Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 70

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

ระดับหลักสูตร ปีการศึกษา 2562

รัฐศาสตรบัณฑิต ระดับปริญญาตรี
สาขาวิชา รัฐศาสตร์
หลักสูตร ปรับปรุง พ.ศ. 2562
เกณฑ์ปี พ.ศ.2558
คณะรัฐศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

วันที่รายงาน 4 มิถุนายน 2563

สารบัญ
หน้า
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
รายงานผลการดำเนินงานของหลักสูตร [หน้า]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 5


หน้า
หมวดที่
1 ข้อมูลทั่วไป [หน้า]
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสกอ. [หน้า]
2 อาจารย์ [หน้า]
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์ [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ [หน้า]
3 นักศึกษาและบัณฑิต [หน้า]
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 ผลงานของนักศึกษาและผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ [หน้า]
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา [หน้า]
4 ข้อมูลสรุปรายวิชาและคุณภาพการสอน [หน้า]
องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและการจัดการเรียนการสอน [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรียน [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา [หน้า]
5 การบริหารหลักสูตร [หน้า]
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ [หน้า]
 ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ [หน้า]
6 ข้อคิดเห็น [หน้า]
7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร [หน้า]
8 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร [หน้า]
ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน [หน้า]
บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

รูปแบบบทสรุปสำหรับผู้บริหาร ความยาวประมาณ 1-5 หน้า โดยมีโครงสร้างและแนวทางในการเขียน ดังนี้


ข้อมูลทั่วไป (4-5 บรรทัด) ประกอบด้วย ชื่อหน่วยงาน จุดประสงค์ของการก่อตั้ง และกลุ่ม
สถาบันอุดมศึกษาการปฏิบัติตามพันธกิจ
สรุปผลการประเมินคุณภาพภายใน
องค์ประกอบ จำนวนตัวบ่งชี้ คะแนนประเมินเฉลี่ย ระดับคุณภาพ
องค์ประกอบที่ 1

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 6


องค์ประกอบที่ 2
องค์ประกอบที่ 3
องค์ประกอบที่ 4
องค์ประกอบที่ 5
องค์ประกอบที่ 6
เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้

จุดเด่นและแนวทางเสริม/จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
จุดเด่นและแนวทางเสริม
1. อาจารย์ในหลักสูตรเป็นคนรุ่นใหม่มีความพร้อมในการพัฒนา
2. [รายละเอียด.......................]
3. [รายละเอียด.......................]
4. [รายละเอียด.......................]
5. [รายละเอียด.......................]
จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง
1. [รายละเอียด.......................]
2. [รายละเอียด.......................]
3. [รายละเอียด.......................]
4. [รายละเอียด.......................]
5. [รายละเอียด.......................]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 7


หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. ข้อมูลทั่วไป
1.1 หลักสูตร 25571421101035
1.2 ประวัติความเป็นมาของหลักสูตร
หลักสูต รรัฐศาสตรบั ณ ฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ เป็ นหลั กสู ตรที่ท ำการเปิ ดการเรียนการสอนในระดั บ
ปริญญาตรีในปีการศึกษา 2557 ซึ่งมีการปรับปรุงหลักสูตรในปีการศึกษา 2562 ผ่านสภามหาวิทยาลัยฯ ในคราว
ประชุมครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 29 เดือน เมษายน พ.ศ. 2562 และเปิดรับนักศึกษาในปีการศึกษา 2562 โดยมี
อาจารย์ประจำหลักสูตรชุดปัจจุบันตรงหรือสัมพันธ์ซึ่งมีวุฒิปริญญาโทหรือสัมพันธ์จำนวน 5 คน และมีอาจารย์ที่มี
วุฒิปริญญาเอกจำนวน 2 คน อาจารย์ประจำหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการครบทั้ง 5 คน ซึ่งมีการตีพิมพ์เผยแพร่
ในฐาน TCI มีสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ของหลักสูตรได้ใช้ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ซึ่งมีความพร้อมในการใช้งาน และมี
ความทันสมัย
1.3. ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะของผลการประเมินคุณภาพการศึกษาปีที่ผ่านมา
ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การดำเนินงาน/ผลการปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
1. หลักสูตรควรมีมาตรการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้มีวุฒิ คณะรัฐศาสตร์ได้อนุญาตให้อาจารย์ประจำหลักสูตรศึกษาต่อใน
การศึกษาในระดับปริญญาเอกเพิ่มขึ้น ระดับทีส่ ูงขึ้น

2. ควรมีแนวทางในการส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์ได้มี คณะรัฐศาสตร์ส่ง เสริม และสนับ สนุ น ให้ อ าจารย์ ส่ง ผลงานทาง


ผลงานทางวิชาการไปเผยแพร่ในฐานข้อมูลที่สูงขึ้นและเป็นไป วิชาการไปเผยแพร่ตีพิมพ์เพิ่มมากขึ้น
ตามเกณฑ์ มาตรฐานเพี ยงพอที่จ ะสามารถเสนอขอกำหนด
ตำแหน่งทางวิชาการได้
[พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้] [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]
[พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้] [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]

3. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
3.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ชุดที่ระบุใน มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ* กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
(ระบุครัง้ ที่/วันที่ผ่านสภามหาวิทยาลัย)
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวรรค์ มงคล 1. อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก ครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 29 เดือน
วรรณศรี เมษายน พ.ศ. 2562
2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ 2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]
3. อาจารย์ธานี ถังทอง 3. อาจารย์ธานี ถังทอง [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา 4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]
5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล 5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล [พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้]

3.2 คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ลำดับ ชือ่ -สกุล ตำแหน่งวิชาการ คุณวุฒิ-สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปีที่จบ
1. อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก อาจารย์ - ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2553
- ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2549

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 1


2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ อาจารย์ - ร ป ด . (รั ฐ ป ร ะ ศ า ส น ม ห า วิ ท ย า ลั ย ภ า ค 2562
ศาสตร์) ตะวันออกเฉียงเหนือ
- ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2555
- ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2546
3. อาจารย์ธานี ถังทอง อาจารย์ - ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2556
- ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2554
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณ อาจารย์ - ร.ด.(รัฐศาสตร์) มห าวิ ท ยาลั ย ราช ภั ฏ 2562
ปัญญา - ศน.ม.(รัฐศาสตร์) มหาสารคาม
- ศน.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฎ 2553
ราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหามกุฎ 2550
ราชวิทยาลัย
5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล อาจารย์ - ศน.ม. (การปกครอง) มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ 2554
- พธ.บ. (รัฐศาสตร์) ราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง 2551
กรณราชวิทยาลัย

3.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ระบุอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปีย้อนหลัง)


ลำดับ ชือ่ -สกุล ผลงานทางวิชาการ ปี พ.ศ.
1. อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก
2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็ง เศรษฐกิจ ฐานรากโดย 2562
แนวทางประชารัฐตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมใน
จังหวัดชัยภูมิ วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬ าขอนแก่น ปีที่ 6 ฉบับที่ 3
ประจำเดือนกรกฎาคม- กันยายน พ.ศ. 2562 หน้า 278-289
3. อาจารย์ธานี ถังทอง
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล

4. อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.1 อาจารย์ประจำหลักสูตร
ชุดที่ระบุใน มคอ.2 ปัจจุบัน หมายเหตุ *กรณีที่มีการเปลี่ยนแปลง
(ระบุครั้งที่/วันที่ผ่านสภามหาวิทยาลัย)
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวรรค์ มงคล 1. อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก ครั้งที่ 4/2562 เมื่อวันที่ 29 เดือน
วรรณศรี เมษายน พ.ศ. 2562
2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ 2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์
3. อาจารย์ธานี ถังทอง 3. อาจารย์ธานี ถังทอง
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา 4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล 5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล

4.2 คุณวุฒิและตำแหน่งทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร
ลำดับ ชือ่ -สกุล ตำแหน่งวิชาการ คุณวุฒิ-สาขาวิชา สถาบันการศึกษา ปีที่สำเร็จ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 2


(ทุกระดับการศึกษา) การศึกษา
1. อาจารย์เทอดศักดิ์ อาจารย์ - ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2553
ไป่จันทึก - ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2549
2. ดร.เกศสุดาโภคา อาจารย์ - รปด. (รั ฐ ประศาสน ม ห า วิ ท ย า ลั ย ภ า ค 2562
นิตย์ ศาสตร์) ตะวันออกเฉียงเหนือ
- ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2555
- ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2546
3. อาจารย์ธานี ถัง อาจารย์ - ร.ม.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2556
ทอง - ศศ.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2554
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิ อาจารย์ - ร.ด.(รัฐศาสตร์) มห าวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ 2562
สุวรรณปัญญา - ศน.ม.(รัฐศาสตร์) มหาสารคาม
- ศน.บ.(รัฐศาสตร์) มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฎ 2553
ราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหามกุฎ 2550
ราชวิทยาลัย
5. อาจารย์ชูเกียรติ อาจารย์ - ศน.ม. (การปกครอง) มหาวิ ท ยาลั ย มหามกุ ฏ 2554
ผลาผล - พธ.บ. (รัฐศาสตร์) ราชวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง 2551
กรณราชวิทยาลัย

4.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร (ระบุอย่างน้อย 1 รายการในรอบ 5 ปียอ้ นหลัง)


ชือ่ -สกุล ผลงานวิชาการ ปี พ.ศ.
1. อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก
2. ดร.เกศสุดาโภคานิตย์ ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากโดย 2562
แนวทางประชารัฐตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วม
ในจังหวัดชัยภูมิ วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น ปีที่ 6 ฉบับที่
3 ประจำเดือนกรกฎาคม- กันยายน พ.ศ. 2562 หน้า 278-289
3. อาจารย์ธานี ถังทอง
4. ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
5. อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล
5. อาจารย์ผู้สอน
5.1 อาจารย์ประจำ
1) อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก
2) ดร.เกศสุดา โภคานิตย์
3) อาจารย์ธานี ถังทอง
4) ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
5) อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล
5.2 อาจารย์พิเศษ
1) [ชื่อ-สกุล]
2) [ชื่อ-สกุล]
3) [ชื่อ-สกุล]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 3


4) [ชื่อ-สกุล]
5) [ชื่อ-สกุล]
6. สถานที่จัดการเรียนการสอน
คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ

องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ.
ผลการพิจารณา
เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินงาน เอกสาร หลักฐานประกอบ
ครบ ไม่ครบ
1. จำนวนอาจารย์ [] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร (ชุดปัจจุบัน) ตัวอย่าง
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เป็นไปตามเกณฑ์ (ไม่น้อยกว่า 5 คน) 1.1-1 มคอ.2
[ ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรไม่เป็นไปตาม 1.2-2 สมอ.08
เกณฑ์ เนื่องจาก ระบุสาเหตุ................
2. คุณสมบัติของ [] อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รทุ ก คนมี ตัวอย่าง
อาจารย์ผู้รับผิดชอบ คุณวุฒิเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร และ -ตามตารางข้อ 3.2 และ 3.3 หน้า
หลักสูตร มีผ ลงานย้อนทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายงาน [ระบุหน้า]
ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง
[ ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร...........คน มี
คุณวุฒิหรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่เป็นไป
ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
[ ] อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร...........คน ไม่
มีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ
5 ปีย้อนหลัง
3 . คุ ณ ส ม บั ติ ข อ ง [] อาจารย์ป ระจำหลั กสู ต รทุ กคนมี คุ ณ วุ ฒิ ตัวอย่าง
อ า จ า ร ย์ ป ร ะ จ ำ เป็ น ไปตามเกณฑ์ ม าตรฐานหลั ก สู ต ร และมี -ตามตารางข้อ 3.2 และ 3.3 หน้า
หลักสูตร ผลงานย้อนทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายงานใน [ระบุหน้า]
รอบ 5 ปีย้อนหลัง
[ ] อาจารย์ประจำหลักสูตร...........คน มีคุณวุฒิ
หรือดำรงตำแหน่งทางวิชาการไม่เป็นไปตาม
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
[ ] อาจารย์ประจำหลักสูตร...........คน ไม่มี
ผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการในรอบ
5 ปีย้อนหลัง
4. คุณสมบัติของ อาจารย์ประจำ
อาจารย์ผู้สอน [] อาจารย์ประจำมีคุณวุฒิเป็นไปตามเกณฑ์
[ ] อาจารย์ประจำมีคุณวุฒิไม่เป็นไปตามเกณฑ์
อาจารย์พเิ ศษ
[ ] อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิเป็นไปตามเกณฑ์
[ ] อาจารย์พิเศษมีคุณวุฒิไม่เป็นไปตามเกณฑ์
*มีชั่วโมงสอนไม่เกินร้อยละ 50 ของรายวิชา โดย
มีอาจารย์ประจำเป็นผู้รับผิดชอบรายวิชานั้น

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 4


ผลการพิจารณา
เกณฑ์การประเมิน ผลการดำเนินงาน เอกสาร หลักฐานประกอบ
ครบ ไม่ครบ
10. การปรับปรุง [] เป็ น ห ลั ก สู ต รป รั บ ป รุ ง ปี พ .ศ . 2562 ตัวอย่าง
หลักสูตรตามกรอบ (ปรับปรุงไม่เกิน 5 ปี) 11.1 มคอ.2
ระยะเวลาที่กำหนด [ ] ไม่มีการปรับปรุงหลักสูตร เนื่องจาก ระบุ
..............................

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
เป้าหมาย ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้
2562 ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
1.1 การบริหารจัดการหลักสูตรตามเกณฑ์ ผ่าน  ผ่าน  ผ่าน ผ่าน
มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดย สกอ.  ไม่ผ่าน  ไม่ผ่าน
หมายเหตุ : หากไม่ผ่านเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ถือว่าหลักสูตรไม่ได้มาตรฐาน และผลเป็น “ไม่ผ่าน” คะแนนเป็นศูนย์
หมวดที่ 2 อาจารย์
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
หมายเหตุ** การบริหารและการพัฒนาอาจารย์ ให้หมายถึง อาจารย์ประจำหลักสูตรเท่านั้น
ผลการดำเนินงาน
การบริหารและพัฒนาอาจารย์มีกระบวนการดำเนินงานดังต่อไปนี้
- ระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีกระบวนการดำเนินงานระบบการรับและแต่งตั้งอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีรายละเอียดดังนี้
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบ 5 คน อ าจารย์ ผู้ รั บ ผิ ดชอ บ ห ลั ก สู ต รมี
เป้าหมาย
คุ ณ สมบั ติ ต รงตามเกณฑ์ ม าตรฐาน
หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :
1. คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประเมินกระบวนการรับและแตงตั้งอาจารยประจํา หลักสูตรในป
การศึกษาที่ผานมา เพื่อประเมินจํานวนอาจารยประจําหลักสูตรตามเกณฑมาตรฐาน การอุดมศึกษาและ
คุณสมบัติของอาจารยประจําหลักสูตรวามีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตร และสาขาวิชาที่เปดสอน
หรือไม
2. ถาผลการประเมินพบวามีความตองการอาจารยประจําหลักสูตรรายใหมเนื่องจากอาจารย ประจํา
หลั กสู ตรเดิม จะเกษี ยณอายุ ราชการหรือ ตองการใหอาจารยประจํ าหลัก สูต รทุ กรายมี วุฒิ ต รง สาขา
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จะนําแผนอัตรากําลังของอาจารยประจําหลักสูตรเสนอตอคณะเพื่อจัดทํา
กรอบอัต รากํ าลั งของภาควิ ชา (โดยมีแ ผนอั ตรากําลั ง ของอาจารยประจําหลัก สู ตรรั ฐศาสตรบั ณ ฑิ ต
สาขาวิชารัฐศาสตร์ เปนสวนหนึ่งของแผน) และเสนอขออนุ มัติอัตรากําลังไปยัง คณะรัฐศาสตร์ และ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 5


มหาวิทยาลัยตามลําดับ
3. เมื่ อ ไดรั บ อนุ มั ติ อั ต รากํ า ลั ง คณะกรรมการบริ ห ารหลั ก สู ต รจะสงรายละเอี ย ดคุ ณ สมบั ติ ข อง
อาจารยที่ตองการรับ โดยกําหนดคุณสมบัติของอาจารย ขอกําหนดภาระงาน เสนอตอภาควิชา เพื่อส
งเรื่องขอเปดรับอาจารยใหมไปยังคณะรัฐศาสตร์ และมหาวิทยาลัย เพื่อดําเนินการ ประกาศรับสมัคร
กําหนดวันและดําเนินการสอบคัดเลือก ประกาศรายชื่อผู ผานการคัดเลือก และรับ รายงานตัวอาจารย
ใหม
4. หลังจากรายงานตัวแลว อาจารยใหมตองเขารวมโครงการปฐมนิเทศอาจารยใหมที่จัดโดย คณะ
รัฐศาสตร์และมหาวิทยาลัย เพื่อใหรับทราบถึงนโยบาย ปรัชญา ปณิธาน ของสถาบัน หลักสูตร และวัตถุ
ประสงคของการจัดการศึกษา ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการพัฒนาศักยภาพ ทางดานวิชาการและวิจัย
รวมทั้งการเขาสูตําแหนงทางวิชาการ
5. ในการเสนอขอแตงตั้งอาจารยประจําหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรจะพิจารณา จาก
คุณสมบัติของอาจารย คือ มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตรและไมเปนอาจารยประจําหลักสูตรอื่น
นําเรื่องเสนอขอแตงตั้งอาจารยประจําหลักสูตรเขาสู่คณะรัฐศาสตร์ หลังจากมีคําสั่งแตงตั้งแลว ประธาน
หลักสูตรจะปฐมนิเทศและ มอบหมายภาระหนาที่ความรับผิดชอบใหแกอาจารยประจําหลักสูตรทานใหม
6. ระหวางปการศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรับปรุงกระบวนการรับและแตงตั้ง อาจารย
ประจําหลักสูตรกรณีที่มีอัตราแตยังไมไดอาจารยประจําหลักสูตรรายใหมและปรับปรุงบทบาทหน้าที่ของ
อาจารย์ประจำหลักสูตรเดิม

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 6


ภาพแสดงระบบและกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกับคณะจัดทําแผน
กรอบอัตรากําลังของอาจารย์ประจําหลักสูตร

ไม่อนุมัติ
เสนอขออัตรากําลังผ่านมหาวิทยาลัย ตามขั้นตอนที่
มหาวิทยาลัยกําหนด

อนุมัติ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนดคุณสมบัติของ
อาจารย์ประจําหลักสูตรที่ต้องการเปิดรับไปยัง
มหาวิทยาลัย ไม่มีอาจารย์หรือไม่
ผ่านการสอบคัดเลือก
สรรหาอาจารย์ประจําหลักสูตรใหม่ โดย
1. สรรหาอาจารย์ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ภายใน
มหาวิทยาลัย หรือ
2. สอบคัดเลือกอาจารย์ใหม่

ผ่านการสรรหาหรือสอบคัดเลือก

ปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่ของคณะ/มหาวิทยาลัย

เสนอแต่งตั้งอาจารย์ประจําหลักสูตรตามแบบ สมอ.08

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 7


• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :
1. การรับอาจารย์ใหม่
หลักสูตรกำหนดคุณสมบัติอาจารย์ให้สอดคล้องตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.
2558 คือ มีคุณวุฒิขั้นต่ำระดับปริญญาโท สาขารัฐศาสตร์ และมีผลงานทางวิชาการที่ไม่ใช่ส่วนหนึ่งของ
การศึกษาเพื่อรับปริญญาอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปีย้อนหลัง ทั้งนี้ ระหว่างปีการศึกษา 2562
อาจารย์ประจำหลักสูต รได้ออกไปจำนวน 1 คน จึง ทำให้ต้องมีการสรรหา/คัดเลือ ก อาจารย์ป ระจำ
หลักสูตรใหม่ 1 คน
2. การแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร
ในปการศึกษา 2562 อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรบั ณฑิ ต ได้ออกไป 1 ท่าน คณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรจึงดำเนินการดังนี้
2.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประชุมร่วมกันเพื่อประเมินอาจารย์ป ระจำหลักสูตรตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พบว่าทำให้อาจารย์ที่มีคุณสมบัติตรงหรือสัมพันธ์กับหลักสูตรไม่ครบ
จำนวน 5 คน ทำให้ต้องสรรหา/คัดเลือกอาจารย์ประจำหลักสูตรเพิ่มเติม 1 คน
2.2 คณะกรรมการหลักสูตรทำการสรรหาภายในคณะก่อน และเสนอรายชื่ออาจารย์ 1 ท่ าน ที่ยัง
ไม่ได้เป็นกรรมการหลักสูตรอื่น และมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี คือ นาย
เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก
2.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร เสนอรายชื่ออาจารย์ประจำหลักสูตรที่ได้ในข้อ 2.2 ไปยังคณะ
เพื่อดำเนินการแก้ไขใน สมอ.08 ต่อไป

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :
เมื่ อใกล้ สิ้ น ปการศึก ษา 2562 คณะกรรมการบริห ารหลั กสู ต ร มี ก ารประชุม รวมกั น เพื่ อ ทํ าการวิ
เคราะหและประเมิน ระบบการรับ และแตงตั้ง อาจารยประจําหลักสู ตร โดยประเมิน กระบวนการรับ
อาจารยใหมเพื่อแตงตั้งเปนอาจารยประจําหลักสูตรและประเมินกระบวนการแตงตั้งเปน อาจารยประจํา

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 8


หลักสูตร (การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ครั้งที่ 1/2563) สรุปไดดังนี้
1. ผลการประเมินระบบการรับและแตงตั้งอาจารยประจําหลักสูตร พบวาระบบการรับ และแตงตั้ง
อาจารยประจําหลักสูตรสอดคลองกับ เปาหมายของหลักสูตรที่ว าอาจารยทุกคนที่ไ ดรับ แตงตั้ง ตองมี
คุณวุฒิตรงหรือสัมพันธกับหลักสูตรและไมเปนอาจารยประจําหลักสูตรอื่น มีคุณวุฒิขั้นต่ำระดับปริญญา
โท และมีผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปี ไม่น้อยกว่า 1 รายการ
2. ยังไม่มีอาจารย์จะเกษียณอายุราชการใน 5 ปีข้างหน้า

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :
จากผลการวิเคราะหและประเมินขางตน หลักสูตรทําการปรับปรุงระบบการรับและแตงตั้งอาจารย
ประจําหลักสูตร คือ หลักสูตรแตงตั้งอาจารยประจําหลักสูตรเพิ่มอีกอยางนอย 1 ทาน ในปการศึกษา
2562 และเพื่ อใหคุณ สมบั ติของอาจารยประจําหลักสู ตรเปนไปตามมาตรฐานหลักสู ตรที่กําหนดโดย
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558 อาจารยประจําหลักสูตรทานใหมตองมีคุณวุฒิตรง
กับสาขาหรือสัมพั นธกับหลักสูตร และมีผลงานทางวิชาการอย่างน้อย 1 รายการ ในรอบ 5 ปยอนหลัง
โดยใช้กระบวนการสรรหาบุคลากรจากภายในคณะ คือ อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก (ศศ.บ.(รัฐศาสตร์),
ร.ม.) มีผลงานทางวิชาการย้อนหลัง 5 ปีเฉพาะจากฐานข้อมูล TCI 2 รายการ
• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึน้ เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :
ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์ประจำหลักสูตร 1 ท่านได้ออกจากหลักสูตร การดำเนินการตามระบบ
และกลไกการแต่งตั้งอาจารย์ประจำหลักสูตร ทำให้ หลักสูตรสามารถได้อาจารย์ประจำหลักสูตรใหม่
ภายในปีการศึกษา 2562 คือ อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก ซึ่งมีคุณสมบัติตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี พ.ศ.2558

- ระบบการบริหารอาจารย์
หลักสูตร รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา รัฐศาสตร์ มีกระบวนการการดำเนินงานระบบการบริหารอาจารย์
มีรายละเอียดดังนี้
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
อาจารย์ มี ภ าระงานครบตามเกณฑ์ ก าร - อาจารย์มีภาระงานเหมาะสม ไม่มาก
เป้าหมาย
ประเมินผลการปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัย หรื อ น้ อ ยเกิ น ไป ทำให้ มี เวลาพั ฒ นา
ทั้ง 5 ท่าน ตนเอง
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 9


หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต มีระบบการบริหารอาจารยประจําหลักสูตร (ดังแผนผังด้านล่าง) ระบบการ
บริหาร สงเสริมและพัฒนาอาจารยประจําหลักสูตรกล่าวคือ คณะรัฐศาสตร์มีการแตงตั้งคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต พรอมกําหนดบทบาทภาระหนาที่ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประชุมรวมกันในการวางแผนบริหารอาจารยประจําหลักสูตร เชน การ
กําหนดภาระหนาที่ ใหกั บอาจารยประจําหลักสู ตร แผนสงเสริมและพั ฒ นาอาจารยประจํ าหลัก สูต ร
แผนการจัดการความเสี่ยงดานการบริหารอาจารยประจําหลักสูตร เมื่อไดผลสรุปในเรื่องแผนบริหาร
อาจารยประจําหลักสูตร คณะกรรมบริหารหลักสูตรมอบหมายใหประธานหลักสูตร กํากับ ติดตาม ดู
แลใหอาจารยประจําหลักสูตรปฏิบัติงานตามที่ไดรับมอบหมาย และเปนไปตามแผนที่กําหนด เมื่อสิ้นป
การศึกษา คณะกรรมการบริหารหลัก สูตร มีการประเมิ นแผนบริห ารอาจารย ประจํ าหลัก สูตร โดย
พิจารณาผลการดําเนินงานตามแผน และนําผลการประเมินอาจารยประจําหลักสูตร รวมทั้งปญหาที่เกิด
ขึ้นมาพิจารณา เพื่อปรับปรุงระบบการบริหารอาจารยประจําหลักสูตรสําหรับปการศึกษาตอไป

ภาพแสดง ระบบการบริหารอาจารย์ประจำหลักสูตร

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 10


แต่งตัง้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร พร้อมกาหนดบทบาทหน้าที่

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร คณะกรรมการบริหารหลักสูตรวางแผนการจัดการ
วางแผนอัตรากาลัง ความเสี่ยงด้านการบริหารอาจารย์ประจาหลักสูตร

เสนอแผนการบริหารส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
ประจาหลักสูตรและแผนบริหารความเสี่ยงต่อ
คณะ
หลักสูตรดาเนินการตามแผนฯ ที่ได้รบั อนุมตั ิ

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประเมินแผนฯ โดย


พิจารณาผลการดาเนินงานตามแผนฯ

นาผลการประเมินไปปรับปรุงแผนการบริหาร
ส่งเสริม และพัฒนาอาจารย์ประจาหลักสูตร

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :
ในปการศึ ก ษา 2562 หลั ก สู ต รรัฐ ศาสตรบั ณ ฑิ ต มี ก ารดํ า เนิ น งานการบริ ห าร อาจารยประจํ า
หลักสูตร ดังนี้
1. การกําหนดภาระหนาที่ ใหกั บ อาจารยประจํ าหลั ก สูต ร คณะกรรมการบริห ารหลั กสู ต รมี การ
กํ า หนดภาระหนาที่ ใ หกั บ อาจารยประจํ า หลั ก สู ต ร โดยพิ จ ารณาจากความเหมาะสม ความรู

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 11


ความสามารถ และประสบการณ (การประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ครั้งที่ 2/2562) ดังตาราง
แสดงภาระหนาที่ของอาจารยประจําหลักสูตร ตาราง แสดงภาระหนาที่ของอาจารยประจําหลักสูตร
ลำดับ ภาระงาน ดร. ดร.เกศสุดา ผศ.พรสวรรค์ อ.ชูเกียรติ อ.ธานี
ธรรมรัตน์ / อ.เทอดศักดิ์
1 งานตารางสอน ✓
2 งานปรับปรุงหลักสูตร ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
3 งานอาจารย์ที่ปรึกษา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
4 งานแผนและงบประมาณ ✓ ✓
5 งานวิจัยและพัฒนา ✓ ✓
6 งานศิลปวัฒนธรรม ✓
7 งานบริการวิชาการ ✓ ✓
8 งานกิจการนักศึกษา ✓ ✓
9 งานรับนักศึกษาใหม่ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
10 งานประกันคุณภาพ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
11 งานประเมินภาระงาน ✓
12 งานรับปริญญา ✓ ✓

2. แผนการจัดการความเสี่ยงดานการบริหารอาจารยประจําหลักสูตร
ในปการศึกษา 2562 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีการประชุมรวมกันเพื่อทําการวิเคราะหความ
เสี่ยงดานการบริหารอาจารยประจําหลักสูตรของหลักสูตร พบวาหลักสูตรมีความ เสี่ยง 1 ดาน ไดแก่
ความเสี่ย งกรณี การเขาสูตํ าแหนงทางวิช าการของอาจารยประจําหลักสู ตร หลั กสู ตรไดพิ จ ารณาถึ ง
แนวทางแกไขและดําเนิน การแกไข โดยไดจัดทําแผนการจัดการ ความเสี่ยงดานการบริห ารอาจารย
ประจําหลักสูตร ปงบประมาณ 2562 ดังรายละเอียดตอ ไปนี้
ในปการศึกษา 2562 อาจารยประจําหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต ประกอบดวย อาจารยวุฒิปริญญา
เอก 2 คน วุฒิปริญญาโท 3 คน เปนผูชวยศาสตราจารย 1 คน (ออก) และอาจารย 4 คน
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็น วาความเสี่ยงกรณี การเขาสู่ตำแหน่งทางวิชาการของ
อาจารยประจําหลักสูตรเปนความเสี่ยงที่มีระดับความเสี่ยงสูง มีผลกระทบตอหลักสูตรและมีโอกาสที่จะ
เกิดในระดับสูง คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ไดดําเนินการแกไขปรับปรุงแผนการขอกําหนดตําแหน่ง
ทางวิชาการของอาจารยประจําหลักสูต ร ดัง ตารางแสดง ป พ.ศ. ในการยื่ น ขอกําหนดตําแหนงทาง
วิชาการ และใหกรรมการบริหารหลักสูตรติดตามผลใหเปนไปตามแผนที่กําหนด
ตารางแสดง ปี พ.ศ. ในการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
รายชื่อ ปี พ.ศ. ที่ยื่นขอตำแหน่งทาง
วิชาการ
ผศ. รศ. ศ.
อ.ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
อ.ดร.เกศสุดา โภคานิตย์

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 12


อ.เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก 2563
อ.ชูเกียรติ ผลาผล
อ.ธานี ถังทอง

หมายเหตุ อาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด ยกเว้น อ.เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก มีสถานภาพเป็นอาจารย์


ประจำตามสัญญาจ้าง ไม่สามารถยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการได้ตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
อย่างไรก็ตาม หากมีการปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยในอนาคต อาจารย์ทุกท่านมี
ความพร้อมในการยื่นขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการระดับผู้ช่วยศาสตราจารย์ทันที

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :
สิ้นปการศึกษา 2562 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร มีการประชุมรวมกันเพื่อทําการวิเคราะห และ
ประเมิ น ระบบและผลการดํ าเนิ น งานการบริห ารอาจารยประจํา หลั กสู ต ร ของปการศึก ษา 2562 มี
รายละเอียดดังนี้
1. การกํ าหนดภาระหนาที่ ข องอาจารยประจําหลั ก สูต รเปนไปตามแผนที่ วางไว อาจารยประจํ า
หลั ก สู ต รทุ ก ทานปฏิ บั ติ ห นาที่ ต ามที่ ไ ดรั บ มอบหมายไดเปนอยางดี หลั ก สู ต รวิ เคราะหแลวเห็ น วา
สําหรับปการศึกษา 2563 ใหคงภาระหนาที่ใหกับอาจารยประจําหลักสูตรแตละทานตามเดิม แตจะเพิ่ม
ภาระหนาที่ใหอาจารยประจําหลักสูตรแตละทานไดเรียนรูงานในดานตาง ๆ ของหลักสูตร
2. หลักสูตรประเมินความเสี่ยงกรณีจํานวนอาจารยที่ไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ การเขาสูตําแหนงทาง
วิชาการของอาจารยประจําหลักสูตร หลักสูตรมีอาจารยประจําหลักสูตรที่มีตําแหนงผูชวยศาสตราจารย
1 ทาน (และออกไปเมื่อต้นเดือนมกราคม 2563) อีก 4 ทานไมมีตําแหนงทางวิชาการ เมื่อรับอาจารย์ใหม่
เข้ามา ทำให้อาจารย์ประจำหลักสูตรทั้ง 5 ท่านไม่มีตำแหน่งทางวิชาการ เนื่องจาก 4 ท่านไม่สามารถยื่น
ขอกำหนดตำแหน่ งฯ ได้ หลักสูตรไดติดตามและกระตุ น ใหอาจารยประจําหลัก สูตรที่รับเข้าใหม่ ข อ
กําหนดตํา แหนงทางวิช าการตามแผนที่ วางไวหลั กสู ต รคาดวาในป พ.ศ. 2563 จะมี อ าจารยประจํ า
หลักสูตรขอกําหนดตำแหนงทางวิชาการ 1 ทาน ทั้งนี้อาจารย์ประจำหลักสูตรอีก 4 ท่าน มีความพร้อม
ระดั บ สู ง ในการยื่ น ขอกำหนดตำแหน่ ง ทางวิ ช าการหากได้ รั บ การปรั บ สถานภาพเป็ น พนั ก งาน
มหาวิทยาลัยในอนาคต (รายงานการประชุมครั้งที่ 1/2563)

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :
ในการประชุมคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ครั้งที่ 1/2563 ที่ประชุมมีมติวา สําหรับปการศึกษา
2563 ให้ปฏิบัติ ดังนี้
1. ใหคงภาระหนาที่ ใหกั บ อาจารยประจํา หลัก สู ตรแตละทานตามเดิม แตจะเพิ่ ม ภาระหนาที่ ให

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 13


อาจารยประจําหลักสูตรแตละทานไดเรียนรูงานในดานตาง ๆ ของหลักสูตร
2. ใหประธานหลักสูตรติดตามอาจารยประจําหลักสูตรที่ยังไม่สามารถดำเนินการขอตำแหน่ งทาง
วิชาการได้เพื่อขอปรับสถานภาพ เนื่องจากข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :
ในปีการศึกษา 2562 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้ติดตามผลการปฏิบัติงานตามภาระงานของ
อาจารย์ ประจำหลักสูตร พบว่าอาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนผ่านการประเมินและมีภาระงานไม่ต่ำกว่า
15 หน่วยชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งผ่านการพิจารณาจากคณะกรรมการบริหารงานคณะรัฐศาสตร์
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรได้จัดทำแบบประเมินความพึงพอใจในการบริหารหลักสูตรของอาจารย์
ประจำหลักสูตร ในปีการศึกษา 2562 เพื่อพิจารณาความเสี่ยงที่จำนวนและคุณ สมบัติอาจารย์ประจำ
หลักสูตรจะไม่เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน พบว่าผลประเมินอยู่ในระดับมาก โดยมีคะแนนเท่ากับ 4.43
แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพในการบริหารหลักสูตร

- ระบบการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์
หลักสูตร รัฐศาสตรบั ณฑิ ต สาขาวิชา รัฐศาสตร์ มีกระบวนการการดำเนินงานระบบการส่ ง เสริม และ
พัฒนาอาจารย์ มีรายละเอียดดังนี้
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
อาจารย์ มี ผ ลงานทางวิ ช าการตี พิ ม พ์ ห รื อ นำผลงานทางวิชาการไปยื่นขอกำหนด
เป้าหมาย เผยแพร่อย่างน้อย 1 รายการ/คน/ปี ตำแหน่ ง ทางวิ ช าการ, เกิ ด ทั ก ษะใน
การผลิ ต ผลงานทางวิช าการและการ
พัฒนาการเรียนการสอน
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :
หลั ก สู ต รรั ฐ ศาสตรบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช ารัฐ ศาสตร์ มี ร ะบบการสงเสริ ม และพั ฒ นาอาจารยประจํ า
หลักสูตร (ดังแผนผังที่ด้านล่าง) ระบบการสงเสริมและพัฒนาอาจารยประจําหลักสูตร โดยมีรายละเอียด
ดังนี้ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ประชุมร่วมกับคณะในการ
จัดทําแผนงบประมาณเพื่อจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาอาจารยประจําหลักสูตร ทางดานวิชาการ
และ/หรือวิชาชีพ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรกําหนดใหอาจารยประจําหลักสูตรทุกคนตองไดรับการ
พัฒนา ทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง สนับสนุนและสงเสริมใหอาจารยประจํา
หลักสูตรสรางสรรคงานทางวิชาการอย่ างต่อเนื่อง เมื่อสิ้นปการศึกษาคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
ประชุมรวมกันเพื่อประเมินผลที่ไดจากการ ไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ และการนําผล
ที่ไดไปปรับใชในดานการเรียนการ สอนและ/หรือ งานดานอื่นๆ สรุปภาพรวม ปญหา อุปสรรค ที่เกิดขึ้น

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 14


รวมทั้งพิจารณาขอเสนอแนะ เพื่อนําไปปรับปรุงระบบการสงเสริมและพัฒนาอาจารยประจําหลักสูตร
สําหรับป การศึกษาตอไป

ภาพแสดงระบบการส่งเสริม และพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร

คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดทาแผน
งบประมาณร่วมกับคณะรัฐศาสตร์

อาจารย์ประจาหลักสูตรเข้าร่วมพัฒนาทาง อาจารย์ประจาหลักสูตรมีผลงานทางวิชาการ
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพอย่างน้อย 1 ครัง้ /ปี หรือขอทุนวิจยั อย่างน้อย 1 ครัง้ /ปี

คณะกรรมการบริหารหลักสูตรประเมินผลที่ได้จากการ
ได้รบั การพัฒนา การนาผลไปใช้ ปัญหาและ อุปสรรค

ปรับปรุงระบบการส่งเสริมและการพัฒนาอาจารย์
ประจาหลักสูตรสาหรับปี การศึกษาต่อไป

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 15


• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :
ในปีการศึกษา 2562 หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีการดำเนินงานการส่งเสริมและ
พัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร ดังนี้
1. หลักสูตรได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณเงินรายได้ประจำปีงบประมาณ 2563 (จากคณะ) จำนวน
2,000 บาท (ต่ออาจารย์ 1 ท่าน) ในการพัฒ นาทางด้านวิชาการ และ/หรือวิชาชีพในประเทศ เพื่อการ
นำเสนอผลงานระดับชาติ ส่วนการนำเสนอผลงานต่างประเทศและตีพิมพ์งานวิจัยในวารสารระดับชาติ
และนานาชาติอาจารย์ในหลักสูตรได้ขอเงินอุดหนุนงบประมาณเงินรายได้จากมหาวิทยาลัย
2. อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขารัฐศาสตร์ ได้เข้าร่วมการพัฒนาทางวิชาการและ/
หรือวิชาชีพดัง ตารางแสดง โครงการ/กิจกรรม ที่อาจารย์ประจำหลักสูตร เข้าร่วมในปีการศึกษา 2562
3. จัดทำแผนส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรในการสร้างผลงานทางวิชาการและการขอทุนวิจัย โดย
กำหนดให้อาจารย์ประจำหลักสูตรขอทุนวิจัยหรือตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 ครั้งใน
1 ปี
ตารางแสดงแผนการขอทุนวิจัยและตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ
อาจารย์ แผนการขอทุนวิจัยและตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
ได้รับทุนวิจัย ตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
2562 2563 2562 2563
ดร.ธรรมรัตน์ ✓ ✓
ดร.เกศสุดา ✓ ✓
ผศ.พรสวรรค์/ ✓ ✓ ✓
อ.เทอดศักดิ์
อ.ชูเกียรติ ✓ ✓
อ.ธานี ✓

✓ หมายถึงได้รับทุนวิจัย
๐ หมายถึง มีการตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :
การประเมินระบบและกลไกการการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตร ปีการศึกษา 2562
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ฯ ประชุมเพื่อวางแผนการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ประจำหลักสูตรใน
ด้านต่าง ๆ โดยได้จัดทำแผนพัฒนาตนเองรายบุคคลสำหรับอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อสำรวจอาจารย์
ประจำหลักสูตรที่ ยังไม่มี ตำแหน่งวิชาการและสำรวจความต้องการพัฒ นาตนเองของอาจารย์ประจำ
หลักสูตร ในการประชุมหลักสูตร ฯ ครั้งที่ 2/2562 จากนั้นหลักสูตรได้ร่วมกันวางแผนปรับสัดส่วนภาระ
งานของอาจารย์ ประจำหลักสูตรที่มีความประสงค์ที่จะยื่นแบบคำขอรับการพิจารณากำหนดตำแหน่ง
ทางวิชาการให้มีความเหมาะสม โดยการลดภาระงานในการดำเนินการจัดทำและติดตามการประเมินต่าง

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 16


ๆ โดยการปรับรูปแบบการประเมินให้เป็น google form ทำให้สามารถลดภาระงานลงได้เพื่อให้อาจารย์
สามารถดำเนินการเตรียมผลงานสำหรับใช้ประกอบการยื่นแบบคำขอรับการพิจารณากำหนดตำแหน่ง
ทางวิชาการ นอกจากนี้หลักสูตรยังได้เสนอปรับให้อาจารย์ประจำหลักสูตรทุกคนได้มีโอกาสในการพัฒนา
ตนเองโดยกำหนดให้ลงทะเบียนฝึกอบรมภายในที่จัดโดยมหาวิทยาลัยหรือหน่วยงานภายนอกอย่างน้อย
ปีละ 1 ครั้ง

แผนพัฒนาตนเองของอาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ปีการศึกษา 2562

อาจารย์ ได้รับทุน การตีพิมพ์/เผยแพร่ การฝึกอบรม การยื่นกำหนดตำแหน่ง


วิจัย ผลงานวิชาการ ทางวิชาการ

ดร.ธรรมรัตน์ ✓ ✓ ✓
ดร.เกศสุดา ✓ ✓ ✓
ผศ.พรสวรรค์/ ✓ ✓ ✓
อ.เทอดศักดิ์

อ.ชูเกียรติ ✓ ✓ ✓
อ.ธานี ✓ ✓

หมายเหตุ: การยื่นกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์ไม่สามารถทำได้ทุกท่านเนื่องจากข้อบังคับของ


มหาวิทยาลัย ไม่สามารถให้อาจารย์ประจำตามสัญญาจ้างกระทำได้

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :
จากผลการวิเคราะห์และประเมินระบบข้างต้น หลักสูตรทำการปรับปรุงระบบการส่งเสริมและพัฒนา
อาจารย์ประจำหลักสูตร สำหรับปีการศึกษา 2563 ดังนี้
1. หลักสูตรยังคงจัดทำแผนส่งเสริมอาจารย์ประจำหลักสูตรในการสร้างผลงานงานทางวิชาการและ
การขอทุนวิจัย โดยกำหนดให้อาจารย์ประจำหลักสูตรขอทุนวิจัยหรือตีพิมพ์/เผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
อย่างน้อย 1 ครั้งใน 1 ปี และเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเอง 1 ครั้ง/คน/ปี
2. ในปีพ.ศ. 2563 หลักสูตรคาดว่าจะมีอาจารย์ประจำหลักสูตร 1 ท่านขอกำหนดตำแหน่งทาง
วิชาการในตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ปัจจุบันอยู่ระหว่างการเสนอ กพอ.03 ระดับคณะ)

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 17


• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :
อาจารย์ประจำหลักสูตร มีผลงานทางวิชาการ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ชิ้น ใน 1 ปี และได้รับการฝึกอบรม
อย่างน้อย 1 ครั้ง/คน/ปี แสดงดังตารางต่อไปนี้
อาจารย์ ตีพิมพ์/นำเสนอผลงานวิชาการ/ได้รับทุน ฝึกอบรม
วิจัย
ดร.ธรรมรัตน์ - ได้ รับ ทุ นวิ จั ย จากเงิ นรายได้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ - การฝึกอบรมหลักสูตรจิตอาสา 904 หลักสูตร
ชัยภูมิ ปี 2562 ประจำ 6 สั ป ดาห์ โดยห น่ ว ยราชการใน
พระองค์
ดร.เกศสุดา ได้รับการสนับสนุนการตีพิมพ์ผลงานจากมหาวิทยาลัย - การอบรมระบบฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เพื่อ
การสืบ ค้นและงานวิจัย จากสำนักวิทยบริการ
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
- การอบรมวิจัยอย่ างไรจึงจะจดสิทธิบัตรหรือ
ลิ ข สิ ท ธ์ ไ ด้ จากส ถ าบั น วิ จั ย แล ะพั ฒ น า
มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
- การอบ รมจริ ย ธรรมวิ จั ย ในมนุ ษ ย์ จาก
สถาบั นวิจั ยและพั ฒ นา มหาวิท ยาลั ยราชภั ฏ
ชัยภูมิ
ผศ.พรสวรรค์/อ.เทอดศักดิ์ - ได้รับการสนับสนุนการนำเสนอผลงานจากคณะ - การอบรม เทคนิคการเขียนบทความวิจยั เป็น
ภาษาอั งกฤษเพื่ อตี พิ ม พ์ในวารสารนานาชาติ
จากสถาบันวิจัยและพั ฒนา มหาวิทยาลัย ราช
ภัฏชัยภูมิ
อ.ชูเกียรติ - ได้ รับ ทุ นวิ จั ย จากเงิ นรายได้ ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ
ชัยภูมิ ปี 2562
อ.ธานี - การฝึกอบรมหลักสูตรจิตอาสา 904 หลักสูตร
ประจำ 6 สั ป ดาห์ โดยห น่ ว ยราชการใน
พระองค์
- การอบรมหลั ก สู ตรการช่ ว ยชี วิตขั้ นพื้ นฐาน
โดย กรมแพทย์ทหารบก
- การอบรมช่างซ่อมบำรุงเครื่องใช้ไฟฟ้าภายใน
บ้าน โดยสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวง
แรงงาน

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
4.1-1 รายงานประจำปี 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ เข้าถึงได้จาก
http://eresearch.cpru.ac.th/download/cpru0010.pdf
4.1-2 บันทึกข้อความที่ อว ๐๖๔๖/๕๓๑
4.1-3
4.1-4 วาระการประชุมกรรมการประจำคณะรัฐศาสตร์การยื่นกำหนดตำแหน่งทางวิชาการของอ.เทอดศักดิ์ ไป่
จันทึก

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 18


4.1-5 แฟ้มประกาศนียบัตรการฝึกอบรม
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562 ผลการดำเนินงาน
ประเมินตนเอง เป้าหมาย
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 คะแนน บรรลุ

ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพอาจารย์


 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก
ผลการดำเนินงาน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน มีคุณวุฒิปริญญาเอก จำนวน 2 คน ได้แก่
ลำดับ ชื่อ-สกุล
1 อ.ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา
2 อ.ดร.เกศสุดา โภคานิตย์

โดยแสดงวิธีการคำนวณดังนี้
วิธีการคำนวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีวุฒิปริญญาเอก
2 x 100 = ร้อยละ 40
5

2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
40
x 5 = 5 คะแนน
20
รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
4.2.1-1 ใบอนุมัติปริญญาจากสภามหาวิทยาลัยของ อ.ดร.เกศสุดาและอ.ดร.ธรรมรัตน์
4.2.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 5 คะแนน บรรลุ
หลักสูตรที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก

 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
ผลการดำเนินงาน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ จำนวน 1 คน ได้แก่
ลำดับ ชื่อ-สกุล
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วิทัญญู ขำชัยภูมิ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 19


วิธีการคำนวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
1 x 100 = ร้อยละ 20
5
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
20 x 5 = 1.67 คะแนน
60

เอกสารหลักฐานประกอบ
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
4.2.2-1 เว็บไซต์คณะรัฐศาสตร์
4.2.2-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ร้อยละ 45 ร้อยละ 20 1.67 คะแนน ไม่บรรลุ
หลักสูตรที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

 4.2.3 ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
หมายเหตุ *พิจารณาจากผลงานของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่มีรายชื่อ ณ วันสิ้นสุดปีการศึกษานั้น โดยไม่ต้องนำระยะเวลาในการประจำหลักสูตร
มาพิจารณา
ผลการดำเนินงาน
- มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร จำนวน 5 คน
- มีผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทั้งหมด จำนวน 6 เรื่อง
โดยมีรายละเอียดการดำเนินงานดังนี้
วิธีการคำนวณ
1. คำนวณค่าร้อยละของผลรวมถ่วงน้ำหนักของผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
2.8 x 100 = ร้อยละ 56
5
2. แปลงค่าร้อยละที่คำนวณได้ในข้อ 1 เทียบกับคะแนนเต็ม 5
56 x 5 = 5 คะแนน
20

ข้อมูลประกอบการพิจารณาคุณภาพผลงานทางวิชาการ
ค่า ชื่อ-สกุลอาจารย์ ชื่อผลงานวิชาการ/งานสร้างสรรค์
ที่ ข้อมูลพื้นฐาน
น้ำหนัก
คุณภาพผลงานวิชาทางวิชาการ
- บทความวิ จั ย หรื อ บทความวิ ช าการฉบั บ 0.20 นายเทอดศักดิ์ ไป่จันทึก เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก และพรรสวรรค์ มงคลวรรณศรี. (2562). รากฐาน
สมบู ร ณ์ ที่ ตี พิ ม พ์ ในรายงานสื บ เนื่ อ งจากการ การวิจัยทางสังคมศาสตร์กับการอธิบายทางปรัชญาสังคมศาสตร์.
1 ประชุมวิชาการระดับชาติ การประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ ครั้งที่ 1
มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.
เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก และพรสวรรค์ มงคลวรรณศรี. (2562). พลวัตความ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 20


ค่า ชื่อ-สกุลอาจารย์ ชื่อผลงานวิชาการ/งานสร้างสรรค์
ที่ ข้อมูลพื้นฐาน
น้ำหนัก
ร่วมมือของอาเซียนในช่วงสงครามเย็น. การประชุมวิชาการระดับชาติ
ด้านการบริหารและกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล ครั้งที่ 5 วิทยาลัยการ
ปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับ 0.40 ดร.ธรรมรัตน์ พระศราวุฒิ มหาลาโภ และธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา. (2562). ทักษะ


สมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในรายงานสืบเนื่องจากการ โพธิสุวรรณปัญญา การบริหารแบบมืออาชีพของผู้บริหารองค์กรยุคไทยแลนด์ 4.0.
ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ หรือในวารสาร วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา, 1(2): 1-12.
ทางวิชาการระดับชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตาม
ประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ
อุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงาน
ทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันนำเสนอสภา
2
สถาบันอนุมัติและจัดทำเป็นประกาศให้ทราบ
เป็นการทั่วไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ. ทราบ
ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ
- ผลงานที่ได้รับการจดอนุสิทธิบัตร 0.40

- บทความวิ จั ย หรื อ บทความวิ ช าการฉบั บ 0.60 ดร.เกศสุดา โภคานิตย์ เกศสุดา โภคานิตย์. (2562). ศักยภาพของชุมชนในการพัฒนาความ
สมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่ปรากฏใน เข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากโดยแนวทางประชารัฐตามหลัก
ฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 2 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงแบบมีส่วนร่วมในจังหวัดชัยภูมิ.
วารสารบัณฑิตศึกษามหาจุฬาขอนแก่น, 6(3): 278-289.

3 ผศ.พรสวรรค์ สุนทร ปัญญะพงษ์, อัญชลี ชัยศรี, ทัศไนยวรรณ ดวงมาลา, วิทัญญู


มงคลวรรณศรี ขำชัยภูมิ และวิมลศิลป์ ปรุงชัยภูมิ. (2562). การบริหารจัดการ
กองทุน หมู่บ้านตามหลักธรรมาภิบาล: กรณีศึกษากองทุน
หมู่บ้านช่อระกา ตำบลนาฝาย อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ.
วารสารวิชาการ มจร. บุรีรัมย์, 4(2): 27-37.

- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับ 0.80 อ.ชูเกียรติ ผลาผล ชูเกียรติ ผลาผล. (2562). การกล่อมเกลาทางการเมืองที่นำไปสู่


สมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ แบบแผนวัฒนธรรมทางการเมืองของผู้นำทางการเมืองในพื้นที่
นานาชาติที่ไม่อยู่ในฐานข้อมูล ตามประกาศ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ธรรมทรรศน์, 19(4): 47-58.
ก.พ.อ. หรือระเบียบคณะกรรมการการ
อุดมศึกษาว่าด้วย หลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงาน
4
ทางวิชาการ พ.ศ. 2556 แต่สถาบันนำเสนอสภา
สถาบันอนุมัติและจัดทำเป็นประกาศให้ทราบ
เป็นการทั่วไป และแจ้งให้ ก.พ.อ./กกอ.ทราบ
ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ออกประกาศ (ซึ่งไม่อยู่
ใน Beall’s list) หรือตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่
ปรากฏในฐานข้อมูล TCI กลุ่มที่ 1
- บทความวิจัยหรือบทความวิชาการฉบับ 1.00
สมบูรณ์ที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับ
นานาชาติที่ปรากฏในฐานข้อมูลระดับ
นานาชาติตามประกาศ ก.พ.อ. หรือระเบียบ
คณะกรรมการการอุดมศึกษา ว่าด้วย
หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการ
สำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ พ.ศ.
5 2556
- ผลงานได้รับการจดสิทธิบัตร 1.00
- ผลงานวิชาการรับใช้สังคมที่ได้รับการประเมิ น 1.00
ผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการแล้ว
- ผลงา นวิ จั ย ที่ ห น่ ว ย งานห รื อ องค์ ก ร 1.00
ระดับชาติว่าจ้างให้ดำเนินการ
- ผลงานค้นพบพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ ที่ค้นพบใหม่ 1.00
และได้รับการจดทะเบียน

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 21


ค่า ชื่อ-สกุลอาจารย์ ชื่อผลงานวิชาการ/งานสร้างสรรค์
ที่ ข้อมูลพื้นฐาน
น้ำหนัก
- ตำราหรื อ หนั ง สื อ หรื อ งานแปลที่ ได้ รั บ การ 1.00
ประเมินผ่านเกณฑ์การขอตำแหน่งทางวิชาการ
แล้ว
- ตำราหรือหนังสือหรืองานแปลที่ผ่านการ 1.00
พิจารณาตามหลักเกณฑ์การประเมินตำแหน่ง
ทางวิชาการ แต่ไม่ได้นำมาขอรับการประเมิน
ตำแหน่งทางวิชาการ
คุณภาพงานสร้างสรรค์
- งานสร้างสรรค์ที่มีการเผยแพร่สู่สาธารณะใน 0.20
6 ลักษณะใดลักษณะหนึ่ง หรือผ่านสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์ Online
- งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับ 0.40
7
สถาบัน
8 - งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับชาติ 0.60
- งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับ 0.80
9
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
- งานสร้างสรรค์ที่ได้รับการเผยแพร่ในระดับ 1.00
10
ภูมิภาคอาเซียน/นานาชาติ
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมด รวมทัง้ ที่
11
ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ
จำนวนนักวิจัยประจำทั้งหมด รวมทัง้ ที่
12
ปฏิบัติงานจริงและลาศึกษาต่อ
เอกสารหลักฐานประกอบ
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
4.2.3-1 แฟ้มรวบรวมผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำหลักสูตร ปีการศึกษา 2562

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
4.2.3 ผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ ร้อยละ 15 ร้อยละ 56 5 คะแนน บรรลุ
หลักสูตร

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์


ผลการดำเนินงาน
หลักสูตรมีผลการดำเนินงานผลที่เกิดกับอาจารย์ มีรายละเอียดังนี้
- อัตราการคงอยู่ของอาจารย์
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีอาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวน 5 ท่าน ซึ่งอาจารย์มี
ความเพี ยงพอต่ อ สั ด ส่ วนจำนวนนั ก ศึ ก ษาที่ ใช้ ส ำหรับ การบริห ารจั ด การและการจั ด การเรี ย นการสอนตาม
มาตรฐานหลักสูตร รวมทั้งมีการจัดทำแบบสำรวจแนวโน้มอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรตั้งแต่
ปีการศึกษา 2560-2562 อัตราการคงอยู่ ร้อยละ 93.33 ดังนี้
ลำดับ ปีการศึกษา 2560 ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562
1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวรรค์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสวรรค์ ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณ
มงคลวรรณศรี มงคลวรรณศรี ปัญญา
2 อาจารย์เกศสุดา โภคานิตย์ อาจารย์เกศสุดา โภคานิตย์ ดร.เกศสุดา โภคานิตย์

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 22


3 อาจารย์ธานี ถังทอง อาจารย์ธานี ถังทอง อาจารย์ธานี ถังทอง
4 อาจารย์ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณ อาจารย์ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณ อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล
ปัญญา ปัญญา
5 อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล อาจารย์ชูเกียรติ ผลาผล อาจารย์เทอดศักดิ์ ไป่จันทึก
ร้อยละอัตราการ 100 100 80
คงอยู่
หมายเหตุ * อัตราคงอยู่ของอาจารย์ให้พิจารณาจากรายชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลงในแต่ละปี ตั้งแต่หลักสูตรใหม่/ปรับปรุง
ที่ได้รับการอนุมัติ/เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัยให้เปิดดำเนินการ

- ความพึงพอใจของอาจารย์
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีการประชุมคณะกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อหารือด้าน
การบริหารจัดการหลักสูตร โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเข้าร่วมการประชุมมากกว่า ร้อยละ 80 ทุกครั้ง ทำ
ให้การหารือการจัดการเรียนการสอน การกำหนดผู้สอน การติดตามการจัดทำมคอ. มีการประเมินความพึงพอใจ
ของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารจัดการหลักสูตร ในประเด็น การดำเนินงานตามหน้าที่ การจัดทำมคอ.
3 - 7 ตลอดจนการจัดการเรียนการสอน การกำหนดผู้สอน มีค่าคะแนนเฉลี่ยการประเมินแต่ละปีการศึกษาดังนี้
ดังนี้
ปีการศึกษา ผลการประเมินความพึงพอใจ ผลการเปรียบเทียบ
2560 4.06 เพิ่มขึ้น
2561 4.11 เพิ่มขึ้น
2562 4.43 เพิ่มขึ้น
หมายเหตุ *ความพึงพอใจของอาจารย์ให้พิจารณาความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้ง 5 คน ที่ได้ทำหน้าที่ประจำหลักสูตร เป็นการ
ประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อกระบวนการที่ได้ดำเนินการให้กับอาจารย์ตามกิจกรรมต่างๆ

ผลการดำเนินงาน :
ผลการประเมินความพึงพอใจของอาจารย์ประจำหลักสูตรต่อการบริหารหลักสูตร ของหลักสู ตรรัฐศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
4.3-1 รายงานการประเมินผลความพึงพอใจของอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตร
ต่อการบริหารหลักสูตรประจำปีการศึกษา 2562

การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์ 4 ระดับ 4 ระดับ 4 คะแนน บรรลุ
หมายเหตุ *กรณีหลักสูตรที่มีการดำเนินงานไม่ถึงระยะเวลา 3 ปี ให้มีค่าเป้าหมายการดำเนินงาน ระดับ 3

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 23


หมวดที่ 3 นักศึกษาและบัณฑิต
1. ข้อมูลนักศึกษาที่รับเข้า/จำนวนนักศึกษาคงอยู่
จำนวนนักศึกษาคงอยู่ (คน)
ปีการศึกษาที่รับเข้า
[ปีการศึกษา] [ปีการศึกษา] [ปีการศึกษา] [ปีการศึกษา] [ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
รวม

2. ปัจจัย/ที่มีผลต่อจำนวนนักศึกษาตามแผนการศึกษา
[ตัวอย่าง] การให้กองทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาจากรัฐบาล อาจไม่ต่อเนื่อง ทำให้นักศึกษาทีข่ าดทุนทรัพย์ในการศึกษา
ต้องพักการเรียน โดยปัจจุบัน มีจำนวนนักศึกษาที่ขอทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาประมาณ 5 % ของจำนวนนักศึกษาในแต่ละรุ่น
3. จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา
ปีการศึกษาที่รับเข้า จำนวนผู้สำเร็จการศึกษา (คน) ร้อยละ
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]
[ปีการศึกษา]

4. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการสำเร็จการศึกษา
[พิมพ์เนื้อหาที่ตำแหน่งนี้............................]……………………………………………………………………………………………

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 24


………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………………
……………………………………………………………………………………………………..

องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ผลการดำเนินงาน
ผลการสำรวจความคิด เห็ น ของผู้ ใช้ บั ณ ฑิ ต ต่อ คุ ณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ปริญ ญาตรี โท และเอก ตามกรอบ
มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ระดับอุ ดมศึ กษาแห่ งชาติ ของหลั กสูตร จากบั ณ ฑิ ต ที่ สำเร็จ การศึ กษาในหลั ก สูต รภาคปกติ
ภาคพิเศษ ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2561 – 31 พฤษภาคม 2562
รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
2.1-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
2.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
2.1 คุณภาพบัณฑิตตามกรอบมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย 4.50 ค่าเฉลี่ย........... ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]
คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 25


ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ผลการดำเนินงาน
ผลการสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตปริญ ญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
ของหลักสูตร จากบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรภาคปกติ ภาคพิเศษ ระหว่างวันที่ 1 มิถุนายน 2561 – 31
พฤษภาคม 2562
รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
2.2-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
2.2-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมิน เป้าหมาย
2.2 ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำ ร้อยละ 80
หรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี
การวิเคราะห์ผลที่ได้
[วิเคราะห์ผลการเปลี่ยนแปลงหรือแนวโน้มของการได้งานทำ โดยใช้ข้อมูลภาวะตลาดแรงงาน ภาวะ
เศรษฐกิจ และการเปรียบเทียบกับข้อมูลที่ผ่านมาและสถาบันอื่นที่เปิดสอนสาขา/สาขาวิชาเดียวกัน เพื่อเป็น
ข้อมูลในการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร] …………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 26


องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา
หมายเหตุ *ในการพิจารณาเกี่ยวกับการรับเข้าและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา ขอให้ดูเจตนารมณ์ของหลักสูตร ว่าต้องการนักศึกษาที่มี
คุณสมบัติอย่างไร และจัดเตรียมความพร้อมให้กับนักศึกษาที่จะศึกษาในหลักสูตร โดยพิจารณาจาก มคอ.2 ที่ได้ระบุถึงปัญหาของนักศึกษาแรกเข้าและ
การแก้ปัญหา
- การรับนักศึกษา
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 27


• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- การเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา(กรณีการรับนักศึกษาที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกำหนด)
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 28


• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
3.1-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
3.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562 ผลการดำเนินงาน
ประเมินตนเอง เป้าหมาย
3.1 การรับนักศึกษา 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]

ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา


- การควบคุมการดูแลการให้คำปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่นักศึกษาปริญญาตรี
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 29


• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสริมสร้างทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 30


• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
3.2-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
3.2-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการประเมิน คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ตนเอง ประเมินตนเอง เป้าหมาย
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 31


ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
- การคงอยู่
[อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา คิดจากจำนวนนักศึกษาที่เข้าในแต่ละรุ่น ลบด้วย จำนวนนักศึกษาที่ออก
ทุ กกรณี นั บ ถึ งสิ้ น ปี ก ารศึ ก ษาที่ ป ระเมิน ยกเว้น การเสีย ชี วิต การย้า ยสถานที่ ท ำงานของนั ก ศึ ก ษาในระดั บ
บัณฑิตศึกษา คิดเป็นร้อยละของจำนวนที่รับเข้าในแต่ละรุ่น]
ปี จำนวน จำนวนนักศึกษาตามหลักสูตร  จำนวนที่ลาออกและคัดชื่อออกสะสม
การศึกษา รับเข้า 2558 2559 2560 2561 2562 จนถึงสิ้นปีการศึกษา 2562
2558 X
2559 X
2560 X
2561 X
2562 X
รายละเอียดอัตราการสำเร็จการศึกษา และอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา
ปี จำนวน จำนวนสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร  จำนวนที่ลาออกและคัดชือ่ ออกสะสม
การศึกษา รับเข้า 2559 2560 2561 2562 จนถึงสิ้นปีการศึกษา 2562
2556 X
2557 X
2558 X
2559 X
หมายเหตุ* วิธีการคำนวณ
อัตราการสำเร็จการศึกษา
(2) x 100 อัตราการคงอยู่ (1) - (3) x 100
(1) (1)
ปีการศึกษา อัตราการคงอยู่ อัตราการสำเร็จการศึกษา
2560 ....[ร้อยละ]..... ....[ร้อยละ].....
2561 ....[ร้อยละ]..... ....[ร้อยละ].....
2562 ....[ร้อยละ]..... ....[ร้อยละ].....

- ความพึงพอใจของนักศึกษา

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 32


นักศึกษามีความพึงพอใจต่อหลักสูตร แยกเป็นแต่ละปีดังนี้
ปีการศึกษา ผลการประเมิน หมายเหตุ
2560
2561
2562
หมายเหตุ *การประเมินความพึงพอใจของนักศึกษา เป็นการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อกระบวนการที่ดำเนินการให้กับนักศึกษาตาม
กิจกรรมในตัวบ่งชี้ที่ 3.1 และ 3.2
- ผลการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษา
การจัดการข้อร้องเรียน หมายถึง การอธิบายการจัดการข้อร้องเรียนที่มีนัยสำคัญไม่ได้เน้นที่ปริมาณหรือ
จำนวนข้อร้องเรียน โดยหลักสูตรมีการจัดการข้อร้องเรียนของนักศึกษามีรายละเอียดดังนี้
ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
3.3-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
3.3-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]
หมายเหตุ *กรณีหลักสูตรที่มีการดำเนินงานไม่ถึงระยะเวลา 3 ปี ให้มีค่าเป้าหมายการดำเนินงาน ระดับ 3

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 33


หมวดที่ 4 ข้อมูลสรุปรายวิชาและคุณภาพการสอน
1. สรุปผลรายวิชาที่เปิดสอนในภาค/ปีการศึกษา
ระดับคะแนน จำนวน
นักศึกษา
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา
ลง สอบ
A B + B C+ C D+ D F I W PD P NP S U
ทะเบียน ผ่าน
ภาคการศึกษาที่ 1
นักศึกษาภาคปกติ
1150011 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
1200022 สุนทรียภาพของชีวิต
1250032 วิถีโลก
1408051 กีฬาเพื่อสุขภาพ
3022101 ความรู้เบ้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์
3022102 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
1116215 กฎหมายรัฐธรรมนูญ
1116235 กฎหมายอาญา1 ภาคทั่วไป
6216309 การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
6216315 อาเซียนในการเมืองโลก
6216318 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์
6216331 ระบบบริหารราชการไทย
6216434 ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์
1116416 กฎหมายปกครอง
1116439 กฎหมายลักษณะพยาน
6216330 องค์การและการจัดการ
6216332 การบริหารการคลังสาธารณะและ
งบประมาณ
6216412 สื่อมวลชนกับการเมือง
6216417 จริยธรรมสำหรับนักรัฐศาสตร์
6218401 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพทาง
รัฐศาสตร์
1150013 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทาง
วิชาการ
1400042 การคิดและการตัดสินใจ
1116314 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
6216304 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาเบื้องต้น
1117252 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
6216207 การเมืองและการปกครองไทย
6216205 ปรัชญาและความคิดทางการเมือง
นักศึกษาภาค กศ.ปช.
1116336 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด
6216202 ทักษะการอ่านและการเขียนงานทาง
รัฐศาสตร์
6216313 กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง และ
การเลือกตั้ง
6216315 อาเซียนในการเมืองโลก
6216331 ระบบบริหารราชการไทย
1116102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 34


ระดับคะแนน จำนวน
นักศึกษา
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา
ลง สอบ
A B + B C+ C D+ D F I W PD P NP S U
ทะเบียน ผ่าน
1116103 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐประศาสน
ศาสตร์
12500332 วิถีโลก
1408051 กีฬาเพื่อสุขภาพ

ภาคการศึกษาที่ 2
นักศึกษาภาคปกติ
11500122 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
12500312 บัณฑิตกับสังคม
12500322 วัฒนธรรมและวิถีไทย
1400043 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
3022103 การเมืองการปกครองไทย
3022105 ค ว า ม รู้ เ บื้ อ ง ต้ น เ กี่ ย ว กั บ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
1116208 นโยบายสาธารณะและการวางแผน
1116234 กฎหมายแพ่ง : หลักทั่วไป
6216202 ทั ก ษะการอ่ า นและการเขี ย นงาน
ทางรัฐศาสตร์
6216206 ทฤษฎีการเมืองการปกครอง
6216208 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย
6216214 การเมืองการปกครองในเอเซีย
ตะวันออกเฉียงใต้
6216438 สัมมนาการเมืองอีสาน
1116336 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด
6216304 สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
เบื้องต้น
6216311 โลกาภิวัตน์ รัฐชาติ และประชา
สังคม
6216313 กลุ่มผลประโยชน์ พรรคการเมือง
และการเลือกตั้ง
6216316 สัมมนาการเมืองและการปกครอง
6216435 วรรณกรรมคัดสรรทางรัฐศาสตร์
6218402 การฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ทาง
รัฐศาสตร์
นักศึกษาภาค กศ.ปช.
1116336 กฎหมายอาญา 2 : ภาคความผิด
6216304 สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์
เบื้องต้น
6216311 โลกาภิ วั ต น์ รั ฐ ชาติ และประชา
สังคม
6216434 ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์
6216435 วรรณกรรมคัดสรรทางรัฐศาสตร์
11500122 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร I
12500312 บัณฑิตกับสังคม
3022102 สั ง ค มวิ ท ย าแ ล ะม านุ ษ ย วิ ท ย า
เบื้องต้น

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 35


ระดับคะแนน จำนวน
นักศึกษา
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา
ลง สอบ
A B + B C+ C D+ D F I W PD P NP S U
ทะเบียน ผ่าน
3022103 การเมืองการปกครองไทย
ปีการศึกษา 3/2562 (นักศึกษาภาค กศ.ปช.)
1116416 กฎหมายปกครอง
6216309 การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ
6216316 สัมมนาการเมืองและการปกครอง
6216412 สื่อมวลชนกับการเมือง
หมายเหตุ : โปรดระบุเป็นตัวเลขจำนวนนักศึกษาที่ได้เกรดในรายวิชาที่เรียน

2. การวิเคราะห์รายวิชาที่มีผลการเรียนไม่ปกติ[นำมาจาก มคอ 5 ของแต่ละวิชา]


รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ภาค ความผิดปกติ การตรวจสอบ เหตุที่ทำให้ผิดปกติ มาตรการแก้ไข
การศึกษา
[รหัส [ชื่อวิชา] [.ภาค [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.........]
วิชา] การศึกษา.]
[รหัส [ชื่อวิชา] [.ภาค [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.........]
วิชา] การศึกษา.]
[รหัส [ชื่อวิชา] [.ภาค [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.........]
วิชา] การศึกษา.]
[รหัส [ชื่อวิชา] [.ภาค [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.............] [.รายละเอียด.........]
วิชา] การศึกษา.]

3. รายวิชาที่ไม่เปิดสอนในปีการศึกษา
รายวิชา ภาคการศึกษา
[ระบุชื่อรายวิชา]..........

4. การเปิดรายวิชาในภาคหรือปีการศึกษา
รายวิชาที่ไม่ได้เปิดสอนตามแผนการศึกษา และเหตุผลที่ไม่ได้เปิดสอน [กรณีที่ไม่ได้เปิดสอนให้นำมาจากตารางสอนใน
ภาคนั้น ๆ]
รหัสวิชา/ชื่อรายวิชา /ภาค เหตุผลที่ไม่เปิดสอน มาตรการที่ดำเนินการ
การศึกษา/คำอธิบายรายวิชา
[ระบุรหัสและชื่อรายวิชา].......... [ตัวอย่าง : เป็นวิชาเลือกที่กำหนดไว้แต่ [ระบุมาตรการทดแทนที่ได้ดำเนินการ]..........
ภาคการศึกษาที่ ไม่ได้เปิดเนื่องจากมีนักศึกษาสนใจ [ตัวอย่าง : อาจกำหนด หรือเปลี่ยนแปลงวิชา
........./255......... ลงทะเบียนน้อย จากการที่มีการเปิด เลือกที่เป็นที่สนใจและเป็นความต้องการของ
คำอธิบายรายวิชา รายวิชาเลือกปริมาณมาก] ตลาด]
.....................................

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 36


5. การแก้ไขกรณีที่มีการสอนเนื้อหาในรายวิชาไม่ครบถ้วน [กรณีสอนเนื้อหาไม่ครบ นำมาจาก มคอ.5 ของแต่
ละวิชา]
รหัสวิชา/ชื่อรายวิชา สาระหรือหัวข้อที่ขาด สาเหตุทไี่ ม่ได้สอน วิธีการแก้ไข
/ภาคการศึกษา/
คำอธิบายรายวิชา
[ระบุรหัสและชื่อ [ระบุเหตุผลที่ไม่เปิด [ ตัวอย่าง : หลักสูตรไม่ได้ตั้ง [ตัวอย่าง : ได้เชิญวิทยากรนำ
รายวิชา].......... สอน] งบประมาณในการดูงานไว้ อีกทั้ง ภาพวิดีโอและอุปกรณ์ที่มี
ภาคการศึกษาที่ [ตัวอย่าง : การนำ นักศึกษาชั้นปีที่ 1 มีกิจกรรมมากใน เทคโนโลยีนำสมัยมาเสนอในชั้น
........./255......... นักศึกษาไปดูงานนอก เทอมแรกจึงไม่สะดวกในการเดินทาง เรียนทดแทนการเดิน]
คำอธิบายรายวิชา สถานที่] และหาเวลาชัดเจน]
.....................................

6. รายวิชาที่มีการประเมินคุณภาพการสอน และแผนการปรับปรุงจากผลการประเมิน
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา ภาคการศึกษา ผลการประเมินโดยนักศึกษา
[รหัสวิชา] [.....ชื่อวิชา....] [.ภาคการศึกษา.] [.รายละเอียดผลการประเมิน.............]
[รหัสวิชา] [.....ชื่อวิชา....] [.ภาคการศึกษา.] ตัวอย่าง : ผลการประเมินอยู่ในระดับดีแต่มีบางประเด็นเกี่ยวกับ
วิธีการสอนในบางรายวิชายังต้องปรับปรุง

7. ประสิทธิผลของกลยุทธ์การสอน
มาตรฐานผลการเรียนรู้ สรุปข้อคิดเห็นของผู้สอนและข้อมูล แนวทางการแก้ไขหรือปรับปรุง
ป้อนกลับจากแหล่งต่างๆ
คุณธรรมจริยธรรม ตัวอย่าง : การประเมินคุณธรรม จริยธรรม ตัวอย่าง : มีการเชิญวิทยากรจาก
ควรสอด แทรกในวิชาให้เห็นถึงผลกระทบจาก ภายนอก ที่ได้มีประสบการณ์ในการได้รับ
การทำผิดคุณธรรม โดยยก กรณีศึกษาและให้ ผลกระทบจากการขาดจริยธรรมใน
มีการแสดงความเห็นกลุ่มย่อย วิชาชีพมาให้ความรู้
ความรู้ ตัวอย่าง : ควรมีการทดสอบความรู้เป็นระยะ ตัวอย่าง : จัดให้มีข้อกำหนดในการวัดผล
ไม่ใช่เพียงการสอบกลางภาคและปลายภาค ความรู้นอกเหนือจากการสอบที่
และเพิ่มการทดสอบแบบอื่น เช่น จากการฝึก หลากหลาย ในทุกวิชา
ทำงานเป็นกลุ่มที่มอบหมาย
ทักษะทางปัญญา ตัวอย่าง : ควรมีการให้นักศึกษา ศึกษาบาง ตัวอย่าง : เตรียมแผนฝึกให้นักศึกษาได้
หัวข้อบางวิชาเรียน และมาสอนเพื่อนๆ ใน ค้นคว้าด้วยตนเองมากขึ้น
ห้อง
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคล ตัวอย่าง : มีการสลับตำแหน่งหัวหน้ากลุ่มใน ตัวอย่าง : มีการวางแผนให้นักศึกษาส่ง
และความรับผิดชอบ การนำเสนองาน เพื่อความเท่าเทียมในความ รายชื่อ ที่มีการสลับตำแหน่งหน้าที่ใน
รับผิดชอบในงาน กลุ่ม และรายงานผลการประชุมทำงาน
กลุ่มอย่างสม่ำเสมอ
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การ ตัวอย่าง : ควรเพิ่มโจทย์ที่มีการวิเคราะห์เชิง ตัวอย่าง : หาโจทย์ที่มีการวิเคราะห์เชิง
สื่อสารและการใช้เทคโนโลยี ตัวเลขมากขึ้น และใช้การส่งงานผ่าน E-Mail ตัวเลขเตรียมไว้สำหรับการสอนครั้งต่อไป
สารสนเทศ

8. การปฐมนิเทศอาจารย์ใหม่

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 37


การปฐมนิเทศเพื่อชี้แจงหลักสูตร มี  ไม่มี ❑
จำนวนอาจารย์ใหม่ .........0............. คน
จำนวนอาจารย์ที่เข้าร่วมปฐมนิเทศ ............0.......... คน
8.1 สรุปสาระสำคัญในการดำเนินการ
[ตัวอย่าง]ฝ่ายวิชาการ และกิจการนักศึกษาดำเนินการอบรมทุกปี โดยจัดให้มี การสัมมนา เรียนรู้หลักการสอน
วิธีการสอน การประเมินผล รวมถึงแนวทางการให้คำปรึกษาแก่นักศึกษา ทั้งด้านวิชาการและกิจกรรม
8.2 สรุปการประเมินจากอาจารย์ที่เข้าร่วมกิจกรรมปฐมนิเทศ
[ตัวอย่าง]โดยสรุป อาจารย์มีความพอใจที่ มหาวิทยาลัยมีการจัดสัมมนาอาจารย์ใหม่
8.3 หากไม่มีการจัดปฐมนิเทศ ให้แสดงเหตุผลที่ไม่ได้ดำเนินการ
[ตัวอย่าง] ไม่มี

9. กิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพของอาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน
จำนวนผู้เข้าร่วม สรุปข้อคิดเห็น และประโยชน์ที่ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม
กิจกรรมที่จัดหรือเข้าร่วม อาจารย์ บุคลากรสาย ได้รับ
สนับสนุน
ตัวอย่าง : การส่งอาจารย์ไปเข้ารับ 5 - ตัวอย่าง : โดยสรุป ผู้เข้าอบรมมีความพอใจมาก ใน
การอบรม เพื่อก้าวทันเทคโนโลยี การที่คณะฯ ได้จัดให้มีทุน และกิจกรรมสนับสนุน
และเรียนรู้การใช้เครื่องมือ หรือ การพัฒนาขีดความสามารถของบุคลากร
โปรแกรมสมัยใหม่
หมายเหตุ : หลักสูตรใดที่มีบุคลากรสายสนับสนุนที่ปฏิบัติหน้าทีใ่ นห้องปฏิบัติการประจำหลักสูตรให้ นำมานับรวมในข้อนี้ด้วย

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 38


องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
- การออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตร
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
3
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

คณะผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ยกร่างหลักสูตรใหม่/หลักสูตรปรับปรุง
- คกก. พัฒนาหลักสูตร ยกร่างหลักสูตร
- คคก.วิพากษ์ร่างหลักสูตร

คณะกรรมการประจำคณะ

งานบริการการศึกษาตรวจสอบเอกสาร รวบรวมเสนอวาระ

สภาวิชาการ

สภามหาวิทยาลัย

สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

มหาวิทยาลัย/งานบริการการศึกษา(ทะเบียน)

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 39


• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน : หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งผลิตบัณฑิตให้เป็น
ผู้มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการด้านปรัชญาและทฤษฎีทางการเมืองการปกครองประเทศ และ มี
ความรอบรู้ในเนื้ อหาทฤษฎีและระเบียบวิธีวิทยาทางรัฐศาสตร์ สามารถปรับตัวให้เข้ากับกระแสการ
เปลี่ยนแปลงของโลกได้ มีความรู้เชื่อมโยงทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและนานาชาติ และมีความพร้อ ม
ในการประกอบอาชีพ ตลอดจนมีคุณธรรมจริยธรรม
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร เพื่อผลิตบัณฑิต ให้มีความรู้ความสามารถในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. สามารถนำองค์ ค วามรู้ ท างรั ฐ ศาสตร์ ม าใช้ ในการแสวงหาความรู้ เข้ า ใจและอธิ บ าย
ปรากฏการณ์ต่างๆ ทางสังคมและการเมืองได้
2. มี ค วามรู้ ก ว้ า งไกลและลึ ก ซึ้ ง ในด้ า นการเมื อ งการปกครองและทางสั ง คม รวมถึ ง
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับสากล
3. บั ณ ฑิ ต ทางรั ฐ ศาสตร์ มี คุ ณ สมบั ติ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของตลาดแรงงานทั้ ง
ภายในประเทศและระหว่างประเทศ
4. มีศักยภาพและทักษะในการทำงาน เต็มใจร่ วมรับผิดชอบสังคม โดยยึดหลักของคุณธรรม
และจริยธรรม
กระบวนการในการเริ่มและพัฒนาหลักสูตร
1. อาจารย์ ป ระจำหลัก สู ต รสำรวจข้ อ มูล ด้ านต่ าง ๆ ของหลัก สู ต ร ความต้ องการตามแผนของ
มหาวิทยาลัย โดยอาจารย์ประจำหลักสูตรดำเนินการสำรวจความต้องการในการศึกษาต่อในหลักสูตร
รัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ของประชาชนทั่วไป
2. อาจารย์ประจำหลักสูตรนำผลจากการสำรวจรวบรวมเพื่ อดำเนินการจัดทำรายละเอียดของ
หลั กสู ต ร หรือ มคอ.2 และเสนอร่ างหลั ก สู ต ร มคอ.2 และโครงการเปิ ด สอนต่ อ คณะเพื่ อพิ จ ารณา
เห็นชอบเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
3. คณะเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
4. คณะเสนอแต่งตั้งคณะกรรมการวิพากษ์ร่างหลักสูตร
5. คณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรสรุปผลการวิพากษ์การพัฒนาหลักสูตรและปรับปรุงรายละเอียด
ของเอกสาร มคอ.2 จากนั้นเสนอต่อคณะกรรมการวิชาการคณะ และเสนอต่อคณะกรรมการประจำคณะ
6. คณะกรรมการเสนอต่องานบริการวิชาการ (ทะเบียน) เพื่อตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์ของ
รายละเอียดของหลักสูตรและเสนอต่อสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย
7. สภาวิชาการของมหาวิทยาลัยเสนอหลักสูตรที่ผ่านความเห็นชอบเสนอต่อสภามหาวิทยาลัย
8. สภามหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติเสนอต่อ สกอ. เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ
9. เมื่ อ สกอ. ให้ ค วามเห็ น ชอบ แจ้ ง มาที่ ม หาวิ ท ยาลั ย งานบริ ก ารวิ ช าการแจ้ ง ต่ อ คณะ และ
คณะกรรมการประจำหลักสูตร เป็นเล่มหลักสูตรที่ผ่านการรับรอง
การวิพากษ์หลักสูตร
หลักสูตรรัฐศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ ดำเนินการตามระบบและกลไก โดยดำเนินการจัดการวิพากษ์
หลักสูตรปรับปรุงในวันที่ 17 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณ ห้องประชุมปู่ด้วง– ย่าดี ชั้น 6 อาคาร 80
พรรษามหาวชิราลงกรณ โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิ ท่าน ได้แก่

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 40


1. รองศาสตราจารย์ ดร.ศิวัช ศีโภคางกุล (มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
2. นายอัครา สุวัตถิกุล (ป้องกันจังหวัดชัยภูมิ)
3. นายสุพจน์ ตากลม (นายก อบต.แก้งสนามนาง)
จากการประเมินผลการวิพากษ์หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารั ฐศาสตร์ ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
ที่ทำการวิพากษ์หลักสูตรมีความเห็นโดยรวมว่า หลักสูตรที่นำเสนอมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน
ตอบสนองการเรียนการสอน โดยได้ให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของการวิพากษ์หลักสูตรเพื่อนำไป
ปรับปรุงหลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต (คำสั่ง คณะกรรมการวิพากษ์หลักสูตร)

ตารางเปรียบเทียบหลักสูตรก่อนและหลังการปรับปรุง
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างหลักสูตร พ.ศ. 2557 และหลักสูตร พ.ศ. 2562
ปี พ.ศ. 2557 ปี พ.ศ. 2561
1) กลุ่มวิชาแกน 24 หน่วยกิต 1) กลุ่มวิชาแกน 24 หน่วยกิต
1) 1116102 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์ 1) 3022101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับรัฐศาสตร์
2) 1116103 ค วามรู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ รั ฐ 2) 3022102 สั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา
ประศาสนศาสตร์ เบื้องต้น
3) 6216201 สั ง คมวิ ท ยาและมานุ ษ ยวิ ท ยา 3) 3022103 การเมืองและการปกครองไทย
เบื้องต้น 4) 3022104 ค วาม รู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ รั ฐ
4) 6216202 ทักษะการอ่านและการเขียนงาน ประศาสนศาสตร์
ทางรัฐศาสตร์ 5) 3022105 ค ว า ม รู้ เบื้ อ ง ต้ น เกี่ ย ว กั บ
5) 6216103 ประชาคมอาเซียน ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
6) 1117252 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป 6) 3022106 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป
7) 1116314 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย 7) 3022107 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
8) 6216304 สถิติเพื่อการวิจัยทางสังคมศาสตร์ 8) 3022108 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์
เบื้องต้น
2) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 51 หน่วยกิต 2) กลุ่มวิชาเอกบังคับ 51 หน่วยกิต
1) 6216205 ปรัชญาและความคิดทางการเมือง 1) 3022201 ปรัช ญาและความคิด ทางการ
2) 6216206 ทฤษฎีการเมืองการปกครอง เมือง1
3) 6216207 การเมืองและการปกครองไทย 2) 3022202ปรั ช ญาและความคิ ด ทางการ
4) 6216208 การเมืองการปกครองท้องถิ่นไทย เมือง2
5) 6216309 ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง 3) 3022203 ทักษะการอ่านและการเขียนงาน
เปรียบเทียบ ทางรัฐศาสตร์
6) 1116416 กฎหมายปกครอง 4) 3022204 กฎหมายแพ่ง: หลักทั่วไป
7) 1116215 กฎหมายรัฐธรรมนูญ 5) 3022205 การปกครองท้องถิ่นไทย
8) 1116208 นโยบ ายส าธารณ ะแล ะการ 6) 3022206 ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์
วางแผน 7) 3022207 ส ถ า บั น ก า ร เ มื อ ง แ ล ะ
9) 6216110 ค ว า ม รู้ เบื้ อ ง ต้ น เกี่ ย ว กั บ รัฐธรรมนูญ
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ 8) 3022208 การเมืองเปรียบเทียบ
10) 6216311 โลกาภิวัตน์ รัฐชาติ และประชา 9) 3022209 กฎหมายปกครอง

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 41


สังคม 10) 3022210 อาเซียนในการเมืองโลก
11) 6216412 สื่อมวลชนกับการเมือง 11) 3022211 ก ลุ่ ม ผ ล ป ร ะ โย ช น์ พ ร ร ค
12) 6216313 ก ลุ่ ม ผ ล ป ร ะ โย ช น์ พ ร ร ค การเมือง และการเลือกตั้ง
การเมือง และการเลือกตั้ง 12) 3022212 กฎหมายอาญา 1: ภาคทั่วไป
13) 6216214 การเมื อ งและการปกครองใน 13) 3022213 สันติศึกษา
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 14) 3022214 นโยบายสาธารณะ
14) 6216315 อาเซียนในการเมืองโลก 15) 3022215 จริยธรรมสำหรับนักรัฐศาสตร์
15) 6216316 สั ม ม น าก าร เมื อ งแ ล ะ ก าร 16) 3022216 ก า ร บ ริ ห า ร ข้ อ มู ล ท า ง
ปกครอง รัฐศาสตร์
16) 6216417 จริยธรรมสำหรับนักรัฐศาสตร์ 17) 3022217 สัมมนาการเมืองอีสาน
17) 6216318 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนิ น งาน : คณะกรรมการประจำหลั ก สูต รได้ ป ระเมิ น กระบวนการสำหรับ การปรับ ปรุ ง
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ พบว่า กระบวนการในการอนุมัติเล่มหลักสูตรมีความล่าช้า
อาจอยู่ที่รอบการประชุมคณะ/สภาวิชาการ/สภามหาวิทยาลัย

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน : คณะกรรมการประจำหลักสูตรมอบหมายให้ ผศ.พรสวรรค์ มงคลวรรณศรี และ
ดร.ธรรมรัตน์ โพธิสุวรรณปัญญา (ประธานหลักสูตร) ติดตามรอบการประชุมของคณะ/สภาวิชาการ/สภา
มหาวิทยาลัย เพื่อจัดทำรายละเอียดและปรับแก้หลักสูตรให้ทันต่อห้วงระยะเวลา

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง (โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 42


- การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขานั้น ๆ
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
3
• ระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง (โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 43


รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
5.1-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
5.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]

ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน


- การกำหนดผู้สอน
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
3
• ระบบกลไก/กระบวนการ (แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน : มีระบบและกลไกโดยคณะกรรมการประจำหลักสูตรได้ทำการประชุมเพื่อกำหนด
อาจารย์ผู้สอนที่มีคุณสมบัติเหมาะสมกับรายวิชาที่สอน มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญใน
เนื้อหาวิชาที่สอน และความรู้ที่ทันสมัย เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ประสบการณ์ และให้นักศึกษามี
โอกาสได้รับการพัฒนามุมมอง หรือความคิดความสามารถจากผู้สอนที่มีความหลากหลายความรู้และ
ประสบการณ์ทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชานั้น ๆ
ประชุมคณะกรรมการประจำหลักสูตร

พิจารณาจัดวางผู้สอนกับรายวิชาในแต่
ละปีการศึกษา

จัดตารางเรียน ตารางสอนในแต่ละปี
การศึกษา

คณะกรรมการบริหารคณะพิจารณา

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
จัดงานบริการการศึกษา (ทะเบียน)

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 44


ผลการดำเนินงาน : 1) คณะกรรมการประจำหลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์
ได้ดำเนินการประชุมเพื่อกำหนดอาจารย์ผู้สอนให้มีความเหมาะสมกับรายวิชาต่างๆ ที่ได้ดำเนินการเรียน
การสอนในปีการศึกษา 2562 โดยได้ดำเนินการจัดประชุมคณะกรรมการประจำหลักสูตรครั้งที่ 2/61
วันที่ 25 พฤษภาคม 2561 ปีการศึกษา 2560 และครั้งที่ 4/61 วันที่ 26 ตุลาคม 2561 จากการประชุม
กำหนดรายวิ ชาและชื่ ออาจารย์ ผู้ สอน ที่ เปิ ดสอนในภาคการศึ ก ษาที่ 1/2562 และภาคการศึ กษาที่
2/2562 อาจารย์มีชั่วโมงสอนทั้งสิ้น 15 ชั่วโมง/สัปดาห์ เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2) คณะกรรมการประจำหลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้นำข้อ สรุปจาก
การประชุมเพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการบริหารคณะพิจารณาให้ความเห็นชอบ และนำส่งงานบริการ
การศึกษา (ทะเบียน) ต่อไป

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน : คณะกรรมการประจำหลักสูตร หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิ ต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ได้
นำผลการพิ จารณากำหนดอาจารย์ ผู้ส อนมาประเมิ น ในการประชุ ม คณะกรรมการประจำหลัก สู ต ร
หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ครั้งที่ 4/61 วันที่ 26 ตุลาคม 2561 พบว่า รายวิชาเลือก
เสรีมีนักศึกษาสนในลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคการศึกษาไม่เหมือนกัน

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน : ยังไม่ได้ดำเนินการ

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน : ยังไม่ได้ดำเนินการ

- การกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) การจัดการเรียนการสอน


• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
3
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนิน งาน : มี ระบบและกลไกการกำกับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทำ มคอ.3 จากการ
ประชุมในช่วงก่อนเปิดภาคการศึกษา คณะกรรมการประจำหลักสู ตรมีมติให้อาจารย์ทุกคนต้องมีการทำ
ประมวลกาสอนรายวิชา (มคอ.3) ทุกรายวิชาก่อนเปิดภาคเรียน 30 วัน นอกจากนี้ยังเน้นการออกแบบ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 45


มคอ.3 ของอาจารย์ให้ทันสมัยในด้านเนื้อหา กิจกรรมการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลอย่าง
เหมาะสม

การประชุมคณะกรรมการประจำหลักสูตร

แจ้งกำหนดการจัดทำและส่ง มคอ.3
(ประธานหลักสูตร)

รวบรวม ตรวจสอบ พิจารณา มคอ.3

กำกับ ติดตาม การจัดการเรียนการสอน


ตลอดภาคการศึกษา

สรุปผลการดำเนิ
• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ นงาน
(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 46


ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
5.2-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
5.2-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
5.2 การวางระบบผู้สอนและ 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]
กระบวนการจัดการเรียนการสอน

ตัวบ่งชีท้ ี่ 5.3 การประเมินผู้เรียน


- การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขัน้ ตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 47


• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- การตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 48


• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- การกำกับการประเมินการจัดการเรียนการสอนและการประเมินหลักสูตร (มคอ.5 มคอ.6 และมคอ.7)


• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
3
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 49


• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- การประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระในระดับบัณฑิตศึกษา
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 50


• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
5.3-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
5.3-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
5.3 การประเมินผู้เรียน 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติผลการดำเนินงาน
เกณฑ์
ดัชนีตัวบ่งชี้ (KPI) ผลการดำเนินงาน เป็นไป ไม่เป็นไป เอกสารหลักฐานประกอบ
ไม่เลือก
ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 51


เกณฑ์
ดัชนีตัวบ่งชี้ (KPI) ผลการดำเนินงาน เป็นไป ไม่เป็นไป เอกสารหลักฐานประกอบ
ไม่เลือก
ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์
(1) อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบ 1.1 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทั้งสิ้น 5 คน  ❑ ❑ ตัวอย่าง
หลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 1.2 มีการจัดประชุม 4 ครั้ง ดังนี้ 5.4.1.1 รายงานการประชุ ม
80 มี ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร - ครั้ ง ที่ 1 วั น ที่ 10 เดื อ น พ.ค. พ.ศ. 2562 ค ณ ะกรรม การป ระจำ
ประชุมเพื่อวางแผนติดตาม สถานที่ห้องสาขารัฐศาสตร์ จำนวนอาจารย์เข้าร่วม หลักสูตร
และทบทวนการดำเนินงาน 5 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ100 ประชุ ม เพื่ อ วางแผน 5.4.1.2 ใบลงชื่ อการเข้ า ร่ ว ม
หลักสูตร ติดตาม ประชุม
- ครั้งที่ 2 วันที่ 30 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2562
สถานที่ห้องสาขารับศาสตร์ จำนวนอาจารย์เข้าร่วม
5 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ประชุมเพื่อติดตามผลการ
ดำเนินงาน
- ครั้ ง ที่ 3 วั น ที่ 8 เดื อ น พฤศจิ ก ายน พ.ศ.
2562 สถานที่ ห้องสาขารัฐศาสตร์ จำนวนอาจารย์
เข้ า ร่ ว ม 5 คน คิ ด เป็ น ร้ อ ยละ 100 ประชุ ม เพื่ อ
ทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
(2 ) มี รา ย ล ะเอี ย ด ข อ ง [] กรณีมี มคอ.1  ❑ ❑ ตัวอย่าง
หลั กสู ตร ตามแบบ มคอ. [] มคอ.2 สอดคล้องกับ มคอ.1 5.4.2.1 กรณีมี มคอ.1
2 ที่ ส อดคล้ อ งกั บ กรอบ [ ] มคอ.2 ไม่สอดคล้องกับ มคอ.1 1) มคอ.1
ม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิ [ ] กรณีไม่มี มคอ.1 2) มคอ.2
ระดั บ อุ ดมศึ กษาแห่ ง ชาติ [ ] มคอ.2 สอดคล้องกับประกาศ TQF 5.4.2.2 กรณีไม่มี มคอ.1
ห รื อ ม าต รฐ าน คุ ณ วุ ฒิ [ ] มคอ.2 ไม่สอดคล้องกับประกาศ 1) ประกาศ TQF
สาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี) TQF 2) มคอ.2
(3 ) มี ราย ล ะ เอี ย ด ข อ ง รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
รายวิ ช า และรายละเอี ย ด 1.รายวิชาที่เปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 5.4.3.1 คำสั่งแต่งตั้งผู้สอนใน
ข อ ง ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ 25...... มีจำนวน...... รายวิชา และ ภาคเรียนที่ 2 ปี ทุก รายวิ ช าที่ ระบุใ นแผนการ
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ การศึกษา2562 มี 1 รายวิชา ศึกษาตามที่ระบุใน มคอ.2
มคอ.3 และ มคอ.4 อย่าง 2.รายวิชาที่สง่ มคอ.3 ก่อนเปิดภาคเรียนที่ 1 ปี 5.4.3.2 แ บ บ ส รุ ป ก า ร ส่ ง
น้ อยก่ อ นการเปิ ด สอนใน การศึกษา 25...... มีจำนวน ......รายวิชา และภาค รายละเอียดของรายวิชา(มคอ.
แต่ ล ะภาคการศึ ก ษาให้ เรียนที่ 2 ปีการศึกษา 25...... มี จำนวน......รายวิชา 3)
ครบทุกรายวิชา 5.4.3.3 แ บ บ ส รุ ป ก า ร ส่ ง
รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (มคอ.4 รายละเอียดของประสบการณ์
ถ้ามี) ภาคสนาม (มคอ.4) (ถ้ามี)
1. รายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
ที่เปิดสอนภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 25...... มี
จำนวน......รายวิชา และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
25...... มีจำนวน......รายวิชา
(คำสั่งแต่งตั้งผู้สอนในทุกรายวิชาที่ระบุในแผนการ
ศึกษาตามที่ระบุใน มคอ.2 เอกสารแนบหมายเลข
..............)
2. รายวิชาที่สง่ มคอ.4 (ถ้ามี) ก่อนเปิดภาคเรียนที่
1 ปีการศึกษา 25......มีจำนวน......รายวิชา และ
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 25...... มีจำนวน......
รายวิชา
(4) จั ดทำรายงานผลการ รายงานผลการดำเนินการของรายวิชา (มคอ.5) ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ดำเนิ น การของรายวิ ช า 1.ผลการดำเนินการของรายวิชาในภาคเรียนที่ 1 ปี 5.4.4.1 รายงานผลการ
แ ล ะราย งาน ผ ล การ การศึกษา 25......... มี จำนวน......รายวิชา และภาค ดำเนินการของรายวิชา (มคอ.
ด ำ เ นิ น ก า ร ข อ ง เรี ย นที่ 2 ปี ก ารศึ ก ษา 25 ...... มี จำนวน ...... 5)
ประสบการณ์ ภ าคสนาม รายวิชา
(ถ้ า มี ) ตามแบบ มคอ.5 2.ผลการดำเนิ น การของรายวิ ช า ที่ ส่ ง มคอ.5

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 52


เกณฑ์
ดัชนีตัวบ่งชี้ (KPI) ผลการดำเนินงาน เป็นไป ไม่เป็นไป เอกสารหลักฐานประกอบ
ไม่เลือก
ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์
และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ เปิดสอน
หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ ภาคเรี ย นที่ 1 ปี ก ารศึ ก ษา 25...... มี จ ำนวน ......
เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา รายวิช า และภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึ กษา 25...... มี
จำนวน ...... รายวิชา

รายงานผลการดำเนินการของประสบการณ์
ภาคสนาม (มคอ.6 ถ้ามี)
1.ผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม
(ถ้ามี) ที่เปิดสอนในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 5.4.4.2 รายงานผลการ
25...... มี จำนวน...... รายวิชา และภาคเรียนที่ 2 ปี ดำเนินการของประสบการณ์
การศึกษา 25...... มี จำนวน......รายวิชา ภาคสนาม (มคอ.6 ถ้ามี)
2.ผลการดำเนินการของประสบการณ์ภาคสนามที่ (เอกสารแนบหมายเลข
ส่ง มคอ.6 (ถ้ามี) ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาค ...........)
การศึกษาที่เปิดสอนเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 25...... มี
จำนวน......รายวิชา และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
25...... มี จำนวน ...... รายวิชา
(5) จั ด ทำรายงานผลการ [] มี มคอ.7 ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ดำเนิ น การของหลั ก สู ต ร [ ] ไม่มี มคอ.7 5.4.5.1 มคอ.7
ตามแบบ มคอ.7 ภายใน
60 วัน หลังปีการศึกษา
(6 ) มี ก า ร ท ว น ส อ บ อธิบายผลการดำเนินงานการททวนสอบผลสัมฤทธิ์ ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ผลสั ม ฤทธิ์ ข องนั ก ศึ ก ษา ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5.4.6.1 สรุปการทวนสอบ
ต า ม ม า ต รฐ า น ผ ล ก า ร ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตาม
เรีย นรู้ที่ กำหนดใน มคอ.3 มาตรฐานผลการเรียนรู้
และ มคอ.4 (ถ้ า มี ) อย่ า ง
น้ อ ย ร้ อ ย ล ะ 2 5 ข อ ง
รายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละ
ปีการศึกษา
(7) มีการพั ฒ นา/ปรับ ปรุ ง [] มีผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน  ❑ ❑ ตัวอย่าง
การจั ด การเรี ย นการสอน มคอ.7 ปีทแี่ ล้ว 5.4.7.1 มคอ.7 ปีทแี่ ล้ว
กลยุ ท ธ์ การสอน หรือการ [ ] ไม่มีผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงานใน 5.4.7.2 มคอ.7 ปีทปี่ ระเมิน
ประเมินผลการเรียนรู้ จาก มคอ.7 ปีทแี่ ล้ว 5.4.7.3 มคอ.5 ปีทแี่ ล้ว
ผ ล ก า ร ป ร ะ เมิ น ก า ร [ ] มีโครงการ กิจกรรม หรือรายวิชาที่ดำเนินการ 5.4.7.4 มคอ.3 ปีทปี่ ระเมิน
ดำเนิ น งานที่ ร ายงานใน เพื่อพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนจากผล
มคอ.7 ปีที่แล้ว การประเมินในปีที่แล้ว
(8) อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุก [] มีอาจารย์ใหม่  ❑ ❑ ตัวอย่าง
คน ได้ รั บ การปฐมนิ เทศ - มีอาจารย์ใหม่ทงั้ สิ้น 1 คน 5.4.8.1 คำสั่งไปราชการเพื่อ
หรื อ คำแนะนำด้ า นการ - ได้รับการปฐมนิเทศ 1 คนหรือได้รับ เข้าร่วมโครงการปฐมนิเทศ
จัดการเรียนการสอน คำแนะนำด้านการจัดการเรียนการสอน 1 คน มหาวิทยาลัย ระบุ......หรือ
[ ] ไม่มีอาจารย์ใหม่ รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการ
*หมายเหตุ อาจารย์ใหม่หมายถึงอาจารย์ ปฐมนิเทศระดับคณะหรือ
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรที่เพิ่งย้ายเข้ามาอยู่ใน รายงานการประชุมอาจารย์ใน
หลักสูตรใหม่ แม้ว่าจะเป็นอาจารย์เก่าที่มาจาก ระดับคณะ/หลักสูตร ที่ระบุ
หลักสูตรก็ถือว่าเป็นอาจารย์ใหม่ ผู้รับผิดชอบในการให้
คำแนะนำแก่อาจารย์ใหม่
(9) อาจารย์ประจำทุกคน - มีอาจารย์ประจำทั้งสิ้น ...... คน ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ได้รับการพัฒนาทาง 1. ชื่อ-สกุล................ 5.4.9.1 รายงานการเข้ารับ
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ได้รับการพัฒนาเรื่อง ระบุ...... การประชุม/ฝึกอบรม/

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 53


เกณฑ์
ดัชนีตัวบ่งชี้ (KPI) ผลการดำเนินงาน เป็นไป ไม่เป็นไป เอกสารหลักฐานประกอบ
ไม่เลือก
ตามเกณฑ์ ตามเกณฑ์
อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง 2. ชื่อ-สกุล................ สัมมนา/ศึกษาดูงาน
ได้รับการพัฒนาเรื่อง ระบุ......
- ได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ ...... คน
- คิดเป็นร้อยละ ......
(10) จำนวนบุคลากร [ ] มีบุคลากรสายสนับสนุน ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
สนับสนุนการเรียนการ - มีบุคลากรทั้งสิ้น ...... คน 5.4.10.1 รายงานการเข้ารับ
สอน (ถ้ามี) ได้รับการ 1. ชื่อ-สกุล................ การประชุม/ฝึกอบรม/
พัฒนาวิชาการ และ/หรือ ได้รับการพัฒนาฯ เรื่อง ระบุ...... สัมมนา/ศึกษาดูงาน
วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 2. ชื่อ-สกุล................
50 ต่อปี ได้รับการพัฒนาฯ เรื่อง ระบุ......
- ได้รับการพัฒนาฯ ...... คน
- คิดเป็นร้อยละ ......
[ ] ไม่มีบคุ ลากรสายสนับสนุน
(11) ระดับความพึงพอใจ [ ] มีนักศึกษาปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่ ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ของนักศึกษาปีสุดท้าย/ - จำนวนนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ ...... คน 5.4.11.1 ผลการประเมิน
บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพ - จำนวนผู้ตอบแบบสอบถาม ...... คน ระดับความพึงพอใจของ
หลักสูตรเฉลี่ยไม่น้อยกว่า - ร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถาม ...... นักศึกษาปีสุดท้าย/ บัณฑิต
3.5.1จากคะแนนเต็ม 5.0 - ระดับความพึงพอใจ ...... ใหม่ที่มีต่อคุณภาพหลักสูตร
[ ] ไม่มีนักศึกษาปีสุดท้าย/ บัณฑิตใหม่
หมายเหตุ**กรณีหลักสูตรใหม่ทยี่ ังไม่มบี ัณฑิตไม่
ต้องประเมินประเด็นนี้แต่หากเป็นหลักสูตร
ปรับปรุงต้องประเมินประเด็นนี้ด้วย
(12) ระดับความพึงพอใจ [ ] ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ ❑ ❑ ❑ ตัวอย่าง
ของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ บัณฑิตใหม่ เป็นไปตามเกณฑ์ (เฉลีย่ ไม่น้อยกว่า 5.4.12.1 รายงานการสำรวจ
บัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่นอ้ ย 3.51 ความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต
กว่า 3.51 จากคะแนนเต็ม - ได้คะแนนเท่ากับ ......
5.00 [ ] ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อ
บัณฑิตใหม่ ไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ได้คะแนน......

วิธีการคำนวณ
(1) จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
= ...........................
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่ดำเนินการได้จริง
(2) จำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
= ...........................
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติที่ต้องดำเนินการในปีการศึกษา 25......
(3) ร้อยละของผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้การดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ
= ........................ %
มาตรฐานคุณวุฒิ (1) / (2) x 100
หมายเหตุ *โดยดูจากจำนวนตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ TQF ข้อ (2) ได้จาก มคอ.2 หมวด 7 ข้อ 7
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562 ผลการดำเนินงาน
ประเมินตนเอง เป้าหมาย
5.4 ผลการดำเนินงานหลักสูตรตาม ร้อยละ 100 ร้อยละ........... ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 54


หมวดที่ 5 การบริหารหลักสูตร

ปัญหาในการบริหารหลักสูตร [ ตัวอย่าง : ปัญหาเรื่องการใช้ห้องปฏิบัติการที่ไม่เพียงพอ กรณีมีวิชาแกนที่ต้อง


ใช้ห้องปฏิบัติการจำนวนมาก]

ผลกระทบของปัญหาต่อสัมฤทธิผล [ ตัวอย่าง : อาจไม่บรรลุวัตถุประสงค์ที่จะสร้างความชำนาญในการใช้เครื่องมือ


ตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร ให้แก่นักศึกษา ]

แนวทางการป้องกันและแก้ไข [ ตัวอย่าง : จัดชั่วโมงปฏิบัติเพิ่มหลังเรียน หรือ ช่วงวันเสาร์ อาทิตย์ ]


ปัญหาในอนาคต

องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
- ระบบการดำเนินงานของภาควิชา/คณะ/สถาบันโดยมีส่วนร่วมของอาจารย์ประจำหลักสูตรเพื่อให้มีสิ่งสนับสนุน
การเรียนรู้
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 55


• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- จำนวนสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่เพียงพอและเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 56


• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

- กระบวนการปรับปรุงตามผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
• เป้าหมายของระบบ (เชิงปริมาณ/เชิงคุณภาพ)
เชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ
เป้าหมาย
• ระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงขั้นตอน)
ผลการดำเนินงาน :

• การดำเนินการตามระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงการทำงาน)
ผลการดำเนินงาน :

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 57


• การประเมินกระบวนการ/การทบทวนระบบกลไก/กระบวนการ(แสดงประเด็นที่เกิดจากการทบทวน)
ผลการดำเนินงาน :

• การปรับปรุงระบบกลไก/กระบวนการตามผลการทบทวน(โดยต้องแสดงผลที่เกิดจากการปรับปรุง)
ผลการดำเนินงาน :

• ผลที่เกิดจากการปรับปรุง(โดยต้องแสดงผลที่เกิดขึ้นเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม)
ผลการดำเนินงาน :

รายการหลักฐานอ้างอิง
เอกสารหมายเลข รายการเอกสารหลักฐาน
6.1-1 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
6.1-2 [รายละเอียเอกสารหลักฐาน]
การประเมินตนเองจากผลการดำเนินงาน
ผลการ คะแนนการ การบรรลุ
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย 2562
ดำเนินงาน ประเมินตนเอง เป้าหมาย
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 4 ระดับ ........... ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่บรรลุ]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 58


หมวดที่ 6 ข้อคิดเห็น
1. ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตรจากผู้ประเมิน
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับจากการ [ตัวอย่าง]
เสนอแนะจากผู้ประเมิน ควรมีการจัดกิจกรรมเสริมทักษะด้านอื่นๆ เช่นการทำงานเป็นทีม การเป็ นผู้นำ ให้แก่
นักศึกษาอย่างต่อเนื่อง
ความเห็นของประธานหลักสูตรต่อ [ตัวอย่าง]
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการ ประธานหลัก สูตร และคณะกรรมการคณะ เห็นด้วยในข้อเสนอแนะจากผู้ประเมิน
เสนอแนะ ภายนอก และวางแผนปรับหลักสูตร
การนำไปดำเนินการเพือ่ การวางแผน [ตัวอย่าง]
หรือปรับปรุงหลักสูตร คณะกรรมการปรับปรุง หลักสูตร ดำเนินการจัด แผนการทำกิจกรรม/ฝึกอบรม และ
งบประมาณในการจัดกิจ กรรม/ฝึกอบรม อย่างต่อเนื่อง โดยทำกิจกรรมเสริมในวิช า
[รหัสและชื่อรายวิชา] ในลักษณะการเชิญวิทยากร หรือศิษย์เก่าที่มีประสบการณ์การ
ทำงานที่เกี่ยวข้อง เน้นให้ อาจารย์ผู้สอนในวิชาที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรม ฝึกใช้
งานโปรแกรม Open Source มากขึ้น
2. สรุปการประเมินหลักสูตรจากผู้สำเร็จการศึกษา
การประเมินจากผู้ที่สำเร็จการศึกษา [ผลการประเมินหลักสูตรจากผู้สำเร็จการศึกษา]

ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมิน [ตัวอย่าง]
จุดอ่อน : สถานที่ให้บริการห้องปฏิบัติการไม่เพียงพอ
จุดแข็ง : 1) อาจารย์ผู้สอนมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและมีประสบการณ์จริงทำให้
นักศึกษาได้เรียนรู้งานจริง
ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการ [ตัวอย่าง]
ประเมิน จะดำเนินการเพื่อเสริมสร้างจุดแข็งอย่างต่อเนื่อง และพยายามแก้ไขจุด อ่อนโดยเพิ่ม
สถานที่หรือหาห้องปฏิบัติการเพิ่มขึ้น
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตร [ตัวอย่าง]
จากผลการประเมิน ปรับชั่วโมงการเข้าห้องปฏิบัติการให้เกิดกระจายของการใช้งานในหลายวิชา
3.สรุปการประเมินหลักสูตรจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 59


กระบวนการประเมิน [ตัวอย่าง การประเมินได้ดำเนินการโดยการส่งแบบสอบถามไปยังผู้ใช้บัณฑิต โดย
หน่วยงาน....... รับผิดชอบดำเนินการ ซึ่งได้จัดทำอย่างต่อเนื่องทุกปี]
ข้อวิพากษ์ที่สำคัญจากผลการประเมิน [ตัวอย่าง]
จุดอ่อน : ของบัณฑิตในเรื่องภาษาอังกฤษและการสื่อสารระหว่างผู้ร่วมงานและขาด
ความคิดสร้างสรรค์
จุดแข็ง : ของบัณฑิตคือการสู้งาน รับผิดชอบ ตั้งใจทำงานสามารถทำงานเป็นทีมได้
ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการ [ตัวอย่าง]
ประเมิน แก้ไขจุดอ่อนโดยเน้นภาษาอังกฤษในการเรียนมากขึ้นตลอด 4 ปี โดยในปีสุดท้ายเน้น
การใช้ภาษาอังกฤษสำหรับการทำงานมากขึ้น อีกทั้ งจัดวเวทีให้นักศึกษาได้แสดงออก
ถึงความคิดสร้างสรรค์ในการผลิตผลงาน หรือนวัตกรรมทางเทคโนโลยีใหม่ ๆ เช่น การ
ส่งประกวดแข่งขันระดับประเทศ
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตร [ตัวอย่าง]
จากผลการประเมิน ขอเสนอให้ใช้ภาษาอังกฤษเป็นเอกสารประกอบการเรียนในทุกวิชา โดยเฉพาะวิชาแกน
เช่น ข้อสอบและเอกสารการเรียนเป็นภาษาอังกฤษ เพิ่มคะแนนในการนำเสนองาน
แบบที่มีความคิดใหม่ ๆ

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 60


หมวดที่ 7 การเปลี่ยนแปลงที่มีผลกระทบต่อหลักสูตร
การเปลี่ยนแปลงภายในสถาบัน(ถ้ามี) ที่มี [ตัวอย่าง] ในช่วง 2 ปี ที่ผ่ านมา ในมหาวิทยาลัยราชภั ฎชัยภู มิ มีการเปิ ด
ผลกระทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา หลักสูตรระดับปริญญาตรี ที่คล้ายกัน อีก 1 หลักสูตร คือ วิทยาศาสตรบัณฑิต
สาขา..... ในคณะ...... ทำให้ปริมาณผู้สมัคร ในหลักสูตรมีน้อยลง
การเปลี่ยนแปลงภายนอกสถาบัน(ถ้ามี) ที่มี [ตัวอย่าง] ในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มีการเปิดหลักสูตรในสาขาที่ใกล้เคียงกัน
ผลกระทบต่อหลักสูตรในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา มากขึ้นในสถาบันการอุดมศึกษาทั้ง ของรัฐและเอกชน เนื่องจากรัฐบาลมี
นโยบาย ให้สถาบันอุดมศึกษาระดับอนุปริญญา เปิดสอนในระดับปริญญาตรี
ได้ จึงทำให้มี ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงต่อหลักสูตร คือ ทำให้ปริมาณ
นักศึกษาสมัครเรียนในหลักสูตร น้อยลง

หมวดที่ 8 แผนการดำเนินการเพื่อพัฒนาหลักสูตร

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 61


1. แผนปฏิบัติการประจำปี ระบุปีการศึกษา 25........................................................
แผนการดำเนินงาน กำหนดเวลาที่แล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ
[ตัวอย่าง] แผนปรับปรุงเนื้อหารายวิชา [รหัสและชื่อรายวิชา] [ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [อาจารย์ผู้รับผิดชอบ]
[ตัวอย่าง] แผนการปรับปรุงโปรแกรมที่ใช้เพื่อการเรียนการสอนใน [ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [อาจารย์ผู้รับผิดชอบ]
ห้องปฏิบัติการ โดยใช้เวอร์ชันที่เป็นที่นิยมในตลาด
[ตัวอย่าง] แผนการจัดตั้งงบประมาณเพิ่มเติม ในการเชิญวิทยากรมา [ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [อาจารย์ผู้รับผิดชอบ]
ให้ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสมัยใหม่

2. ความก้าวหน้าของการดำเนินงานตามแผนและข้อเสนอแนะในการพัฒนาหลักสูตร
แผนดำเนินการ กำหนดเวลาที่แล้วเสร็จ ผู้รับผิดชอบ ความสำเร็จของแผน/เหตุผลที่ไม่สามารถ
ดำเนินการได้สำเร็จ
[ตัวอย่าง] การแต่งตั้ง [ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [ระบุผรู้ ับผิดชอบ] [สำเร็จ/ไม่สำเร็จ]
ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เช่น ประธาน กรณีไม่สำเร็จ ให้ระบุสาเหตุที่ไม่สามารถ
เพื่อพัฒนาปรับปรุง หลักสูตร อาจารย์ ดำเนินการได้ เนื่องจาก ............
หลักสูตร
[ตัวอย่าง] ปรับวิธีการ [ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [ระบุผรู้ ับผิดชอบ] [สำเร็จ/ไม่สำเร็จ]
สอนวิชาสัมมนา เช่น ประธาน กรณีไม่สำเร็จ ให้ระบุสาเหตุที่ไม่สามารถ
เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักสูตร อาจารย์ ดำเนินการได้ เนื่องจาก ............
โดยเน้นการจัดสัมมนา
ทางวิชาการ
[ระบุวัน/เดือน/พ.ศ.] [ระบุผรู้ ับผิดชอบ] [สำเร็จ/ไม่สำเร็จ]
เช่น ประธาน กรณีไม่สำเร็จ ให้ระบุสาเหตุที่ไม่สามารถ
หลักสูตร อาจารย์ ดำเนินการได้ เนื่องจาก ............

ตารางรายงานผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบที่ 2 - องค์ประกอบที่ 6


จุดเด่นและแนวทางเสริม

จุดที่ควรพัฒนาและแนวทางปรับปรุง

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 62


อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร :
1. [อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร] ลายเซ็น: ______________________ วันที่รายงาน: _________________
2. [อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร] ลายเซ็น: ______________________ วันที่รายงาน: _________________
3. [อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร] ลายเซ็น: ______________________ วันที่รายงาน: _________________
4. [อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร] ลายเซ็น: ______________________ วันที่รายงาน: _________________
5. [อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร] ลายเซ็น: ______________________ วันที่รายงาน: _________________

ประธานหลักสูตร : ________________________________________________________
ลายเซ็น : __________________________ วันที่รายงาน : __________________________

เห็นชอบโดย : ________________________________________(รองคณบดีฝ่ายวิชาการ)
ลายเซ็น : __________________________ วันที่รายงาน : __________________________

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 63


เห็นชอบโดย : ________________________________________(คณบดี)
ลายเซ็น : __________________________ วันที่รายงาน : __________________________

เอกสารประกอบรายงาน
1. สำเนารายงานรายวิชาทุกวิชา
2. วิธีการให้คะแนนตามกำหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ใช้ในการประเมิน
3. ข้อสรุปผลการประเมินของบัณฑิตที่จบการศึกษาในปีที่ประเมิน
4. ข้อสรุปผลการประเมินจากบุคคลภายนอก

หลักสูตร [ชื่อปริญญาหลักสูตร] ระดับปริญญาตรี สาขาวิชา [ชื่อสาขาวิชา]


คณะ[คณะที่หลักสูตรสังกัด] ปีการศึกษา 2562
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตาราง 1 ผลการประเมินตนเองรายตัวบ่งชี้ตามองค์ประกอบคุณภาพ ระดับหลักสูตร
จากผลการดำเนินงานของหลักสูตร [ระบุชื่อหลักสูตร.................] เมื่อประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานและ
อิงเกณฑ์การประเมินตามที่ สกอ. กำหนด ในรอบปีการศึกษา 25............ ผลการประเมินสรุปได้ดังนี้
ผลการดำเนินงาน
การบรรลุ ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ตัวตั้ง ผลลัพธ์ เป้าหมาย (คะแนน)
ตัวหาร (%หรือสัดส่วน)
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 การบริหาร ผ่าน [ผ่าน/ไม่ผ่าน] [บรรลุ/ไม่ [ผ่าน/ไม่ผ่าน]


จัดการหลักสูตรตามเกณฑ์ บรรลุ]
มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนด
โดย สกอ.
 หลักสูตรได้มาตรฐาน
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐานหลักสูตร  ไม่ได้มาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 64


ผลการดำเนินงาน
การบรรลุ ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ตัวตั้ง ผลลัพธ์ เป้าหมาย (คะแนน)
ตัวหาร (%หรือสัดส่วน)
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 คุณภาพบัณฑิต 4.51 [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ค่าเฉลี่ย........... บรรลุ]
ระดับ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาตรี) ........... [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ร้อยละของบัณฑิตปริญญาตรีที่ บรรลุ]
ร้อยละ80 ........... X 100 = ........%
ได้งานทำหรือประกอบอาชีพ
อิสระภายใน 1 ปี
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาโท) ........... [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ผลงานของนักศึกษาและ บรรลุ]
ร้อยละ
ผู้สำเร็จการศึกษาในระดับ X 100 = ........%
30 ...........
ปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์
หรือเผยแพร่
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 (ปริญญาเอก) [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ผลงานของนักศึกษาและ ร้อยละ ...........
X 100 = ........% บรรลุ]
ผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญา 64 ...........
เอกที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต เฉลี่ยรวม........ คะแนน
องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 การรับนักศึกษา 4 ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่
............ คะแนน
บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 การส่งเสริมและ 4 ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่
............ คะแนน
พัฒนานักศึกษา บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 ผลลัพธ์ที่เกิด 4 ระดับ ........... คะแนน [บรรลุ/ไม่
............ คะแนน
กับนักศึกษา บรรลุ]
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา เฉลี่ยรวม........ คะแนน
องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 การบริหารและ 4 ระดับ [บรรลุ/ไม่
พัฒนาอาจารย์
........... คะแนน ............ คะแนน
บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 คุณภาพ
รวม ............ คะแนน
อาจารย์
ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่มี ป.ตรี 20%ป. ........... X
คุณวุฒิปริญญาเอก โท 80% [บรรลุ/ไม่
100 = ........% ............ คะแนน
ป.เอก 100%
........... บรรลุ]

ร้อยละของอาจารย์ประจำหลักสูตรที่ ป.ตรี 45%


ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ป.โท 60% ........... [บรรลุ/ไม่
ป.เอก 75% X 100 = ........% ............ คะแนน
........... บรรลุ]

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 65


ผลการดำเนินงาน
การบรรลุ ผลการประเมินตนเอง
ตัวบ่งชี้ เป้าหมาย ตัวตั้ง ผลลัพธ์ เป้าหมาย (คะแนน)
ตัวหาร (%หรือสัดส่วน)
ผลงานวิชาการของอาจารย์ประจำ ป.ตรี 15% ...........
หลักสูตร ป.โท 30% [บรรลุ/ไม่
X 100 = ........% ............ คะแนน
ป.เอก 45%
........... บรรลุ]

จำนวนบทความของอาจารย์ประจำ สังคมฯ อัตราส่วนจำนวนบทความที่ได้รับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน


หลักสูตรปริญญาเอกที่ได้รับการอ้างอิงใน 0.176
ฐานข้อมูล TCI และ Scopus ต่ออาจารย์ วิทย์ฯ 1.76
การอ้างอิงต่อจำนวนอาจารย์ประจำ บรรลุ]
ประจำหลักสูตร หลักสูตร เท่ากับ ........

ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 ผลที่เกิดกับ 4 ระดับ ........... ระดับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน


อาจารย์ บรรลุ]

ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ เฉลี่ยรวม........ คะแนน


องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 สาระของ 4 ระดับ ........... ระดับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน


รายวิชาในหลักสูตร บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 การวางระบบ 4 ระดับ ........... ระดับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ผู้สอนและกระบวนการจัดการ บรรลุ]
เรียนการสอน
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 การประเมิน 4 ระดับ ........... ระดับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ผู้เรียน บรรลุ]
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการ ร้อยละ ........ ข้อ X 100 = ........% [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
ดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบ 100 ........ ข้อ บรรลุ]
มาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน เฉลี่ยรวม........ คะแนน
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 สิ่งสนับสนุนการ 4 ระดับ ........... ระดับ [บรรลุ/ไม่ ............ คะแนน
เรียนรู้ บรรลุ]
ผลการประเมินรายองค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เฉลี่ยรวม........ คะแนน

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 66


ตาราง 2 วิเคราะห์คุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร
คะแนน จำนวน คะแนน
องค์ประกอบ ผ่าน ตัวบ่งชี้
I P O
เฉลี่ย
ผลการประเมิน
องค์ประกอบที่ 1 การกำกับมาตรฐาน ผ่าน/ไม่ผ่านการประเมิน  ได้มาตรฐาน
 ไม่ได้มาตรฐาน
องค์ประกอบที่ 2 บัณฑิต 2 ระดับคุณภาพ............
คะแนนเฉลี่ยของทุกตัวบ่งชี้ใน

องค์ประกอบที่ 3 นักศึกษา 3 ระดับคุณภาพ............


องค์ประกอบที่ 2-6

องค์ประกอบที่ 4 อาจารย์ 3 ระดับคุณภาพ............


องค์ประกอบที่ 5 หลักสูตร การเรียนการ 4 ระดับคุณภาพ............
สอน การประเมินผู้เรียน
องค์ประกอบที่ 6 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 1 ระดับคุณภาพ............
รวม 13 ระดับคุณภาพ............
ผลการประเมิน ระดับคุณภาพ............

ผลการประเมินองค์ประกอบที่ 2-6
0.01-2.00 ระดับคุณภาพน้อย 3.01-4.00 ระดับคุณภาพดี
2.01-3.00 ระดับคุณภาพปานกลาง 4.01-5.00 ระดับคุณภาพดีมาก

รายงานผลการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา ระดับหลักสูตร (เกณฑ์พ.ศ. 2558) ปีการศึกษา 2562 : หน้า 67

You might also like