวาส(6) โดยมียงุ Mansonia spp. เป็นพาหะหลัก
โดยให้เพียงครั้งเดียวต่อปีสำหรับการรักษาหมู่ (mass ที่สำคัญ ปัญหาโรคเท้าช้างในไทยยังสืบเนื่องมา
treatment) ในพื้นที่ที่เป็นแหล่งโรคชุกชุม เพื่อทำลาย จากแรงงานต่างด้าว โดยเฉพาะแรงงานชาวพม่าทีเ่ ข้ามา
ไมโครฟิลาเรียและระยะตัวเต็มวัย อย่างไรก็ตาม ด้วย ทำงานในประเทศไทย เนือ่ งจากพบว่าแรงงานเหล่านีเ้ ป็น
ประสิทธิภาพของยาในการรักษาโรคเท้าช้างที่มีผลจำกัด แหล่งรังโรคของ W. bancrofti (urban type) โดยพบว่ามี
ในการทำลายระยะตัวเต็มวัย จึงจำเป็นต้องให้ยาหลาย อัตราการตรวจพบเชือ้ ไมโครฟิลาเรียสูงถึง 2-8 %(5, 7, 8) และ
ครั้งในการรักษา และเนื่องจากผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นจาก จากการตรวจหาแอนติเจนที่จำเพาะของเชื้อ 10 % และ
ยา DEC ทำให้ประชาชนในแหล่งโรคชุกชุมปฏิเสธการ โดยการตรวจหาแอนติบอดีต่อเชื้อ 42 %(5) จากอัตราการ
รับยา ดังนั้นจึงมีการพัฒนาใช้ยาชนิดอื่นเพื่อนำมาใช้ใน ตรวจพบโรคเท้าช้างทีส่ งู ดังกล่าวประกอบกับผลการศึกษา
การรักษาโรคเท้าช้าง ได้แก่ ไอเวอเมคทิน (ivermectin) ในห้องปฏิบัติการที่พบว่ายุงรำคาญ (Culex quinque-
และอัลเบนดาโซล (albendazole) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ fasciatus) ของไทยมีความสามารถในการเป็นพาหะของ
ในการรักษา ในทศวรรษทีผ่ า่ นมาการทราบถึงพยาธิกำเนิด W. bancrofti สายพันธุพ์ ม่า (urban type) ได้(9) ทัง้ นีย้ งุ
ของโรคว่ า มี ค วามสั ม พั น ธ์ ก ั บ แบคที เ รี ย โวลบาเกี ย รำคาญของไทยไม่เคยมีรายงานว่าเป็นพาหะนำโรคเท้าช้าง
(Wolbachia spp.) ที่อาศัยอยู่ในหนอนพยาธิโดยเป็น มาก่อน ทำให้ประเทศไทยควรมีมาตรการควบคุมและ
symbiont ทำให้มกี ารศึกษาผลของยาในกลุม่ tetracyclines ป้องกันไม่ให้เชื้อพยาธิโรคเท้าช้างในแรงงานพม่าแพร่มา
และ rifampicin เพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพของ DEC ตลอดจน สู่คนไทย ซึ่งจะทำให้โรคเท้าช้างกลับมาระบาดใหม่ (re-
ลดผลข้างเคียงของ DEC ในการรักษาโรคเท้าช้าง emerging disease) ได้ โดยเฉพาะตามเมืองใหญ่ทง้ั หลาย
รวมทั้งกรุงเทพมหานครที่มีแหล่งน้ำเสียเป็นแหล่งเพาะ
เนือ้ หาวิชา พันธุย์ งุ รำคาญ
โรคเท้าช้าง (lymphatic filariasis หรือ elephan- ทางองค์ ก ารอนามั ย โลก (World Health
tiasis) เกิดจากหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง (lymphatic filarial Organization, WHO) ร่วมกับองค์กรนานาชาติเพื่อการ
parasites) ที่สำคัญ คือ Wuchereria bancrofti และ กำจั ด โรค (International Task Force of Disease
Brugia malayi โรคเท้าช้างก่อให้เกิดการสูญเสียทาง Eradication, ITFDE) ได้กำหนดให้โรคเท้าช้างเป็นโรคที่
เศรษฐกิจและสังคมไม่ต่ำกว่า 33,680 ล้านบาทต่อปี(1) ควรกำจัดให้หมดไปภายในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) (10)
โดยมีประชากรกว่าพันล้านคนที่มีโอกาสเสี่ยงต่อการติด สำหรั บ ประเทศไทย ทางกองโรคเท้ า ช้ า ง กระทรวง
เชื้อนี้ นอกจากนี้ยังพบผู้ติดเชื้อมากถึง 120 ล้านคนใน สาธารณสุขได้จัดทำโครงการกำจัดโรคเท้าช้างเช่นกันและ
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 403
July 2005

Wuchereria
bancrofti
Maehongson
Tak

Kanchanaburi Thailand

Brugia malayi
Surat-thani
Narathiwat

รูปที่ 1. แสดงการกระจายตัวทางภูมศิ าสตร์ของโรคเท้าช้างในประเทศไทย

ได้รับอนุมัติเมื่อปี พ.ศ. 2543 โดยมีการวางแผนระยะ อยู่บริเวณปากของยุงและเข้าสู่คนเมื่อคนโดนยุงกัดโดย


ยาวในการควบคุมป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโดยมี ตัวอ่อนระยะที่ 3 จะไชผ่านแผลที่ยุงกัดเข้าสู่กระแสเลือด
การเฝ้าระวังและสำรวจโรคเท้าช้างอย่างใกล้ชิดทั้งในคน และระบบทางเดินน้ำเหลือง เพื่อเจริญต่อไปเป็นตัวอ่อน
สัตว์รงั โรค และยุงพาหะควบคูก่ นั ไป ระยะที่ 4 และระยะตัวเต็มวัยต่อไป ตัวเต็มวัยทีอ่ าศัยอยูใ่ น
ระบบทางเดินน้ำเหลืองจะมีการสืบพันธุ์และปล่อยไมโคร
วงจรชีวติ ของหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง(9) ฟิลาเรียเข้าสูก่ ระแสเลือดนับล้านตัว เพือ่ รอเวลาทีย่ งุ พาหะ
เมื ่ อ ยุ ง พาหะได้ ร ั บ เชื ้ อ ไมโครฟิ ล าเรี ย ที ่ อ ยู ่ ใ น จะมากัดผู้ป่วยและรับไมโครฟิลาเรียเข้าไปเจริญเป็นระยะ
กระแสเลื อ ดของผู ้ ป ่ ว ย ไมโครฟิ ล าเรี ย จะไชทะลุ ผ ่ า น ติดต่อภายในตัวยุงต่อไป ระยะเวลาตัง้ แต่ตวั อ่อนระยะที่ 3
กระเพาะอาหารของยุ ง ไปสู ่ ก ล้ า มเนื ้ อ บริ เ วณทรวงอก เข้าสู่คนจนสามารถตรวจพบระยะไมโครฟิลาเรีย (pre-
ภายใน 1-2 ชั่วโมง พร้อมกับมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง patent period) ในกระแสเลือดประมาณ 9 เดือนสำหรับ
และมีการลอกคราบ 2 ครัง้ เพือ่ เจริญจากตัวอ่อนระยะที่ 1 W. bancrofti และ 3 เดือนสำหรับ B. malayi ระยะ
เป็นตัวอ่อนระยะที่ 2 และ 3 ตามลำดับ โดยใช้เวลาใน ไมโครฟิลาเรียสามารถมีชีวิตอยู่ในกระแสเลือดของคนได้
การเจริญในยุงประมาณ 2 สัปดาห์ จากนัน้ ตัวอ่อนระยะ นานถึง 6-12 เดือนและระยะตัวเต็มวัยจะมีชวี ติ อยูใ่ นระบบ
ที่ 3 ซึง่ เป็นระยะติดต่อ (infective stage) จะเคลือ่ นทีไ่ ป ทางเดินน้ำเหลืองนานกว่า 5 ปี(11)
404 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

รูปที่ 2. วงจรชีวติ ของหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง

พยาธิสภาพ ลักษณะทางคลินิกและแนวทางการ เสียงความถีส่ งู (ultrasonography) หรือตรวจพบแอนติเจน


รักษาในแต่ละระยะของโรค(2, 9, 13-15) ของหนอนพยาธิในกระแสเลือดของผู้ป่วย โดยเชื่อว่าเกิด
พยาธิสภาพและลักษณะทางคลินิกของโรคติด จากการตรวจพบผูป้ ว่ ยในกลุม่ ทีย่ งั อยูใ่ นระยะ pre-patent
เชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้างในผู้ป่วยแต่ละรายจะมีความ period จากการที่พยาธิระยะตัวเต็มวัยไม่ปล่อยไมโคร
รุนแรงแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับชนิดของเชื้อและการตอบ ฟิลาเรีย หรือปล่อยไมโครฟิลาเรียออกมาจำนวนน้อยมาก
สนองทางด้านภูมคิ มุ้ กันของแต่ละคน สามารถแบ่งผูป้ ว่ ย จนไม่สามารถตรวจพบได้
ได้เป็น 4 ระยะ ดังนี้ 1.2. ผู ้ ป ่ ว ยที ่ ไ ม่ ม ี อ าการแสดงของโรคแต่
1. ระยะทีไ่ ม่แสดงอาการ (asymptomatic) สามารถตรวจพบไมโครฟิ ล าเรี ย ในกระแสเลื อ ด
ระยะไม่แสดงอาการนี้พบได้ในผู้ป่วยส่วนใหญ่ที่ (asymptomatic microfilaremics)
ติดเชือ้ หนอนพยาธิโรคเท้าช้าง ระยะนีส้ ามารถแบ่งผูป้ ว่ ย โดยมักพบผู้ป่วยกลุ่มนี้จากการตรวจเลือด ใน
ได้เป็น 2 กลุ่มตามการตรวจพบไมโครฟิลาเรียในกระแส ระยะนี้จะพบความผิดปกติของระบบทางเดินน้ำเหลือง
เลือด คือ โดยจะมีลักษณะคดเคี้ยวและขยายตัวขึ้นแต่จะไม่พบ
1.1. ผูป้ ว่ ยทีไ่ ม่มอี าการแสดงของโรคและตรวจ การอั ก เสบของระบบทางเดิ น น้ ำ เหลื อ ง นอกจากนี ้ ใ น
ไม่พบไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด (asymptomatic ปัสสาวะยังอาจตรวจพบเม็ดเลือดแดง (hematuria) และ/
amicrofilaremics) หรือโปรตีน (proteinuria) ซึ่งบ่งว่าเริ่มมีพยาธิสภาพที่ไต
ผู้ป่วยกลุ่มนี้สามารถตรวจพบโรคจากการตรวจ บางส่วนแล้ว
พบความผิดปกติของระบบทางเดินน้ำเหลืองโดยการใช้คลืน่
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 405
July 2005

เนือ่ งจากผูป้ ว่ ยในระยะไม่แสดงอาการนีเ้ ป็นกลุม่ การทำลายของระบบทางเดินน้ำเหลืองและเกิดการขจัด


ที่พบได้มากที่สุดและเป็นระยะที่ก่อให้เกิดการแพร่ระบาด ภูมิไว (desensitization) ของระบบภูมิคุ้มกันชนิดที่มีมา
ของเชื้อได้มาก ดังนั้นจึงจำเป็นต้องให้การรักษาแก่ผู้ป่วย แต่กำเนิด ทำให้เกิดการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ง่ายขึ้น ซึ่งมี
โดยการให้ยา DEC ซึง่ เป็นยาหลักในการรักษาโรคเท้าช้าง ความสัมพันธ์กบั การเกิด ADLA(18, 19)
ที่มีฤทธิ์ทำลายไมโครฟิลาเรียแต่ยังคงออกฤทธิ์จำกัดใน อาการและอาการแสดงในระยะนี้ ได้แก่ ต่อม
การทำลายระยะตัวเต็มวัย(16, 17) ผู้ป่วยในระยะนี้จำเป็น น้ ำ เหลื อ งโตและอั ก เสบ หลอดน้ ำ เหลื อ งอั ก เสบแบบ
ต้องรับการรักษาเพือ่ ชะลอการดำเนินโรค ซึง่ จะก่อให้เกิด descending lymphangitis และคลำพบได้ เ ป็ น เส้ น
การทำลายของระบบทางเดินน้ำเหลืองและมีพยาธิสภาพ (palpable cord) ตามตำแหน่งที่หนอนพยาธิอาศัยอยู่
อืน่ ๆ ตามมา และยังเป็นการลดอัตราการแพร่ระบาดของ โดยตำแหน่งทีพ่ บบ่อย ได้แก่ เต้านม แขน ขา และสายรัง้
โรค โดยเฉพาะในพืน้ ทีท่ เ่ี ป็นแหล่งโรคชุกชุมอีกด้วย อัณฑะ (spermatic cord) ซึง่ ก่อให้เกิดภาวะอัณฑะอักเสบ
2. ระยะเฉียบพลัน (acute manifestation) (orchitis) เอพิดไิ ดมิสอักเสบ (epididymitis) หลอดน้ำกาม
ระยะเฉียบพลัน คือระยะที่พยาธิตัวเมียมีการ อักเสบ (funiculitis) หรือถุงอัณฑะบวมน้ำ (hydrocele)
เจริญเติบโตเต็มที่ และปล่อยระยะไมโครฟิลาเรียเข้าสู่ ตามมา นอกจากนี้มักพบร่วมกับอาการไข้ต่ำ ๆ ปวด
กระแสเลือด ส่วนตัวเต็มวัยจะอาศัยในระบบทางเดินน้ำ เมื่อยตามตัวหรือปวดศีรษะ และบางครั้งอาจพบร่วมกับ
เหลื อ งก่ อ ให้ เ กิ ด การระคายเคื อ งและเกิ ด พยาธิ ส ภาพ lymphedema อาการในระยะนี้สามารถหายได้เองภาย
ในระยะนี้ขึ้น ผู้ป่วยในกลุ่มนี้จะมีไข้ร่วมกับการอักเสบ ใน 3-5 วัน และเมื่อหายแล้วอาจกลับเป็นซ้ำที่ตำแหน่ง
ของต่อม และ/หรือ หลอดน้ำเหลือง (lymphadenitis, เดิมได้อีก โดยเกิดได้ประมาณ 5-10 ครั้งต่อปี อย่างไรก็
lymphangitis) เกิดขึน้ ซ้ำ ๆ เรียกภาวะนีว้ า่ adenolymp- ตามยังไม่มีผู้ศึกษาถึงพยาธิกำเนิดที่แน่นอน
hangitis (ADL) ในท้องที่ที่เป็นแหล่งโรคชุกชุมของ W. การรักษาในระยะนี้แนะนำให้ใช้การรักษาแบบ
bancrofti จะแบ่งระยะเฉียบพลันนี้เป็น 2 กลุ่ม คือ (1) ประคับประคอง (supportive treatment) ได้แก่ การพักผ่อน
ADL ที ่ เ กิ ด จากหนอนพยาธิ โ ดยตรง (Acute filarial นอนยกขาสูง ประคบเย็นบริเวณที่มีการอักเสบ ร่วมกับ
lymphagitis; AFL) และ (2) ADL ทีเ่ กิดตามหลังการติดเชือ้ การให้ยาลดไข้หรือยาแก้ปวดตามอาการ ไม่ควรให้ยา
แบคทีเรียหรือเชือ้ รา (Acute dermatolymphangioadenitis; รักษาโรคติดเชื้อหนอนพยาธิในขณะที่มีการอักเสบกำเริบ
ADLA) อยู่ เนื่องจากจะทำให้หนอนพยาธิตายและกระตุ้นให้เกิด
พยาธิสภาพที่เกิดขึ้นในระยะเฉียบพลันสามารถ การอักเสบและมีอาการมากขึน้ ภายหลังการหายจากการ
แบ่งออกเป็น 2 กลุม่ ได้แก่ อักเสบกำเริบจึงพิจารณาให้ยา DEC ในผู้ป่วยที่ตรวจพบ
2.1. Acute filarial adenolymphangitis (AFL) ไมโครฟิลาเรียในเลือด หรือมีแอนติเจนต่อพยาธิตัวเต็มวัย
พยาธิสภาพในระยะ AFL นี้เชื่อว่าเกิดจาก 1) แต่ในบางพื้นที่ที่ไม่สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการได้
สารทีพ่ ยาธิตวั เต็มวัยหลัง่ ออกมา หรือ 2) ผลจากแบคทีเรีย แนะนำให้ DEC 6 มิลลิกรัมต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
โวลบาเกีย (Wolbachia spp.) ที่อาศัยอยู่ในเซลล์ของ ครั ้ ง เดี ย วและติ ด ตามผลการรั ก ษาซึ ่ ง อาจพบอาการ
หนอนพยาธิโรคเท้าช้าง โดยพบว่าเมื่อหนอนพยาธิตาย จากปฏิกิริยาหลังการรักษาจากการให้ยา DEC (drug-
แบคทีเรียโวลบาเกียจะปล่อยสาร Lipopolysaccharide associated adverse reaction) ในผูป้ ว่ ยได้
(LPS) หรือ endotoxin ออกมากระตุน้ ระบบภูมคิ มุ้ กันของ 2.2. Acute dermatolymphangioadenitis (ADLA)
ร่างกายก่อให้เกิดการอักเสบของระบบทางเดินน้ำเหลืองขึน้ พยาธิสภาพในระยะนี้เป็นผลที่เกิดตามมาหลัง
นอกจากนีพ้ บว่าเมือ่ มีการอักเสบเกิดขึน้ ซ้ำ ๆ จะก่อให้เกิด จากระบบทางเดินน้ำเหลืองมีการอักเสบเกิดขึ้นแบบซ้ำ ๆ
406 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

ทำให้เกิดการทำลายผนังและเกิดการขยายตัวของระบบ บริเวณง่ามนิว้ เรียกว่า onychomycosis เชือ้ ราทีพ่ บบ่อย


ทางเดินน้ำเหลืองก่อให้เกิดการคัง่ ของน้ำเหลืองในเนือ้ เยือ่ ได้แก่ Candida spp. และ Tinea pedis
ต่าง ๆ และเมือ่ มีปจั จัยอืน่ ร่วมด้วยจะก่อให้เกิดการติดเชือ้ ในระยะนี้จะพบอาการและอาการแสดงที่เกิด
แบคทีเรียซ้ำซ้อนตามมา เชื้อแบคทีเรียที่พบส่วนใหญ่ จากการติดเชื้อแบคทีเรีย ได้แก่ อาการเกิดขึ้นเฉพาะที่
ได้ แ ก่ Beta-hemolytic Streptococcus spp., เช่น เซลล์เนือ้ เยือ่ อักเสบ (cellulitis) ต่อมน้ำเหลืองอักเสบ
Staphylococcus spp. และ Bacillus spp.(20) ส่วนปัจจัย เฉพาะที่ และ ascending lymphangitis ผูป้ ว่ ยจะมาด้วย
ที่มากระตุ้นให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อน ได้แก่ ผื่นที่ผิวหนังซึ่งมีลักษณะเป็นผื่นแดงนูนหนา (plaque-
ภาวะการบาดเจ็บต่าง ๆ เช่น การถูกสารเคมี การฉายรังสี like lesions) ร่วมกับการอักเสบของชั้นผิวหนัง (diffuse
การถูกแมลงกัด โดนไฟไหม้ หรือการติดเชือ้ รา โดยเฉพาะ cutaneous inflammation) บางครั้งอาจพบเป็นตุ่มน้ำใส

ตารางที่ 1. แสดงความแตกต่างระหว่าง AFL และ ADLA ดัดแปลงมาจาก Dreyer et al., 1999

AFL ADLA
ประวัติ - ไม่มี - ส่วนใหญ่มีประวัติการบาดเจ็บหรือการอักเสบ
ติดเชื้อรานำมาก่อน
บริเวณที่มีอาการ - พบทัง้ ทีข่ า แขนและเต้านม - พบเฉพาะที่ขา
อาการเฉพาะที่
- อาการนำ - Isolated nodule หรือ cord-like - ผิวหนังมีลักษณะเป็น plaque-like
lesion lesion
- รูปแบบการกระจายตัวของโรค - มีการอักเสบเฉพาะบริเวณ - Diffuse cutaneous inflammation
หลอดน้ำเหลือง และ/หรือ
ต่อมน้ำเหลือง
- ลักษณะของหลอดน้ำเหลือง - descending lymphangitis - ascending lymphangitis (reticular
อักเสบ (lymphangitis) (linear pattern) pattern)
- satellite adenopathy - พบน้อยมาก - อาจมีหรือไม่มกี ไ็ ด้
- ทางเข้าของเชื้อแบคทีเรีย - ไม่พบทางเข้าของเชือ้ แบคทีเรีย - มักพบทางเข้าของเชือ้ แบคทีเรีย และ
ผิวหนังบริเวณนั้นมักมีเซลล์เนื้อเยื่ออักเสบ
บางครัง้ อาจพบฝี แผล ulcer
และเกิดแผลเป็นตามมา
- concomitant distal edema - พบน้อยมาก - พบบ่อย
- residual distal edema - พบน้อยมาก - พบบ่อย
- เกิดภาวะเท้าช้างตามมา - พบน้อยมาก - พบบ่อย
อาการทัว่ ไป ได้แก่ ไข้ หนาวสัน่ - อาการไม่รุนแรงมาก - อาการทั่วไปมีความรุนแรงกว่า AFL
ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว
อาการหลังการให้ยา DEC - ไม่ดีขึ้น - ไม่ดีขึ้น
อาการหลังการดูแลความสะอาด - ไม่ดีขึ้น - ดีขึ้น
อื่นๆ - มักพบในผูป้ ว่ ย bancroftian filariasis
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 407
July 2005

(vesicles) เป็นแผล (ulcers) หรือเกิดสีเข้มขึ้น (hyper- เดินน้ำเหลือง เชื่อว่าอาการที่เกิดขึ้นในระยะนี้เป็นผลมา


pigmentation) นอกจากนี้ยังมักพบร่วมกับอาการทั่วไป จากการตอบสนองทางภูมคิ มุ้ กันของร่างกาย ซึง่ เป็นผลตาม
ซึ่งเกิดจากการมีเชื้อแบคทีเรียในกระแสเลือด ได้แก่ ไข้สูง มาจากภาวะ AFL และ ADLA ซ้ำ ๆ ก่อให้เกิดพยาธิสภาพ
หนาวสั่น ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว การเกิด ADLA และเกิดการอุดตันของระบบทางเดินน้ำเหลืองทำให้เกิด
ซ้ำ ๆ เป็นปัจจัยสำคัญที่ก่อให้เกิดพยาธิสภาพในระยะ การบวมของอวัยวะต่าง ๆ ตามมา การเกิดพยาธิสภาพ
เรือ้ รัง ได้แก่ การเกิด lymphedema และเกิดภาวะเท้าช้าง ในระยะนีข้ น้ึ กับปัจจัยหลายอย่าง ได้แก่ การติดเชือ้ หนอน
ตามมา(21) พยาธิโรคเท้าช้างปริมาณมาก มีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำ
อาการในระยะเฉียบพลัน ได้แก่ AFL และ ADLA ซ้อน หรือเกิดภาวะ silicate toxicity ซึ่งเป็นสาเหตุของ
นีส้ ามารถแยกออกจากกันได้โดยอาศัยประวัติ อาการและ โรคเท้าช้างทีไ่ ม่ได้เกิดจากหนอนพยาธิโรคเท้าช้างร่วมด้วย(23)
อาการแสดง (ตารางที่ 1) อย่างไรก็ตามในผูป้ ว่ ยคนเดียวกัน นอกจากนี้เมื่อการทำงานของระบบทางเดินน้ำเหลืองเสีย
สามารถเกิดภาวะทัง้ 2 ชนิดนีร้ ว่ มกันได้ ไปจะส่งผลต่อระบบไหลเวียนเลือดดำด้วย เนือ่ งจากผูป้ ว่ ย
การรักษาภาวะ ADLA นี้มีหลักการเช่นเดียวกับ โรคเท้าช้างเมื่อมีอาการขาบวมจะทำให้มีการเคลื่อนไหว
การรักษาผูป้ ว่ ย AFL คือให้การรักษาแบบประคับประคอง อวัยวะส่วนนั้นลดลง ส่งผลให้เกิดการคั่งของเลือดดำ
ตามอาการ ได้แก่ การพักผ่อน นอนยกขาสูง และประคบ บริเวณขา ความดันในหลอดเลือดดำสูงขึ้น และทำให้ขา
เย็นบริเวณที่มีการอักเสบ ร่วมกับการให้ยาลดไข้หรือ บวมมากขึ้น
ยาแก้ปวดตามอาการ นอกจากนี้เนื่องจากผู้ป่วยมีการ อาการระยะเรื้อรังของโรคติดเชื้อหนอนพยาธิโรค
อักเสบติดเชื้อแบคทีเรียจึงจำเป็นต้องให้ยาปฏิชีวนะ เช่น เท้าช้าง ได้แก่ อาการบวมตามอวัยวะต่าง ๆ ที่เกิดจาก
เพนนิซลิ นิ (penicillin) ทางหลอดเลือดดำร่วมด้วย โดยไม่ ความผิดปกติของระบบทางเดินน้ำเหลือง อวัยวะทีพ่ บบ่อย
จำเป็นต้องรอผลการเพาะเชื้อ พบว่าการให้ยาปฏิชีวนะ ได้แก่ หน้าอก แขน ขาและอวัยวะสืบพันธุ์ โดยองค์การ
ร่วมกับการดูแลเท้าสามารถลดการเกิด ADLA ได้ดีกว่า อนามัยโลกได้แบ่งระดับความรุนแรงของอาการบวมตาม
การรักษาแบบประคับประคองเพียงอย่างเดียว สำหรับการ อวัยวะต่าง ๆ (12) (ตารางที่ 2)
ให้ยา DEC หรือ ivermectin พบว่าไม่ช่วยลดอาการหรือ นอกจากนี้ยังมีการเปลี่ยนแปลงของผิวหนัง โดย
ความถีข่ องการเกิด ADLA(22) ทำให้เกิดผิวหนังหนา (skin fold thickening, hyper-
การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคเท้าช้างที่สำคัญที่สุดคือ keratosis, pachydermia) ภาวะขนบางหรื อ ขนดก
การป้องกันการเกิดภาวะ ADLA เนือ่ งจากการเกิดภาวะนี้ (hypo/hypertrichinosis) มีการเปลีย่ นแปลงของสีผวิ เกิด
ซ้ำ ๆ จะทำให้อาการขาบวมมากขึน้ ดังนัน้ จึงจำเป็นต้อง แผลแบบเรื้อรัง หรือมีก้อนที่ชั้นหนังกำพร้าหรือชั้นใต้
มีการดูแลรักษาความสะอาดผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ โดย หนังกำพร้า (epidermal/ subepidermal nodules) เป็นต้น
การใช้นำ้ และสบูล่ า้ งทำความสะอาดอวัยวะทีเ่ กิดการบวม
ร่วมกับการนวดบริเวณที่บวม และอาจพิจารณาใช้ยาฆ่า 3.1. ภาวะการอุ ด ตั น ของหลอดน้ ำ เหลื อ ง
เชื้อราทาเฉพาะที่ร่วมด้วยเมื่อมีการติดเชื้อ โดยเฉพาะ ของแขนขา
บริเวณง่ามนิ้วเท้า หรือในกรณีที่ผู้ป่วยเกิด ADLA ซ้ำ ๆ อาการบวมของขาเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุดใน
มากกว่า 1 ครัง้ ในระยะเวลา 12 เดือน อาจพิจารณาให้ยา ผู้ป่วยระยะเรื้อรัง พบว่าผู้ป่วยที่ติดเชื้อ W. bancrofti
ปฏิชวี นะขนาดต่ำ ๆ ในระยะยาวเพือ่ ป้องกันการติดเชือ้ มักมีอาการบวมทัง้ ขา ขณะทีผ่ ปู้ ว่ ยทีต่ ดิ เชือ้ Brugia spp.
3. ระยะเรือ้ รัง (chronic manifestation) มั ก บวมตั ้ ง แต่ ร ะดั บ ใต้ เ ข่ า หรื อ บริ เ วณต่ ำ กว่ า ข้ อ ศอก
ระยะเรื้อรัง คือระยะที่มีการอุดตันของระบบทาง ลงไป
408 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

ตารางที่ 2. ระดับความรุนแรงของอาการบวมตามอวัยวะต่าง ๆ

ลักษณะอาการ ระดับความรุนแรงของอาการ
Elephantiasis of limb 0. ปกติ
1. เสียรูปร่าง หรือ เกิด lymphedema
2. ผิวหนังหนา และ/หรือ ขาดความยืดหยุน่
3. เกิด elephantiasis
Hydrocele 0. ปกติ
1. spermatic cord บวม
2. ถุงอัณฑะมีขนาดไม่เกิน 10 เซนติเมตร
3. ถุงอัณฑะมีขนาดมากกว่า 10 เซนติเมตร
Scrotal elephantiasis 0. ปกติ
1. Lymphedema
2. ผิวหนังหนา และ/หรือ ขาดความยืดหยุน่
3. เกิด elephantiasis

การรักษาในระยะนี้ ได้แก่ การดูแลรักษาความ ประคองตามอาการอืน่ ๆ ได้แก่


สะอาดบริเวณผิวหนัง(24) เช่น การทำความสะอาดด้วยน้ำ 1) การยกขาสูงเพือ่ เพิม่ การไหลเวียนของเลือดดำ
และสบู่ ทาครีมบำรุงเพื่อให้ความชุ่มชื้นแก่ผิวหนัง และ และลดความดันของหลอดเลือดดำบริเวณขา โดยยกขา
พิจารณาให้ยาปฏิชีวนะหรือยาฆ่าเชื้อราทาเฉพาะที่เมื่อมี สูง 30 เซนติเมตรเหนือระดับหัวใจ นาน 30 นาทีวันละ
การติดเชือ้ ร่วมด้วย นอกจากนีย้ งั มีการรักษาแบบประคับ 2-4 ครัง้
2) การขยับขาที่บวมเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของ
เลือดดำและน้ำเหลือง โดยการขยับบริเวณข้อเท้าแบบ
passive หรือ active movement
3) การฝึกการหายใจ (Breathing exercise) โดย
การหายใจเข้าทางจมูกลึก ๆ กลั้นหายใจสักครู่หนึ่งแล้ว
ค่อย ๆ ผ่อนลมหายใจออกทางปากโดยเชื่อว่าการหายใจ
โดยวิธนี จ้ี ะช่วยให้นำ้ เหลืองเกิดการไหลเวียนได้ดขี น้ึ จาก
การที่เมื่อหายใจเข้า กระบังลมจะเคลื่อนตัวต่ำลงทำให้
ความดันในช่องอกลดลงและความดันในช่องท้องเพิ่มขึ้น
น้ำเหลืองจะเกิดการไหลเวียนจากช่องท้องเข้าสู่ช่องอก
และเมื่อหายใจออก ความดันช่องอกที่เพิ่มขึ้นจะทำให้
น้ำเหลืองไหลเวียนผ่าน thoracic duct เข้าสู่ upper thorax
รูปที่ 3. พยาธิสภาพในระยะเรือ้ รังของโรคเท้าช้าง และเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดดำได้มากขึ้น
จะพบอาการบวมของขาซึ ่ ง ก่ อ ให้ เ กิ ด 4) การพันผ้า (bandage) รอบขาและการนวดขา
ทุพลภาพในผูป้ ว่ ย เพื่อเพิ่มการไหลเวียนของน้ำเหลือง
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 409
July 2005

พยาธิสภาพต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ได้แก่


1. Lymphedema และ elephantiasis
ผู้ป่วยจะมาด้วยอัณฑะบวมและอาจพบร่วมกับ
การเปลี่ยนแปลงของผิวหนังซึ่งมีลักษณะคล้ายผิวส้ม
(peau d’ orange)
การรักษาในระนี้เช่นเดียวกับการรักษา lymphe-
dema ที่ขา คือ การดูแลรักษาความสะอาดเพื่อป้องกัน
การติดเชือ้ แบคทีเรียซ้ำซ้อน หรือพิจารณาการผ่าตัด
2. Lymph scrotum (acquired lymphangioma)
ภาวะนี้เกิดจากการที่มีภาวะ lymphedema หรือ
ระบบทางเดินน้ำเหลืองโป่งพอง (lymphangiectasia)
บริเวณผนังของถุงหุ้มอัณฑะทำให้เกิดเป็น lymphatic
รูปที่ 4. การฝึกหายใจเพื่อช่วยให้น้ำเหลืองเกิด
การไหลเวียนได้ดีขึ้น vesicles ทีผ่ วิ หนัง เรียกว่า acquired lymphangioma
เมื่อระบบทางเดินน้ำเหลืองแตกจะทำให้มีน้ำเหลืองคั่ง
ตามผิวหนังบริเวณถุงหุ้มอัณฑะและก่อให้เกิดการติดเชื้อ
5) การบำบัดด้วยความร้อน เช่น การแช่ขาใน แบคทีเรียซ้ำซ้อนได้
น้ำอุ่น หรือ การใช้ไมโครเวฟเพื่อเพิ่มการไหลเวียนของ การรักษาในระยะนี้ต้องดูแลรักษาความสะอาด
เลือดดำ ร่วมกับการป้องกันการติดเชื้อซ้ำซ้อน สำหรับการรักษา
นอกจากนี้ยังมีการรักษาโดยใช้การผ่าตัด เช่น ด้วยวิธกี ารผ่าตัดพบว่ายังได้ผลไม่ดพี อในการรักษา
lymphangioplasty, lymphovenous anastomosis และ 3. Hydrocele
excision fibrotic subcutaneous tissue Hydrocele หรือภาวะถุงอัณฑะบวมน้ำอาจเกิด
3.2. ภาวะการอุดตันของระบบทางเดินน้ำ ตามหลัง AFL เรียกว่า hot hydrocele หรือไม่พบ AFL
เหลืองของระบบขับถ่ายปัสสาวะและอวัยวะสืบพันธุ์ นำมาก่อน เรียกว่า cold hydrocele ปัจจุบนั ยังไม่ทราบ
ในระยะเรือ้ รัง ผูป้ ว่ ยอาจมาด้วยอาการทางระบบ กลไกการเกิดพยาธิสภาพของภาวะนี้ที่แน่นอน
อวัยวะสืบพันธุ์ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญก่อให้เกิดผลกระทบ การรักษาภาวะนี้ ได้แก่ การเจาะและดูดสารน้ำ
ด้านจิตใจ โดยมักพบในผูป้ ว่ ยทีม่ กี ารติดเชือ้ W. bancrofti ภายในถุงอัณฑะออกโดยวิธใี ช้เข็มดูด แต่พบว่าการรักษา
มากกว่ากลุม่ ทีต่ ดิ เชือ้ B. malayi ผูป้ ว่ ยอาจมาด้วยอาการ โดยวิธีนี้จะมีอัตราการกลับเป็นซ้ำของโรคสูง นอกจากนี้
lymphedema, elephantiasis, lymph scrotum, ยั ง มี ก ารรั ก ษาโดยการฉี ด sclerosing agents เช่ น
hydrocele, chylocele หรือ chyluria พยาธิสภาพดังกล่าว antazoline, polidocanol, quinacrine, ethanolamine,
เป็นผลตามมาจากการอักเสบซึ่งมีกลไกคล้ายกับการเกิด tetracycline, phenol และ bismuth phosphate อย่างไร
พยาธิสภาพที่ขา และเมื่อระบบทางเดินน้ำเหลืองเกิด ก็ตามการรักษาที่จำเพาะต่อภาวะถุงอัณฑะบวมน้ำ คือ
การขยายตัวอาจเกิดการแตกและทำให้ของเหลวภายใน การผ่าตัด และพิจารณาให้ยา DEC ร่วมด้วย
ออกมาคั่งอยู่ในเนื้อเยื่อของร่างกายและก่อให้เกิดการติด 4. Chylocele
เชื้อแบคทีเรียซ้ำซ้อนได้เช่นกัน ภาวะนี้เกิดจากการแตกของหลอดน้ำเหลืองที่
ขยายตัวบริเวณถุงหุม้ อัณฑะ ทำให้เกิดการรัว่ ของน้ำเหลือง
410 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

ปัสสาวะ
การรักษา chyluria ได้แก่ การให้ผู้ป่วยนอนพัก
รับประทานอาหารที่มีส่วนประกอบของไขมันต่ำ ๆ ให้ดื่ม
น้ำให้เพียงพอเพื่อให้ถ่ายปัสสาวะบ่อย ๆ และลดการเกิด
clot ในกระเพาะปัสสาวะ อาจพิจารณาการผ่าตัดในผูป้ ว่ ย
บางราย และพิจารณาให้ยา DEC ร่วมด้วย
4. ระยะที่มีอาการแสดงทางปอดที่เรียกว่า Tropical
pulmonary eosinophilia (TPE)
ระยะ TPE คือ ระยะที่ผู้ป่วยมีอาการของระบบ
ทางเดิ น หายใจคล้ า ยกั บ เป็ น โรคหอบหื ด เชื ่ อ ว่ า เป็ น
ผลมาจากการตอบสนองชนิ ด ภู ม ิ ไ วเกิ น ของร่ า งกาย
รูปที่ 5. พยาธิสภาพระยะเรือ้ รังของอวัยวะสืบพันธุ์ (hypersensitivity) ต่อแอนติเจนของไมโครฟิลาเรีย ผูป้ ว่ ย
เพศชายจะพบอาการบวมของอัณฑะ จะมีอาการจำเพาะ คือ ไอมากช่วงกลางคืน หอบเหนื่อย
หายใจลำบาก ตรวจพบเสียงหวีด (wheezing) และภาพ
เข้าสู่ testicular tunica vaginalis น้ำเหลืองมีลกั ษณะเป็น รังสีปอดมีลักษณะเป็น diffuse pulmonary interstitial
สีขาวขุน่ หรืออาจมีเลือดปนได้ เรียกว่า hematochylocele infiltration ในระยะนี้จะตรวจไม่พบระยะไมโครฟิลาเรีย
และอาจตรวจพบไมโครฟิลาเรียหรือระยะตัวเต็มวัยได้ ในกระแสเลือด แต่จะมีเม็ดเลือดขาวอิโอสิโนฟิลสูงทั้งใน
ภาวะ chylocele นี้ไม่สามารถแยกจากภาวะถุงอัณฑะ กระแสเลือดและในปอด ตับ ม้ามหรือต่อมน้ำเหลือง นอก
บวมน้ำ โดยอาศัยเพียงอาการและอาการแสดงของผูป้ ว่ ย จากนี้ยังอาจพบ Immunoglobulin E (IgE) สูง ร่วมกับมี
ได้ แอนติเจนของหนอนพยาธิโรคเท้าช้างในกระแสเลือด
การรักษา chylocele นี้อาศัยการผ่าตัดโดยการ ผู้ป่วยภาวะนี้จะไม่ตอบสนองต่อยาขยายหลอด
ตัด tunica vaginalis ออก และพิจารณาให้ยา DEC ลมหรือสเตียรอยด์ แต่เมื่อให้ DEC พบว่าอาการจะดีขึ้น
ร่วมด้วย อย่างรวดเร็ว แนะนำให้ยาขนาด 6 mg/kg นาน 2-4
5. Chyluria สัปดาห์(2) เพื่อกำจัดไมโครฟิลาเรีย อย่างไรก็ตามยังมี
ภาวะ chyluria หรือการมีนำ้ เหลืองในปัสสาวะมี การติดเชื้ออื่น ๆ ที่ทำให้เกิดอาการคล้ายกับภาวะ TPE
กลไกการเกิดคล้ายกับการเกิด chylocele แต่มพี ยาธิสภาพ ได้ เช่ น การติ ด เชื ้ อ หนอนพยาธิ ใ นลำไส้ อ ื ่ น ๆ เช่ น
บริเวณระบบขับถ่ายปัสสาวะ คือเกิดการอุดตันของระบบ Strongyloides stercolaris เป็นต้น
ทางเดินน้ำเหลืองบริเวณ retroperitoneum ทำให้มคี วาม
ดันสูงขึน้ และเกิดการแตกเข้าสูไ่ ต ทำให้ปสั สาวะมีสขี าวขุน่ การรักษาผูป้ ว่ ยโรคติดเชือ้ หนอนพยาธิโรคเท้าช้าง
จากการที่มีน้ำเหลืองปนมากับปัสสาวะ และอาจมีน้ำ องค์การอนามัยโลกได้แนะนำการรักษาโรคติด
เหลืองในช่องท้องได้ ผูป้ ว่ ยจะมีอาการเป็น ๆ หาย ๆ จาก เชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้างโดยเฉพาะในท้องที่ที่มีการ
การที่ภายในน้ำเหลืองมี fibrinogen ซึ่งก่อให้เกิด clot ระบาด โดยมีวตั ถุประสงค์ในการลดปริมาณไมโครฟิลาเรีย
มาอุดระบบทางเดินน้ำเหลืองบริเวณที่มีการแตกและเมื่อ ในกระแสเลือดเพื่อที่จะลดการแพร่กระจายของโรค
clot หลุดจะทำให้เกิดอาการซ้ำได้ นอกจากนี้ผู้ป่วยอาจ การรักษาที่จำเพาะจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ
มาด้วยอาการถ่ายปัสสาวะลำบากหรือปวดเบ่งขณะถ่าย การรักษาผู้ป่วยแต่ละราย และการรักษาหมู่ โดยยาและ
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 411
July 2005

ขนาดที่ให้จะแตกต่างกันไป คือ ในการทำลายระยะตัวเต็มวัย นอกจากนี้ยังก่อให้เกิด


1. การรักษาผูป้ ว่ ยแต่ละราย การรักษาทีจ่ ำเพาะ ปฏิกิริยาหลังการรักษา คือ เมื่อไมโครฟิลาเรียและระยะ
ในปัจจุบันยังคงเป็นการรักษาด้วยยา โดยยาที่องค์การ ตัวเต็มวัยตายจะกระตุน้ ระบบภูมคิ มุ้ กันของร่างกายมากขึน้
อนามัยโลกแนะนำให้ใช้ คือ DEC 6 mg/kg นาน 6 วัน และเป็นสาเหตุการเกิดเป็นก้อนตามส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
สำหรับ brugian filariasis และ 12 วัน สำหรับ bancroftian
filariasis(2) เภสัชจลศาสตร์
2. การรักษาหมู่ สำหรับการรักษาหมู่จะให้ยา DEC เป็ น ยาที ่ ล ะลายได้ ใ นน้ ำ ถู ก ดู ด ซึ ม ได้ ด ี
ผู้ป่วยที่อยู่ในกลุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อ โดยปัจจุบันจะให้ ทางระบบทางเดินอาหารจึงให้โดยการรับประทานได้ ยา
ยา 2 ชนิดร่วมกันระหว่าง DEC ขนาด 6 mg/kg หรือ จะมีระดับสูงสุดในกระแสเลือดภายใน 1-2 ชัว่ โมง และมี
ivermectin ขนาด 200 µ g/kg ร่วมกับ albendazole ค่าครึ่งชีวิต 2-3 ชั่วโมง ในกรณีที่ปัสสาวะเป็นกรด แต่ถ้า
ขนาด 400 mg ครัง้ เดียว (single dose) ทุกปี นาน 4-6 ปี ปัสสาวะเป็นด่าง ยาจะอยู่ในกระแสเลือดได้นานขึ้นโดย
ซึ่งเป็นระยะเวลาที่สัมพันธ์กับ reproductive lifespan อาจมีคา่ ครึง่ ชีวติ นานถึง 10 ชัว่ โมง และระดับยาจะค่อย ๆ
ของหนอนพยาธิ โดยการเลือกใช้ยา ivermectin จะแนะ ลดลงจนหมดไปจากกระแสเลือดภายใน 48 ชั่วโมง ยานี้
นำให้ใช้ในพื้นที่ที่การระบาดร่วมกันกับ onchocerciasis สามารถเข้าสูเ่ นือ้ เยือ่ ได้ดยี กเว้นในเนือ้ เยือ่ ไขมัน ส่วนใหญ่
และ loiasis เช่น ประเทศในแถบแอฟริกา เนื่องจากการ ยาจะถูกขับออกทางปัสสาวะในรูปเดิมประมาณ 50 %
ให้ DEC จะมีผลให้อาการของผู้ป่วยโรคดังกล่าวแย่ลง และในรูป metabolite คือ DEC-N-oxide ประมาณ 10%
นอกจากนี้ เนื่องจาก albendazole มีฤทธิ์ในการทำลาย ซึง่ DEC-N-oxide มีผลในการทำลายไมโครฟิลาเรีย ดังนัน้
พยาธิในลำไส้หลายชนิด ดังนั้น การให้ยานี้ร่วมกับการ จึงควรลดขนาดยาลงในผู้ป่วยที่ปัญหาเรื่องไต
รักษาหมูจ่ งึ มีประโยชน์ในการช่วยควบคุมโรคติดเชือ้ พยาธิ
ในลำไส้อน่ื ๆ อีกด้วย(12) กลไกการออกฤทธิ์
อย่างไรก็ตามนอกจากการรักษาโดยการให้ยา ปัจจุบันยังไม่ทราบกลไกการออกฤทธิ์ของยาที่
แล้ว ควรมีการดูแลรักษาความสะอาด ป้องกันการติดเชื้อ แน่นอนต่อตัวพยาธิ แต่เชื่อว่าการทำงานของ DEC อาจ
แบคทีเรียหรือเชื้อราซ้ำซ้อนซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญของการ เกี่ยวเนื่องกับการกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายชนิด
เกิดพยาธิสภาพและทำให้การดำเนินโรคแย่ลง ทีม่ มี าแต่กำเนิด (innate immunity) ในอดีตเชือ่ ว่า DEC
ไม่มผี ลต่อหนอนพยาธิ in vitro แต่ปจั จุบนั มีการศึกษาถึง
ยาที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อหนอนพยาธิ โครงสร้างระดับ Ultrastructure โดยอาศัยกล้องจุลทรรศน์
เท้าช้าง(2, 12, 25, 26) อิเล็กตรอนพบว่ายา DEC นี้ทำให้ปลอกหุ้มของตัวอ่อน
1. Diethylcarbamazine (DEC) ระยะไมโครฟิลาเรียของ W. bancrofti เกิดการหลุดลอก
Diethylcarbamazine หรือ N, N-diethyl1-4- ออก จึงทำให้เกิดการแสดงออกของแอนติเจนของหนอน
methyl-1-piperazinesorboxamine dihydrogen citrate พยาธิมากระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายมาทำลายเชื้อ
เป็นอนุพันธ์ของ piperazine DEC ใช้เป็นยาหลักใน โดยทำให้เกิดการเกาะติดกันของเซลล์ (cellular adherence)
การรักษาและควบคุมโรคติดเชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง ระหว่างไมโครฟิลาเรียกับ endothelial cells และเซลล์
มากว่า 50 ปี และเป็นยาที่มีประสิทธิภาพดีในการกำจัด เม็ดเลือดขาว กระตุ้นระบบคอมพลิเมนท์ ทำให้เกิดการ
ไมโครฟิลาเรีย แต่ในผู้ป่วยที่มีปริมาณไมโครฟิลาเรียใน เปลีย่ นแปลงของ arachidonic acid metabolism รวมถึง
เลือดสูงมาก พบว่ายานี้ได้ผลไม่ดีนัก และยามีฤทธิ์จำกัด ก่อให้เกิดการทำลายของส่วนประกอบต่าง ๆ ภายในเซลล์
412 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

ของไมโครฟิลาเรียทัง้ in vitro และ in vivo(27 - 29) นอกจาก ขนาดยาทีใ่ ช้ในการรักษา


นีย้ งั มีการศึกษาผลของยา DEC ในตัวอ่อนระยะที่ 3 ซึง่ ขนาดยาที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ใน
เป็นระยะติดต่อของหนอนพยาธิโรคเท้าช้างพบว่ายามีผล การรักษาผู้ป่วยแต่ละรายที่มีไมโครฟิลาเรียในกระแส
ต่อโครงสร้างของตัวอ่อนในระยะนี้เช่นกัน โดยจะพบการ เลือดหรือมีระยะตัวเต็มวัยของหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง คือ
เปลี่ยนแปลงของระบบประสาทและกล้ามเนื้อของหนอน DEC ขนาด 6 mg/kg ต่อเนือ่ งกัน 6 วัน ในผูป้ ว่ ย brugian
พยาธิ ทำให้มกี ารเคลือ่ นไหวลดลง(30) filariasis และ 12 วัน ในผู้ป่วย bancroftian filariasis
นอกจากนี้ DEC ยังสามารถทำลายระยะตัวเต็มวัย และสามารถให้ยา DEC ซ้ำได้ทุก 1-6 เดือน หรืออาจให้
ของ W. bancrofti โดยศึกษาจากการตรวจร่างกายดู DEC ขนาด 6-8 mg/kg ติดต่อกัน 2 วัน ทุกเดือนต่อไปอีก
รอยโรคเฉพาะทีท่ เ่ี กิดขึน้ หลังการให้ยา การกำจัดตัวอ่อน 1 ปี ส่วนการรักษาภาวะ TPE นั้นจะให้ DEC ขนาด
ระยะไมโครฟิลาเรียจากกระแสเลือดเป็นเวลานาน การใช้ 6 mg/kg เช่นกันแต่ระยะเวลานานกว่า คือ 2-4 สัปดาห์(2)
คลื่นเสียงความถี่สูงตรวจดูการเคลื่อนไหวที่มีลักษณะ นอกจากนี้กองโรคเท้าช้างยังมีการให้ยา DEC
จำเพาะของหนอนพยาธิ (filarial dance sign) รวมถึง สำหรั บ การรั ก ษากลุ ่ ม หรื อ ที ่ เ รี ย กว่ า Mass Drug
การใช้ Enzyme-linked immunosorbent assay (ELISA) Administration (MDA) ในพื้นที่ที่พบ microfilarial rate
เพื่อดูการลดลงของแอนติเจนที่จำเพาะต่อหนอนพยาธิ มากกว่า 1% ปัจจุบันพบว่าการให้ DEC ครั้งเดียว ใน
ระยะตัวเต็มวัย พบว่ายาจะมีฤทธิใ์ นการทำลายระยะนีไ้ ด้ ขนาด 6 mg/kg ได้ผลการรักษาในระยะยาว 12 เดือน ไม่
เมือ่ ให้ยาในขนาดตัง้ แต่ 6 mg/kg ขึน้ ไป ผลในการทำลาย แตกต่างจากการให้ยาในขนาด 6 mg/kg 12 ครั้งทั้งแบบ
ดังกล่าวจะไม่ขึ้นกับขนาดยาที่เพิ่มขึ้น และผลที่ได้ยังคงมี ที่ให้ต่อเนื่องกันหรือแบ่งให้(31, 32) ถึงแม้ว่าการให้ยาแบบ
ข้อจำกัดคือไม่สามารถทำลายระยะตัวเต็มวัยได้ทง้ั หมด(16,17) ต่อเนือ่ งกัน 12 วันจะสามารถลดปริมาณไมโครฟิลาเรียใน
(ตารางที่ 3) กระแสเลือดได้เร็วกว่า แต่เมื่อพิจารณาถึงราคา ความ

ตารางที่ 3. ผลของยา DEC ต่อหนอนพยาธิฟลิ าเรียทีก่ อ่ ให้เกิดการติดเชือ้ ในคน ดัดแปลงมาจาก Maizels et al., 1992

ชนิดของหนอนพยาธิฟิลาเรีย ฤทธิ์ในการทำลาย ฤทธิ์ในการทำลาย ฤทธิ์ในการป้องกันการ


ไมโครฟิลาเรีย ระยะตัวเต็มวัย เกิดโรค (prophylactic
(microfilaricidal effect) (macrofilaricidal effect) effect)
W. bancrofti + + +
B. malayi + + +
B. timori + + +
Loa loa + + +
Onchocerca volvulus + - -
Mansonella streptocerca + + ?
M. ozzardi - - ?
M. perstans - - ?
หมายเหตุ +: มีฤทธิใ์ นการฆ่าพยาธิ
-: ไม่มฤี ทธิใ์ นการฆ่าพยาธิ
?: ยังไม่ทราบฤทธิท์ แ่ี น่นอน
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 413
July 2005

สะดวก และความร่วมมือในการทานยาของผู้ป่วยแล้ว ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือดที่ได้รับการ


พบว่าการให้ยาแบบครัง้ เดียว จึงมีความเหมาะสมมากกว่า รักษาด้วยยา DEC จะพบอาการเฉพาะที่ในผู้ป่วยติดเชื้อ
และยังสามารถให้ยาซ้ำได้ทุก 6-12 เดือนในกรณีที่ผู้ป่วย B. malayi 47 % และจาก W. bancrofti 45 % ส่วน
ยังคงมีการติดเชือ้ อยู่ โดยพบว่าเมือ่ ให้ DEC ซ้ำทุก 6 เดือน อาการทัว่ ไปพบในผูป้ ว่ ยติดเชือ้ B. malayi ได้ 89 % และ
จนครบ 2 ปี สามารถลดปริมาณไมโครฟิลาเรียได้ถงึ 90% จาก W. bancrofti 72 % ตามลำดับ(37)
และมีผลยาวนานถึง 12-18 เดือน(32) ดังนั้นขนาดของยา อาการทีพ่ บสามารถแบ่งเป็น 2 กลุม่ ได้แก่
DEC ที่องค์การอนามัยโลกแนะนำให้ใช้ในการรักษาหมู่ 1) อาการแบบเฉพาะทีม่ กั เกิดภายใน 2-4 วันหลัง
ในปัจจุบนั คือ 6 mg/kg ครัง้ เดียว และให้ albendazole จากรับ DEC ครัง้ แรก อาการทีพ่ บ ได้แก่ อาการปวดและ
ร่วมด้วย อักเสบเฉพาะที่ เกิดก้อนกดเจ็บตามร่างกาย ต่อมน้ำเหลือง
อั ก เสบและหลอดน้ ำ เหลื อ งอั ก เสบแบบ retrograde
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา lymphangitis ซึ่งเป็นอาการของ AFL ในผู้ป่วยบางราย
ผลข้างเคียงโดยตรงจากยา DEC พบน้อยมาก อาจพบ acute lymphedema หรือถุงอัณฑะบวมน้ำได้ซง่ึ
เมือ่ ใช้ยาในขนาดต่ำ คือ ไม่เกิน 6 mg/kg แต่ถา้ ให้ยาใน ส่วนใหญ่มักหายได้เอง อาการที่เกิดขึ้นในระยะนี้สามารถ
ขนาดสูงขึน้ อาจพบผลข้างเคียง เช่น ง่วง คลืน่ ไส้ อาเจียน บรรเทาโดยการให้ยาแก้ปวด ประคบเย็นและพักผ่อน
ปวดข้อ หรือ อาการจากการระคายเคืองระบบทางเดิน 2) อาการทั่วไปที่เกิดตามหลังการให้ยา DEC
อาหารได้ ในประเทศบราซิลมีการนำยาแก้แพ้ (antihista- ได้ แ ก่ ไข้ ซึ ่ ง เป็ น อาการที ่ พ บบ่ อ ยที ่ ส ุ ด (37) ปวดศี ร ษะ
mine) มาใช้บรรเทาอาการข้างเคียงทีเ่ กิดจาก DEC อย่างไร อ่อนเพลีย ปวดเมือ่ ยกล้ามเนือ้ ปัสสาวะมีเลือดปน อาการ
ก็ตามมีการศึกษาพบว่าไม่ควรให้ยา 2 ตัวนีร้ ว่ มกัน เนือ่ ง มักเกิดภายใน 48 ชั่วโมงหลังจากให้ยา และมักมีอาการ
จากจะทำให้ผู้ป่วยมีอาการง่วงซึมซึ่งเป็นผลข้างเคียงจาก นาน 1-3 วัน
ยาแก้แพ้มากขึน้ (33) นอกจากนี้ ยังมีการนำสเตียรอยด์มา
ใช้ในการรักษาอาการข้างเคียงดังกล่าว แต่พบว่าเมื่อให้ ข้อห้ามในการใช้ยา DEC
สเตี ย รอยด์ ร ่ ว มกั บ DEC พบว่ า ฤทธิ ์ ใ นการทำลาย ห้ า มให้ DEC ในผู ้ ป ่ ว ยที ่ ม ี ก ารติ ด เชื ้ อ หนอน
ไมโครฟิลาเรียของ DEC ลดลง (34) ดังนั้นปัจจุบันจึงยังไม่ พยาธิฟิลาเรีย Onchocerca volvulus ซึ่งก่อให้เกิดโรค
มียาทีน่ ำมาใช้บรรเทาอาการข้างเคียงทีเ่ กิดขึน้ จากยา DEC onchocerciasis หรือ River blindness เนือ่ งจากจะทำให้
อาการทางตาแย่ลงซึ่งเป็นผลมาจากไมโครฟิลาเรียที่ตาย
ปฏิกริ ยิ าหลังการรักษาจากการให้ยา DEC กระตุ้นให้เกิดการอักเสบมากขึ้น และห้ามให้ในผู้ป่วยที่
เป็นปัญหาที่สำคัญจากการใช้ยา ซึ่งส่งผลให้ ติดเชือ้ Loa loa ซึง่ ก่อให้เกิดโรค loiasis โดยเฉพาะในราย
ได้รับความร่วมมือในการรักษาลดลงถึงกว่า 50 % โดย ที่มีปริมาณไมโครฟิลาเรียสูง ๆ เนื่องจากอาจก่อให้เกิด
สามารถเกิดได้ทั้ง (1) แบบเฉพาะที่จากการตายของตัว ภาวะสมองอักเสบ (encephalitis) ได้ ดังนัน้ จึงจำเป็นต้อง
เต็มวัย และ (2) แบบทั่วไปทั้งร่างกายจากการตายของ แยกผู้ป่วยในแหล่งโรคชุกชุมที่มีการติดเชื้อ 2 ชนิดนี้ออก
ไมโครฟิลาเรีย พบว่าความรุนแรงของอาการข้างเคียงจะเพิม่ ก่อนที่จะให้การรักษาด้วย DEC นอกจากนี้ยังห้ามให้ยา
มากขึน้ ตามปริมาณของไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือด(35, 36) นี้ในคนท้องและในเด็กที่อายุต่ำกว่า 18 เดือน เนื่องจาก
นอกจากนี้การเกิดผลข้างเคียงยังมีความแตกต่างกันไป พบว่ า ยา DEC สามารถเพิ่มฤทธิ์ของยา oxytocin และ
ตามชนิดของหนอนพยาธิ ซึ่งจะพบในผู้ป่วยที่ติดเชื้อ Acethylcholine ในการกระตุ้นการหดตัวของมดลูกได้
B. malayi ได้บอ่ ยกว่า W. bancrofti คือ จากการศึกษา อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานว่ายานี้ทำให้เกิดการแท้งหรือ
414 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

มีผลให้ทารกผิดรูปในครรภ์ (teratogenic effect) ทดลองนำยานีม้ าให้รว่ มกับ DEC พบว่ามีเพิม่ ประสิทธิภาพ


2. Ivermectin ในการรักษาดีกว่าการให้ยา DEC หรือ ivermectin เพียง
Ivermectin เป็นสารกึง่ สังเคราะห์ของ macrocyclic ตัวเดียว(39, 40)
lactone ยานี้เป็นยาหลักที่ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อ
หนอนพยาธิ strongyloidiasis, onchocerciasis และ ผลข้างเคียงจากการใช้ยา
gnathostomiasis(38) ผลข้างเคียงจากยา ivermectin เองพบน้อยมาก
อาการทีเ่ กิดขึน้ มักเป็นผลมาจากการตายของไมโครฟิลาเรีย
เภสัชจลศาสตร์ อาการที่เกิดขึ้น ได้แก่ ไข้ ปวดศีรษะ มึนงง ง่วงนอน
ยาจะถูกดูดซึมเข้าสู่กระแสเลือดอย่างรวดเร็ว อ่อนเพลีย มีผื่นคัน ท้องเสีย ปวดข้อหรือกล้ามเนื้อ หัวใจ
หลังจากการรับประทาน ระดับยาจะขึ้นสูงสุดในกระแส เต้นเร็ว หลอดน้ำเหลืองอักเสบ และเกิดอาการบวมบริเวณ
เลือดภายใน 4 ชัว่ โมง มีคา่ ครึง่ ชีวติ ประมาณ 16 ชัว่ โมง ส่วนปลาย อาการมักเกิดขึ้นในวันแรกของการรักษาและ
ivermectin และ metabolite ของยาจะถูกขับออกทาง จะมีอาการมากที่สุดในวันที่ 2 หลังการรักษา ไม่แนะนำ
อุจจาระ ให้ใช้ยานีใ้ นเด็กอายุตำ่ กว่า 5 ปีหรือในคนท้อง และห้าม
ใช้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของ blood-brain barrier
กลไกการออกฤทธิ์ เนือ่ งจากเมือ่ ยาเข้าสูร่ ะบบประสาทส่วนกลางจะทำให้ผปู้ ว่ ย
Ivermectin ออกฤทธิ ์ โ ดยยาจะไปจั บ กั บ มีอาการง่วงซึม เดินเซ มือสัน่ (tremor) และอาจเสียชีวติ ได้
glutamate-gated chloride channels ทีเ่ ส้นประสาทและ 3. Albendazole
เซลล์กล้ามเนื้อของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ทำให้เกิด Albendazole หรือ benzimidazole carbamate
การเพิม่ cellular permeability เกิด hyperpolarization เป็นยาฆ่าพยาธิทอ่ี อกฤทธิแ์ บบ broad-spectrum สามารถ
ของเซลล์ประสาท ทำให้เกิดอัมพาตและตายในที่สุด นำมาใช้รกั ษาโรคติดเชือ้ พยาธิได้หลายชนิด เช่น hydatid
ivermectin ออกฤทธิ์ฆ่าไมโครฟิลาเรียเท่านั้น ยานี้ไม่ cysts, cysticercosis, pinworm infection, hookworm
สามารถทำลายระยะตัวเต็มวัยได้แม้จะให้ในขนาด 400 infection, ascariasis, trichuriasis และ strongyloidiasis(26)
µg/kg ดังนั้นจึงเชื่อว่าการให้ยา ivermectin ไม่สามารถ ซึ่งปัจจุบันมีการทดลองพบว่าเมื่อนำยานี้มาให้ร่วมกับ
รักษาโรคให้หายขาดได้ DEC หรือ ivermectin พบว่าเพิม่ ประสิทธิภาพของยาในการ
ลดปริมาณไมโครฟิลาเรียในกระแสเลือดได้ดีกว่าการให้
ขนาดยาทีใ่ ช้ในการรักษา albendazole เพียงอย่างเดียว(41, 42) อย่างไรก็ตามจาก
ขนาดของยา ivermectin ที่ใช้ในการรักษาโรค รายงานของ Cochrane Database Systemic Review ปี
ติดเชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง คือ 200-400 µg/kg ครั้ง 2004 พบว่าผลของ albendazole เพียงตัวเดียวหรือให้รว่ ม
เดียวต่อปี พบว่าสามารถลดปริมาณไมโครฟิลาเรียใน กับยาอื่นในการรักษาโรคติดเชื้อหนอนพยาธิเท้าช้างยังไม่
กระแสเลือดได้นานถึง 6-24 เดือน แต่เนือ่ งจาก ivermectin เป็นที่ทราบแน่ชัด เนื่องจากมีหลายรายงานผลการศึกษา
ไม่สามารถทำลายระยะตัวเต็มวัยได้ แม้จะให้ยาในขนาด พบว่ายานี้ไม่มีผลต่อไมโครฟิลาเรีย(43)
400 µg/kg ต่อเนือ่ งกัน 2 สัปดาห์ ห่างกัน 6 เดือน(12) จึง
ไม่นำมาใช้เป็นยาหลักในการรักษา ยกเว้นในพื้นที่ที่มี เภสัชจลศาสตร์ และกลไกการออกฤทธิ์
การระบาดของโรคร่วมกับ onchocerciasis และ loiasis Albendazole ดูดซึมไม่ค่อยดีจึงตกค้างอยู่นาน
ซึง่ มีขอ้ จำกัดในการให้ยา DEC อย่างไรก็ตามปัจจุบนั มีการ ในระบบทางเดินอาหาร และสามารถออกฤทธิ์ฆ่าพยาธิ
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 415
July 2005

ในลำไส้ได้ดี ยานี้สามารถเพิ่มการดูดซึมได้โดยการให้ เท้าช้าง เนื่องจากมีการศึกษาพบแบคทีเรียโวลบาเกีย


รับประทานร่วมกับอาหารประเภทไขมันสูง ดังนั้นในการ ซึ่งมีบทบาทสำคัญต่อการสืบพันธุ์ และการเจริญเติบโต
รักษาผูป้ ว่ ยโรคติดเชือ้ พยาธิในลำไส้จงึ ควรให้ขณะท้องว่าง ของหนอนพยาธิฟิลาเรีย
และจะให้ร่วมกับอาหารประเภทไขมันสูงเมื่อต้องการใช้
ในการรักษาโรคติดเชือ้ พยาธิทอ่ี าศัยในเนือ้ เยือ่ ต่าง ๆ ของ ความสำคัญของแบคทีเรียโวลบาเกียในหนอน
ร่างกาย หลังจากนั้นยานี้จะผ่านไปยังตับอย่างรวดเร็ว พยาธิฟลิ าเรีย
โดยเกิด first-pass metabolism ทีต่ บั และได้ metabolites โวลบาเกี ย เป็ น แบคที เ รี ย ที ่ อ าศั ย อยู ่ ใ นเซลล์
คือ albendazole sulfoxide ซึ่งเป็นสารที่ออกฤทธิ์ใน พบได้เฉพาะในสัตว์ขาข้อและหนอนพยาธิฟิลาเรียเท่านั้น
การฆ่าพยาธิ จับกับโปรตีนได้ดีและสามารถกระจายเข้า แบคทีเรียโวลบาเกียอาศัยอยู่ร่วมกับหนอนพยาธิฟิลาเรีย
สู่เนื้อเยื่อ น้ำดี น้ำไขสันหลังและ hydatid cysts ได้ดี แบบพึง่ พาอาศัยกัน (mutualism) สามารถพบได้ในหนอน
ระดับยาในกระแสเลือดสูงสุดภายใน 3 ชั่วโมงและมีค่า พยาธิทุกระยะ แบคทีเรียนี้จะมีผลต่อการสืบพันธุ์และ
ครึง่ ชีวติ 8-12 ชัว่ โมง จากนัน้ จะถูกขับออกทางปัสสาวะ การเจริญเติบโตของหนอนพยาธิ นอกจากนี้ยังมีผลต่อ
การเกิดพยาธิสภาพของโรคด้วย โดยมีการศึกษาบทบาท
ขนาดยาทีใ่ ช้ในการรักษา ของแบคทีเรียโวลบาเกียต่อระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย
ขนาดยาที ่ ใ ช้ ใ นการรั ก ษาโรคติ ด เชื ้ อ หนอน พบว่าแบคทีเรียสามารถกระตุ้นให้เกิดการอักเสบได้ โดย
พยาธิโรคเท้าช้างเมื่อให้ albendazole อย่างเดียว คือ พบว่า LPS จากโวลบาเกียจะกระตุน้ ให้เซลล์เม็ดเลือดขาว
400 mg วันละ 2 ครั้ง นาน 3 สัปดาห์ หรือขนาด 400- แมคโครฟาจหลั่งสาร tumour necrosis factor (TNF)
600 mg ครั้งเดียวเมื่อให้ร่วมกับ DEC หรือ ivermectin ซึ่งก่อให้เกิดไข้ภายหลังการให้ ivermectin ในการรักษา
เมื่อติดตามผลการรักษาในระยะยาว 18 เดือน พบว่า B. malayi และพบว่าแบคทีเรียโวลบาเกียจะถูกปล่อย
albendazole สามารถลดระดับไมโครฟิลาเรียในกระแส ออกมาสู่กระแสเลือดภายหลังการให้ยา DEC ภายใน 2-
เลือดได้ดีเท่า ๆ กับ DEC แต่ยา albendazole เองไม่มี 48 ชั่วโมง ซึ่งสัมพันธ์กับระยะเวลาที่เกิดผลข้างเคียงจาก
ฤทธิ์ทำลายระยะตัวเต็มวัยแต่จะช่วยเพิ่มฤทธิ์ของ DEC การรักษา(18,19,44) นอกจากนี้ยังมีการตรวจพบแอนติบอดี
ในการทำลายตัวเต็มวัยได้(41) ที่จำเพาะต่อ Wolbachia surface protein (WSP) ซึ่ง
สัมพันธ์ต่อการติดเชื้อและการเกิดพยาธิสภาพของโรค
ผลข้างเคียงจากการใช้ยา ปัจจุบันนี้มีการศึกษาถึงบทบาทและหน้าที่ของแบคทีเรีย
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาพบน้อยมาก อาจพบ ชนิดนี้มากขึ้น เพื่อนำมาใช้เป็นเป้าหมายในการวินิจฉัย
ก้อนบริเวณถุงหุ้มอัณฑะ (scrotal nodule) ในการรักษา และการรักษาโรคติดเชื้อหนอนพยาธิเท้าช้างเสริมกับการ
ผู้ป่วยติดเชื้อ W. bancrofti อาการอื่น ๆ ที่พบได้ เช่น รักษาเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน โดยการให้ยาปฏิชีวนะเพื่อ
ปวดท้องบริเวณลิน้ ปี่ คลืน่ ไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดศีรษะ ทำลายแบคทีเรียจะมีผลต่อหนอน พยาธิด้วย คือ ทำให้
เมื่อใช้ยานี้เป็นระยะเวลานานอาจพบระดับเอนไซม์จาก เกิดการยับยั้งการเจริญเติบโตของระยะตัวอ่อน ยับยั้ง
ตับสูงขึ้น เม็ดเลือดขาวต่ำ หรือผมร่วงได้ ห้ามใช้ยานี้ใน การเจริญจากตัวอ่อนระยะที่ 3 เป็นตัวเต็มวัย ยับยั้งการ
คนท้องเนื่องจากทำให้เกิดภาวะทารกผิดรูปได้ในสัตว์ ปล่อยไมโครฟิลาเรียรวมถึงการทำลายไมโครฟิลาเรียและ
ทดลอง ระยะตัวเต็มวัย(45)
4. ยาปฏิชวี นะ (Antibiotics) ยาปฏิชีวนะที่มีการทดลองและเริ่มมีการนำมา
ยาปฏิชีวนะเริ่มมีบทบาทสำคัญในการรักษาโรค ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อหนอนพยาธิเท้าช้าง ได้แก่
416 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

1) ยาในกลุม่ Tetracyclines (46) ivermectin ขนาด 150 µg/kg ตามหลังจากให้ doxycycline


ยาในกลุ่มนี้ที่นำมาทดลองใช้ในการรักษาโรค ไปแล้ว 4 เดือนพบว่าสามารถกำจัดไมโครฟิลาเรียในกระแส
ติดเชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง ได้แก่ tetracycline และ เลือดได้หมด โดยเชื่อว่าเป็นผลจากการที่ doxycycline
doxycycline มีผลในการยับยัง้ embryogenesis(48)
Tetracyclines เป็นกลุ่มยาปฏิชีวนะที่ออกฤทธิ์ สำหรับ tetracycline ยังอยูใ่ นการทดลองโดยพบ
bacteriostatic โดยการจับกับไรโบโซมของแบคทีเรีย ว่ายานีม้ ผี ลในการยับยัง้ การเจริญของระยะตัวอ่อน ของ B.
(Bacterial ribosome 30S subunit) แบบ reversible pahangi, B. malayi (49) และ Dirofilaria immitis (45, 50)
ทำให้เกิดการยับยั้งการจับกันของ aminoacyl-tRNA กับ 2) Rifampin (51)
mRNA-ribosome complex จึงทำให้เกิดการยับยั้งการ Rifampin เป็นอนุพนั ธ์ของ Rifamycin ซึง่ เป็นยา
สร้างโปรตีน ยาในกลุ่มนี้จะถูกดูดซึมหลังจากรับประทาน ปฏิชวี นะทีส่ ร้างจากแบคทีเรีย Streptomyces mediterranei
ยาด้ ว ยปริ ม าณที ่ ต ่ า งกั น ตามชนิ ด เช่ น tetracycline ยา Rifampin นี้เป็นยาหลักที่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ
สามารถถูกดูดซึมได้ 60-70 % ขณะที่ doxycycline ถูก วัณโรคและมีฤทธิ์ต้านแบคทีเรียหลายชนิด ได้แก่ gram
ดูดซึมถึง 95-100 % ยาส่วนที่เหลือจะตกค้างในลำไส้ positive และ gram negative cocci, enteric bacteria
และขับออกมาทางอุจจาระ ส่วนใหญ่ยานี้จะถูกดูดซึม และ Chlamydia นอกจากนี้จากการศึกษา in vitro
บริเวณลำไส้เล็กส่วนต้น และการดูดซึมจะลดลงเมื่อรับ พบว่ายานี้มีฤทธิ์ในการต้านแบคทีเรียโวลบาเกีย ซึ่งพบ
ประทานพร้อมอาหาร ยกเว้น doxycycline ประมาณ ร่วมกับหนอนพยาธิฟลิ าเรียอีกด้วย(44, 52 - 55)
40-80 % ของยาจะจับกับโปรตีนในเลือด tetracyclines Rifampin ถูกดูดซึมได้ดที างระบบทางเดินอาหาร
สามารถกระจายเข้าสู่เนื้อเยื่อและสารน้ำในร่างกายได้ดี ยานี้จะมีการกระจายไปสู่สารน้ำและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ได้ทั่ว
ยกเว้นในน้ำไขสันหลัง ยานี้สามารถผ่านรก และขับออก ร่างกาย สามารถจับกับโปรตีนได้ดี (89 % ของยา) มีคา่
ทางน้ ำ นมได้ แ ละสามารถทำให้ เ กิ ด chelation ของ ครึ่งชีวิตในร่างกาย 3.5 ชั่วโมง ส่วนใหญ่ยานี้จะถูกขับ
แคลเซียมตามกระดูกและฟันทำให้เกิดความผิดปกติ เช่น ออกทางน้ำดีและปนออกมากับอุจจาระ มีเพียงส่วนน้อย
discoloration, enamel dysplasia หรือเกิด growth ที่ขับออกทางปัสสาวะ ดังนั้นจึงไม่เป็นต้องปรับขนาดยา
inhibition ได้ tetracyclines ถูกขับออกทางน้ำดีและ ในผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไต
ปัสสาวะ ยกเว้น doxycycline ที่จะถูกขับออกทางอื่น ผลข้างเคียงจากการใช้ยา Rifampin ที่พบบ่อย
นอกเหนือจากไต ดังนัน้ จึงเหมาะสำหรับผูป้ ว่ ยทีม่ ปี ญ ั หา ได้แก่ ปัสสาวะ เหงื่อ น้ำตาและคอนแทคเลนส์มีสีส้ม ผล
เรือ่ งโรคไต และเนือ่ งจาก doxycycline มี long-acting half อื่น ๆ ที่พบได้บ้าง ได้แก่ ผื่น เกร็ดเลือดต่ำ ไตอักเสบ
life คือ 16-18 ชัว่ โมง จึงสามารถให้ยาวันละครัง้ ได้ ดีซา่ น (cholestatic jaundice) ตับอักเสบและมีโปรตีนใน
Doxycycline มีทใ่ี ช้ในการรักษา onchocerciasis(47) ปัสสาวะ (light chain proteinuria) นอกจากนี้พบว่าถ้า
จากการศึกษาของ Hoerauf และคณะพบว่า doxycycline ให้ยาไม่เกิน 2 ครัง้ ต่อสัปดาห์จะทำให้เกิดการคล้ายไข้หวัด
สามารถนำมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อ W. bancrofti ได้แก่ ไข้ หนาวสั่น ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ภาวะซีด เกร็ด
ได้ โดยเฉพาะในผูป้ ว่ ยกลุม่ long-lasting amicrofilaremia เลือดต่ำและ Acute tubular necrosis
เช่น ใน TPE หรือผู้ป่วยที่มีปัญหาเรื่องไต ซึ่งเกิดจาก กล่าวโดยสรุป การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบัน
ไมโครฟิลาเรีย ในการศึกษานี้ให้ doxycycline ขนาด แม้ว่าจะมียาหลายชนิด เช่น DEC, ivermectin หรือ
200 mg/day เพียงตัวเดียว นาน 6 สัปดาห์ พบว่าสามารถ albendazole ที่มีฤทธิ์ในการทำลายตัวอ่อนระยะไมโคร-
ลดปริมาณ ไมโครฟิลาเรียได้นานถึง 12 เดือน และเมือ่ ให้ ฟิลาเรียได้ดี แต่ฤทธิ์ของยาดังกล่าวยังคงมีข้อจำกัดใน
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 417
July 2005

การทำลายระยะตัวเต็มวัยของหนอนพยาธิ ซึ่งจำเป็นใน 5. Triteeraprapab S, Nuchprayoon I, Porksakorn C,


การรักษาโรคให้หายขาด และยังพบปัญหาจากปฏิกิริยา Poovorawan Y, Scott AL. High prevalence of
หลั ง การรั ก ษาของยาทำให้ ไ ด้ ผ ลการรั ก ษายั ง ไม่ ด ี น ั ก Wuchereria bancrofti infection among
ดังนัน้ จากการศึกษากลไกการเกิดโรค โดยเฉพาะการพบ Myanmar migrants in Thailand. Ann Trop Med
ความสัมพันธ์ และบทบาทของแบคทีเรียโวลบาเกียที่มีต่อ Parasitol 2001 Jul; 95(5): 535-8
หนอนพยาธิฟลิ าเรีย และพยาธิสภาพของโรคเท้าช้าง จึง 6. Triteeraprapab S, Karnjanopas K, Porksakorn C,
เป็นประโยชน์ในการนำไปประยุกต์ใช้ในการผลิตยาชนิด Sai-Ngam A, Yentakam S, Loymak S.
ใหม่ที่มีประสิทธิภาพในการทำลายหนอนพยาธิมากขึ้น Lymphatic filariasis caused by Brugia malayi
และนำมาใช้เสริมหรือทดแทนการรักษาที่มีอยู่ในปัจจุบัน in an endemic area of Narathiwat province,
อย่างไรก็ตาม นอกจากการรักษาโดยการใช้ยาแล้ว ในการ southern of Thailand. J Med Assoc Thai 2001
กำจัดโรคเท้าช้างให้หมดไปก่อนปี พ.ศ. 2563 ตามแผน Jun; 84(Suppl 1): S182-8
งานที่องค์การอนามัยโลกได้วางไว้ ยังจำเป็นต้องอาศัย 7. Triteeraprapab S, Thumpanyawat B, Sangprakarn
การควบคุมและการป้องกันการแพร่ระบาดของโรค รวม S. Wuchereria bancrofti- specific circulating
ถึงการเฝ้าระวังการเกิดโรคใหม่ทั้งในคนไทย และแรงงาน antigen for diagnosis of bancroftian filariasis.
ชาวพม่า ตลอดจนการควบคุมสัตว์รังโรคและยุงพาหะ Chula Med J 1998 Apr; 42(4): 267-77
อีกด้วย 8. Triteeraprapab S, Songtrus J. High prevalence of
bancroftian filariasis in Myanmar-migrant
อ้างอิง workers: a study in Mae Sot district, Tak
1. Ramaiah KD, Das PK, Michael E, Guyatt H. The province, Thailand. J Med Assoc Thai 1999
economic burden of lymphatic filariasis in Jul; 82(7): 735-9
India. Parasitol Today 2000 Jun; 16(6): 251-3 9. Triteeraprapab S. Update in lymphatic filariasis: a
2. World Health Organization. Index of /ctd/filariasis/ re-emerging disease of Thailand. Chula Med
diseases [online]. 17 Jul 2003 [cited 2005 J 1997 Aug; 41(8): 611-22
Apr 8]. Available from: URL: http://www.who. 10. Behbehani K. Candidate parasitic diseases. Bull
int/ctd/filariasis/diseases/ World Health Organ 1998; 76 Suppl 2: 64-7
3. กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองโรคเท้าช้าง. 11. Vanamail P, Ramaiah KD, Pani SP, Das PK,
รายงานประจำปี 2545. นนทบุร:ี กองโรคเท้าช้าง Grenfell BT, Bundy DA. Estimation of the
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข, 2545 fecund life span of Wuchereria bancrofti in
4. Bhumiratana A, Koyadun S, Suvannadabba S, an endemic area. Trans R Soc Trop Med
Karnjanopas K, Rojanapremsuk J, Hyg 1996 Mar-Apr; 90(2): 119-21
Buddhirakkul P, Tantiwattanasup W. Field trial 12. Melrose W. Control of lymphatic filariasis. In:
of the ICT filariasis for diagnosis of Wuchereria Melrose W, ed. Lymphatic Filariasis: A
bancrofti infections in an endemic population Review 1862-2002. Killarney Qld, Australia:
of Thailand. Southeast Asian J Trop Med Warwick Educational Publishing, 2004: 46-50
Public Health 1999 Sep; 30(3): 562-8 13. Kumaraswami V. The clinical manifestations of
418 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

lymphatic filariasis. In: Nutman TB, ed. F, et al. Bacteriological studies of blood,
Lymphatic filariasis. Maryland: Imperial tissue fluid, lymph and lymph nodes in
college press, 2000: 103-25 patients with acute dermatolymphangioa-
14. Mitre E, Nutman TB. Lymphatic filariasis. Current denitis (DLA) in course of ‘filarial’ lymphedema.
Treatment Options in Infectious Diseases Acta Trop 1999 Oct 15; 73(3): 217-24
2001 Jul; 3(4): 337-44 21. Dreyer G, Medeiros Z, Netto MJ, Leal NC, Castro
15. Addiss DG, Dreyer G. Treatment of lymphatic LG, Piessens WF. Acute attacks in the
filariasis. In: Nutman TB, ed. Lymphatic extremities of persons living in an area
Filariasis. Maryland: Imperial college press, endemic for bancroftian filariasis:
2000: 151-81 differentiation of two syndromes. Trans R Soc
16. Ismail MM, Weil GJ, Jayasinghe KS, Premaratne Trop Med Hyg 1999 Jul-Aug; 93(4): 413-7
UN, Abeyewickreme W, Rajaratnam HN, 22. Badger C, Seers K, Preston N, Mortimer P.
Sheriff MH, Perera CS, Dissanaike AS. Antibiotics / anti-inflammatories for reducing
Prolonged clearance of microfilaraemia in acute inflammatory episodes in lymp-
patients with bancroftian filariasis after hoedema of the limbs. Cochrane Database
multiple high doses of ivermectin or Syst Rev 2004; (2): CD003143
diethylcarbamazine. Trans R Soc Trop Med 23. Dreyer G, Noroes J, Figueredo-Silva J, Piessens
Hyg 1996 Nov-Dec; 90(6): 684-8 WF. Pathogenesis of Lymphatic Disease in
17. Noroes J, Dreyer G, Santos A, Mendes VG, Bancroftian Filariasis: A Clinical Perspective.
Medeiros Z, Addiss D. Assessment of the Parasitol Today 2000 Dec; 16(12): 544-8
efficacy of diethylcarbamazine on adult 24. Vaqas B, Ryan TJ. Lymphoedema: Pathophysiology
Wuchereria bancrofti in vivo. Trans R Soc and management in resource-poor settings –
Trop Med Hyg 1997 Jan-Feb; 91(1): 78-81 relevance for lymphatic filariasis control
18. Taylor MJ, Cross HF, Bilo K. Inflammatory programmes. Filaria J. 2003 Mar 12; 2(1): 4
responses induced by the filarial nematode 25. Silva N, Guyatt H, Bundy D. Anthelmintics. A
Brugia malayi are mediated by lipopoly- comparative review of their clinical
saccharide-like activity from endosymbiotic pharmacology. Drugs 1997 May; 53(5):
Wolbachia bacteria. J Exp Med 2000 Apr 17; 769-88
191(8): 1429-36 26. Rosenthal PJ, Goldsmith RS. Clinical pharmacology
19. Taylor MJ, Hoerauf A. A new approach to the of the anthelmintic drugs. In: Katzung BG,
treatment of filariasis. Curr Opin Infect Dis ed. Basic and Clinical Pharmacology. 9th ed.
2001 Dec; 14(6): 727-31 New York: McGraw Hill, 2004: 886-97
20. Olszewski WL, Jamal S, Manokaran G, Pani S, 27. Maizels RM, Denham DA. Diethylcarbazepine
Kumaraswami V, Kubicka U, Lukomska B, (DEC): immunopharmacological interactions
Tripathi FM, Swoboda E, Meisel-Mikolajczyk of an anti-filarial drug. Parasitology 1992;
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 419
July 2005

105 Suppl: S49-60 reaction following treatment of onchocerciasis


28. Peixoto CA, Alves LC, Brayner FA, Florencio MS. with diethylcarbamazine: clinical severity as
Diethylcarbamazine induces loss of a function of infection intensity. Am J Trop
microfilarial sheath of Wuchereria bancrofti. Med Hyg 1985 May; 34(3): 529-36
Micron 2003; 34(8): 381-5 36. Haarbrink M, Terhell AJ, Abadi GK, Mitsui Y,
29. Peixoto CA, Rocha A, Aguiar-Santos A, Florencio Yazdanbakhsh M. Adverse reactions following
MS. The effects of diethylcarbamazine on diethylcarbamazine (DEC) intake in ‘endemic
the ultrastructure of microfilariae of Wuchereria normal’, microfilaraemics and elephantiasis
bancrofti in vivo and in vitro. Parasitol Res patients. Trans R Soc Trop Med Hyg 1999
2004 Apr; 92(6): 513-7 Jan-Feb; 93(1): 91-6
30. Alves LC, Brayner FA, Silva LF, Peixoto CA. The 37. Fan PC. Diethylcarbamazine treatment of
ultrastructure of infective larvae (L3) of bancroftian and malayan filariasis with
Wuchereria bancrofti after treatment with emphasis on side effects. Ann Trop Med
diethylcarbamazine. Micron 2005; 36(1): Parasitol 1992 Aug; 86(4): 399-405
67-72 38. Kraivichian K, Nuchprayoon S, Sitichalernchai P,
31. Andrade LD, Medeiros Z, Pires ML, Pimentel A, Chaicumpa W, Yentakam S. Treatment of
Rocha A, Figueredo-Silva J, Coutinho A, cutaneous gnathostomiasis with ivermectin.
Dreyer G. Comparative efficacy of three Am J Trop Med Hyg 2004 Nov; 71(5): 623-8
different diethylcarbamazine regimens in 39. Bockarie MJ, Alexander ND, Hyun P, Dimber Z,
lymphatic filariasis. Trans R Soc Trop Med Bockarie F, Ibam E, Alpers MP, Kazura JW.
Hyg 1995 May-Jun; 89(3): 319-21 Randomised community-based trial of
32. Kimura E, Mataika JU. Control of lymphatic annual single-dose diethylcarbamazine with
filariasis by annual single-dose diethylcar- or without ivermectin against Wuchereria
bamazine treatments. Parasitol Today 1996 bancrofti infection in human beings and
Jun; 12(6): 240-4 mosquitoes Lancet 1998 Jan; 351(9097):
33. Dreyer G, Andrade L. Inappropriateness of the 162-8
association of diphenhydramine with 40. Bockarie MJ, Tisch DJ, Kastens W, Alexander
diethylcarbamazine for the treatment of ND, Dimber Z, Bockarie F, Ibam E, Alpers
lymphatic filariasis. J Trop Med Hyg 1989 MP, Kazura JW. Mass treatment to eliminate
Feb; 92(1): 32-4 filariasis in Papua New Guinea. N Engl J
34. Schofield FD, Rowley RE. The effect of prednisone Med 2002 Dec; 347(23): 1841-8
on persistent microfilaremia during treatment 41. Ottesen EA, Ismail MM, Horton J. The Role of
with diethylcarbamazine. Am J Trop Med albendazole in orogrammes to eliminate
Hyg 1961 Nov; 10: 849-54 lymphatic Filariasis. Parasitol Today 1999
35. Francis H, Awadzi K, Ottesen EA. The Mazzotti Sep; 15(9): 382-6
420 ศิรญา ไชยะกุล และ สุรางค์ นุชประยูร Chula Med J

42. Rajendran R, Sunish IP, Mani TR, Munirathinam Microbes Infect 2003 Apr; 5(4): 261-73
A, Abdullah SM, Arunachalam N, 48. Hoerauf A, Mand S, Fischer K, Kruppa T, Marfo-
Satyanarayana K. Impact of two annual single- Debrekyei Y, Debrah AY, Pfarr KM, Adjei O,
dose mass drug administrations with Buttner DW. Doxycycline as a novel strategy
diethylcarbamazine alone or in combination against bancroftian filariasis-depletion of
with albendazole on Wuchereria bancrofti Wolbachia endosymbionts from Wuchereria
microfilaraemia and antigenaemia in South bancrofti and stop of microfilaria production.
India. Trans R Soc Trop Med Hyg 2004 Mar; Med Microbiol Immunol (Berl) 2003 Nov;
98(3): 174-81 192(4): 211-6
43. Addiss D, Critchley J, Ejere H, Garner P, Gelband 49. Rajan TV. Relationship of anti-microbial activity of
H, Gamble C, International Filariasis Review tetracyclines to their ability to block the L3 to
Group. Albendazole for lymphatic filariasis. L4 molt of the human filarial parasite Brugia
Cochrane Database Syst Rev 2004; (1): malayi. Am J Trop Med Hyg 2004 Jul; 71(1):
CD003753 24-8
44. Taylor MJ, Bandi C, Hoerauf AM, Lazdins J. 50. Chirgwin SR, Nowling JM, Coleman SU, Klei TR.
Wolbachia bacteria of filarial nematodes: a Brugia pahangi and Wolbachia: the kinetics
target for control? Parasitol Today 2000 May; of bacteria elimination, worm viability, and
16(5): 179-80 host responses following tetracycline
45. Bandi C, McCall JW, Genchi C, Corona S, Venco treatment. Exp Parasitol 2003 Jan-Feb; 103
L, Sacchi L. Effects of tetracycline on the (1-2): 16-26
filarial worms Brugia pahangi and Dirofilaria 51. Chambers HF. Antimycobacterial drugs. In:
immitis and their bacterial endosymbionts Katzung BG, ed. Basic and Clinical
Wolbachia. Int J Parasitol 1999 Feb; 29(2): Pharmacology. 9th ed. New York: McGraw
357-64 Hill, 2004: 782-91
46. Chambers HF. Tetracyclines: chloramphenicol, 52. Townson S, Hutton D, Siemienska J, Hollick L,
tetracyclines, macrolides, clindamycin, and Scanlon T, Tagboto SK, Taylor MJ. Antibiotics
streptogramins. In: Katzung BG, ed. Basic and Wolbachia in filarial nematodes:
and Clinical Pharmacology. 9th ed. New York: antifilarial activity of rifampicin, oxytetracy-
McGraw Hill, 2004: 755-8 cline and chloramphenicol against
47. Hoerauf A, Mand S, Volkmann L, Buttner M, Marfo- Onchocerca gutturosa, Onchocerca lienalis
Debrekyei Y, Taylor M, Adjei O, Buttner DW. and Brugia pahangi. Ann Trop Med Parasitol
Doxycycline in the treatment of human 2000 Dec; 94(8): 801-16
onchocerciasis: kinetics of Wolbachia 53. Rao R, Well GJ. In vitro effects of antibiotics on
endobacteria reduction and of inhibition of Brugia malayi worm survival and reproduction.
embryogenesis in female Onchocerca worms. J Parasitol 2002 Jun; 88(3): 605-11
Vol. 49 No. 7
การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบนั 421
July 2005

54. Fenollar F, Maurin M, Raoult D. Wolbachia 55. Volkmann L, Fischer K, Taylor M, Hoerauf A.
pipientis growth kinetics and susceptibilities Antibiotic therapy in murine filariasis
to 13 antibiotics determined by immuno- (Litomosoides sigmodontis): comparative
fluorescence staining and real-time PCR. effects of doxycycline and rifampicin on
Antimicrob Agents Chemother 2003 May; Wolbachia and filarial viability. Trop Med Int
47(5): 1665-71 Health 2003 May; 8(5): 392-401
กิจกรรมการศึกษาต่อเนือ่ งสำหรับแพทย์

ท่านสามารถได้รับการรับรองอย่างเป็นทางการสำหรับกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องสำหรับแพทย์
กลุ่มที่ 3 ประเภทที่ 23 (ศึกษาด้วยตนเอง) โดยศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตามเกณฑ์ ข องศู น ย์ ก ารศึ ก ษาต่ อ เนื ่ อ งของแพทย์ แ ห่ ง แพทยสภา (ศนพ.) จากการอ่ า นบทความเรื ่ อ ง
“การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบัน” โดยตอบคำถามข้างล่างนี้ ที่ท่านคิดว่าถูกต้องโดยใช้แบบฟอร์ม
คำตอบท้ายคำถาม โดยสามารถตรวจจำนวนเครดิตได้จาก http://www.ccme.or.th

คำถาม - คำตอบ
1. หนอนพยาธิฟิลาเรียที่เป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้เกิดโรคเท้าช้างในผู้ป่วยบริเวณชายแดนไทย-พม่า
คือเชือ้ ใด
ก. Wuchereria bancrofti
ข. Brugia malayi
ค. Mansonella streptocerca
ง. Onchocerca volvulus
จ. Loa loa
2. ระยะติดต่อจากยุงเข้าสู่คนของหนอนพยาธิโรคเท้าช้างคือ ระยะใด
ก. ไมโครฟิลาเรีย
ข. ตัวอ่อนระยะที่ 1
ค. ตัวอ่อนระยะที่ 2
ง. ตัวอ่อนระยะที่ 3
จ. ระยะตัวเต็มวัย
3. แบคทีเรียใดที่อาศัยอยู่ร่วมกับหนอนพยาธิฟิลาเรีย และมีบทบาทสำคัญในการก่อให้เกิดพยาธิสภาพ
ของโรคเท้าช้าง
ก. Beta hemolytic streptococcus spp.
ข. Wolbachia spp.
ค. Mycobacterium tuberculosis
ง. Staphylococcus aureus
จ. Bacillus spp.
..........................................................................................................................................................
คำตอบ สำหรับบทความเรื่อง “การรักษาโรคเท้าช้างในปัจจุบัน”
จุฬาลงกรณ์เวชสาร ปีท่ี 49 ฉบับที่ 7 เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2548
รหัสสือ่ การศึกษาต่อเนือ่ ง 3-23-201-9010/0507-(1010)
ชือ่ - นามสกุลผูข้ อ CME credit .................................................................. เลขทีใ่ บประกอบวิชาชีพเวชกรรม...............................
ทีอ่ ยู.่ .............................................................................................................................................................................................

1. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) 4. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ)
2. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ) 5. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ)
3. (ก) (ข) (ค) (ง) (จ)
4. ข้อใดผิด ในการรักษาเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มาด้วยอาการไข้ หลอดน้ำเหลืองที่ขาอักเสบ และตรวจพบ
ไมโครฟิลาเรียของ Wuchereria bancrofti ในกระแสเลือด
ก. ให้ยา DEC ขนาด 6 mg/kg แบ่งให้ 3 เวลา ต่อเนือ่ งกัน 12 วัน
ข. ให้ paracetamol
ค. แนะนำให้ผู้ป่วยพักผ่อน นอนราบยกขาสูง
ง. ประคบเย็นบริเวณที่มีการอักเสบ
จ. ไม่มีข้อถูก
5. ข้อใดถูก ในการรักษาโรคติดเชื้อหนอนพยาธิโรคเท้าช้าง
ก. ให้ DEC ในผูป้ ว่ ยทีม่ กี ารติดเชือ้ Brugia malayi ร่วมกับ Onchocerca volvulus
ข. ให้ยา DEC ในผู้ป่วยที่ตรวจพบไมโครฟิลาเรียของเชื้อ Wuchereria bancrofti ในผู้ป่วยหญิง
ที่กำลังตั้งครรภ์
ค. Ivermectin เป็นยาหลักที่ใช้ในการรักษาโรคเท้าช้างในประเทศไทยในปัจจุบัน
ง. ในการรักษาผู้ป่วยระยะเฉียบพลันจำเป็นต้องให้ยาปฎิชีวนะทุกราย
จ. ไม่มีข้อถูก

เฉลย สำหรับบทความ รหัสสือ่ การศึกษาต่อเนือ่ ง 3-23-201-9010/0506-(1009)


1. ค 2. ก 3. จ 4. ค 5. จ

ท่านที่ประสงค์จะได้รับเครดิตการศึกษาต่อเนื่อง (CME credit)


กรุณาส่งคำตอบพร้อมรายละเอียดของท่านตามแบบฟอร์มด้านหน้า

ศาสตราจารย์นายแพทย์สุทธิพร จิตต์มิตรภาพ
ประธานคณะกรรมการการศึกษาต่อเนื่อง
ตึกอานันทมหิดล ชัน้ 5
คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เขตปทุมวัน กทม. 10330

You might also like