Download as pdf or txt
Download as pdf or txt
You are on page 1of 2

Pipe

โดยทั่วไปไมโครมิเตอร์มีสองส่วน ได้แก่ สเกลหลัก อยู่ติดกับปากกา และสเกลหมุน ไมโครมิเตอร์ทาํ งานโดยใช้หลักของสกรู


เปลี่ยนระยะ (differential screw) จะอาศัยหลักการทางานของเกลียวที่จะเกิดค่าระยะพิตช์ เมื่อทําการหมุน เกลียวไป 1
รอบ ก็จะได้ระยะพิตช์เท่ากับ 1 (1 Pitch) ซ่ึงระยะพิตช์นี่เองที่ได้ถูกนําไปเปรียบเทียบกับการเคลื่อนที่ของเกลียว 1 ช่อง กับ
สเกลหลักบรรทัดเหล็ก เช่น ถ้าเราแบ่งระยะบรรทัดเหล็กออกเป็ น 20 ส่วน แล้วหมุนเกลียว 1 ช่อง ผ่านบรรทัดเหล็ก จะได้ระยะ
1/20 ของระยะพิตช์

ไมโครมิเตอร์วดั นอกจะประกอบด้วยส่วนหลักๆดังนี ้
1. แกนรับ (Anvil) ลักษณะแกนรับจะเป็ นเพลากลมดันที่ดา้ นปลายทําจากเหล็กคาร์ไบด์เพื่อเสริมให้เกิดความแข็งแรง
สําหรับป้องกันการสึกหรอจากการสัมผัสกับชิน้ งานที่ตรวจวัด แกนรับจะประกอบยึดติดกับโครงของไมโครมิเตอร์ดว้ ยการสวม
อันเป็ นชุดเดียวกัน
2. แกนวัด (Spindle) ลักษณะแกนวัดจะเหมือนแกนรับทุกประการ แกนจัดจะยึดติดกับสลักเกลียวเพื่อให้เคลื่อนที่ใน
แนวเส้นตรง
3. โครง (Frame) มีลักษณะเหมือนตัวซี มีนาํ้ หนักเบาและแข็งแรง มีไว้เพื่อนําชิน
้ ส่วนอื่นๆมาประกอบเป็ นไมโครมิเตอร์
และสําหรับจับเวลาตรวจวัดชิน้ งาน
4. ปุ่ มล็อก (Thimble Lock) ทําหน้าที่สาํ หรับยึดแกนวัดไม่ให้เคลื่อนที่ เมื่อหมุนปลอกเลื่อนจนแกนวัดสัมผัสชิน้ งานถ้า
ต้องการไม่ให้แกนวัดเคลื่อนที่ให้ดนั ปุ่ มล็อกไปทางซ้ายมือ เมื่อต้องการปลดให้ดนั ไปทางด้านตรงข้าม ปุ่ มล็อกจะมี 2 แบบ คือ
แบบใช้วงแหวนและแบบใช้กระเดื่อง
5. สเกลหลักหรือปลอกวัด (Sleeve) มีลกั ษณะเป้นทรงกระบอกสวมอยู่กับโครงสามารถปรับหมุนได้ ที่ผิวของสเกล
หลักจะมีเส้นขีดยาวในแนวนอนเราเรียกว่า เส้นอ้างอิง (Index Line) ด้านบนและด้านล่างของเส้นอ้างอิงจะมีขีดแบ่งช่องเพื่อ
กําหนดค่าของสเกลหลัก
6. ปลอกเลื่อนหรือปลอกหมุนวัด (Thimble) มีลกั ษณะเป็ นทรงกระบอกสวมอยู่บนสเกลหลักและสามารถเคลื่อนที่
เข้าออกได้ ที่ปลายด้านในจะลาดเอียงและมีขีดแบ่งช่องเพื่อกําหนดค่าส่วนด้านนอกจะพิมพ์ลายเพื่อสะดวกในการหมุนเข้า
ออก
7. หัวหมุนกระทบ (Ratchet stop) จะอยู่ดา้ นท้ายสุดของแกนวัดเมื่อหมุนปลกเลื่อนสัมผัสชิน้ งานแล้ว ให้ปรับแกนวัด
สัมผัสชิน้ งานได้พอดีและไม่ตึงเกินไป เราจะปรับหัวหมุนกระทบโดยหมุนตามเข็มนาฬิกาซึ่งจะมีเสียงดังคลิกโดยให้เสียงดัง 2 –
3 คลิกเท่านัน้
2.ขั้นตอนการใช้ไมโครมิเตอร์
2.1 ทําความสะอาดไมโครมิเตอร์โดยใช้ผา้ ที่อ่อนนุ่มเช็ดฝุ่น คราบสกปรกบนโครง ปลอกเลื่อนรวมถึงแกนรับและแกนวัด
2.2 จัดตําแหน่งของแกนรับให้สม ั ผัสกับชิน้ งานให้สนิทเสียก่อน
2.3 ค่อยๆหมุนปลอกเลื่อนจนหน้าสัมผัสแกนวัดสัมผัสแกนวัดสัมผัสชิน้ งานและต้องตัง้ ฉากกับผิวงาน ที่จะวัดหมุนหัว
หมุนกระทบจนมีเสียง 3 คลิก เพื่อให้ชนิ ้ งานแนบกับเครื่องมือ
2.4 ปรับปุ่ มล็อกเพื่อไม่ให้แกนวัดเคลื่อนที่ จากนัน้ อ่านค่าไมโครมิเตอร์

You might also like